ภ ม สารสนเทศศาสตร ม ประโยชน ต อการศ กษา

ภ ม สารสนเทศศาสตร ม ประโยชน ต อการศ กษา

kruchanakarn tws Download

  • Publications :0
  • Followers :0

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.1(ICT)

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.1(ICT)

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.1(ICT)

“คณะวิทยาการสารสนเทศมุ่งสู่ความเป็นเลิศด้านการผลิตบัณฑิต และการวิจัย”

1. ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ที่มีคุณภาพ 2. ผลิตผลงาน วิจัย นวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ 3. ให้บริการวิชาการแก่สังคม 4. ส่งเสริม อนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีของไทย 5. การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)

  • สาขาวิชา สื่อนฤมิต
  • สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • สาขาวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์

หลักสูตรสารสนเทศศาสตรมหาบัณฑิต (สท.ม.)

  • สาขาวิชา สารสนเทศศาสตร์

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)

  • สาขาวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์
  • สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • สาขาวิชา สื่อนฤมิต

คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ที่ตั้ง : เลขที่ 41/20 ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150

ติดต่อ จันทร์-ศุกร์ เวลา 08.30 – 16.30 น.

โทรศัพท์/แฟกซ์ : 0-4375-4359 หมายเลขภายใน : 043-754321-40 ต่อ 5177, 5311

เว็บไซต์ : https://it.msu.ac.th/

Facebook : คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Instagram : –

Twitter : –

TikTok : –

Page 40 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น

  1. 40

` 11-30 สารสนเทศศาสตร์เบือ้ งตน้ เร่ืองที่ 11.3.1 ความเป็นมาและประโยชน์ของการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์

  1. ความเป็นมาของการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
       ตง้ั แตป่ ลายศตวรรษท่ี 19 เปน็ ตน้ มา การจดั การเอกสารสำ� นกั งานซงึ่ อยใู่ นรปู กระดาษนน้ั นยิ มใช้  
    
    เคร่ืองพิมพ์ดีดและตู้เก็บเอกสารเป็นอุปกรณ์หลัก หากเป็นเอกสารส�ำคัญที่ต้องจัดเก็บเป็นเวลานานหรือ ตลอดไป มักจัดเก็บในรูปไมโครฟอร์ม
       การจดั การเอกสารแบบดง้ั เดมิ นี้ กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาหลายประการ5 อาทิ 1) ปญั หาดา้ นความสนิ้ เปลอื ง  
    
    พนื้ ทใี่ นการจดั เกบ็ เอกสารกระดาษ 2) ปญั หาดา้ นความคงทนของเอกสารกระดาษ 3) ปญั หาดา้ นรปู แบบ สารสนเทศที่จัดเก็บทั้งเอกสารกระดาษและไมโครฟอร์ม 4) ปัญหาด้านการค้นหาเอกสารกระดาษและ ไมโครฟอร์ม และ 5) ปัญหาด้านการจัดส่งเอกสารกระดาษและไมโครฟอร์มไปยังผู้รับ อย่างไรก็ดี ในปจั จบุ นั ส�ำนกั งานจ�ำนวนมากโดยเฉพาะสำ� นักงานขนาดเลก็ ยงั นยิ มจดั เกบ็ เอกสารในรปู กระดาษ และ หลายแหง่ ยงั คงใชต้ เู้ กบ็ เอกสาร สว่ นเครอ่ื งพมิ พด์ ดี และเอกสารในรปู ไมโครฟอรม์ นน้ั มกี ารใชง้ านนอ้ ยมาก
       ในชว่ งตน้ ทศวรรษ 1980 ไดเ้ รมิ่ มกี ารนำ� ไมโครคอมพวิ เตอรม์ าใชใ้ นสำ� นกั งาน โดยเปน็ การใชง้ าน  
    
    คอมพวิ เตอรแ์ ตล่ ะเครอ่ื งโดยลำ� พงั (stand alone) ซงึ่ สว่ นใหญใ่ ชโ้ ปรแกรมประมวลคำ� เพอ่ื การพมิ พเ์ อกสาร ตอ่ มามกี ารเชอื่ มตอ่ คอมพวิ เตอรภ์ ายในสำ� นกั งานเขา้ ดว้ ยกนั บนเครอื ขา่ ยอนิ ทราเนต็ และยงั เชอื่ มตอ่ ไปยงั หนว่ ยงานภายนอกผา่ นเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ ซง่ึ อำ� นวยประโยชนใ์ นดา้ นการสอ่ื สารและการทำ� งานรว่ มกนั ระหวา่ งผปู้ ฏบิ ตั งิ านภายในสำ� นกั งานและกบั หนว่ ยงานภายนอก การประยกุ ตค์ อมพวิ เตอรภ์ ายในสำ� นกั งาน จึงมคี วามหลากหลายและกวา้ งขวางมากขึ้นโดยล�ำดบั
       สว่ นการจดั การเอกสารสำ� นกั งานนนั้ ในชว่ งตน้ และกลางทศวรรษ 1980 นอกจากการใชค้ อมพวิ เตอร์  
    
    เพ่ือการผลิตเอกสารได้อย่างรวดเร็วและมีความสวยงามแล้ว ยังเริ่มมีการจัดเก็บเอกสารท่ีผลิตหรือสร้าง ดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เชน่ โปรแกรมประมวลคำ� และโปรแกรมตารางทำ� การ ไวใ้ นเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ ของผผู้ ลติ เอกสารนน้ั เอง เอกสารเหลา่ นเ้ี ปน็ เอกสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (electronic document) หรอื เอกสาร ดิจิทัล (digital document) ต้งั แตแ่ รก ทเี่ รยี กว่า “born digital” นอกจากนี้ยังอาจจัดส่งเอกสารเหลา่ นี้ ไปยังผู้ร่วมงานโดยผ่านอีเมล เพื่อการใช้เอกสารร่วมกัน ซ่ึงแต่ละคนเมื่อได้รับเอกสาร อาจมีการแก้ไข เนอ้ื หาของเอกสารนั้น และต่างจัดเกบ็ เอกสารที่มกี ารแกไ้ ขนัน้ ไว้ในเครือ่ งคอมพิวเตอรข์ องตน ทำ� ให้เกดิ ปญั หาเอกสารเดยี วกนั แตห่ ลายเวอรช์ นั (version) จะเหน็ วา่ การจดั การเอกสารอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ นลกั ษณะ เชน่ นไี้ มเ่ ปน็ ระบบทด่ี ี ยากตอ่ การควบคมุ เวอรช์ นั ของเอกสารและการตรวจสอบรอ่ งรอย (audit trail) หาก มกี ารแกไ้ ขเอกสาร และยากตอ่ การรกั ษาความมนั่ คงปลอดภยั ของเอกสาร หากเปน็ เอกสารทมี่ คี วามสำ� คญั ต่อองค์การ
         5 ศึกษาปัญหาเหลา่ น้ีเพิ่มเตมิ ในเรอื่ งท่ี 11.1.2
    
    `