พ.ร.บ.ท องถ นท แก ไขใหม ม อะไรบ าง

๙๕

วิธกี ารงา่ ยๆ ทเี่ ดก็ ๆ สามารถชว่ ยให้น้าใตด้ ินและสภาพแวดล้อมในละแวกบ้านและชุมชนท่ีอยู่ ให้อยูใ่ นสภาพ ทดี่ ี

• เกบ็ ขยะในละแวกบำ้ นและโรงเรยี นให้สะอำดเรียบรอ้ ย • กระตุ้นให้บุคคลรอบข้ำงและคนในครอบครัวใช้หลักกำร 3R คือกำรลดกำรใช้ กำรใช้ซ้ำและกำรน้ำ กลับมำใช้ใหม่ • ปรกึ ษำกบั ผ้บู ริหำรโรงเรยี นให้ออกใบประกำศนียบตั ร “ผอู้ นรุ ักษน์ ้ำบำดำล” ให้ กับนกั เรียนท่ีรว่ มมอื • ปรกึ ษำกบั ผู้น้ำชมุ ชนให้ก้ำหนดให้มวี นั “เก็บขยะทใ่ี ชใ้ นบ้ำนที่เป็นสำรอนั ตรำย” เพ่ือใหม้ กี ำรก้ำจัดขยะ ทเ่ี ป็นสำรเคมีอนั ตรำยต่ำงๆ เช่น สีและน้ำมันอย่ำงถูกวธิ ี • เด็กๆ กับเพ่ือน หรือสมำชิกในครอบครัวอำจไปบอกถึงวิธีกำรที่จะเป็นกำรอนุรักษ์น้ำบำดำลกับบุคคลท่ี อยูใ่ นละแวกใกล้เคยี ง • ออกแบบโปสเตอร์หรือใบปลิวที่สวยงำม เพ่ือให้ควำมรู้แก่คนในชุมชนเกี่ยวกับวิธีกำรง่ำยๆ ในกำร อนรุ กั ษ์น้ำ • ชักชวนและสนับสนุนให้เพื่อนและคนในครอบครัวใช้สินค้ำท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และจ้ำกัดกำรใช้ สำรเคมที ่เี ปน็ อันตรำยตำ่ งๆ เชน่ ยำฆำ่ แมลงและปยุ๋ อนนิ ทรีย์ • พูดคุยปรึกษำกับครูท่ีโรงเรียนให้จัดสอนหรอื จัดใหม้ ีโครงงำนวิชำท่ีเก่ียวกับน้ำบำดำล หรือให้จัดให้มวี นั กำรศกึ ษำน้ำบำดำลของโรงเรียนขน้ึ • เข้ำร่วมชมรมนักส้ำรวจและอนุรักษ์น้ำของโรงเรียน เพ่ือทดสอบและสังเกตควำมเปล่ียนแปลงของสระ น้ำ ลำ้ ธำรหรือทะเลสำบใกล้บ้ำน

• ทำ้ งำนร่วมกบั ชมรมหรอื หน่วยงำนตำ่ งๆ เพอื่ รว่ มกันจัดประชำสมั พันธ์กำรทดสอบน้ำของชมุ ชน • พิจำรณำกอ่ ตัง้ ชมรม น้ำบำดำล แลว้ พบปะกันชว่ งหลังเลิกเรยี นในโอกำสท่เี หมำะสม เพ่ือชว่ ยกันผลกั ดนั โครงกำรใหบ้ ริกำรเกี่ยวกบั วิธกี ำรป้องกันรกั ษำนำ้ บำดำลอยำ่ งงำ่ ยๆ ของชมุ ชนทอ่ี ยใู่ ห้ประสบผลส้ำเรจ็

๙๖

4.3 การปฏิบัติตนเปน็ แบบอยา่ ง (Role Model) ที่ดใี นการพิทักษ์ทรัพยากรนา้ กรณศี กึ ษา การพฒั นาอยา่ งยั่งยนื ทีค่ วรใชเ้ ป็นตัวแบบท่ีดี

๙๗

การบริหารจัดการทรพั ยากรนา้ บาดาลในเขตวิกฤตการณ์นา้ บาดาล

มาตรการควบคุมการใชน้ ้าบาดาล

๙๘

มาตรการควบคุมการใชน้ า้ บาดาล (ตอ่ )

การประกาศเขตวกิ ฤตนา้ บาดาล

พ.ศ. 2546 ประกาศเขตวิกฤตนา้ บาดาลทัง 7 จงั หวดั

๙๙

ภาพรวมระดบั น้าบาดาลกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

การทรดุ ตวั สะสม

๑๐๐

4.4 การรว่ มกิจกรรมสาธารณะประโยชนเ์ กยี่ วกบั การพทิ ักษ์ทรพั ยากรนา้ ในชมุ ชนหรอื ท้องถ่ิน

วิธีกำรเตมิ น้ำท่ีประชำชนทวั่ ไป และหนว่ ยงำนสว่ นทอ้ งถนิ่ สำมำรถนำ้ ไปดำ้ เนนิ กำรไดเ้ อง

ปัจจุบนั ในหลำยพื้นท่ใี ห้ควำมสนใจในเรอื่ งของกำรอนรุ กั ษแ์ หล่งบำดำลกนั เปน็ จ้ำนวนมำก โดยเฉพำะกำร เติมน้ำลงสู่ชนั้ น้ำบำดำล อนั เน่อื งมำจำกหลำยพ้ืนทีเ่ กิดปัญหำกำรขำดแคลนน้ำในชว่ งฤดูแล้ง และปัญหำกำรลดลง ของระดับน้ำบำดำลในหลำยพื้นที่ ส่งผลกระทบต่อประชำชนและเกษตรกรในหลำยพื้นท่ีโดยตรง วิธีกำรอนุรักษ์ และฟ้ืนฟูทรัพยำกรน้ำบำดำล อีกวิธีหน่ึง คือ กำรเติมน้ำลงสู่ชั้นน้ำบำดำล ซึ่งกำรเติมน้ำบำดำลมีท้ังกำรเติมน้ำใน ชั้นนำ้ บำดำลระดับลึก และช้นั นำ้ บำดำลระดับต้ืน มตี ัง้ แต่รูปแบบกำรเติมนำ้ ที่เรียบง่ำยไปจนถึงรูปแบบวธิ ีกำรซับซ้อน

วิธีกำรเติมน้ำท่ีเหมำะส้ำหรับประชำชนท่ัวไป หรือหน่วยงำนส่วนท้องถิ่นสำมำรถน้ำไปปรับใช้และ ด้ำเนินกำรได้เองในพื้นท่ีของตน คือ วิธีกำรเติมน้ำในช้ันน้ำบำดำลระดับต้ืน เน่ืองจำกมีวิธีกำรก่อสร้ำงง่ำย ต้นทุน ต้่ำ และไม่ซับซ้อน ส่วนกำรเติมน้ำในชั้นน้ำบำดำลระดับลึก เน่ืองจำกมีต้นทุนสูง มีรูปแบบวิธีกำรที่ซับซ้อนและ ต้องอำศัยผู้มีควำมเชี่ยวชำญเฉพำะด้ำนในกำรด้ำเนินงำน จึงไม่แนะน้ำให้ประชำชนท่ัวไป หรือหน่วยงำนส่วน ทอ้ งถนิ่ น้ำไปด้ำเนินกำรเอง ซง่ึ วิธกี ำรเตมิ น้ำบำดำลท่เี หมำะสมจะขอกลำ่ วถึงวธิ ีกำรเตมิ นำ้ 3 วิธี ดังนี้

  1. การเตมิ น้าฝนผ่านหลังคาลงใตด้ ิน

เป็นวิธีกำรรวบรวมน้ำฝนจำกหลังคำบ้ำนเรือน และอำคำรที่มีพ้ืนที่มำก เช่น วัดหรือโรงเรียน โดยต่อท่อ น้ำส่วนนำ้ ท่ลี ้นออกสู่ถึงกรวดทรำยกรอง ผ่ำนลงสู่บอ่ เติมน้ำ วธิ นี ปี้ ระชำชนทวั่ ไปสำมำรถท้ำไดง้ ่ำยทบ่ี ้ำนเรือนท่ำนเอง

องค์ประกอบของระบบเติมน้ำฝนผ่ำนหลังคำลงใต้ดิน ประกอบด้วยบ่อเติมน้ำ รำงรินรวบรวมน้ำฝนจำก หลังคำ ถงั เก็บนำ้ ฝน ถงั กรอง ท่อรวบน้ำจำกถงั เกบ็ นำ้ และถงั กรองลงสูบ่ อ่ เติมน้ำ

๑๐๑

  1. การเตมิ นา้ ผ่านบอ่ เป็นวิธีกำรรวบรวมน้ำฝนและน้ำท่ีไหลหลำก ให้ไหลลงบ่อน้ำต้ืน โดยผ่ำนกรวดทรำยกรองท่ีบรรจุในบ่อ วิธนี ้เี กษตรกรทมี่ ีบอ่ วงที่ถกู ทง้ิ รำ้ ง ไมไ่ ดใ้ ช้งำนแลว้ สำมำรถน้ำมำพัฒนำให้เป็นบอ่ เติมนำ้ ได้ องค์ประกอบของระบบเติมน้ำผ่ำนบ่อเติมน้ำ ประกอบด้วย บ่อเติมน้ำ (บ่อวงซีเมนต์) ระบบกรองกรวด ทรำยภำยในบ่อวง และทำงระบำยน้ำหรือท่อรวบน้ำเขำ้ สบู่ ่อเตมิ นำ้

การเติมนา้ ผ่านบอ่ (บ่อวงซีเมนต)์

๑๐๒

การเติมนา้ ผ่านบ่อ (บ่อน้าบาดาล)

  1. การเตมิ นา้ ผา่ นสระ เป็นวิธีกำรสร้ำงสระเพ่ือเพ่ิมเวลำและพ้ืนท่ีกำรสัมผัสกำรซึมผ่ำนผิวดินให้มำกขึ้น ในพ้ืนท่ีที่มี

ตะกอนทรำยทีซ่ ึมไดเ้ รว็ และมแี หล่งน้ำดบิ ท่ีมีปริมำณน้ำ และคณุ ภำพทเี่ หมำะสม องค์ประกอบของระบบเติมผ่ำนสระประกอบด้วย สระเติมน้ำ ขนำดของสระเติมน้ำข้ึนอยู่กับ

ควำมเหมำะสมของสภำพพ้ืนท่ี หรือใช้บ่อทรำยเก่ำท่ีมีอยู่แล้วในพื้นที่ ระบบกรวดทรำยกรองภำยในสระและท่อ รวบรวมน้ำดบิ เข้ำส่สู ระเตมิ น้ำ

การเตมิ นา้ ผา่ นสระ (บ่อทรายเก่า)

๑๐๓

การเติมนา้ ผ่านสระ (สระขนาดเลก็ )

4.5 การเฝา้ ระวงั และแจง้ เบาะแสการละเมิดขันพนื ฐาน โครงการปักหมุดพนื ที่เส่ียงต่อการทจุ ริต สา้ นกั งาน ป.ป.ช. กำรปักหมุดพื้นท่ีเส่ียงต่อกำรทุจริต ประจ้ำปี 2563 น้ัน เป็นกำรด้ำเนินกำรในปีแรก ซึ่งอำจมีข้อจ้ำกัด

ของเร่ืองของควำมเข้ำใจในจุดประสงค์ของโครงกำรและกำรเก็บข้อมูลทั้งผู้เก็บข้อมูลและผู้ให้ข้อมูล อย่ำงไรก็ดี กำรด้ำเนินโครงกำรส่งผลให้เกิดกำรรวบรวมข้อมูลควำมเส่ียงต่อกำรทุจริตในแต่ละพ้ืนที่ทั่วประเทศ หลำยข้อมูล เป็นข้อมูลควำมเส่ียงต่อกำรทุจริตอันเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในวิถีชีวิตเป็นสิ่งท่ีพบเห็นประจ้ำวัน บำงข้อมูลเป็นประเด็น ควำมเสีย่ งต่อกำรทุจรติ ในรปู แบบของโครงกำรท่ีดำ้ เนนิ กำรผ่ำนมำแลว้ หรอื เพ่ิงดำ้ เนนิ กำรแล้วเสร็จ บำงขอ้ มลู เป็น รูปแบบควำมเส่ียงต่อกำรทุจริตอันเป็นรูปแบบของโครงกำรท่ีก้ำลังจะเร่ิมด้ำเนินกำร หรืออยู่ระหว่ำงกำร ด้ำเนินกำรแต่มสี ่ิงบง่ ชถี้ ึงควำมไม่ปกติอันนำ้ ไปสู่กำรวิเครำะหถ์ ึงควำมเสีย่ งกำรทจุ ริต

เพรำะฉะน้ัน กำรใช้ประโยชนจ์ ำกขอ้ มลู อนั เกิดจำกกำรปักหมุดพืน้ ท่ีเส่ียงต่อกำรทจุ ริต สำมำรถน้ำไปใช้ได้ ท้ังมิติของกำรน้ำไปเป็นเบำะแสส้ำคัญท้ังต่อพฤติกำรณ์กำรทุจริตท่ีปรำกฎเป็นเร่ืองร้องเรียนแล้ว รวมถึงตัวบุคคล ผู้เกี่ยวข้อง และยังสำมำรถใช้ประกอบกำรวำงแผนเพื่อกำรรวบรวมข้อเท็จจริงอันอำจน้ำไปสู่กำรรวบรวมข้อมูล เป็นเร่ืองร้องเรียนกำรทจุ รติ ได้ นอกจำกน้ี ในส่วนของกำรทุจริตท่ีมีควำมเสีย่ งว่ำอำจจะเกิดขึ้นในอนำคตหรอื เร่ือง ปญั หำซึง่ มีควำมทับซอ้ นกนั หลำยมติ ิ ขอ้ มลู จำกกำรปักหมุดพน้ื ท่ีเส่ียงตอ่ กำรทจุ ริตยังสำมำรถน้ำไปใชป้ ระกอบกำร วำงแผนกำรด้ำเนินกำรเพื่อป้องกันหรือยับย้ังหรือแก้ไขปัญหำกำรทุจริตนั้นๆ ได้อีกด้วย ท้ังน้ี ไม่ว่ำจะเป็นกำร

๑๐๔

ด้ำเนินกำรในรูปแบบใด กำรใช้ประโยชน์จำกข้อมูลที่ได้จำกกำรปักหมุดจึงต้องอำศัยกำรพิจำรณำจำกข้อเท็จจริง และควำมเหมำะสมในพื้นทเ่ี ป็นสำ้ คญั เพ่ือให้เกิดประสทิ ธผิ ลในกำรป้องกนั และปรำบปรำมกำรทจุ รติ สงู สุด

การบรู ณาการหน่วยงานและโครงการ

โครงกำรปักหมุดพ้ืนที่เสี่ยงต่อกำรทุจริตเป็นโครงกำรท่ีมุ่งเน้นกำรรวบรวมข้อมูลผ่ำนกำรวิเครำะห์ตำม แนวคิดกำรวิเครำะห์ควำมเส่ียงต่อกำรทุจริตตำมกรอบขององค์กรเพ่ือควำมโปร่งใสนำนำชำติผ่ำนกำรมีส่วนร่วม ของเครอื ขำ่ ยภำคประชำชน ท้งั น้ัน ขอ้ มลู ทีไ่ ดน้ นั้ จะไม่อำจน้ำไปสู่กำรป้องกนั และปรำบปรำมกำรทุจริตได้เลยหำก ไมไ่ ดน้ ้ำข้อมูลดังกลำ่ วไปใชป้ ระโยชน์ในภำรกจิ และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง

เพรำะฉะน้ัน กำรบูรณำกำรหน่วยงำนเพื่อกำรขับเคลื่อนกำรใช้ข้อมูลจำกกำรปักหมุดอันจะน้ำไปสู่กำร ป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตในประเด็นท่เี กี่ยวข้องจึงเปน็ ส่วนสำ้ คญั เช่น กำรบูรณำกำรงำนมำตรกำรป้องกัน กำรทุจริตกับประเด็นควำมเสี่ยงต่อกำรทุจริตในพื้นท่ีท่ีปรำกฎข้อเท็จจริงว่ำมำตรกำรท่ีได้เสนอต่อคณะรัฐมนตรีฯ น้ันยังขำดกำรน้ำไปปฏิบัติให้เห็นผลอย่ำงเป็นรูปธรรม หรือมำตรกำรป้องกันกำรทุจริตท่ีก้ำลังอยู่ในระหว่ำง กำรศึกษำเพื่อเตรียมกำรนำ้ เสนอสำมำรถใชข้ ้อมูลจำกกำรปักหมุดเพอื่ ลงพนื้ ที่ศึกษำข้อเทจ็ จรงิ ในสถำนท่จี รงิ ท่ีเกิด ปัญหำกำรทุจริตนั้นๆ เป็นต้น นอกจำกน้ี งำนในรูปแบบของโครงกำรหรืองำนกำรข่ำว ก็ยังสำมำรถบูรณำกำร ข้อมูลร่วมกันกับข้อมลู ควำมเสยี่ งต่อกำรทจุ ริตในแต่ละพื้นที่ โดยใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในกำรสนบั สนุนหรือเปน็ ข้อมูลต้ังต้น ในกำรด้ำเนนิ กำรดว้ ยเชน่ กัน ทง้ั น้ี นอกจำกกำรใช้ข้อมูลแล้ว ยงั เปน็ กำรสอบทำนข้อมลู พ้ืนที่เส่ยี งต่อกำรทุจริตอีก ด้วยวำ่ จำกกำรวเิ ครำะหค์ วำมเส่ยี งในเบ้ืองต้นแล้วนั้น เมื่อศกึ ษำเชิงลกึ แล้วพบข้อเท็จจริงเปน็ อย่ำงไร และเมื่อพบ ข้อเท็จจริงแล้วจะแก้ไขด้วยวิธีกำรแบบใด และเม่ือเวลำผ่ำนไปปัญหำนั้นๆ มีควำมบรรเทำเบำบำงหรือลดควำม รนุ แรงลงมำกน้อยเพยี งใด

ช่องทางการแจ้งเบาะแสหรอื ขอ้ ร้องเรยี น

ส้ำนักงำนคณะกรรมกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรทจุ ริตแหง่ ชำติ (สำ้ นักงำน ป.ป.ช.)

➢ ทอี่ ยู่ : เลขที่ 361 ถนนนนทบุรี ตำ้ บลทำ่ ทรำย อำ้ เภอเมอื ง จังหวัดนนทบรุ ี 11000

➢ ตู้ ป.ณ. : 100 เขตดสุ ติ กรุงเทพมหำนคร 10300

➢ โทรศพั ท์ : 0 2528 4800 - 4849

➢ เวบ็ ไซต์ : https://www.nacc.go.th

๑๐๕

4.6 STRONG Model

จิตพอเพียงต้านทจุ ริต (STRONG Model)

ส้ำนักงำนคณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตแห่งชำติ (ส้ำนักงำน ป.ป.ช.) ในฐำนะองค์กร หลักในกำรตอ่ ตำ้ นกำรทจุ รติ ของประเทศไทย ได้จัดท้ำยุทธศำสตรช์ ำติว่ำดว้ ยกำรป้องกนั และปรำบปรำมกำรทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ท่ีก้ำหนดวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยใสสะอำด ไทยท้ังชำติต้ำนทุจริต (Zero Tolerance and Clean Thailand)” และพันธกิจหลักเพ่ือสร้ำงวัฒนธรรมกำรต่อต้ำนกำรทุจริต ยกระดับธรรมำภิบำล ในกำรบริหำรจัดกำรทุกภำคส่วน และปฏิรูปกระบวนกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตทั้งระบบให้มีมำตรฐำน เทียบเท่ำสำกลผำ่ นยุทธศำสตร์ 6 ด้ำน ไดแ้ ก่ สร้ำงสังคมไมท่ นตอ่ กำรทุจรติ ยกระดบั เจตจ้ำนงทำงกำรเมืองในกำร ต่อต้ำนกำรทุจริต สกัดก้ันกำรทุจริตเชิงนโยบำย พัฒนำระบบป้องกันกำรทุจริตเชิงรุก ปฏิรูปกลไกและกระบวนกำร กำรปรำบปรำมกำรทุจริต และยกระดับดัชนีกำรรับรู้กำรทุจริตของประเทศไทย โดยเป้ำประสงค์ของยุทธศำสตร์ชำติฯ ระยะที่ 3 คือ ประเทศไทยมีค่ำดัชนีรับรู้กำรทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) สูงกว่ำร้อยละ 50 ในปี 2564

โครงกำร “STRONG จิตพอเพียงต้ำนทุจริต” เป็นโครงกำรท่ีมีควำมสอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติว่ำด้วยกำร ป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจรติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ในยทุ ธศำสตร์ที่ 1 กำรสร้ำงสังคมท่ีไม่ทนต่อ กำรทุจริต อันมีกลยุทธ์ว่ำด้วยเร่ืองของกำรปรับฐำนควำมคิดทุกช่วงวัยต้ังแต่ปฐมวัยให้สำมำรถแยกแยะระหว่ำง ผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ส่วนรวม ส่งเสริมให้มีระบบและกระบวนกำรกล่อมเกลำทำงสังคมเพ่ือต้ำน ทุจริต ประยุกต์หลักปรัชญำเศรฐกิจพอเพียงเป็นเครื่องมือต้ำนทุจริต และเสริมสร้ำงพลังกำรมีส่วนร่วมของชุมชน (Community) และบูรณำกำรทุกภำคส่วนเพื่อต่อต้ำนกำรทุจริต ซึ่งโครงกำร “STRONG จิตพอเพียงต้ำนทุจริต” ได้น้ำหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงมำใช้ประกอบหลักกำรต่อต้ำนกำรทุจริตอ่ืน ๆ เพ่ือสร้ำงฐำนคิดจิตพอเพียง ต่อต้ำนทุจริตให้เกิดขึ้นเป็นฐำนควำมคิดของปัจเจกบุคคล และประยุกต์หลักบูรณำกำรโมเดล “STRONG” (รศ.ดร. มำณี ไชยธีรำนุวัฒศิริ, 2560) อันประกอบด้วย พอเพียง (Sufficient: S) โปร่งใส (Transparent: T) ตื่นรู้ (Realise: R) มุ่งไปข้ำงหน้ำ (Onward: O) ควำมรู้ (Knowledge: N) และเอื้ออำทร (Generosity: G) เพ่ือเป็นแนวทำงในกำรพัฒนำ วัฒนธรรมชุมชน โดยมีกระบวนกำรเผยแพร่หลักกำร “STRONG” ไปสู่ชุมชนด้วยกำรสร้ำงโค้ช (coach) ที่มี ควำมสำมำรถและทักษะเพ่ือเป็นตัวแทนของส้ำนักงำน ป.ป.ช. ในกำรถ่ำยทอดองค์ควำมรู้และประสบกำรณ์ท่ี เกยี่ วกบั กำรคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ควำมไม่ทนและควำมอำยตอ่ กำรทจุ ริต และ หลักกำรจิตพอเพียงด้วยวิธีกำรท่ีเหมำะสม ซ่ึงจะช่วยให้ทุกภำคส่วนมีควำมตระหนักรู้และเล็งเห็นถึงควำมส้ำคัญ ของปัญหำกำรทุจริต อันน้ำไปสู่กำรเปล่ียนแปลงพฤติกรรมและเกิดค่ำนิยมต่อต้ำนทุจริตในสังคมไทย โดยใน ปงี บประมำณ พ.ศ. 2560 เปน็ ปงี บประมำณแรกทมี่ ีกำรด้ำเนนิ โครงกำร “STRONG จติ พอเพยี งตำ้ นทุจรติ ” ตำมมติ คณะกรรมกำร ป.ป.ช. คร้ังท่ี 904-75/2560 เม่ือวันท่ี 28 กันยำยน 2560 ได้มีกำรด้ำเนินโครงกำรน้ำร่องใน 27 จังหวดั ใน 9 ภำคของส้ำนักงำน ป.ป.ช. เพอื่ ขบั เคลื่อนโมเดล “STRONG” ใหบ้ รรลุผลสำ้ เรจ็ ตำมเปำ้ ประสงค์

๑๐๖

และในปงี บประมำณ พ.ศ. 2562 ไดข้ ยำยพ้ืนทกี่ ำรด้ำเนนิ โครงกำรครอบคลมุ ทั้ง 76 จังหวดั และ 1 เขตปกครอง ทอ้ งถนิ่ พเิ ศษ (กรุงเทพมหำนคร)

1. โมเดล STRONG

โมเดล STRONG เป็นกำรน้ำตัวอักษรแรกของศัพท์ภำษำอังกฤษท่ีมีควำมหมำยเชิงบวกจ้ำนวน 6 ค้ำ มำประกอบเป็นค้ำศัพท์ส่ือควำมหมำยถึง “ควำมแข็งแกร่ง” ของบุคคลและองค์กรในกำรต่อต้ำนกำรทุจริต โดยมี ควำมมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดจิตพอเพียงต้ำนทุจริต ร่วมกันพัฒนำชุมชนให้ก้ำวไปข้ำงหน้ำด้วยกำรประยุกต์และ บูรณำกำรหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงเข้ำกับควำมโปร่งใส กำรแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม กำรตระหนักรู้และใส่รู้ปัญหำกำรทุจริต และร่วมกันพัฒนำชุมชนให้มีควำมเอื้ออำทร บนพ้ืนฐำนของ จรยิ ธรรมและจติ พอเพียง ตลอดจนเกดิ เครือข่ำยชุมชนจิตพอเพยี งต้ำนทุจริตและเปน็ แกนน้ำสร้ำงวฒั นธรรมไม่ทน ตอ่ กำรทุจรติ ซึ่งโมเดล STRONG ได้มกี ำรสรำ้ งและพฒั นำโดยรองศำสตรำจำรย์ ดร. มำณี ไชยธรี ำนุวัฒศริ ิ ตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2560 – 2562 แสดงได้ดังแผนภำพที่ 1 – 2 ดังน้ี

แผนภาพที่ 1 โมเดล STRONG – จติ พอเพียงตา้ นทจุ ริต ปี พ.ศ. 2560 – 2561

๑๐๗

แผนภาพที่ 2 โมเดล STRONG – จิตพอเพียงตา้ นทจุ รติ ปี พ.ศ. 2562

จำกแผนภำพขำ้ งตน้ สำมำรถอธบิ ำยนยิ ำมเชงิ ปฏบิ ัติกำรได้ดังน้ี (1) พอเพียง (Sufficient: S) คา้ นยิ ามปี พ.ศ. 2560 - 2561 ผู้น้ำ ผู้บริหำร บุคคลทุกระดับ องค์กร และชุมชนน้อมน้ำหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง

มำปรับประยุกต์เป็นหลักควำมพอเพียงในกำรท้ำงำน กำรด้ำรงชีวิต กำรพัฒนำตนเองและส่วนรวม รวมถึงกำร ปอ้ งกันกำรทุจรติ อย่ำงยัง่ ยนื ควำมพอเพยี งตอ่ สิ่งใดสิง่ หนึง่ ของมนษุ ยแ์ มว้ ่ำจะต่ำงกันตำมพ้ืนฐำน แต่กำรตดั สินใจว่ำ ควำมพอเพียงของตนเองต้องตั้งอยู่บนควำมมีเหตุผล รวมทั้งไม่เบียดเบียนตนเอง ผู้อื่น และส่วนรวม ควำมพอเพียง ดงั กลำ่ วจงึ เปน็ ภูมิคุ้มกนั ให้บุคคลนัน้ ไม่กระท้ำกำรทุจริต ซึ่งต้องให้ควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจ (knowledge) และกำรตื่นรู้ (realize)

คา้ นิยามปี พ.ศ. 2562 ควำมพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมที่ระดับท่ีแตกต่ำงกันตำมวิธีคิด สภำพควำมพร้อมและ ควำมสำมำรถ รวมท้งั ตำมสถำนภำพทำงเศรษฐกจิ และสงั คมของบคุ คลและครอบครวั กลไกหลัก คือ ปรับวิธีคิดท่ีแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวมได้อย่ำงถูกต้อง ชัดเจน และเป็นอัตโนมตั จิ ะน้ำไปสู่จิตส้ำนึกทพี่ อเพยี ง ไมก่ อบโกยผลประโยชน์โดยมิชอบ ไมเ่ บียดเบียนผู้อน่ื ไม่เบยี ดบงั รัฐ

๑๐๘

ไม่รับอำมิสสินบนโดยมิต้องจ้ำกัดขอบเขตของกำรประกอบอำชีพท่ีสุจริต สำมำรถหำทรัพย์สินเงินทองได้ตำม ควำมสำมำรถ ท้งั นี้ โดยไมเ่ ดือดร้อนตนเองและผูอ้ ื่น

(2) โปร่งใส (Transparent: T) คา้ นยิ ามปี พ.ศ. 2560 – 2561 ผู้น้ำ ผู้บริหำร บุคคลทุกระดับ องค์กร และชุมชนต้องปฏิบัติงำนบนฐำนของควำมโปร่งใส ตรวจสอบได้ ดังน้ัน จึงต้องมีและปฏิบัติตำมหลักปฏิบัติ ระเบียบ ข้อปฏิบัติ กฎหมำยด้ำนควำมโปร่งใส ซ่ึงต้องให้ ควำมร้คู วำมเข้ำใจ (knowledge) และกำรตื่นรู้ (realize) คา้ นิยามปี พ.ศ. 2562 ควำมโปรง่ ใส ท้ำให้เห็นภำพหรือปรำกฏกำรณช์ ัดเจน กลไกหลกั คือ สรำ้ งควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจ และวธิ ีสงั เกตเกีย่ วกบั ควำมโปรง่ ใสของโครงกำรต่ำง ๆ (3) ต่ืนรู้ (Realize: R) ค้านิยามปี พ.ศ. 2560 – 2561 ผู้น้ำ ผู้บริหำร บุคคลทุกระดับ องค์กร และชุมชนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจและตระหนักรู้ถึงรำกเหงำ้ ของปัญหำและภัยร้ำยแรงของกำรทุจริตประพฤติมิชอบภำยในชุมชนและประเทศ ควำมต่ืนรู้จะบังเกิดเม่ือได้พบ เห็นสถำนกำรณ์ท่ีเส่ียงต่อกำรทุจริต ย่อมจะมีปฏิกิริยำเฝ้ำระวังและไม่ยินยอมต่อกำรทุจริตในท่ีสุด ซึ่งต้องให้ ควำมรูค้ วำมเข้ำใจ (knowledge) เกี่ยวกับสถำนกำรณ์ทจุ รติ ท่ีเกิดขึน้ ควำมรำ้ ยแรงและผลกระทบต่อระดบั บุคคล และส่วนรวม คา้ นยิ ามปี พ.ศ. 2562 เมื่อบคุ คลรู้พิษภยั ของกำรทุจริต และไมท่ นที่จะเห็นกำรทุจริตเกดิ ขนึ้ กลไกหลัก กำรเรียนรู้สถำนกำรณ์กำรทุจริตในพื้นท่ี ในชุมชน หรือในกรณีที่ปรำกฏกำรทุจริตขึน้ หรือกรณศี ึกษำท่เี กดิ ข้ึนมำแลว้ และมีคำ้ พิพำกษำถึงทส่ี ดุ แล้ว (4) มงุ่ ไปข้างหน้า (Onward: O) ค้านยิ ามปี พ.ศ. 2560 – 2561 ผู้น้ำ ผู้บริหำร บุคคลทุกระดับ องค์กร และชุมชนมุ่งพัฒนำและปรับเปล่ียนตนเองและส่วนรวมใหม้ ี ควำมเจริญก้ำวหน้ำอย่ำงยั่งยืนบนฐำนควำมโปรง่ ใส ควำมพอเพียง และร่วมสร้ำงวัฒนธรรมสุจริตให้เกิดขึน้ อยำ่ งไม่ย่อ ท้อ ซงึ่ ต้องมีควำมรู้ควำมเขำ้ ใจ (knowledge) ในประเด็นดงั กล่ำว ค้านิยามปี พ.ศ. 2562 กำรไม่มีกำรทจุ ริตของภำครัฐ จะท้ำให้เงนิ ภำษีถูกน้ำไปใชใ้ นกำรพฒั นำอย่ำงเต็มท่ี กลไกหลัก คือ กำรป้องกันและกำรป้องปรำม ด้วยกระบวนกำรมีส่วนร่วมในกำรเฝ้ำระวังพ้ืนที่ ที่มคี วำมเสย่ี ง ในกำรทจุ รติ เชน่ กำรบุกรกุ พ้ืนท่ีสำธำรณะ หรือเฝำ้ ระวังโครงกำรให้ด้ำเนนิ กำรดว้ ยควำมโปร่งใส

๑๐๙

(5) ความรู้ (Knowledge: N) ค้านยิ ามปี พ.ศ. 2560 – 2561 ผู้น้ำ ผู้บริหำร บุคคลทุกระดับ องค์กร และชุมชนต้องมีควำมรู้ควำมเข้ำใจสำมำรถน้ำควำมรู้ไปใช้ สำมำรถวิเครำะห์สังเครำะห์ ประเมินได้อย่ำงถ่องแท้ในสถำนกำรณ์กำรทุจริต ผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและส่วนรวม ควำมพอเพียงต้ำนทุจริต กำรแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมที่มีควำมส้ำคัญยิ่งต่อกำรลด ทุจริตในระยะยำว รวมทั้งควำมอำยไม่กล้ำท้ำทุจริตและควำมไม่ทนเมื่อพบเห็นว่ำมีกำรทุจริตเกิดข้ึน เพื่อสร้ำง สังคมไมท่ นตอ่ กำรทุจริต คา้ นยิ ามปี พ.ศ. 2562 ควำมร้ดู ้ำนตำ่ ง ๆ มีควำมจ้ำเปน็ ตอ่ กำรป้องกนั และป้องปรำมกำรทจุ รติ กลไกหลกั คือ กำรให้ควำมร้ใู นรูปแบบกำรฝึกอบรม หรือให้ส่ือเรียนรู้อยำ่ งต่อเน่ือง เชน่ (1) ควำมรเู้ กีย่ วกับรูปแบบกำรทจุ รติ แบบต่ำง ๆ ทั้งแบบสมัยอดีต แบบปจั จบุ ัน และแบบท่ี อำจจะเกิดขน้ึ ในอนำคต (2) ควำมรู้เก่ียวกับกำรทุจริตในต่ำงประเทศ (3) วิธกี ำรปอ้ งกัน - ป้องปรำมแบบต่ำง ๆ (4) ควำมรูเ้ กย่ี วกำรเฝ้ำระวงั (5) ควำมรูเ้ ก่ยี วกับกฎหมำยที่เก่ยี วข้อง (6) เอ้ืออำทร (Generosity: G) คา้ นยิ ามปี พ.ศ. 2560 – 2561 คนไทยมคี วำมเอ้ืออำทร มีเมตตำ มนี ้ำใจต่อกนั บนพืน้ ฐำนของจติ พอเพียงต่อตำ้ นทจุ รติ ไมเ่ ออ้ื ตอ่ กำร รับหรือกำรใหผ้ ลประโยชนต์ อ่ พวกพอ้ ง คา้ นยิ ามปี พ.ศ. 2562 กำรพัฒนำสังคมไทยใหม้ นี ้ำใจ โอบอ้อมอำรี เอ้อื เฟื้อเผ่อื แผ่ โดยไม่มีผลประโยชนต์ อบแทนหรือ หวังผลตอบแทน ในฐำนะเพ่ือนมนุษย์ กลไกหลกั กจิ กรรมจติ อำสำ ช่วยเหลอื บคุ คล ชมุ ชน/สงั คมในยำมวิกฤติ หรือกำรรว่ มมือในกำร รว่ มพัฒนำชุมชน จำกนิยำมข้ำงต้น STRONG: จิตพอเพียงต้ำนทุจริต จึงหมำยถึง ผู้ที่มีควำมพอเพียง ไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อนื่ (S) มุง่ อนำคตท่ีเจริญท้ังตนเองและสว่ นรวม (O) โดยใช้หลักควำมโปรง่ ใสตรวจสอบได้ (T) พื้นฐำนจิตใจมี มนษุ ยธรรมเอ้ืออำทร ช่วยเหลือเพอ่ื นมนุษยโ์ ดยไม่เห็นแก่ประโยชน์ตำ่ งตอบแทน (G) ใหค้ วำมส้ำคัญต่อกำรเรียนรู้ ตลอดชีวิต เพื่อกำรด้ำรงชีวิตในทำงท่ีชอบ (N) แต่ตื่นรู้เร่ืองภัยทุจริตท่ีร้ำยแรงส่งผลต่อสังคม รังเกียจกำรทุจริต ประพฤตมิ ิชอบทงั้ ปวง ไมย่ อมทนตอ่ กำรทุจริตทกุ รปู แบบ (R)

๑๑๐

นอกจำกน้ี ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีกำรพัฒนำโมเดล STRONG โดยเพ่ิมในเร่ืองของกำรมีส่วนร่วม (Participation) อันเป็นกลไกส้ำคัญในกำรเชื่อมโยงและขับเคล่ือนหลักกำรของโมเดล STRONG ไปสู่กำรป้องกัน กำรทุจริตได้เป็นรูปธรมอย่ำงมีประสิทธิภำพ ซ่ึงกำรเผยแพร่หลักกำรของโมเดล STRONG สู่ชุมชน จะด้ำเนินกำร โดยส้ำนักงำน ป.ป.ช. ประจำ้ จังหวัด และมกี ำรคัดเลือกผู้แทน/ผูน้ ้ำชุมชนในจงั หวดั ท่ีมีเครือข่ำย มคี วำมสำมำรถและ ทักษะในกำรถ่ำยทอดองค์ควำมรู้มำอบรมให้มีควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับโมเดล STRONG กำรน้ำไปประยุกต์ใช้ใน กำรกำรต่อต้ำนกำรทุจรติ เช่น กำรคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ควำมไม่ทนและควำม อำยต่อกำรทุจริต หลกั กำรจิตพอเพยี งด้วยวธิ ีกำรท่เี หมำะสม เปน็ ตน้ เพือ่ ให้ผไู้ ด้รับกำรคัดเลือกเปน็ โค้ช (coach) ถ่ำยทอดควำมรู้เก่ียวกับหลกั กำรของโมเดล STRONG และกำรต่อต้ำนกำรทุจริตให้แก่ผู้ท่ีอำศัยอยู่ในชุมชน รวมถึง ยังมีกำรจดั ตัง้ ชมรม STRONG เพื่อให้ทกุ ภำคสว่ นมีควำมตระหนักรู้เลง็ เหน็ ถงึ ควำมส้ำคัญของปัญหำกำรทจุ ริตและมี สว่ นรว่ มในกำรเฝ้ำระวังและแจง้ เบำะแสกำรทุจรติ

2. โมเดล STRONG กับมาตรการป้องกนั การทจุ ริตของต่างประเทศ กำรคิดค้นและพัฒนำโมเดล STRONG มีพ้ืนฐำนมำจำกกำรสั่งสมประสบกำรณ์ด้ำนกำรต่อต้ำน

กำรทจุ ริต โดยมคี วำมมุง่ หมำยที่จะสร้ำงกลไกและวิธีกำรในกำรขบั เคลื่อนให้ปอ้ งกันกำรทจุ ริตได้อย่ำงเป็นรูปธรรม รวมถึงในปัจจุบันน้ี องค์กรต่ำงประเทศต่ำง ๆ ได้ให้ควำมส้ำคัญกับกำรป้องกันกำรทุจริตอย่ำงมำก เนื่องจำกเป็น กำรยับย้ังไม่ให้กำรทุจริตเกิดขึ้นและเป็นแนวทำงในกำรต่อต้ำนกำรทุจริตที่มีควำมย่ังยื นในระยะยำว จึงได้ ท้ำกำรศึกษำเปรียบเทียบกำรป้องกันกำรทุจริตตำมหลักกำรของโมเดล STRONG กับมำตรกำรป้องกันกำรทุจริต ขององค์กรต่ำงประเทศ 3 องค์กร ได้แก่ องค์กรสหประชำชำติ (United Nations: UN) องค์กำรเพื่อควำมร่วมมือ และกำรพัฒนำทำงเศรษฐกิจ (Organization for Economic Co-operation and Development: OECD) และ ธนำคำรเพ่ือกำรพัฒนำแห่งเอเชยี (Asian Development Bank: ADB)

2.1 มาตรการป้องกนั การทุจรติ ขององคก์ รต่างประเทศ (1) องค์การสหประชาชาติ (United Nations: UN) อนุสัญญำสหประชำชำติว่ำด้วยกำรต่อต้ำนกำรทุจริต ค.ศ. 2003 (United Nations Convention

against Corruption: UNCAC) ประกอบด้วย 8 หมวด ได้แก่ บทบัญญัติทั่วไป มำตรกำรป้องกัน ก้ำหนดให้เป็น ควำมผิดทำงอำญำและกำรบังคับใช้กฎหมำย ควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศ กำรติดตำมทรพั ย์สนิ คืน ควำมชว่ ยเหลอื ทำง วชิ ำกำรในกำรแลกเปลยี่ นข้อมลู ขำ่ วสำร กลไกในกำรปฏิบตั ติ ำมอนสุ ัญญำ และบทบัญญัติสุดทำ้ ย

ในส่วนของบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับมำตรกำรป้องกันกำรทุจริตในหมวดท่ี 2 ข้อ 5 – 14 สำมำรถสรปุ ประเด็นมำตรกำรสำ้ คญั ในกำรปอ้ งกันกำรทุจรติ ไดด้ งั น้ี (United Nations, 2003)

(1.1) สง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ ม กำรต่อต้ำนกำรทุจริตมีควำมจ้ำเป็นต้องได้รับควำมร่วมมือและกำรมีส่วนร่วมของสังคม ควำมร่วมมือระหว่ำงหน่วยงำนท่ีบังคับใช้กฎหมำยและหน่วยงำนภำคเอกชนท่ีเกี่ยวข้อง และส่งเสริมกำร มีส่วนร่วมของบุคคลและกลุ่มต่ำง ๆ รวมถึงควรมีกำรพัฒนำและส่งเสริมควำมร่วมมือระหว่ำงเจ้ำพนักงำนใน กระบวนกำรยุติธรรม ผู้บงั คับใช้กฎหมำย และผู้ก้ำกับดแู ลทำงกำรเงิน

๑๑๑

(1.2) ความโปรง่ ใสและความรับผดิ ชอบ กำรส่งเสริมให้มีควำมโปร่งใสในกำรด้ำเนินงำนของทุกภำคส่วน เช่น กำรส่งเสริมควำม โปร่งใสในกำรสนับสนุนทำงกำรเงินแก่ผู้สมัครรับเลือกต้ังและกำรคัดเลือก/สรรหำบุคคลเข้ำรับรำชกำร กำรส่งเสริมควำมโปร่งใสในกำรบริหำรจัดกำรกำรคลังภำครัฐ กำรส่งเสริมให้มีกำรเผยแพร่ข้อมูลข่ำ วสำร โดยรัฐต้องมีระบบรองรับท่ีท้ำให้ม่ันใจได้ว่ำประชำชนมีช่องทำงในกำรเข้ำถึงข้อมูลข่ำวสำรได้อย่ำงมีประสิทธิผล กำร ส่งเสรมิ ควำมโปร่งใสในกำรบริหำรปกครองภำครัฐและกระบวนกำรปฏบิ ัตงิ ำนในภำครัฐ เป็นต้น (1.3) การเพ่มิ พนู และเผยแพรค่ วามรู้ องค์กรต่อต้ำนกำรทุจริตควรมีกำรด้ำเนินกำรเพ่ิมพูนและเผยแพร่ควำมรู้เกี่ยวกับกำร ป้องกนั กำรทจุ ริตให้แก่ทุกภำคส่วน เพอื่ ใหม้ ีควำมรู้ควำมเข้ำใจถึงปัญหำและวธิ ีกำรป้องกันกำรทุจริตในรูปแบบต่ำง ๆ รวมถงึ สนับสนุนกำรไม่ทนตอ่ กำรทจุ รติ ในแผนกำรศกึ ษำซึ่งรวมถึงหลกั สูตรของโรงเรยี นและมหำวิทยำลัย (1.4) การป้องกนั ความขดั กันแห่งผลประโยชน์สว่ นรวมและผลประโยชนส์ ่วนตน ภำครัฐและองค์กรต่อต้ำนกำรทุจริตส่งเสริมให้มีกำรป้องกันกำรขัดกันแห่งผลประโยชน์ ส่วนรวมและผลประโยชนส์ ่วนตน เช่น กำรก้ำหนดข้อจ้ำกัดเก่ียวกับกิจกำรงำนทำงวิชำชีพของอดีตเจ้ำหนำ้ ท่ีรัฐ หรือ กำรว่ำจำ้ งเจำ้ หนำ้ ท่รี ัฐโดยภำคเอกชนภำยหลังจำกกำรลำออกหรอื เกษียณอำยุ เป็นตน้ (1.5) ความมีคุณธรรมและซอื่ สตั ยส์ จุ รติ รัฐต้องส่งเสริมควำมมีคุณธรรม ควำมซ่ือสัตย์สุจริต และควำมรับผิดชอบของเจ้ำหน้ำท่ีรัฐ โดยกำรบงั คบั ใช้จรรยำบรรณหรือมำตรฐำนทำงคุณธรรมและจรยิ ธรรมกำรปฏิบตั ิรำชกำรอย่ำงถูกต้อง รวมถึงต้อง มีกำรพิจำรณำน้ำโทษทำงวินัยหรือมำตรกำรอ่ืนมำใช้กับเจ้ำหน้ำท่ีรัฐท่ีฝ่ำฝืนจรรยำบรรณหรือมำตรฐำนทำง คุณธรรมและจรยิ ธรรม

(1.6) ส่งเสริมใหส้ าธารณะตระหนกั ถงึ อันตรายของการทจุ รติ ภำครัฐและองค์กรต่อต้ำนกำรทุจริตต้องมีกำรให้ควำมรู้และส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมของ ทุกภำคส่วน เพ่ือให้สำธำรณชนมีควำมตระหนักรู้เก่ียวกับควำมมีอยู่ สำเหตุ ควำมร้ำยแรง และภัยคุกคำมที่เกิดจำกกำร ทจุ รติ มำกขึ้น (2) องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Co-operation and Development: OECD) องค์กำรเพ่ือควำมร่วมมือและกำรพัฒนำทำงเศรษฐกิจ (OECD) เป็นหนึ่งในองค์กรระหว่ำงประเทศ ท่ีมีบทบำทในกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริต โดยกำรด้ำเนินกำรของ OECD จะครอบคลุมถึงกำรป้องกันและ ปรำบปรำมกำรให้สินบน กำรส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม และกำรขจัดกำรทุจริตในภำครัฐ รวมถึงได้มีกำรศึกษำ รปู แบบเฉพำะขององค์กรต่อตำ้ นกำรทุจริต ซ่งึ ภำรกิจหน่งึ ท่ีมคี วำมจ้ำเป็นอย่ำงย่งิ ในกำรส่งเสริมให้กำรต่อตำ้ นกำร ทุจริตประสบผลส้ำเร็จได้ คือ กำรป้องกันกำรทุจริต โดยสำมำรถสรุปมำตรกำรส้ำคัญในกำรป้องกันกำรทุจริต ได้ ดังนี้ (Organization for Economic Co-operation and Development, 2008)

๑๑๒

(2.1) การพัฒนาการศึกษาวิจัยและนโยบายป้องกนั การทุจริต กำรศึกษำวิจัยรูปแบบ แนวโน้ม และควำมระดับควำมรุนแรงของกำรทุจริตที่จะเกิดขึ้น ในอนำคตเพื่อพัฒนำนโยบำยและมำตรกำรป้องกันกำรทุจริตได้อย่ำงเท่ำทันพลวัตรของกำรทุจริตเป็นปัจจัยท่ี สง่ เสริมใหป้ ระสบผลสำ้ เร็จในกำรตอ่ ตำ้ นกำรทุจรติ (2.2) การป้องกนั การใช้อา้ นาจหนา้ ทใ่ี นทางทจุ ริตของเจ้าหน้าทร่ี ัฐ กำรสง่ เสริมให้เจ้ำหน้ำทร่ี ฐั มจี รยิ ธรรม กำรบัญญตั ิมำตรฐำนทำงจรยิ ธรรมของเจำ้ หน้ำทร่ี ฐั เพื่อเป็นมำตรกำรพิเศษ และมีมำตรกำรลงโทษเจ้ำหน้ำท่ีรัฐท่ีฝ่ำฝืนหรือไม่ปฏิบัติตำมนับได้ว่ำเป็นมำตรกำรส้ำคัญ ประกำรหนึ่ งให้ เจ้ ำหน้ ำท่ีรัฐปฏิบัติ หน้ ำท่ี อย่ ำงมีจริยธรรม รวมถึงควรมี กำรป้ องกั นกำรขั ดกั น แห่งผลประโยชน์ส่วนรวมกับผลประโยชน์ส่วนตนจำกกำรปฏิบัติหน้ำที่ และส่งเสริมให้มีควำมโปร่งใสในกำรบริหำร จดั กำรภำครฐั (2.3) การสง่ เสริมศึกษาและความตระหนักรู้ องค์กรต่อต้ำนกำรทุจริตควรมีกำรพฒั นำและจัดทำ้ หลกั สตู รกำรศึกษำในกำรต่อตำ้ นกำร ทุจริตเพื่อน้ำไปปรับใช้ในสถำบันกำรศึกษำต่ำง ๆ และมีโครงกำรเผยแพร่ให้ควำมรู้แก่ทุกภำคส่วนให้ตระหนักถึง อันตรำยของกำรทุจริตและเสริมสร้ำงควำมรู้ในกำรป้องกันกำรทุจริตโดยสร้ำงควำมร่วมมือกับส่ือมวลชน องค์กร พฒั นำเอกชน (Non Governmental Organizations: NGOs) ภำคธุรกิจ และภำครัฐในกำรร่วมด้ำเนินโครงกำร (2.4) การสง่ เสรมิ ความร่วมมือกบั ทุกภาคส่วนในการป้องกันการทจุ รติ กำรป้องกันกำรทุจริต ไมม่ อี งค์กรใดสำมำรถด้ำเนนิ กำรได้เพยี งล้ำพัง ดังน้นั กำรสร้ำงควำม ร่วมมือกับทุกภำคส่วนในระดับต่ำง ๆ ทั้งกำรสร้ำงควำมร่วมมือกับองค์กรระหว่ำงประเทศ หน่วยงำนภำยในประเทศ ภำคประชำสงั คม ภำคธรุ กิจ และประชำชน จะเป็นส่วนสำ้ คัญทีท่ ้ำให้กำรป้องกนั กำรทจุ ริตมีประสทิ ธิภำพมำกขึ้น (2.5) การพัฒนาบุคลากร นอกจำกกำรด้ำเนินมำตรกำรป้องกันกำรทุจริตแล้ว กำรพัฒนำบุคลำกรให้มีควำมรู้ ควำมสำมำรถเฉพำะทำงดว้ ยกำรอบรมให้มีควำมรเู้ ทำ่ ทันกับพลวตั รของกำรทุจริตจะเป็นปจั จัยประกำรส้ำคัญท่ีท้ำ ให้บุคลำกรสำมำรถปฏิบัติหน้ำที่ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ดังนั้นองค์กรต่อต้ำนกำรทุจริตควรจัดให้มีกำรอบรมให้ ควำมร้แู ก่บุคลำกรดำ้ นป้องกนั กำรทจุ ริตเพื่อใหก้ ำรป้องกันกำรทุจริตบรรลผุ ลส้ำเรจ็ ไดอ้ ยำ่ งสงู สดุ

(3) ธนาคารเพอื่ การพัฒนาแห่งเอเชยี (Asian Development Bank: ADB) ธนำคำรเพื่อกำรพัฒนำแห่งเอเชีย (ADB) ได้มีควำมร่วมมือกับองค์กำรเพ่ือควำมร่วมมือและกำร พัฒนำทำงเศรษฐกิจ (OECD) ในกำรเสนอแนวทำงป้องกันกำรทุจริตแบบองค์รวม (Holistic Approach) ซึ่ง ประกอบด้วยเสำหลกั 3 ประกำร ดังนี้ (เอก ตง้ั ทรพั ย์วัฒนำ และคณะ, 2550)

(3.1) การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การภาครัฐทีม่ คี ุณภาพและโปร่งใส ประกอบด้วย

  1. กำรสร้ำงเกียรติภูมิในอำชีพข้ำรำชกำร รวมถึงก้ำหนดค่ำตอบแทนท่ีเพียงพอ มี

ระบบกำรเล่ือนขั้นที่โปร่งใส มีระบบตรวจสอบกำรใช้อ้ำนำจดุลพินิจของข้ำรำชกำร มีระบบสับเปล่ียนงำน ขำ้ รำชกำรเปน็ ระยะเพื่อปอ้ งกันไมใ่ หเ้ กิดผลประโยชนท์ ย่ี ึดตดิ กับต้ำแหน่ง

๑๑๓

  1. กำรมีประมวลจริยธรรมท่ีมีบทบัญญัติในประเด็นท่ีเกี่ยวกับกำรป้องกันกำร ขัดกันแห่งผลประโยชน์ และมีกำรวำงระบบกำรติดต่อกันระหว่ำงข้ำรำชกำรและนักธุรกิจ เพ่ือไม่ให้ข้ำรำชกำรมี อทิ ธพิ ลและสำมำรถเรยี กรับผลประโยชน์ได้
  1. มีระบบกำรตรวจสอบควำมโปร่งใส ซึ่งรวมถึงมีระบบกำรคลังท่ีโปร่งใส มี กฎเกณฑ์เกี่ยวกับสถำบันทำงกำรเงินท่ีได้มำตรฐำนสำกล มีกระบวนกำรตรวจสอบกำรใช้เงินงบประมำณ มีกระบวนกำร จัดซือ้ จัดจำ้ งโปร่งใส ระบบกำรเปดิ เผยข้อมูลข่ำวสำรและลดข้นั ตอนในระบบรำชกำร

(3.2) การสร้างคา่ นิยมความซ่อื สัตย์สจุ ริตในการท้างาน ประกอบด้วย

  1. กระบวนกำรป้องกัน สืบสวน และลงโทษผู้กระท้ำทุจริต ซ่ึงรวมถึงกำรมีระบบ

กฎหมำยที่จัดกำรกับกำรให้สินบน กำรมีหน่วยงำนหรือกลไกจัดกำรกับกำรฟอกเงิน กำรมีระบบตรวจสอบกำรให้สนิ บน เพ่ิมศักยภำพให้กับหน่วยงำนที่มีหน้ำท่ีตรวจสอบ และเพิ่มประสิทธิภำพของกำรร่วมมือระหว่ำงหน่วยงำน ทเ่ี กยี่ วขอ้ งและกำรปกปอ้ งผูแ้ จ้งเบำะแส

  1. กำรส่งเสริมควำมรับผิดชอบของบรรษัท ซ่ึงรวมถึงกำรสนับสนุนให้เกิด บรรษัทภิบำลและพัฒนำแนวทำงปฏิบัติในแต่ละบริษัท กำรมีบทลงโทษที่รุนแรงส้ำหรับกำรติดสินบนของเอกชน กำรปรับแก้กฎหมำยและกระบวนกำรที่เก่ียวข้องกับกำรจัดซื้อจัดจ้ำง กำรท้ำสัญญำกับภำคเอกชน หรือกำรให้ สัมปทำนทม่ี ีควำมโปร่งใสมำกข้นึ

(3.3) การสนบั สนุนการมีส่วนรว่ มของภาคประชาสงั คม ประกอบด้วย

  1. กำรกระตุ้นให้มีกำรถกเถียงเร่ืองกำรทุจริตในเวทีสำธำรณะ ซ่ึงรวมถึง

โครงกำรสร้ำงควำมตระหนักในระดับต่ำง ๆ กำรสนับสนุนบทบำทขององค์กรพัฒนำเอกชน กำรปรับระบบ กำรศกึ ษำเพื่อปลูกฝังวัฒนธรรมกำรตอ่ ต้ำนกำรทุจริต

  1. กำรเข้ำถึงข้อมูลข่ำวสำรของสำธำรณะและส่ือ ซึ่งรวมถึงกำรก้ำหนดให้ มีหน่วยงำนท่ีเกี่ยวข้องรำยงำนต่อสำธำรณะถึงผลกำรด้ำเนินงำนท้ังเร่ืองกำรป้องกัน ปรำบปรำม สนับสนุน และกำร ใหส้ ิทธิประชำชนในกำรเข้ำถงึ ข้อมูลข่ำวสำรทั้งหมดของภำครัฐ และกำรทำ้ ให้พระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรเกิดผลขึ้น จรงิ ในทำงปฏบิ ัติ
  1. กำรมีส่วนร่วมของประชำชน ซึ่งรวมถึงกำรปกป้องผู้แจ้งเบำะแส กำรระดม กำรสนับสนุนและกำรมสี ่วนร่วมจำกองค์กรพฒั นำเอกชน และองค์กรอ่ืน ๆ

จำกกำรศึกษำมำตรกำรป้องกันกำรทุจริตขององค์กำรสหประชำชำติ (UN) ตำมอนุสัญญำสหประชำชำติว่ำ ด้วยกำรต่อต้ำนกำรทุจรติ (UNCAC) องค์กำรเพ่ือควำมร่วมมือและกำรพัฒนำทำงเศรษฐกิจ (OECD) และธนำคำร เพอื่ กำรพัฒนำแห่งเอเชีย (ADB) สำมำรถสรุปประเดน็ มำตรกำรกำรปอ้ งกนั กำรทุจริตได้ดังตำรำงที่ 1

๑๑๔

ตารางที่ 1 มาตรการป้องกันการทุจรติ ขององค์กรระหว่างประเทศ

ประเดน็ องค์การ หน่วยงาน ธนาคารเพอ่ื การ สหประชาชาติ(UN) องคก์ ารเพอ่ื ความ พัฒนาแห่งเอเชีย ร่วมมอื และการ 1. กำรมสี ว่ นร่วมของภำคส่วนต่ำง ๆ √ (ADB) √ พฒั นาทาง 2. ควำมโปร่งใส ตรวจสอบได้ √ เศรษฐกิจ (OECD) √ √ 3. กำรสร้ำงองค์ควำมร้ใู นกำรป้องกนั √ √ √ กำรทุจริต √ √ √ √ 4. กำรป้องกนั กำรขดั กันแหง่ √ ผลประโยชน์สว่ นรวมกับ √ √ ผลประโยชนส์ ว่ นตน √ √ 5. กำรส่งเสริมคณุ ธรรมจรยิ ธรรมของ เจ้ำหนำ้ ทร่ี ัฐตำมประมวลจริยธรรม √

6. กำรสง่ เสรมิ ใหส้ ำธำรณะตระหนัก √ ถึงอนั ตรำยของกำรทุจริต √ 7. กำรพัฒนำกำรศึกษำวจิ ยั และ นโยบำยป้องกนั กำรทจุ รติ

8. กำรพัฒนำใหค้ วำมรบู้ ุคลำกร ที่ปฏิบัติหน้ำที่ด้ำนป้องกันกำรทุจริต

เปรียบเทยี บโมเดล STRONG กับมาตรการป้องกนั การทุจริตขององค์กรตา่ งประเทศ จำกกำรศึกษำสำระส้ำคัญของโมเดล STRONG และมำตรกำรป้องกันกำรทุจริตขององค์กรต่ำงประเทศ 3 องคก์ ร ไดแ้ ก่ องค์กำรสหประชำชำติ (UN) องคก์ ำรเพอื่ ควำมร่วมมือและกำรพัฒนำทำงเศรษฐกจิ (OECD) และ ธนำคำรเพื่อกำรพัฒนำแห่งเอเชีย (ADB) พบว่ำ นิยำมเชิงปฏิบัติกำรของโมเดล STRONG มีควำมสอดคล้องกับ มำตรกำรป้องกันกำรทุจรติ ขององคก์ รต่ำงประเทศ ซ่ึงแสดงไดด้ ังตำรำงที่ 2

๑๑๕

ตารางท่ี 2 เปรยี บเทียบมาตรการป้องกันการทจุ รติ ขององคก์ รระหวา่ งประเทศกับโมเดล STRONG

โมเดล STRONG

ประเด็น พอเพียง โปรง่ ใส ตระหนักรู้ มุ่งไปข้างหนา้ ความรู้ เออื เฟอ้ื

(S) (T) (R) (O) (N) (G)

1. กำรมสี ว่ นรว่ มของภำคสว่ นต่ำง ๆ √ √ √ √ √√

2. ควำมโปร่งใส ตรวจสอบได้ √

3. กำรสร้ำงองค์ควำมรูใ้ นกำรปอ้ งกัน √ กำรทุจริต

4. กำรป้องกันกำรขดั กนั แห่ง

ผลประโยชน์สว่ นรวมกบั √

ผลประโยชนส์ ว่ นตน

5. กำรสง่ เสริมคุณธรรมจริยธรรมของ √ เจำ้ หนำ้ ที่รัฐตำมประมวลจริยธรรม

6. กำรสง่ เสริมใหส้ ำธำรณะตระหนักถึง √ อันตรำยของกำรทุจรติ

7. กำรพัฒนำกำรศึกษำวจิ ัยและ √ √√ นโยบำยปอ้ งกันกำรทจุ ริต

8. กำรพัฒนำให้ควำมรบู้ ุคลำกรทปี่ ฏิบัติ √ หน้ำที่ด้ำนป้องกนั กำรทุจริต

เมื่อพิจำรณำกำรเปรียบเทียบมำตรกำรป้องกันกำรทุจริตขององค์กรระหว่ำงประเทศในกำรต่อต้ำนกำร ทุจริตทั้ง 3 องค์กรกับโมเดล STRONG พบว่ำ โมเดล STRONG มีนิยำมเชิงปฏิบัติกำรท่ีสอดคล้องกับมำตรกำร ป้องกันกำรทุจริตขององค์กรระหว่ำงประเทศ ท้ังในประเด็นกำรส่งเสริมควำมโปร่งใสตรวจสอบได้ กำรสร้ำงองค์ ควำมรู้ในกำรป้องกันกำรทุจริต กำรป้องกันกำรขัดกันแห่งผลประโยชน์ กำรส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของเจ้ำหน้ำที่ รัฐ กำรส่งเสริมให้สำธำรณะตระหนักถึงอันตรำยของกำรทุจริต กำรพัฒนำกำรศึกษำวิจัยและนโยบำยป้องกันกำร ทุจริต และกำรพัฒนำให้ควำมรู้บุคลำกรท่ีปฏิบัติหน้ำท่ีด้ำนป้องกันกำรทุจริต ซึ่งตัวอักษรตัว “T” และตัว “R” ในโมเดล STRONG สำมำรถสอดรับได้กับมำตรกำรป้องกันกำรทุจริตขององค์กรระหว่ำงประเทศได้ถึง 2 ประเด็น กล่ำวคือ “T” คือ ควำมโปร่งใส เป็นหลักกำรในกำรส่งเสริมควำมโปร่งใสตรวจสอบได้ และกำรส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมของเจ้ำหน้ำท่รี ฐั ในส่วนของตัวอักษร “R” คือ ควำมตระหนักรู้ เป็นหลกั กำรในกำรส่งเสริมให้สำธำรณะ ตระหนักถึงอันตรำยของกำรทุจริตและพัฒนำกำรศึกษำวิจัยและนโยบำยป้องกันกำรทุจริต และในส่วนของกำรมี ส่วนร่วม (Participation) แม้จะไม่มีนิยำมเชิงปฏิบัติกำรของตัวอักษรในโมเดล STRONG ที่มีควำมสอดคล้องหรือมี ควำมหมำยที่ตรงกับกำรส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมของภำคส่วนต่ำง ๆ ในกำรต่อต้ำนกำรทุจริต แต่เม่ือพิจำรณำแผนภำพ ของโมเดล STRONG จะพบว่ำ กำรมีส่วนร่วม (Participation) เป็นปัจจัยส้ำคัญในกำรเชื่อมโยงหลักกำรของโมเดล

๑๑๖

STRONG ท้ัง 6 ประกำร กล่ำวคือ กำรประสบควำมเสร็จในกำรป้องกันกำรทุจริตเชิงรุกด้วยกำรเสริมสร้ำงให้บุคคล และชุมชนมีจิตพอเพียงต่อต้ำนทุจริตด้วยโมเดล STRONG ซึ่งเป็นเป้ำหมำยที่ส้ำคัญของโมเดล STRONG ได้นั้น เกิดจำกกำรมีส่วนร่วมของทุกภำคส่วน ซึ่งจะเห็นกำรส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมได้จำกกระบวนกำรด้ำเนินโครงกำร “STRONG – จิตพอเพียงต้ำนทุจริต” ที่มีกำรถ่ำยทอดควำมรู้เกี่ยวกับโมเดล STRONG ไปสู่ชุมชนและกำรจัดต้ัง ชมรม STRONG เพ่ือผลักดันให้มีกำรน้ำหลักกำรของโมเดล STRONG ไปสู่กำรปฏิบัติในกำรป้องกันกำรทุจริตได้ อยำ่ งเปน็ รปู ธรรม

3. สรปุ ส้ำนกั งำน ป.ป.ช. ได้ดำ้ เนนิ โครงกำร STRONG จติ พอเพียงต้ำนทจุ ริต ตง้ั แตป่ งี บประมำณ พ.ศ. 2560 และ

ในปงี บประมำณ พ.ศ. 2562 ได้ขยำยพื้นท่ีกำรด้ำเนินโครงกำรครอบคลุมทัง้ 76 จังหวัด และ 1 เขตปกครองท้องถ่ิน พิเศษ (กรุงเทพมหำนคร) กำรด้ำเนินโครงกำรดังกล่ำวได้น้ำโมเดล STRONG จิตพอเพียงต้ำนทุจริต ไปขับเคล่ือน กำรป้องกันกำรทุจริตในพื้นที่ได้อย่ำงเป็นรูปธรรม โดยมีกำรจัดตั้งชมรม STRONG ในทุกจังหวัดเพ่ือให้ประชำชน ในพื้นที่มีส่วนร่วมเป็นผู้จับตำมองและแจ้งเบำะแสกำรทุจริต (Watch and Voice) โดยในช่วง 3 ปีที่ผ่ำนมำ ได้มี กำรพัฒนำตอ่ ยอดโมเดล STRONG เพ่อื ใหส้ ำมำรถน้ำไปใชเ้ ป็นกลไกในกำรขบั เคล่ือนกำรปอ้ งกนั กำรทจุ รติ ได้อย่ำง เป็นรูปธรรม โดยในปี พ.ศ. 2562 ได้เพ่ิมค้ำว่ำ “กำรมีส่วนร่วม” (Participation) ซ่ึงเป็นกลไกส้ำคัญในกำร เช่ือมโยงและขับเคลื่อนหลักกำรของโมเดล STRONG ไปสู่กำรป้องกันกำรทุจริตได้ย่ำงมีประสิทธิภำพ เพ่ือให้กำร ป้องกนั และกำรต่อต้ำนกำรทุจริตประสบควำมสำ้ เร็จอยำ่ งสงู สุดและมคี วำมเป็นสัจธรรม

นอกจำกน้ี จำกกำรศึกษำมำตรกำรป้องกันกำรทุจริตขององค์กรระหว่ำงประเทศ 3 องค์กร ได้แก่ องค์กร สหประชำชำติ (UN) องค์กำรเพื่อควำมร่วมมือและกำรพัฒนำทำงเศรษฐกิจ (OECD) และธนำคำรเพื่อกำรพัฒนำ แห่งเอเชีย ADB) พบว่ำ มีมำตรกำรป้องกันกำรทุจริตที่องค์กรระหว่ำงประเทศให้ควำมส้ำคัญ 8 ประกำร ได้แก่ (1) กำรมีส่วนร่วมของภำคส่วนต่ำง ๆ (2) ควำมโปร่งใส ตรวจสอบได้ (3) กำรสร้ำงองค์ควำมรู้ในกำรป้องกันกำร ทุจริต (4) กำรป้องกันกำรขัดกันแห่งผลประโยชนส์ ่วนรวมกับผลประโยชนส์ ว่ นตน (5) กำรสง่ เสริมคุณธรรมจริยธรรม ของเจ้ำหน้ำท่ีรัฐตำมประมวลจริยธรรม (6) กำรส่งเสริมให้สำธำรณะตระหนักถึงอันตรำยของกำรทุจริต (7) กำร พัฒนำกำรศึกษำวิจัยและนโยบำยป้องกันกำรทุจริต และ (8) กำรพัฒนำให้ควำมรู้บุคลำกรท่ีปฏิบัติหน้ำที่ด้ำน ปอ้ งกันกำรทุจริต มคี วำมสอดคล้องกับแนวทำงกำรป้องกนั กำรทุจริตและนิยำมเชงิ ปฏบิ ัติกำรของโมเดล STRONG โดยเฉพำะอยำ่ งยง่ิ หลกั กำรมสี ว่ นร่วมของทุกภำคสว่ น ทั้งภำครฐั ภำคเอกชน ภำคประชำสงั คม และภำคประชำชน จะเปน็ ปจั จยั ส้ำคัญในกำรขับเคล่อื นโมเดล STRONG ใหเ้ ป็นรูปธรรมได้

๑๑๗

Tip

(1) กำรเตมิ น้ำลงสชู่ ้นั น้ำบำดำล

คอื กำรเพิ่มเติมปรมิ ำณน้ำบำดำล โดยกำรนำ้ นำ้ ท่ีเหลือใช้หรือชว่ งท่นี ้ำทว่ มหลำก เตมิ ลงสู่ชั้นนำ้ บำดำลที่ มีควำมเหมำะสม และสำมำรถสูบกลับมำใช้ใหม่ในช่วงเวลำหรือในพื้นท่ีท่ีต้องกำร เป็นกำรแก้ไขปัญหำกำรลดลง ของระดับน้ำบำดำลจำกกำรสูบใช้นำ้ บำดำลเกนิ สมดุล และเพอื่ กำรอนรุ กั ษ์สงิ่ แวดล้อม

วตั ถุประสงคข์ องการเติมน้าลงส่ชู ันน้าบาดาล

1. เพม่ิ เตมิ ปรมิ ำณนำ้ ใหเ้ พียงพอต่อกำรอุปโภคบริโภค และเกษตรกรรม 2. ลดปญั หำภัยแลง้ โดยกำรกกั เกบ็ นำ้ หลำกในฤดฝู นไวใ้ ชใ้ นฤดูแล้ง 3. ลดปญั หำอทุ กภัย โดยกำรลดปรมิ ำณน้ำหลำกท่ีจะระบำยลงส่แู มน่ ้ำสำยหลกั 4. ปอ้ งกนั กำรรกุ ล้ำของน้ำเคม็ เขตชำยฝ่ังทะเลในพนื้ ที่ทป่ี ัญหำน้ำเค็ม 5. ปรับปรุงคณุ ภำพน้ำในบำงพน้ื ที่ 6. ลดกำรระเหยของน้ำท่ีกกั เก็บไว้ใช้ในฤดูตำ่ งๆ โดยรวบรวมไปเก็บไวใ้ ตด้ ิน 7. รักษำสมดลุ ของกำรไหลในล้ำนำ้ ในระบบนเิ วศวิทยำ และควำมหลำกหลำยทำงชวี ภำพ 8. ฟ้ืนฟูระดบั น้ำบำดำลให้สูงข้นึ

ประโยชนข์ องการเติมนา้ ลงสชู่ ันนา้ บาดาล

1. มแี หลง่ น้ำต้นทนุ ส้ำหรบั ใชเ้ พือ่ กำรอุปโภคบรโิ ภคและเกษตรกรรม 2. ลดควำมเสียหำยจำกภัยธรรมชำติ เช่น อุทกภัย และภัยแล้ง โดยกำรกักเก็บน้ำในฤดูน้ำหลำกและ บูรณำกำรกำรใชน้ ้ำบำดำลรว่ มกับน้ำผวิ ดินในฤดแู ลง้ 3. ลดค่ำใช้จำ่ ยในกำรทรดุ บ่อ หรอื กำรตดิ ต้งั ปมั๊ แบบจุ่มเพ่ือสูบนำ้ ในระดับลกึ ขน้ึ ซึ่งเสยี คำ่ ใช้จ่ำยแพงมำก 4. ลดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมและระบบนิเวศวทิ ยำ

วิธกี ารจดั การเพอ่ื กักเกบ็ นา้ ลงสชู่ นั น้าบาดาล

รูปแบบและวิธีกำรเติมน้ำบำดำลมีหลำกหลำยวิธีขึ้นอยู่กับลักษณะของพ้ืนที่ที่จะด้ำเนินกำร มีตั้งแต่ รูปแบบที่เรียบง่ำยไปจนถึงรูปแบบที่ซับซ้อน ทั้งนี้ กำรประยุกต์ใช้รูปแบบต่ำงๆ น้ัน ขึ้นกับควำมเหมำะสมของแต่ ละสภำพพื้นที่

๑๑๘

๑๑๙

ที่มำ : ดดั แปลงจำก Dillon, 2005

ปัจจยั ในการคดั เลอื กพนื ที่เติมน้า 1. พ้ืนท่ที ีม่ ีกำรใช้น้ำบำดำลเปน็ จำ้ นวนมำก 2. ระดับน้ำบำดำลมีกำรลดลงอยำ่ งต่อเนื่อง 3. ขำดแคลนน้ำในช่วงฤดแู ล้ง และน้ำท่วมในชว่ งฤดูฝน 4. ศักยภำพของพน้ื ท่ใี นกำรเติมน้ำ อำทิเชน่ ควำมลกึ ของชั้นนำ้ บำดำล และควำมหนำของชัน้ น้ำบำดำล 5. มแี หล่งน้ำดิบท่ีสำมำรถใช้เติมนำ้ ลงส่ชู ัน้ น้ำบำดำล 6. พน้ื ทมี่ คี วำมเหมำะสม ไดร้ ับควำมรว่ มมอื จำกประชำชน และหน่วยงำนในท้องถ่นิ

แหล่งน้าส้าหรบั เตมิ ลงสู่ชันน้าบาดาล 1. น้ำฝน ประกอบด้วยน้ำที่ตกลงพื้นโดยตรง น้ำฝนที่ไหลผ่ำนผวิ ดนิ และน้ำฝนท่ไี หลลน้ จำกหลงั คำ 2. นำ้ จำกแหลง่ น้ำผวิ ดิน เช่น แมน่ ้ำลำ้ คลอง อ่ำงเก็บน้ำ

การปรบั ปรงุ คณุ ภาพน้าก่อนเตมิ ลงสู่ชนั นา้ บาดาลโดยการกรอง กำรจัดท้ำระบบกรองน้ำก่อนเติมลงสู่ชั้นน้ำบำดำล เป็นขั้นตอนท่ีส้ำคัญในกำรเติมน้ำลงสู่ชั้นน้ำบำดำล

เพื่อช่วยกรองส่ิงปกปรกขนำดเล็กก่อนเติมเข้ำสู่ช้ันน้ำบำดำล วัสดุที่ใช้ในกำรกรองน้ำจะเน้นใช้วัสดุที่มำจำก ธรรมชำติ อำทิเช่น กรวด ทรำย และถ่ำน ในกำรจัดท้ำระบบกรองน้ำ เพื่อให้เกิดควำมถูกต้องตำมหลักวิชำกำร เปน็ กำรรกั ษำส่ิงแวดล้อมและระบบนิเวศ ซ่งึ ในกำรจัดท้ำระบบกรองน้ำก่อนเติมหำกใช้ กรวด ทรำย ทีม่ ีขนำดเล็ก เกินไปจะทำ้ ใหเ้ กิดกำรอุดตันได้ง่ำย และกรวด ทรำย ทม่ี ีขนำดใหญเ่ กนิ ไปจะทำ้ ใหป้ ระสทิ ธภิ ำพกำรกรองลดลง

๑๒๐

๑๒๑

บรรณานุกรม

กรมทรัพยำกรนำ้ บำดำล (2553). กำรจัดกำรนำ้ บำดำลในโรงเรยี น. กรงุ เทพ: โรงพิมพ์กรมทรัพยำกรน้ำบำดำล

สถำบันวจิ ัยทรพั ยำกรนำ้ ใต้ดิน มหำวทิ ยำลัยขอนแกน่ . (2561). ค่มู อื กำรฝึกอบรมหลักสตู รวิศวกรหรอื นกั ธรณีวทิ ยำ, กรมทรัพยำกรน้ำบำดำล กระทรวงทรพั ยำกรธรรมชำติและส่งิ แวดล้อม

ส้ำนกั สง่ เสรมิ และบรู ณำกำรกำรมสี ่วนร่วมต้ำนทุจรติ . (2563). รำยงำนผลกำรปกั หมดุ พื้นทเี่ สี่ยงต่อกำรทจุ ริต ประจ้ำปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 พืน้ ทภ่ี ำค 1-9, ส้ำนกั งำน ป.ป.ช.

สำ้ นักส่งเสริมและบรู ณำกำรกำรมสี ว่ นรว่ มต้ำนทุจริต. (2563). รำยงำนผลกำรปกั หมดุ พืน้ ทีเ่ สยี่ งต่อกำรทจุ ริต ประจ้ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 พ้ืนทกี่ รุงเทพมหำนคร, ส้ำนักงำน ป.ป.ช.

ชยั พร ศิริพรไพบลู ย์. (19 พฤษภำคม 2559) พ้ืนฐำนน้ำบำดำลของเรำ[สไลด์ PowerPoint]

ทรพั ยำกรน้ำและน้ำบำดำล. สไลด์. 2561

กรมทรัพยำกรน้ำบำดำล. (2562). เอกสำรประกอบกำรอบรมถำ่ ยทอดองคค์ วำมรู้ โครงกำรศนู ย์เรยี นรู้ดำ้ นกำร อนุรักษแ์ ละฟืน้ ฟแู หลง่ น้ำบำดำล พ้นื ท่แี อง่ เจำ้ พระยำตอนบน. สืบค้น 2 มิถนุ ำยน 2564, จำก http://www.dgr.go.th/th/newsAll/261/2316

กรมทรัพยำกรนำ้ บำดำล. (2563). ศกั ยภำพนำ้ บำดำลของประเทศไทย. สืบคน้ 2 มถิ ุนำยน 2564, จำก http://www.dgr.go.th/th/newsAll/124/3076

กรมทรัพยำกรนำ้ บำดำล. (2564). ข้อมูลสถำนกำรณ์น้ำบำดำล. สืบค้น 2 มิถนุ ำยน 2564, จำก http://www.dgr.go.th/th/public-service/329

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. พระบำทสมเดจ็ พระเจำ้ อยหู่ ัวกับงำนดำ้ นกำรจัดกำรทรัพยำกรน้ำ. สืบคน้ 2 มิถนุ ำยน 2564, จำก https://www.moac.go.th/king-water

๑๒๒

ประกำศคณะกรรมกำรสงิ่ แวดล้อมแหง่ ชำติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) ออกตำมควำมในพระรำชบญั ญตั สิ ่งเสรมิ และ รกั ษำคุณภำพสง่ิ แวดลอ้ มแหง่ ชำติ พ.ศ. 2535 เรื่อง กำ้ หนดมำตรฐำนคณุ ภำพน้ำในแหล่งน้ำผวิ ดิน. (2537). กำรก้ำหนดมำตรฐำนคณุ ภำพแหล่งน้ำ. สบื ค้น 2 มถิ นุ ำยน 2564, จำก http://kmcenter.rid.go.th/kmc17/data/Regulations/Other/standard_water.pdf

สถำบันวทิ ยำลัยชมุ ชน. (2562). คู่มอื กำรขดั กันระหว่ำงผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวม. สบื คน้ 2 มถิ นุ ำยน 2564, จำก http://www.bcca.go.th/uploads/file/Conflict.pdf

๑๒๓

สื่อท่ใี ชป้ ระกอบชดุ วชิ า

เร่ือง การพทิ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตนิ า้ และนา้ บาดาล

ที่ ชอ่ื เรือ่ ง ประเภท เนือเร่ือง 1 - 27 หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ 1 กำรเดนิ ทำงของสำยน้ำ วดี ที ศั น์/วิดีโอ/เอกสำร/ บทควำม

ท่ี ชื่อเรื่อง ประเภท ระยะเวลา QR Code 1 น้ำบำดำลคืออะไร? วดี ที ศั น์ 6.16 นำที

2 ควำมเข้ำใจผดิ เกี่ยวกับน้ำ วีดที ัศน์ 4.51 นำที บำดำล 4.59 นำที

3 กำรอนุรักษ์น้ำบำดำล วดี ีทัศน์

4 โครงกำรของกรมทรัพยำกร วีดีทศั น์ 5.15 นำที น้ำบำดำล 1.36 นำที

5 วฏั จกั รของน้ำ กำรเกดิ นำ้ วีดที ศั น์ บำดำล (ไม่มเี สยี งบรรยำย)

6 กำรเกิดนำ้ บำดำล ๑๒๔ 18.33 นำที

วดี ีทัศน์

7 ทรัพยำกรน้ำ วดี ที ัศน์ 4.30 นำที

8 ควำมรเู้ บื้องต้นเกย่ี วกบั กำร วีดที ศั น์ 3.25 นำที บรหิ ำรจัดกำรนำ้ และสำยน้ำ วีดีทศั น์ 10.24 นำที โดย สทนช. ชวนทำ้ ควำม รูจ้ กั “ผังนำ้ ” เครื่องมือ บรหิ ำรจดั กำรน้ำยคุ ใหม่

9 โครงกำรสำ้ คญั กรม ทรพั ยำกรน้ำบำดำล

10 รำยกำรลำ้ น้ำแหง่ สำยน้ำ วีดที ัศน์ 5.19 นำที ตอน กำรเดนิ ทำงของสำยน้ำ

11 น้ำบำดำลพบไดท้ ี่ไหน วีดที ัศน์ 2.17 นำที

12 สำรคดีกองทุนพัฒนำน้ำ วดี ที ัศน์ 3 นำที บำดำล - กฎหมำยกำรเจำะ น้ำบำดำล

13 แผนแม่บทกำรบรหิ ำร ๑๒๕ 3.22 นำที จดั กำรทรัพยำกรนำ้ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) วดี ที ศั น์

14 กระบวนกำรทำงนำ้ ผวิ ดิน วีดีทัศน์ 32.41 นำที และนำ้ ใต้ดิน

15 ประเภทของนำ้ ตำมแหลง่ น้ำ วีดที ัศน์ 4.33 นำที ธรรมชำติ

16 น้ำบนโลกนี้ มีต้นกำ้ เนิดมำ วดี ที ัศน์ 3.37 นำที จำกอะไร?

17 กำรส้ำรวจระบบนิเวศแหลง่ วีดีทัศน์ 20.08 นำที นำ้

18 บทควำม แหลง่ นำ้ บนโลก ๑๒๖ -

บทควำม

19 น้ำทเี่ รำใชก้ นั ทุกวันน้มี ำจำก วดี ที ัศน์ 3 นำที ไหน

20 น้ำบำดำล วดี ีทัศน์ 7.07 นำที

21 บทควำม ทรัพยำกรนำ้ ใน บทควำม - ประเทศไทย

22 นำ้ บำดำลและระดบั น้ำใต้ดิน บทควำม -

23 กำรเติมน้ำลงส่นู ้ำบำดำล ๑๒๗ -

เอกสำร

24 10 ขน้ั ตอน กว่ำจะเป็น บทควำม - “น้ำบำดำล” เพื่อประชำชน

25 กำรบรหิ ำรจัดกำรน้ำ บทควำม - (หนำ้ เว็บไซต์ได้ถูกลบแลว้ )

26 สำรคดกี องทนุ พฒั นำนำ้ วดี ที ัศน์ 3 นำที บำดำล – โครงกำรศึกษำ 1 นำที ระบบกำรเติมน้ำผิวดินลงสู่ ชน้ั นำ้ บำดำล

27 กำรพฒั นำนำ้ บำดำลขนำด วดี ที ศั น์ ใหญ่ (Riverbank Filtration : RBF)

๑๒๘

ที่ ช่อื เร่อื ง ประเภท เนือเรอ่ื ง 1 - 19 หน่วยกำรเรยี นรทู้ ี่ 2 เกดิ อะไรขึ้นกับสำยน้ำ วีดที ศั น์/วดิ โี อ/เอกสำร/ บทควำม/Infographic

ท่ี ชื่อเรอื่ ง ประเภท ระยะเวลา QR Code วดี ที ัศน์ 6.18 นำที 1 น้ำบำดำล สบู เทำ่ ไหร่ก็ไม่ หมด

2 วกิ ฤตกำรณน์ ้ำในประเทศ วีดที ศั น์ 4.08 นำที ไทย กับกำรใชน้ ้ำในภำค วดี ีทัศน์ 25.08 นำที ครัวเรอื น

3 นำ้ บำดำล...ภมู ิปัญญำเพ่ือ ควำมอย่รู อด

4 สำเหตแุ ละผลกระทบ จำก บทควำม - มลพิษทำงน้ำ

5 หนงั สอื พ.ร.บ.ทรัพยำกรน้ำ’ เอกสำร - 61 และ แผนแม่บทน้ำ 20 เอกสำร - ปี ฉบบั พกพำ

6 คู่มอื เตมิ นำ้ ใต้ดนิ ระดับตนื้

๑๒๙

7 ชีวติ กับสำยน้ำ ควำมสขุ ของ บทควำม - คนไทยที่มมี ำแตโ่ บรำณ

8 ปญั หำเกยี่ วกับ ทรัพยำกรน้ำ วีดีทัศน์ 5.20 นำที

9 ควำมร้ดู ้ำนกำรบรหิ ำร เอกสำร - จดั กำรน้ำ

10 ข้ันตอน กำรเจำะบำดำล วีดีทศั น์ 30.46 นำที โดยละเอียด PAT-DRILL 32.41 นำที 431

11 กระบวนกำรน้ำ ผิวดิน เเละ วดี ีทศั น์ น้ำใตด้ นิ

12 น้ำบำดำลพุ่ง ชำวบ้ำนดมื่ วีดที ศั น์ 4.08 นำที รสชำติคล้ำยโซดำ /ข่ำว

๑๓๐

13 4แหล่งนำ้ บำดำลขนำดใหญ่ วีดที ศั น์ 22.35 นำที ควำมหวงั ใหม่ของ อีอีซี

14 น้ำบำดำลแหลง่ น้ำธรรมชำติ วดี ีทศั น์ 10.50 นำที เพ่อื ประชำชน

15 น้ำบำดำล กรองใหใ้ สได้ดว้ ย วีดีทัศน์ 1.26 นำที วธิ ีธรรมชำติ

16 ชั้นหินอุ้มนำ้ ธนำคำรน้ำใต้ วีดีทัศน์ 6.35 นำที ดนิ

17 คูม่ ือกำรประเมินควำมเสีย่ ง เอกสำร - ต่อกำรได้รับผลกระทบจำก เอกสำร - กำรปนเปอ้ื นของมลพิษใน น้ำใตด้ นิ (หน้ำเวบ็ ไซต์ได้ถูก ลบแล้ว)

18 แผนแมบ่ ทกำรบริหำร จัดกำรทรัพยำกรน้ำ 20 ปี

19 แผนแม่บทน้ำ ๑๓๑ -

Infographic

ที่ ช่อื เร่อื ง ประเภท เนอื เร่ือง 1 - 17 หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ่ี 3 นักสืบสำยน้ำ วดี ที ศั น์/วดิ โี อ/เอกสำร/ บทควำม QR Code

ท่ี ชอ่ื เรอ่ื ง ประเภท ระยะเวลา วีดีทศั น์ 6.22 นำที 1 คลปิ พ.ร.บ.ทรัพยำกรนำ้ ใคร ท้ำอะไร ในกฎหมำยน้ำ

2 พลกิ ปมข่ำว : ทจุ ริตอุดกลบ วดี ที ัศน์ 14.13 นำที บ่อบำดำล (30 พ.ค. 59)

3 กำรเจำะบ่อน้ำบำดำลแบบมี วดี ีทัศน์ 5.10 นำที มำตรฐำน ดยู งั ไง

4 น้ำคือชีวติ ควำมมุ่งมน่ั ในกำร วีดที ศั น์ 4.59 นำที ชว่ ยแก้ปญั หำ

๑๓๒

5 Case Study คลิป กำรให้ วีดที ศั น์ 2.42 นำที สัมภำษณ์ของนำยเรอโนด์ วีดที ัศน์ 18.33 นำที ชำยชำวฝรั่งเศส กบั บทบำท อำสำสมคั ร “ผู้พทิ ักษ์ สำยน้ำ” ในประเทศจนี

6 Animation มำรู้จกั นำ้ บำดำลกนั

7 What Is Groundwater? วดี ีทศั น์ 5.11 นำที

8 What Is Groundwater? วดี ีทศั น์ 9.13 นำที

9 What Is Groundwater? วีดีทัศน์ 2.28 นำที

10 Groundwater, the วดี ีทัศน์ 3.40 นำที Hidden Resource

๑๓๓

11 It's called groundwater! วดี ที ัศน์ 1.48 นำที

12 WATER our most วีดีทัศน์ 5.05 นำที precious resource

13 กำรก้ำหนดมำตรฐำน บทควำม - คุณภำพแหล่งน้ำ

14 กำรก้ำหนดมำตรฐำน บทควำม - คุณภำพน้ำในแหล่งน้ำผิวดนิ

15 พ.ร.บ.ทรพั ยำกรน้ำ มผี ล บทควำม - บังคับใชแ้ ลว้ เพื่อบริหำร จัดกำรน้ำให้เกิดประโยชน์ สงู สุด

16 Water Footprint ๑๓๔ -

เอกสำร

17 รอยเทำ้ นำ้ Water วีดีทัศน์ 1.56 นำที Footprint

ท่ี ชอ่ื เรอื่ ง ประเภท เนอื เรือ่ ง

1 - 9 หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ 4 วดี ที ศั น์/วดิ ีโอ/บทควำม ผพู้ ิทกั ษส์ ำยน้ำ

ที่ ชื่อเรอื่ ง ประเภท ระยะเวลา QR Code วีดที ัศน์ 6.44 นำที 1 เปดิ บทสนทนำ ส.ส.เรียก 5 ลำ้ น กรมทรพั ยำกรน้ำ บำดำล/ขำ่ ว

2 ลือสะพัด! อธิบดีกรม วดี ีทัศน์ 3.38 นำที ทรัพยำกรน้ำบำดำล แฉ บทควำม - กลำงทีป่ ระชมุ โดนไถ 5 ลำ้ น แลกกบั กำรผำ่ น งบประมำณ

3 รอ้ื แลว้ ‼ สะพำนขวั แตะ และสิ่งปลกู สรำ้ ง ตำม มำตรกำรป้องกนั กำรทุจรติ เกย่ี วกบั สง่ิ ล่วงล้ำล้ำน้ำ

4 ก่อสร้ำงใกล้แหลง่ นำ้ ๑๓๕ - สำธำรณะต้องมีระยะร่น บทควำม

5 ผลกระทบของสภำพ บทควำม - ภมู อิ ำกำศท่เี ปล่ียนแปลงต่อ 1.59 นำที ทรัพยำกรน้ำและกำรจดั กำร

6 ก่อก้ำเนดิ กรมทรัพยำกรน้ำ วดี ีทศั น์ บำดำล

7 VDO กรมทรัพยำกรน้ำ วดี ีทศั น์ 5.01 นำที บำดำล

8 วดี ีทัศน์ ภำควิชำวิศวกรรม วีดที ศั น์ 4.12 นำที ทรพั ยำกรน้ำ ม. 10.31 นำที เกษตรศำสตร์

9 ทรัพยำกรน้ำ วีดีทัศน์

S T R O N G Model

จติ พอเพียงต้านทจุ รติ

STRONG / จิตพอเพยี งต้านการทุจริต

ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) กาหนด วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยท้ังชาติต้านทุจริต (Zero Tolerance and Clean Thailand)” กาหนด พนั ธกิจหลกั เพอ่ื สร้างวัฒนธรรมการตอ่ ตา้ นการทุจรติ ยกระดบั ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วน และ ปฏิรูปกระบวนการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตทั้งระบบให้มีมาตรฐานเทียบเท่าสากล ผ่านยุทธศาสตร์ 6 ด้าน ไดแ้ ก่ สร้างสงั คมไม่ทนตอ่ การทุจริต ยกระดับเจตจานงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต สกัดก้ันการทุจริตเชิง นโยบาย พัฒนาระบบป้องกันการทุจริตเชิงรุก ปฏิรูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทุจริต และยกระดับ ดัชนีการรับรู้การทุจริตของประเทศไทย โดยเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 3 คือ ประเทศไทยมีค่า ดัชนรี บั ร้กู ารทุจรติ (Corruption Perceptions Index: CPI) สงู กวา่ ร้อยละ 50 ในปี 2564

โครงการ “จิตพอเพียงต้านทุจริต” เป็นโครงการท่ีมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทุจรติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างสังคมที่ไม่ทนต่อ การทุจริต ซ่ึงประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ได้แก่ (1) การปรับฐานความคิดทุกช่วงวัยต้ังแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกแยะ ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตัวและผลประโยชน์สว่ นรวม (2) สง่ เสริมให้มีระบบและกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคม เพ่ือ ตา้ นทจุ รติ (3) ประยุกต์หลกั พอเพียงเป็นเครื่องมือต้านทุจริต และ (4) เสริมสร้างพลังการมีส่วนร่วมของชุมชน และทุก ภาคส่วนเพ่ือต่อต้านการทุจริต จากกลยุทธ์ดังกล่าวข้างต้น จึงเป็นที่มาของโครงการ “จิตพอเพียงต้านทุจริต” ในชุด โครงการสหยุทธ์ (รศ.ดร.มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ, 2560) ที่สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การ ทุจริตแห่งชาติ ได้ดาเนินการโครงการดังกล่าวใน 27 จังหวัด ในปีงบประมาณ 2561 และครบทั้ง 76 จังหวัดและ กรงุ เทพมหานคร ในปงี บประมาณ 2562

โครงการ “จิตพอเพียงต้านทุจริต” ในระยะต้นของการดาเนินการ แม้ว่าในโครงการได้กาหนดกระบวนการ ต่าง ๆ ไว้ แต่ผู้นาโครงการสู่การปฏิบัติมีความเข้าใจในความหมายแตกต่างกันไป ทาให้การนาสู่การปฏิบัติค่อนข้าง สับสน จึงมีการคิดค้น STRONG model ข้ึนมาเพื่ออธิบายโครงการ “จิตพอเพียงต้านทุจริต” ให้มีระบบมากขึ้น และเรียกชื่อที่เชื่อมโยงระหว่าง STRONG model และจิตพอเพียงต้านทุจริต ว่า โครงการ “STRONG จิตพอเพียง ต้านทุจริต”

การคิดค้น STRONG model เกิดขึ้นจากการตกผลึกทางความคิดของความหมายของ “จิตพอเพียงต้าน ทุจรติ ” ทป่ี ระกอบด้วยคาสาคัญ 3 คา คือ จติ พอเพยี ง ต้านทจุ รติ

จิตพอเพียงต้านทุจริต ต้องเป็นจิตที่มีความแข็งแกร่ง ทาให้คิดถึงคาภาษาอังกฤษ คือ Strong ที่เป็นคา ง่าย ๆ มีการใช้บ่อย ๆ ความหมายเป็นที่รับรู้กันโดยทั่วไป แต่ต้องคิดให้ตกผลึกในตัวอักษรทั้ง 6 ตัว ให้ สามารถเชื่อมโยงกับคาว่า พอเพียง และคาว่า ต้านทุจริต จึงเป็นการต้ังต้นในการหาความหมายในตัวอักษร ภาษาอังกฤษท้งั 6 ตวั ทม่ี ีความเชอื่ มโยงกันและสามารถคิดกจิ กรรมที่เป็นรูปธรรมได้

S เป็นตัวอักษรตัวแรกของ Strong ทาให้คิดถึงคา Sufficient ซึ่งแปลว่า พอเพียง เป็นคาสาคัญ และเป็น หลกั เปน็ แก่นของจิตพอเพยี งต้านทจุ ริต

คาสาคัญคาถัดไปคือ ต้านทุจริต ซ่ึงจาเป็นต้องมีคาอธิบายหรือคาจากัดความให้ชัดเจน เพ่ือค้นหาคาที่ เกยี่ วขอ้ งและสอดคล้องสาหรับใส่ในอกั ษรองั กฤษ t-r-o-n-g

การทุจริตเกิดข้ึนจากระบบและคน ระบบท่ีเน้นความโปร่งใสและตรวจสอบได้จะทาให้การทุจริตยากยิ่งขึ้น คนสุจริตที่ไม่นิ่งเฉย ไม่ยอมให้มีการทุจริตเกิดข้ึน ย่อมเป็นกลไกป้องกันการทุจริต และทาให้สังคมเจริญก้าวหน้า ได้ย่งิ ขึน้

การประกอบคาตา่ ง ๆ ในตัวอกั ษร t-r-o-n-g จงึ เกดิ ข้นึ ดงั นี้ ตวั T จึงใช้คา Transparent โปร่งใส R Realise ต่ืนรู้ รสู้ ภาวะ รู้เหตุการณท์ จ่ี ะเกดิ การทุจริต และพร้อมจะตอ่ สปู้ ้องกันไมใ่ ห้เกิดการทุจริต O เป็นตวั อักษรทีค่ ดิ หาคายากทสี่ ุด แต่ในทส่ี ดุ จึงเลือกคา Onward มุง่ ไปขา้ งหนา้ มงุ่ สร้างความเจรญิ N เป็นคาควบกล้ากับ K Knowledge ความรู้ เป็นปัจจัยจาเป็นสาหรับมนุษย์ มีอิทธิพลต่อทัศนคติ ความ ตระหนกั และพฤติกรรม การกระทา G Generosity เอ้ืออาทร เอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ในฐานะของเพื่อนมนุษย์ โดยมิใช่ต่างตอบแทนหรือต้องการ ผลประโยชน์

STRONG: จิตพอเพียงต้านทุจริต จึงหมายถึง ผู้ท่ีมีความพอเพียง ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อ่ืน (S) มุ่งอนาคตที่เจริญท้ังตนเองและส่วนรวม (O) โดยใช้หลักความโปร่งใสตรวจสอบได้ (T) พ้ืนฐานจิตใจมีมนุษยธรรม เอื้ออาทร ช่วยเหลือเพ่ือนมนุษย์โดยไม่เห็นแก่ประโยชน์ต่างตอบแทน (G) ให้ความสาคัญต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพ่ือการดารงชวี ติ ในทางท่ีชอบ (N) แต่ต่ืนรู้เร่ืองภัยทุจริตท่ีร้ายแรงส่งผลต่อสังคม รังเกียจการทุจริตประพฤติมิชอบ ท้ัง ปวง ไมย่ อมทนตอ่ การทุจรติ ทกุ รูปแบบ (R)

S Sufficient พอเพียง เน่ืองจากความพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมมีระดับท่ีแตกต่างกันตามวิธีคิด สภาพความพร้อมและ

ความสามารถ รวมทง้ั ตามสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของบุคคลและครอบครวั

กลไกหลัก คือ ปรับวิธีคิดที่แยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวมได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และเป็นอัตโนมัติ จะนาไปสู่จิตสานึกท่ีพอเพียง ไม่กอบโกยผลประโยชน์โดยมิชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน ไม่เบียดบังรัฐ ไม่รับอามิสสินบน โดยมิต้องจากัดขอบเขตของการประกอบอาชีพที่สุจริต สามารถหาทรัพย์สินเงินทองได้ตามความสามารถ ทั้งน้ี โดยไม่เดือดร้อนตนเองและผู้อ่นื

T Transparent โปร่งใส ความโปร่งใส ทาใหเ้ ห็นภาพหรอื ปรากฏการณช์ ดั เจน

กลไกหลกั คือ สรา้ งความร้คู วามเข้าใจ และวิธีสงั เกตเกี่ยวกับความโปรง่ ใสของโครงการต่าง ๆ

R Realise ต่นื รู้ เมือ่ บุคคลรพู้ ิษภัยของการทุจริต และไม่ทนทจ่ี ะเหน็ การทุจรติ เกดิ ขน้ึ

กลไกหลัก การเรียนรู้สถานการณ์การทุจริตในพื้นท่ี ในชุมชน หรือในกรณีที่ปรากฏการทุจริตข้ึน หรือ กรณศี กึ ษาทเี่ กิดขึ้นมาแลว้ และมคี าพิพากษาถงึ ทส่ี ดุ แล้ว

O Onward ม่งุ ไปขา้ งหน้า การไมม่ กี ารทจุ รติ ของภาครัฐ จะทาใหเ้ งนิ ภาษีถูกนาไปใช้ในการพัฒนาอย่างเต็มที่

กลไกหลัก คือ การป้องกันและการป้องปราม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังพื้นท่ีท่ีมีความเสี่ยง ใน การทุจรติ เช่น การบกุ รุกพนื้ ทีส่ าธารณะ หรอื เฝ้าระวังโครงการใหด้ าเนนิ การดว้ ยความโปรง่ ใส

N Knowledge ความรู้ ความรูด้ ้านต่าง ๆ มีความจาเป็นต่อการป้องกันและป้องปรามการทุจริต

กลไกหลัก คือ การใหค้ วามร้ใู นรูปแบบการฝึกอบรม หรอื ใหส้ ่ือเรียนรู้อยา่ งต่อเนือ่ ง เชน่ (1) ความรู้เก่ียวกับรูปแบบการทุจริตแบบต่าง ๆ ท้ังแบบสมัยอดีต แบบปัจจุบัน และแบบท่ีอาจจะเกิดข้ึน ในอนาคต (2) ความรู้เกย่ี วกบั การทจุ ริตในต่างประเทศ (3) วิธีการปอ้ งกัน - ปอ้ งปรามแบบต่าง ๆ (4) ความรู้เก่ียวการเฝา้ ระวงั (5) ความรเู้ ก่ยี วกบั กฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ ง

  1. Generosity ความเอื้ออาทร การพัฒนาสังคมไทยใหม้ ีนา้ ใจ โอบออ้ มอารี เอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ โดยไม่มีผลประโยชน์ตอบแทนหรือหวังผลตอบแทนใน

ฐานะเพือ่ นมนษุ ย์ กลไกหลัก กิจกรรมจิตอาสา ช่วยเหลือบุคคล ชุมชน/สังคมในยามวิกฤติ หรือการร่วมมือในการร่วมพัฒนา

ชุมชน

STRONG model สามารถพัฒนาได้อกี 2 ระดบั คอื STRONGER และ STRONGEST ดังรูป

การพัฒนาโมเดล STRONG สู่ STRONGER – STRONGEST จากการประยุกต์โมเดล STRONG ในการดาเนินโครงการ “STRONG – จิตพอเพียงต้านทุจริต” ต้ังแต่

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 พบว่า สมาชิกชมรม STRONG ในพ้ืนที่จังหวัดต่าง ๆ และผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความ เข้าใจและนาหลักการของโมเดล STRONG ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งกรณีตัวอย่างท่ีแสดงให้เห็นถึง ความสาเร็จของการดาเนินโครงการ STRONG – จิตพอเพียงต้านทุจริตและการก่อตั้งชมรม STRONG อย่างเป็น รปู ธรรม คอื จากการที่เพจเฟซบุ๊กชมรม STRONG – จิตพอเพียงต้านทุจริต จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้นาเสนอประเด็น การทุจริตอาหารกลางวัน โดยระบุข้อความว่า “ขนมจีนกับน้าปลา คือ อาหารกลางวันเด็ก ของโรงเรียนบ้านท่า ใหม่ อ.ทา่ ชนะ จ.สรุ าษฎร์ธานี” พร้อมคลปิ เป็นหลกั ฐานประกอบ ส่งผลให้มกี ารวิพากษ์วิจารณ์ในสังคมวงกว้างและ นาไปสู่การลงโทษผู้กระทาผิด รวมถึงได้มีการเฝ้าระวังและแจ้งเบาะแสการทุจริตอาหารกลางวันของโรงเรียนใน พ้ืนท่ีต่าง ๆ มากขึ้น โดยมีคุณครู ผู้ปกครอง และนักเรียนเป็นผู้มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและแจ้งเบาะแส (Watch and Voice) ดังเช่นการทุจริตอาหารกลางวันของโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดชัยนาท ท่ีคุณครูได้มีการร้องเรียนว่า โครงการอาหารกลางวันโรงเรียนอาจไม่เป็นไปตามมาตรฐานและคุณภาพที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด เน่ืองจาก มีการนาอาหารสาเร็จรูปมาปรุงเป็นอาหารกลางวันของนักเรียนเพื่อลดต้นทุนค่าใช้จ่าย จึงนาไปสู่การตรวจสอบ

ความผดิ ปกติโครงการอาหารกลางวันและมีกระแสสงั คมทแี่ สดงผ่านทางสือ่ สังคมออนไลน์ (Social Media) ในการ ปกป้องผู้แจ้งเบาะแสการทุจริตท่ีได้รับผลกระทบต่อตาแหน่งหน้าที่จากการมีคาสั่งย้ายไปช่วยราชการท่ีสานักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยนาท จนกระทั่งคุณครูที่เป็นผู้แจ้งเบาะแสได้ย้ายกลับไปทางานที่โรงเรียนแห่ง เดิมอีกครั้งหน่ึง ซ่ึงจากกรณีทุจริตอาหารกลางวัน แสดงให้เห็นว่าทุกภาคส่วนในสังคมมีความตื่นรู้และมีความ พร้อมที่จะเข้ามามีส่วนรวมในการป้องกันการทุจริต ท้ังในบทบาทของผู้เฝ้าระวัง ผู้แจ้งเบาะแส และให้ความ คุ้มครองปกป้องผูแ้ จ้งเบาะแสการทุจริตจากความไมเ่ ปน็ ธรรมและอิทธพิ ลของผมู้ ีอานาจ

นอกจากน้ี ตามหลักภาษาองั กฤษทค่ี าวา่ “STRONG” มีการเปรียบเทียบข้ันกว่า (comparative) และข้ัน สูงสุด (superlative) จึงมีการพัฒนาโมเดล STRONG สู่ STRONGER – STRONGEST เพื่อให้การดาเนินภารกิจ ป้องกันการทุจริตนาประเทศไทยไปสู่การเป็น “ประเทศไทยใสสะอาด...ไทยท้ังชาติต้านทุจริต” อันเป็นวิสัยทัศน์ ของยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) โดยมี รายละเอยี ดดงั น้ี

โมเดล STRONGER โมเดล STRONGER เป็นการพัฒนาไปสู่หลักการต่อต้านการทุจริตท่ีมีความเข้มแข็งมากข้ึน โดยได้เพิ่ม นิยามเชิงปฏิบัติจากการตัวอักษรแรกของศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีความหมายเชิงบวกจานวน 2 คา ได้แก่ ความเป็นเลศิ (Excellence: E) และการเปลี่ยนแปลง (Reformity: R) ซึ่งแสดงได้ดงั แผนภาพที่ 2

แผนภาพที่ 2 โมเดล STRONGER

จากแผนภาพท่ี 2 สามารถอธิบายนิยามเชิงปฏิบัติการของคาว่า “เป็นเลิศ” (Excellence: E) และ “เปลยี่ นแปลง” (Reformity: R) ได้ดังนี้

(1) เปน็ เลศิ (Excellence: E) ปัจเจกบุคคล องค์กร และชุมชนมุ่งความเป็นเลิศในการนาหลักของโมเดล STRONG ได้แก่ พอเพียง (Sufficient: S) โปร่งใส (Transparent: T) ต่ืนรู้ (Realise: R) มุ่งไปข้างหน้า (Onward: O) ความรู้ (Knowledge: N) และเอ้ืออาทร (Generosity: G) รวมถึงหลักการสาคัญของโมเดล STRONG คือ การมีส่วนร่วมในการ เฝ้าระวงั และการแจ้งเบาะแสการทจุ ริต (Watch and Voice) ไปประยุกต์ใช้ในการป้องกันการทุจริตภายในองค์กรและ การดาเนนิ ชีวติ ประจาวนั ได้อยา่ งสัมฤทธิ์ผล (2) เปล่ียนแปลง (Reformity: R) ปัจเจกบุคคล องค์กร และชุมชนมุ่งพัฒนาและปรับเปล่ียนตนเองและองค์กรไปสู่การสร้างสังคมท่ีไม่ ทนต่อการทุจริตด้วยหลักความพอเพียง การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนรวมและผลประโยชน์ส่วนตน มีการบริหาร จัดการองค์กรและการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารอย่างโปร่งใสเพ่ือให้เกิดการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ รวมถึงมีความ ตระหนักถึงผลกระทบของการทุจริต มีการพัฒนาและบูรณาการองค์ความรู้ต่าง ๆ ให้เท่าทันการทุจริต โดยตั้งอยู่บน พน้ื ฐานของความเออื้ อาทรต่อเพือ่ นมนษุ ย์ โมเดล STRONGEST โมเดล STRONGEST เป็นการพัฒนาไปสู่การป้องกันและต่อต้านการทุจริตด้วยความเข้มแข็งสูงสุด อันจะนาไปสู่สังคมท่ีมีความโปร่งใสอย่างย่ังยืน โดยได้เพิ่มนิยามเชิงปฏิบัติจากการตัวอักษรแรกของศัพท์ ภาษาอังกฤษท่ีมีความหมายจานวน 3 คา ได้แก่ จริยธรรม (Ethics: E) ย่ังยืน (Sustainability: S) และสัจธรรม (Truth: T) ซ่งึ แสดงไดด้ ังแผนภาพท่ี 3

แผนภาพท่ี 3 โมเดล STRONGEST

จากแผนภาพท่ี 3 สามารถอธิบายนิยามเชิงปฏิบัติการของคาว่า จริยธรรม (Ethics: E) ย่ังยืน (Sustainability: S) และสจั ธรรม (Truth : T) ไดด้ ังนี้

(1) จรยิ ธรรม (Ethics: E) ปัจเจกบุคคล องค์กร และชุมชนเป็นผู้มีคุณธรรม มีความซ่ือสัตย์ และมีความรับผิดชอบ ตามบทบาทหน้าท่ีของตนเอง ดารงตนอย่างมีเหตุผล รวมถึงหน่วยงานภาครัฐและเอกชนมีการบังคับใช้ประมวล จริยธรรม จรรยาบรรณ มาตรฐานทางคุณธรรม เพื่อให้การปฏิบัติตนของเจ้าหน้าท่ีรัฐและพนักงานเอกชนอยู่บน ฐานของความมจี ริยธรรม (2) ยั่งยืน (Sustainability: S) การพัฒนาสังคมไทยให้โปร่งใสไร้การทุจริตอย่างย่ังยืน (Sustainable Development) จะสร้างสรรค์ วัฒนธรรมไทยท่ีแข็งแกร่ง สู่ “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยท้ังชาติต้านทุจริต” อันเป็นวิสัยทัศน์ของยุทธศาสตร์ชาติว่า ดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) (3) สัจธรรม (Truth: T) STRONG Model ทม่ี ีการพัฒนาเป็น 3 ระดับ จาก STRONG สู่ STRONGER และปลายทางของ ระดบั STRONGEST คอื มสี ัจธรรมเปน็ แกน่ คือ คนไทยมีจิตใจสะอาด บริสุทธ์ิ เสียสละ และประพฤติดีงาม ครอง งาน ครองคน และครองตนอยบู่ นพืน้ ฐานของจรยิ ธรรมและความซอ่ื สตั ย์สุจรติ