ค ม อปฏ บ ต การว สด โยธาและการทดสอบ

  • 1. Term Report กลุ่มที่ 4 รายงานน้ ีเป็นส่วนหน่ ึงของวชา Civil Eng. Materials Testing Lab ิ ภาคปลาย ปี การศึกษา 2555
  • 2. คํานํา เนื่องจากปั จจุบนปูนซีเมนต์ ซึ่งเป็ นส่ วนประกอบหลักของคอนกรี ตมีความสําคัญกับงานก่ อสร้าง ั ซึ่งส่ งผลต่ อการพัฒ นาของประเทศเป็ นอย่างมากเมื่อเปรี ยบเที ยบกับวัสดุ ก่ อสร้ างที่ ใช้งานในประเภท เดียวกัน เช่น ไม้ เหล็ก ซึ่งเป็ นวัสดุก่อสร้างหลักในสมัยก่อนและปัจจุบนไม้เป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่หายาก ั และเริ่ มไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ พบว่า คอนกรี ตมีความคงทน แข็งแรง สามารถปรั บปรุ งส่ วนผสม เพื่อให้ตรงกับการใช้งานได้อย่างเหมาะสมและตอบสนองความต้องการของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ประเทศที่กาลังเติบโตในปัจจุบน และสอดรับกับนโยบายการเปิ ดประชาคมอาเซียนได้เป็ นอย่างดี คอนกรี ต ํ ั จึงเป็ นวัสดุที่ใช้งานอย่างแพร่ หลายและมีความต้องการใช้มากในปั จจุบน ั จากรายงานของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติการลงทุนใน ภาครัฐ และภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 9.1 เพิ่มขึ้นต่อเนื่องทั้งการลงทุนในด้านเครื่ องมือ เครื่ องจักรและ การก่อสร้าง จากในไตรมาสที่ผานมาที่ขยายตัวร้อยละ 8.6 แสดงให้เห็นว่า คอนกรี ตซึ่งเป็ นวัสดุหลักในการ ่ ก่อสร้างกําลังมีความต้องการใช้ในอัตราที่เพิ่มขึ้นทุกปี และเพื่อความคุมค่าในการลงทุน การผลิต และการ ้ ก่อสร้างด้วยคอนกรี ตนั้น จําเป็ นต้องอาศัยเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามาช่วยในกระบวนการตั้งแต่การผลิต การ ลําเลียงขนส่ง และ การใช้งานมากขึ้น เพื่อประหยัดงบประมาณในการลงทุนของโครงการต่าง ๆ อีกท้งเพื่อ ั เป็ นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม ก็จะยิงทําให้เทคโนโลยีต่าง ๆในการพัฒนาคอนกรี ต ่ เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาวงการคอนกรี ตของประเทศไทยมากยงข้ ึน ่ิ โดยได้รวบรวมข้อมูลอ้างอิงรู ปแบบ และวิธีการทดสอบจากสถาบันระดับชาติที่ได้รับการยอมรับ รวมถึง มาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) ของ สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มาตรฐานของกรม โยธาธิการและผงเมือง (มยผ.) มาตรฐานเอเอสทีเอ็มนานาชาติ (ASTM International) มาตรฐานสถาบัน ั คอนกรี ตอเมริ กน (American Concrete Institute - ACI) และมาตรฐานไอเอสโอ (ISO) จุดประสงค์ของสื่อ ั การสอนนี้ ได้มีเป้ าหมายให้นกศึกษาและผูสนใจได้ ั ้ 1.เข้าใจคุณสมบัติพ้นฐานของวัสดุที่สาคัญในงานวิศวกรรมโยธา ื ํ 2.เขาใจกระบวนการทดสอบ และสามารถปฏิบติตามกระบวนการทดสอบวสดุเพื่อหาค่าคุณสมบติ ้ ั ั ั ต่างๆ ของซีเมนต์ 3.วิเคราะห์ผลลัพธ์ของการทดสอบ และสามารถวิจารณ์ผลลัพธ์ได้
  • 3. การทดสอบวัสดุทางวิศวกรรมอาจแบ่งได้เป็ น 4 ประเภทดังนี้ 1.การทดสอบตามมาตรฐาน เพื่อเอาผลไปใช้ในงานวิศวกรรม 2.การทดสอบเพื่อเรียนรู้พฤติกรรมของวสดุ ั 3.การทดสอบเพื่อเรี ยนรู้วิธีทดสอบวัสดุ 4.การทดสอบเพื่อคนควาวิจยพฤติกรรมของวัสดุที่ไม่เคยรู้มาก่อน ้ ้ ั ทั้งนี้ เพื่อให้นิสิต ที่ซ่ึงจะต้องไปเป็ นวิศวกรควบคุมและดูแลการก่อสร้าง และเป็ นกําลังหลักในการ พัฒนาวิชาชีพวิศวกรไทยต่อไปในอนาคต มีความเข้าใจถึงคุณสมบัติ พฤติกรรม และความสําคัญของ ซีเมนต์ และคอนกรี ต ชนิ ดต่าง ๆ มากขึ้นจึงจําเป็ นต้องทําการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง และวิเคราะห์ คุณสมบัติ พฤติกรรม และความสําคัญของคอนกรี ต แต่ละประเภทที่มีใช้กนอยูในงานด้านวิศวกรรม ในปัจจุบน ั ่ ั เพื่อใหมีความเขาใจ และสามารถแก้ไขปั ญหาต่าง ๆที่เกิดขึ้นในงานคอนกรี ตได้อย่างถูกต้องตามหลักการ ้ ้ ต่อไป กลุ่มที่ 4
  • 4. สารบัญ หนา ้ คานา ํ ํ ก สารบญ ั ค สารบัญตาราง ฉ สารบัญภาพ ช บทที่ 1 บทนํา 1 ความเป็ นมาและความสําคัญของการทดสอบ วตถุประสงคของการทดสอบ ั ์ สมมุติฐานการทดสอบ ขอบเขตของการทดสอบ ประโยชน์ที่ได้รับจากการทดสอบ บทที่ 2 ทฤษฏีและเอกสารที่เกียวข้ องกับการทดสอบ ่ 3 ทฤษฎีที่สมพันธ์กบเรื่ องที่ทดสอบ ั ั องคประกอบขอบคอนกรีต ์ ประเภทของปูนซีเมนต์ ปฏิกิริยาของปูนซีเมนต์ สารประกอบที่สาคัญของปูนซีเมนต์ปอร์ ตแลนด์ ํ การผลิตปูนซีเมนต์ มวลรวม คุณสมบติของมวลรวมในงานคอนกรีต ั การผสมซีเมนต์
  • 5. เวลาในการผสมคอนกรีต การบ่มคอนกรี ต คุณสมบติของคอนกรีตสด ั ปั จจัยที่มีผลกระทบโดยตรงกับคุณภาพของซีเมนต์ คุณสมบัติดานกําลังอื่นๆ ของคอนกรี ต ้ การทดสอบคุณสมบัติของปูนซีเมนต์ การควบคุมคุณภาพคอนกรีต บทที่ 3 วิธีดําเนินการทดสอบ 24 Lab 1 Normal Consistency of Hydraulic Cement Lab 2 Setting Time of Hydraulic Cement by Vicat Needle Lab 3 Test for Fineness of Portland cement by Blain Air Permeability Apparatus Lab 4 Specific Gravity of Hydraulic cement Lab 5 Tensile Strength of Neat cement and cement mortar Lab 6 Compressive Strength of Cement Mortar Using 2-in or 50mm. Cube Speciment บทที่ 4 ผลการทดสอบ ผลการวิเคราะห์ และอภิปรายผล 44 ผลการทดสอบ Lab 1 Normal Consistency of Hydraulic Cement Lab 2 Setting Time of Hydraulic Cement by Vicat Needle Lab 3 Test for Fineness of Portland cement by Blain Air Permeability Apparatus Lab 4 Specific Gravity of Hydraulic cement Lab 5 Tensile Strength of Neat cement and cement mortar Lab 6 Compressive Strength of Cement Mortar Using 2-in or 50mm. Cube Speciment
  • 6. วิเคราะห์ผลการทดสอบ อภิปรายผล บทที่ 5 สรุปและวจารณ์ผลการทดสอบ ิ 54 สรุปผลการการทดสอบ บรรณานุกรม 55 ภาคผนวก ก มาตรฐานที่ใชในการทดสอบ ้ ภาคผนวก ข มาตรฐานปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ภาคผนวก ค มาตรฐานการทดสอบนํ้าสําหรับผสมคอนกรี ต ภาคผนวก ง รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ภาคผนวก จ รายชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษา/ครู และช่างเทคนิค
  • 7. สารบัญตาราง ตารางที่ 2.1 ตารางแสดงสารประกอบที่สาคัญของปูนซีเมนต์ ํ ตารางที่ 2.2 ตารางแสดงคุณสมบัติของสารประกอบของซีเมนต์ ตารางที่ 3.1 ตารางค่าความหนื ด ความหนาแน่น ที่อุณหภูมต่าง ๆ ิ ตารางที่ 3.2 ตารางค่าความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ของตัวอย่าง ตารางที่ 3.3 เกณฑ์กาหนดกําลังอัดของก้อนลูกบาศก์มอร์ตามาตรฐาน ํ ตารางที่ 3.4 ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้ของตุมนํ้าหนักที่ใช้อยู่ ้
  • 8. สารบญภาพ ั รูปที่ 2.1 รู ปแสดง Diagram องค์ประกอบของคอนกรี ต รูปที่ 2.2 กราฟแสดงระยะเวลาการก่อตัวและแข็งตัวกับจํานวนสารประกอบ รูปที่ 2.3 รู ปแสดงกระบวนการผลิตปูนซี เมนต์ รูปที่ 2.4 เครื่องคดแยกขนาดหิน ทราย ั รูปที่ 2.5 รู ปแสดงการบ่มคอนกรี ตด้วยกระสอบเปี ยก รูปที่2.6 ผลกระทบของซีเมนต์และอุณหภูมิอากาศ ความชื้นสัมพัทธ์ และความเร็ วลมต่ออัตรา การระเหยของความชื้นบนผิวซี เมนต์
  • 9. บทที่ 1 บทนํา ความเป็นมาและความสําคญของการทดสอบ ั ในยุคปัจจุบนนิยมใช้คอนกรี ต หรื อ ซีเมนต์ เป็ นวัสดุหลักในการก่อสร้ างอย่างแพร่ หลาย เนื่ องจาก ั เป็นว สดุที่หาง่ายมีร าคาไม่แพง แต่ มีค วามแข็งแรงทนทานค่ อนข ้างมาก สามารถรั บก าลงอด ได ้สูง ซ่ึ ง ั ํ ั ั คอนกรี ตปกติจะรับกําลังอัดได้สูงสุ ดหลังจากการผสมไปแล้ว 28 วัน เนื่องจากสิ่งก่อสร้างทุกชนิดตองสร้าง ้ ตามมาตรฐานกําหนด คอนกรี ตที่นามาใช้ก็ตองมีการตรวจสอบคุณภาพและการรับกําลังอัด ซึ่ งการทดสอบ ํ ้ โดยทัวไปจะใช้เวลาอย่างน้อย 3 – 7 วัน แต่ในการปฏิบติงานจริ ง วิศวกรไม่สามารถที่ จะทราบถึงคุ ณสมบัติ ่ ั ต่าง ๆของคอนกรี ตที่ กําลังใช้งานอยูได้ ทั้งนี้เนื่องจากการผสมคอนกรีตในแต่ละคร้ ังมีความแตกต่างกนไป ่ ั ทั้งเวลา สถานที่ อุณหภูมิ และสัดส่ วนการผสม เพื่อความมันใจและเพื่อความถูกต้องวิศวกรจึงจําเป็ นต้อง ่ เรี ยนรู้และทําความเข้าใจในวิ ธีการตรวจสอบคุ ณสมบัติ ของคอนกรี ตที่ ใช้งานอยู่ในสนามหรื อโครงการ ก่อสร้างต่าง ๆ ว่ามีกาลังรับแรงอัดแรงดึง ค่าแรงเฉือน เป็ นไปตามที่วิศวกรผูออกแบบได้ทาการออกแบบไว้ ํ ้ ํ หรื อไม่ และถ้าไม่เป็ นไปตามค่าที่ตองการ หรื อออกแบบไว้ จะมีวิธีการในการปรับปรุ ง หรื อเพิ่มค่าต่าง ๆ ้ นั้นๆได้อย่างไรบ้าง ทั้งหมดเป็ นสิ่งที่วิศวกรจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ เพื่อที่จะสามารถไปทํางานภายนอก ได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานที่ตองการ ้ คุณสมบัติของคอนกรี ตที่แข็งตัวแล้ว ขึ้นอยูกบคุณสมบัติของส่วนประกอบ ต่างๆ เช่น นํ้า ส่วนผสม ่ ั มวลรวม และคุณสมบัติของคอนกรี ตสด หรื อบางครั้ งอาจจะใช้เป็ นคอนกรี ตผสมเสร็ จ เพื่อประหยัดเวลา และเพื่อความสะดวกในกรณี ไม่มีสถานที่เอ้ืออานวยต่อการผสมคอนกรีตสดท้งน้ ี คุณสมบติของคอนกรีตสด ํ ั ั ที่ตองการและมีความสําคัญกับโครงสร้ างได้แก่ ความสมํ่าเสมอของเนื้ อคอนกรี ต ความง่ายในการลําเลียง ้ และขนส่ง การทํางานได้สะดวกโดยที่สามารถเทลงแบบและเขยาหรื อสามารถอัดแน่นได้ง่ายโดยไม่เกิดการ ่ แยกตัว และค่ากําลังรับแรงดึงแรงอัดของคอนกรี ตเมื่อแข็งตัวแล้วว่ามีกาลังสามารถแรงได้ตามที่ออกแบบไว้ ํ หรื อไม่ และเพื่อที่ จะให้เข้าใจถึงคุณ สมบัติและความสําคัญของคอนกรี ตสด วิ ศวกรจึ งจําเป็ นต้องทราบ คุณ สมบัติ และความสําคัญ นั้น ตลอดจนวิธีก ารทดสอบคุ ณ สมบัติ ข องคอนกรี ต สดด้านต่ างๆ เพื่อที่จ ะ สามารถนํามาทดสอบ ตรวจสอบ คอนกรี ตสด ที่จะนํามาใช้งานได้
  • 10. 1) เพื่อทดสอบหาปริ มาณนํ้าที่เหมาะสมเพื่อให้ได้ความข้นเหลวของปูนซีเมนต์ไฮโดรลิก 2) เพื่อทดสอบหาระยะเวลาการก่อตัวของปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกโดยใช้เข็มไวแคต 3) เพื่อทดสอบความละเอียดของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ โดยใช้เครื่ องแอมเพอร์มีอะบิลิต้ ีแบบ เบลนโดยใช้วดค่าพื้นที่ผวจําเพาะ ซึ่งหมายถึงพื้นที่ผวภายนอกทั้งหมด ต่อหน่วยนํ้าหนักของ ั ิ ิ ปูนซีเมนต์ คิดเป็ นตารางเซนติเมตรต่อปูนซีเมนต์ 1 กรัม 4) เพื่อทดสอบหาความถ่วงจําเพาะ ของปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก เพื่อประโยชน์ในการกําหนดและ ควบคุมส่วนผสมของคอนกรี ต 5) เพื่อทดสอบหาความแข็งแรงดึงของปูนซีเมนต์ลวน ๆและมอร์ตาซีเมนต์ ้ 6) เพื่อหากําลังอัดของมอร์ ตาซีเมนต์ไฮดรอลิก โดยใช้กอนทดสอบรู ปลูกบาศก์ขนาด 5x5x5 ซม.3 ้ ขอบเขตของการทดสอบ ทําการทดสอบกับปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 3 เท่านั้นซึ่งเป็ นปูนซีเมนต์ปอร์ ตแลนด์ ที่ สามารถให้กาลังได้รวดเร็ วในเวลาอันสั้น หลังจากเทแล้วสามารถใช้งานได้ภายใน 3-7 วัน เหมาะกับงานที่ ํ เร่ งด่วน เช่น คอนกรี ตอัดแรง เสาเข็ม พื้นถนนที่จราจรคับคัง ่ ประโยชน์ที่ได้รับจากการทดสอบ นิสิตมีความรู ้ความเข้าใจถึงความสําคัญของซีเมนต์ คุณสมบัติของซีเมนต์ และสามารถทดสอบ คุณสมบัติของซีเมนต์เบื้องต้นได้ สามารถเลือกซีเมนต์ได้ถกต้อง และตรงกับลักษณะงาน ู
  • 11. บทที่ 2 ทฤษฏีและคุณสมบัตทเี่ กียวข้ องกับการทดสอบซีเมนต์ ิ ่ มีสิ่งก่อสร้างในปัจจุบนเป็ นจํานวนมากที่ทาขึ้นด้วยส่วนผสมของซี เมนต์ หิ น ทราย และ ั ํ น้ า เราเรียกส่วนผสมน้ ีว่า คอนกรีต คอนกรีตเป็นวสดุก่อสร้างที่มีปริมาณการใชงานเพิ่มข้ ึนทุกที ํ ั ้ ท้งน้ ีเพราะไมซ่ ึ งเป็นวสดุก่อสร้างที่เคยใชมาแต่เดิมหายากข้ ึนราคาแพง ไม่ทนทาน รับน้ าหนก ั ้ ั ้ ํ ั ไดนอยไม่เหมาะสาหรับการก่อสร้างอาคารหรือส่ิ งก่อสร้างใหญ่ๆ และคอนกรีตสามารถหล่อ ้ ้ ํ เป็นรูปร่างต่างๆ ตามตองการได้ จึงสะดวกตองานก่อสร้าง โดยเฉพาะอยางยงอาคารหลายๆ ช้น ้ ่ ่ ิ่ ั สะพาน โรงงาน ท่อระบายน้ าเขื่อนก้ นน้ า เป็นตน คอนกรีตจะแขงแรงมากข้ ึนถาใส่เหลกไว ้ ํ ั ํ ้ ็ ้ ็ ภายใน เราเรียกคอนกรีตชนิดน้ ีว่า "คอนกรีตเสริมเหลก" (Reinforced concrete) ็ ในสมัยโบราณเมื่อยังไม่มีการค้นพบซี เมนต์วสดุก่อสร้างที่ใช้กบงานก่อสร้างใหญ่ๆ เป็ น ั ั ส่วนผสมของปูนขาว ทราย และน้ า อาจมีวสดุอื่นผสม เช่น น้ าออย เป็นตน เพื่อให้ปูนขาวและ ํ ั ํ ้ ้ ทรายยึดตัวกันดี ขึ้น เราเรี ยกส่วนผสมนี้ว่า "ปูนสอ" (Mortar) ในทางปฏิบติคนสมยก่อนมกจะ ั ั ั เรียกปูนสอว่า ซีเมนต์ คาว่าซีเมนต์มาจากภาษาละติน ซ่ ึ งแปลว่า "ตด" โดยใชเ้ รียกหินปูนที่ตด ํ ั ั เป็ นชิ้นๆ เพื่อจะนํามาเผาเป็ นปูนขาวแต่ซีเมนต์ในปัจจุบนหมายถึงตัวประสานวัสดุสองชนิด ั หรื อหลายๆ ชนิดให้ติดแน่น ในกรณี ของคอนกรี ตหรื อคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ซี เมนต์เป็ นตัวทําให้ ทรายหิ น และเหล็ก ยึดติดกันแน่นเมื่อแห้งและแข็งตัวดีแล้ว องค์ประกอบของคอนกรีต จากอดีตจนถึงปัจจบนน้ ีเราพบวา “คอนกรี ต” ยังคงเป็ นวัสดุก่อสร้างที่มีความนิยมใช้ ุ ั ่ งาน ท้งน้ ีเพราะคอนกรีตมีความเหมาะสมกว่าวสดุก่อสร้างอื่นๆ ท้งดานราคาและดานคุณสมบติ ั ั ั ้ ้ ั ตางๆ และอาจแยกพิจารณาคอนกรีตออกเป็น 2 ส่วน คือ ่ 1. ส่วนที่เป็นตวประสาน ไดแก่ ปูนซี เมนต์กบนํ้าและนํ้ายาผสมคอนกรี ต ั ้ ั 2. ส่วนที่เป็นมวลรวม ไดแก่ ทราย หิน หรือ กรวด ้ เมื่อนําวัสดุต่างๆ ของคอนกรี ตมาผสมกัน คอนกรี ตจะเป็ นของเหลวมีความหนืดเวลาหนึ่งซึ่ ง สามารถนําไปเทลงแบบหล่อตามต้องการได้ เมื่ออายุมากขึ้นคอนกรี ตก็จะเปลี่ยนสถานะจาก
  • 12. นของแข็งในที่สุดซึ่ งสามารถรับกําลัง อัดได้มากขึ้นเรื่ อยๆ ตามอายุของคอนกรี ตที่เพิ่มขึ้นจนถึงช่วงเวลาหนึ่งความสามารถรับกําลังอัด ก็จะเริ่ มคงที่ การเรี ยกชื่อองค์ประกอบของคอนกรี ตโดยทัวๆ ไปวัสดุสาหรับใช้ผสมทําคอนกรี ต ่ ํ ประกอบไปด้วย ปูนซีเมนต์ หิน ทราย น้ าและน้ ายาผสมคอนกรีตเมื่อผสมวสดุต่างๆเขาดวยกน ํ ํ ั ้ ้ ั เราจะเรียกชื่อของวสดุต่างๆ ที่ผสมกนดงน้ ี ปูนซีเมนตผสมน้ าและน้ ายาผสมคอนกรีต เรียกวา ั ั ั ์ ํ ํ ่ ซี เมนต์เพสต์ (Cement Paste) ซีเมนตเ์ พสตผสมกบทราย เรียกว่า มอร์ตาร์ (Mortar) มอร์ตาร์ผสม ์ ั ้ ้ กบหินหรือกรวด เรียกว่า คอนกรีต (Concrete) ดงแสดงตามรูปที่ 2.1 ดานล่างน้ ี ั ั ้ รู ปที่ 2.1 รู ปแสดง Diagram องคประกอบของคอนกรีต ์ ประเภทของปนซีเมนต์ ู ปูนซีเมนตที่มีใชกนอยในโลก สามารถแบ่งตามมาตรฐานการผลิตได้ 2 ประเภท ไดแก่ ์ ้ ั ู่ ้ 1.ปูนซีเมนต์ปอร์ ตแลนด์ ผลิตตาม มาตรฐานอุตสาหกรรม.15 แบ่งเป็ น 5 ประเภท ประเภทที่ 1 Ordinary Portland Cement สาหรับใชในการทาคอนกรีตหรือ ํ ้ ํ ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมใดที่ไม่ตองการคุณภาพพิเศษกว่าธรรมดา และสําหรับใช้ในการก่อสร้าง ้ ตามปกติทวไป ที่ไม่อยในภาวะอากาศรุนแรง หรือในที่มีอนตรายจากซัลเฟตเป็ นพิเศษ หรื อที่มี ั่ ู่ ั ความร้อนที่เกิดจากการรวมตัวกับนํ้า จะไม่ทาให้อุณหภูมิเพิ่มขึ้นถึงขั้นอันตราย เป็ นปูนซี เมนต์ ํ
  • 13. อาคารขนาดสูงใหญ่ สนามบิน ั ํ สะพาน ถนนได้แก่ ปูนซี เมนต์ตรา TPI สีแดง , ตราชาง , ตราอินทรี ยเ์ พชร ้ ประเภทที่ 2 Modified Portland Cement สาหรับใชในการทาคอนกรีตที่ตองการลด ํ ้ ํ ้ อุณหภูมิเนื่องจากสภาพอากาศที่มีอุณหภูมิสูง งานคอนกรีตเหลว หรื อผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ เกิดความร้อนและทนซลเฟตไดปานกลาง เช่น งานสร้างเขื่อนคอนกรีต กาแพงดินหนา ๆ หรือ ั ้ ํ ท่อคอนกรีตขนาดใหญ่ ๆ ตอม่อ ไดแก่ ปูนซีเมนตตราพญานาคเจ็ดเศียร ปัจจุบนไม่มีการผลิต ้ ์ ั ในประเทศไทย ประเภทที่ 3 High Early Strength Portland Cement ให้ค่าความต้านทานแรงอัดช่วงต้น สูงกว่า ปูนซี เมนต์ TPI (สี แดง)เม็ดปูนมีความละเอียดมากกว่า เป็ นปูนซี เมนต์ที่เหมาะสมสําหรับ งานคอนกรี ตที่ตองการรับนํ้าหนักได้เร็วหรื อต้องการถอดแบบได้เร็วรวมทั้งใช้ทาผลิตภัณฑ์ ้ ํ คอนกรี ตอัดแรงทุกชนิด เช่นงานเสาเข็ม งานตอม่อสะพานคอนกรี ต งานพื้นสําเร็ จรู ป โรงหล่อ เสาเข็ม, พื้นสําเร็ จรู ปได้แก่ ปูนซี เมนต์ตรา TPI สีดา , ตราเอราวัณ , ตราอินทรี ยดา ํ ์ ํ ประเภทที่ 4 Low Heat Portland Cement ใช้กบงานที่ตองการคอนกรี ตความร้อนตํ่า ั ้ ั สามารถลดปริ มาณความร้อนเนื่องจากการรวมตัวของปูนซี เมนต์กบนํ้าซึ่ งจะสามารถลดการ ขยายตัวและหดตัวของคอนกรี ตภายหลังการแข็งตัว ใช้มากในการสร้างเขื่อน เนื่องจากอุณหภูมิ ของคอนกรี ตตํ่ากว่างานชนิดอื่นไม่เหมาะสําหรับโครงสร้างทัวไปเพราะแข็งตัวช้า ปัจจุบนไม่มี ่ ั ผลิตในประเทศไทย ประเภทที่ 5 Sulfate Resistant Portland cement ใช้ในบริ เวณที่ดินหรื อบริ เวณใต้น้ าที่มี ํ ปริ มาณซัลเฟตสูง มีระยะการแข็งตัวช้า และมีการกระทําของซัลเฟตอย่างรุ นแรงได้แก่ ปูนซี เมนต์ตรา TPI สีฟ้า, ตราชางสีฟ้า, ตราอินทรี ยฟ้า ้ ์ 2. ปูนซีเมนต์ผสม ผลิตตาม มาตรฐานอุตสาหกรรม.80ผลิตโดยเป็ นปูนซี เมนต์ที่ได้จากการบด ปูนเม็ดของปูนซี เมนต์ปอร์ ตแลนด์ธรรมดากับทรายประมาณ 25-30% จึงมีราคาถูกลง มีลกษณะ ั แขงตวชาไม่ยืดหรือหดตวมากเหมาะสาหรับงานก่ออิฐ ฉาบปูน ทาถนน เทพ้ืน ตอม่อ หล่อ ็ ั ้ ั ํ ํ ภาชนะคอนกรีต หล่อทอกระเบ้องมุงหลงคา งานอาคาร 2 ถึง 3 ชั้น ตึกแถวหรื องานที่ไม่ ่ ื ั
  • 14. TPI ้ ํ ั ั ํ ้ ํ ั ้ ์ สีเขียว, ตราเสื อ, ตราอินทรี ยแดง ์ นอกจากนี้ยงมีปูนซี เมนต์ชนิดอื่น ๆ อีก เช่น Portland pozzolana cement ซ่ ึ งเหมาะ ั สําหรับงานอาคารคอนกรี ตในทะเล ปูนซี เมนต์ผสมซึ่ งเป็ นปูนซี เมนต์ซิลิกา (ปูนซี เมนต์ปอร์ ต แลนด์ธรรมดากบทราย 25 – 30%) ไดแก่ ปูนซีเมนต์ตราเสือ ตรางูเห่า และตรานกอินทรีย ์ มี ั ้ ราคาถูกแขงตวขา ไม่ยึดหรือหดตวเหมากบงานก่ออิฐ ทาถนน เทพ้ืน ตอม่อ หล่อท่อ เทภาชนะ ็ ั ้ ั ั ํ คอนกรี ต กระเบื้องมุงหลังคา และตึกแถว เป็ นต้น ปฏิกิริยาของปูนซีเมนต์ เราทราบแล้วว่าปูนซี เมนต์เป็ นองค์ประกอบหลักที่สาคัญตัวหนึ่งในคอนกรี ตเมื่อ ํ ปูนซี เมนต์รวมตัวกับนํ้าจะเป็ นของเหลวมีความหนื ดเรี ยกว่า “เพสต์” เพสต์จะทําหน้าที่เสมือน กาวประสานมวลรวมเข้าไว้ดวยกัน เมื่ออายุมากขึ้นเพสต์ก็จะเปลี่ยนสถานะจากของเหลวมาเป็ น ้ กึ่งเหลวกึ่งแข็งและในเวลาต่อมาก็จะกลายเป็ นของแข็งในที่สุด ซึ่ งจะสามารถรับกําลังอัดได้มาก ขึ้นเรื่ อยๆ ตามอายุที่เพิ่มขึ้นจนถึงช่วงเวลาหนึ่งความสามารถรับกําลังอัดก็จะเริ่ มคงที่การที่ ปูนซี เมนต์รวมตัวกับนํ้าแล้วเกิดการก่อตัวและแข็งตัวของปูนซี เมนต์ข้ ึน เราเรี ยกลักษณะเช่นนี้ ว่า “การเกิดปฏิกิริยาไฮเดรชั่น” ซึ่ งเกิดจากสารประกอบในซี เมนต์ทาปฏิกิริยาทางเคมีกบนํ้าเป็ น ํ ั ปฏิกิริยาคายความร้อน ดังนั้นเราจึงรู้สึกว่าร้อนขึ้นเมื่อสัมผัสกับปูนซี เมนต์ที่ทาปฏิกิริยากับนํ้า ํ เราสามารถเขียนเป็ นสมการแสดงความสัมพันธ์ง่ายๆ ได้ดงนี้ ั Cement + Water C-S-H gel + Ca (OH)2 + heat สารประกอบที่สําคัญของปูนซีเมนต์ปอร์ ตแลนด์ ปูนซี เมนต์ปอร์ตแลนด์ประกอบด้วย หิ นปูน (Limestone) และดินเหนียว (clay) เป็นส่วน ใหญ่นอกจากนี้ก็มีเหล็กออกไซด์ (Fe2O3) และโคโลไมต์ (MgCo3) เป็ นจํานวนเล็กน้อย ั ่ ปูนซี เมนต์ปอร์ ตแลนด์ธรรมดาในบ้านเราที่ใช้กนทัวไป (ตราเสื อ ตราช้าง ตรางูเห่า) ปกติจะมีสี เทาแกมเขียว (greenish gray) และมีน้ าหนักประมาณ 92 ปอนด์/ฟุต3 เมื่อเผาวัตถุดิบของ ํ
  • 15. งได้แก่สารออกไซด์ของธาตุแคลเซี ยมซิ ลิกอน อลูมิเนียม และ เหล็ก สารเหล่านี้จะ ทําปฏิกิริยากันทางเคมีและรวมตัวกันเป็ นสารประกอบอยูในปูนเม็ด ในรู ปของผลึกที่ละเอียด ่ ่ มาก ซึ่ งจํานวนสารประกอบที่อยูในปูนซี เมนต์ทาให้คุณสมบัติของปูนซี เมนต์เปลี่ยนไป เช่น ทํา ํ ํ ให้ปูนซี เมนต์มีกาลังรับแรงเร็วหรื อช้า ระยะเวลาการก่อตัวและแข็งตัวอาจเร็ วขึ้นหรื อช้าลง ความร้อนทีไดจากการปฏิกิริยาระหว่างน้ ากบปูนซีเมนตอาจสูงหรือต่า เป็นตน ดงแสดงใน ้ ํ ั ์ ํ ้ ั ตาราง 2.2 ตารางที่ 2.1 ตารางแสดงสารประกอบที่สาคัญของปูนซีเมนต์ ํ ชื่อของสารประกอบ ส่วนประกอบทางเคมี ชื่อย่อ ไตรแคลเซี ยม ซิ ลิเกต 3 CaO. SiO2 C3S ไดแคลเซี ยม ซิ ลิเกต 2 CaO. SiO2 C2S ไตรแคลเซี ยม อะลูมิเนต 3 CaO. Al2O3 C3A เตตตราแคลเซี ยม อะลูมิโน เฟอไรต์ 4 CaO. Al2O3. Fe2O3 C4AF ตารางที่ 2.2 ตารางแสดงคุณสมบัติของสารประกอบของซีเมนต์ สารประกอบ คุณสมบัติ C3S ํ ทําให้ปูนซี เมนต์มีกาลังรับแรงได้เร็วภายใน 14 วน ั C2S ํ ทําให้ปูนซี เมนต์มีกาลังรับแรงได้ชา ความร้อนเกิดขึ้นบ่อย ้ C3A ทําให้ปูนซี เมนต์เกิดปฏิกิริยาเริ่ มแข็งตัวเกิดความร้อนสูง มีกาลังรับแรงเร็ ว ํ C4AF มีผลน้อย ให้ความแข็งแรงเล็กน้อยเติมเข้าไปเพื่อลดความร้อนที่เกิดขึ้น
  • 16. รู ปที่ 2.2 กราฟแสดงระยะเวลาการก่อตัวและแข็งตัวกับจํานวนสารประกอบ การผลิตปนซีเมนต์ ู การผลิตปูนซี เมนต์มีท้งแบบเผาแห้ง (Semi – dry process) และแบบเผาเปียก (wet ั process) ซึ่ งกรรมวิธีในการผลิตโดยรวม ๆ จะเหมือนกัน แต่จะต่างกันในขั้นที่ 2 ดังที่จะแสดง ในรู ปต่อไปซึ่ งการผลิตจะมีกรรมวิธีดงต่อไปนี้ ั ในการผลิตปูนซี เมนต์เผาแห้งมีกรรมวิธีเป็ นขั้น ๆ คือ นําวัตถุดิบที่มีธาตุอะลูมินาและ ู่ ํ ั ็ ู่ ธาตุซิลิกาซ่ ึ งมีอยมากในดินดา กบเหลกซ่ ึ งมีอยมากในศิลาแลง มาผสมกันตามสัดส่วน บดให้ ั ละเอียดและนํามาตีกบนํ้าจะเป็ นนํ้าดินแล้วนําไปเผาในหม้อเผา (Cement kiln) จนกระทั้ง เกิดปฏิกิริยาทางเคมีจบกนเป็นเมดเลก ๆ ที่เรียกว่า ปนเมด (clinker) เมื่อนําปูนเม็ดไปบดรวมกับ ั ั ็ ็ ู ็ ยิปซัมก็จะได้ปูนซี เมนต์ตามที่ตองการ ้
  • 17. ในการเตรี ยมวัตถุดิบตามวิธีน้ ี จะตองนาวตถุดิบที่จะใชการผลิตปูนซีเมนต์ ไดแก่ ดิน ้ ํ ั ้ ้ ขาว ดินดา และศิลาแลง มาวิเคราะห์หาส่วนประกอบเพื่อคานวณหามาตราส่วนที่จะใช้ในการ ํ ํ ผลิตปูนซี เมนต์ผสมวัตถุดิบดังกล่าวแล้วนําไปตีรวมกันกับนํ้าในบ่อเตรี ยมดิน (Wash mill) ให้ ละเอียดจนเป็ นนํ้าดิน (slurry) วัตถุประสงค์ของกรรมวิธีข้นนี้ก็เพื่อที่จะย่อยดินขาวส่วนที่แข็ง ั มากให้แหลกลงแล้วกรองผลิตผลที่ดีแล้วเพื่อกันเอาส่วนละเอียดไปใช้และควบคุมปริ มาณของ นํ้าไม่ให้มีมากเกินไป เพราะจะทําให้หมดเปลืองเชื้อเพลิงโดยเปล่าประโยชน์ ส่วนกากของดิน นําไปบดให้ละเอียดใหม่ในหม้อบดดิน (tube mill) แล้วนํามากรองใหม่อีกครั้งหนึ่ง อย่างไรก็ตาม ในการเตรี ยมวัตถุดิบดังกล่าวมาแล้วนี้ส่วนผสมของวัตถุดิบก็อาจจะ คลาดเคลื่อนไปได้บาง เพราะความชื้นในดินตลอดจนความเปลี่ยนแปลงในส่วนผสมของดินอีก ้ เล็กน้อยจึงต้องกวนนํ้าดินที่ได้บรรจุไว้ในถัง (Slurry silo) โดยวิธีอดลมลงไปเป่ าให้เดือดพล่าน ั เป็ นเวลา 1 คืน แล้วจึงนํามาวิเคราะห์ทางเคมีเป็ นครั้งที่สอง ถ้าจําเป็ นก็จะได้จดการผสมนํ้าดินนี้ ั ให้ถูกส่วนตามที่ตองการต่อไป แล้วสูบนํ้าดินนี้ไปลงถังพัก (slurry agit tank) ซึ่ งมีพายและลม ้ สําหรับกวนและเป่ านํ้าดิน เพื่อป้ องกันไม่ให้ตกตะกอน และเพื่อให้เกิดความสมํ่าเสมอใน ส่วนผสมให้มากที่สุดที่จะทําได้ ขั้นต่อมาให้เตรี ยมดินผงโดยเอาหิ นปูนแห้งมาบดกับดินดําแห้งให้ละเอียดและมี ส่วนผสมทางเคมีกวนเข้ากับนํ้าดิน เอานํ้าดินและดินผงผสมกันแล้วมาปั้นเม็ดแบบขนมบัวลอย เม็ดดินนี้จะมีความชื้นประมาณ 25 เปอร์ เซ็นต์ ถ้าผลิตโดยกรรมวิธีเผาเปี ยก (wet process) นํ้าดิน จะต้องมีความชื้นถึง 40 เปอร์เซ็นต์ ก่อนที่จะป้อนเขาหมอเผา ดวยความช้ืนต่าของน้ าดินและ ้ ้ ้ ํ ํ โดยการเพิ่มตระกรันเผาเม็ดดินเข้าอีกชุดหนึ่ง การใช้ความร้อนจากเชื้อเพลิงจะเป็ นไปในอัตรา ต่า และมีประสิทธิภาพดีกว่าแบบเผาเปียก ทาให้เช้ือเพลิงที่ป้อนเขาไปในหมอเผาปริมาณ ํ ํ ้ ้ เดียวกันสามารถเผาปูนเม็ดได้เพิ่มขึ้นอีก 50 เปอร์ เซ็นต์ หรื อถ้าจะกล่าวอีกนัยหนึ่งว่าวิธีเผาเปี ยก ใช้ความร้อนประมาณ 1,500 กิโลแคลอรี ต่อกิโลกรัม เมื่อใช้วิธีเผาแห้งใช้ความร้อนลดลงเหลือ ประมาณ 1,000 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัม สูบน้ าดงกลาวไปเผาในหมอเผา (cement rotary kiln) ํ ั ่ ้
  • 18. ่ ่ ซึ่ งวางนอนอยูบนแท่นคอนกรี ตและหมุนรอบตัวเองอยูบนลูกกลิ้งประมาณนาทีละ 1 รอบ และ นํ้ามันเตาเป็ นเชื้อเพลิง ภายในหมอเผาจะมีอิฐทนไฟ (refractory lining bricks) เพื่อเก็บความร้อนไว้ภายในและ ้ มีโซ่เป็ นชุด ๆ แขวนไวทาหนาที่ต่าง ๆ กนเช่น ชุบน้ าดินที่ไหลผานมา แลวให้ปะทะกบลมร้อน ้ ํ ้ ั ํ ่ ้ ั ่ ่ ํ ํ ที่จะผาออกทางปลอง ทาให้น้ าระเหยออกจากน้ าดิน ป้ ันดินที่น้ าระเหยออกไปบางแลวให้เป็น ํ ํ ้ ้ ่ เม็ดกลม ๆ มีขนาดเท่าปลายนิ้วมือหรื อใกล้เคียงกัน เม็ดดินที่ผานโซ่เป็ นชุด ๆ มานั้นจะถูกเผาให้ ร้อนขึ้นเรื่ อย ๆ และเมื่อร้อนถึง 800 – 1000 องศาเซลเซี ยส เม็ดดินก็จะเริ่ มคาย คาร์ บอนไดออกไซด์ออก เมื่อเม็ดดินนี้ร้อนถึงประมาณ 1,450 องศาเซลเซี ยส ก็จะเกิดปฏิกิริยา ทางเคมีคือเม็ดดินเปลี่ยนเป็ นปูนเม็ดโดยฉับพลัน ปูนเม็ดซึ่ งร้อนถึง 1,450 องศาเซลเซี ยสจะถูก ปล่อยลงไปในยุงลดความเย็น (cooler) อันเป็ นทําเล ที่จะพ่นลมเข้าไปในปูนเม็ดเย็นตัวลง ้ เพื่อให้เกิดไตรแคลเซี ยมซิ ลิเกต (C3S) มากที่สุดในขณะที่ปูนเม็ดเริ่ มแข็งตัวแล้วจึงเก็บปูนเม็ดนี้ ไวในยง (storage) ้ ุ้ ต่อไปก็นาปูนเม็ดนี้ไปบดให้เป็ นปูนซี เมนต์ผงในหม้อบดปูนซี เมนต์ (Cement mill) โดย ํ ใส่ยิปซัมผสมลงไปด้วยหม้อบดนี้มีเครื่ องสามารถตั้งให้จานวนปูนเม็ดที่บดเป็ นปูนซี เมนต์แล้วมี ํ ความละเอียดและมีความแข็งตัวตามที่ตองการด้วยในทุก ๆ ชัวโมง ซึ่ งจะนําตัวอย่างปูนซี เมนต์ ้ ่ ที่บดนี้ไปทดลองหาเวลาแข็งตัวและความละเอียดตลอดจนเก็บไว้ส่วนหนึ่งเพื่อรวมกันประกอบ เป็ นตัวอย่างสําหรับทดลองกําลังการยึดตัวและส่วนผสมทางเคมีของปูนซี เมนต์ที่บดแต่ละตัว ํ ้ ั ํ ั ด้วย ปูนซี เมนต์ที่บดแล้วนี้นาไปเก็บไว้ในยุงเก็บปูนซี เมนต์ (cement silo) โดยอาศยกาลงลมอด ั ไป แลวจะนามาบรรจุถงจาหน่ายไดต่อไป ้ ํ ุ ํ ้ ่ การอุนดินผงให้ร้อนใช้วิธีโปรยดินผงลงทางยอดหอคอยมีถงดักแบบไซโคลนขนาด ั ใหญ่เรี ยงอยูเ่ ป็ นชั้น ๆ เพื่อนําลมร้อนที่ออกจากหม้อเผามาอุ่นดินผงให้ร้อนจัด เป็ นการประหยัด ความร้อนอย่างดีที่สุด ในกรรมวิธีการผาปูนในปัจจุบนนี้ ความร้อยที่ออกจากไซโคลนนี้ยงจะ ั ั ถูกจัดส่งโดยท่อขนาดใหญ่ ไปอุ่นวัตถุดิบที่มีความชื้นให้แห้งเสี ยก่อนนําไปเก็บไว้ในยุงแบบ ้ ไซโลอีกด้วย
  • 19. รู ป 2.3 รู ปแสดงกระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ มวลรวม มวลรวมเป็ นส่วนประกอบที่สาคัญอย่างหนึ่งที่จะส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพของคอนกรี ต ํ และส่งผลถึงประสิทธิภาพในการยึดเกาะของซีเมนต์ดวย โดยที่มวลรวมหรื อวัสดุผสมคือวัสดุ ้ เฉื่อย ไดแก่ หิน ทราย กรวด มวลรวมมีปริมาตร 70-80%ของปริ มาณของส่วนผสมทั้งหมด จึงมี ้ ความสําคัญต่อคุณสมบัติของคอนกรี ตมากหิ นที่ใช้ผสมคอนกรี ต ได้แก่ หิ นปูน หิ นแกรนิต หรื อ กรวดทราย ไดแก่ ทรายแม่น้ า ทรายบก หรือ หินบดละเอียด ้ ํ คุณสมบัตของมวลรวมในงานคอนกรีต ิ 1. ความแขงแรง (STRENGTH) ็ 2. รูปร่างและลกษณะผว (PARTICLE SHAPE AND SURFACE TEXTURE) ั ิ 3. ความคงทนต่อปฏิกิริยาเคมี (CHEMICAL STABILITY) 4. ขนาดใหญ่สุด (MAXIMUM SIZE) 5. ขนาดคละ (GRADATION)
  • 20. 6. ค่าความละเอียด (FINENESS MODULUS, F.M.) 7. ความชื้นและการดูดซึ ม (MOISTURE AND ABSORPTION) 8. ความถ่วงจาเพาะ , ถ.พ. (SPECIFIC GRAVITY) ํ 9. หน่วยน้ าหนกและช่องว่าง (UNIT WEIGHT AND VOID) ํ ั สาหรับช้นนี้จะขอยกมาเพียงส่วนที่สาคัญและเกี่ยวข้องกับการทดสอบ ซี เมนต์ เท่านั้น ํ ั ํ 1. ขนาดใหญ่สุดของมวลรวม (MAXIMUM SIZE OF AGGREGATE) ขนาดโตสุดของมวลรวม วัดจากขนาดตะแกรงอันที่ใหญ่กว่าถัดไปจากตะแกรงที่มี เปอร์เซ็นต์ของมวลรวมที่คางมากกว่าหรื อเท่ากับ 15%มวลรวมขนาดใหญ่ตองการปริ มาณนํ้า ้ ้ น้อยกว่ามวลรวมที่มีขนาดเล็ก เพื่อให้การเทได้(WORKABILITY) เท่ากัน เนื่องจากมีพ้ืนที่ ผิวสัมผัสโดยรอบน้อยกว่าเมื่อนํ้าหนักของมวลรวมเท่ากันดังนั้นถ้าให้ปริ มาณซี เมนต์และค่า ยบตว (SLUMP) เท่ากัน คอนกรี ตที่มีส่วนผสมของมวลรวมขนาดใหญ่ก็จะให้ค่ากําลังอัดที่สูง ุ ั กว่ามวลรวมขนาดเล็กแต่ท้งนี้คุณภาพของหิ นต้องเป็ นไปตามข้อกําหนดควรระวังเรื่ องของ ั MICRO CRACKINGซ่ ึ งมีลกษณะเป็ นรอยร้าวขนาดเล็กๆ เกิดจากกรรมวิธีการผลิตหิ นมักจะ ั เกิดขึ้นกับหิ นที่มีขนาดใหญ่หินที่มี MICRO CRACKING เมื่อนํามาผสมทําคอนกรี ตก็จะทําให้ กําลังของคอนกรี ตตํ่าลงได้ขนาดใหญ่สุดของมวลรวมที่ใช้ในงานก่อสร้างทัวไปมักจะมีขนาด ่ ้ ํ ไม่เกิน 40 มิลลิเมตร โดยในการทดสอบนี้ ไดมีการกาหนดขนาดของ ทราย โดยจะตองเป็น ้ ทรายที่ผานตระแกรงเบอร์ 30 และคางบนตระแกรงเบอร์ 50 เท่าน้ น ที่จะนามาทาการทดสอบ ่ ้ ั ํ ํ 2.ขนาดคละ (GRADATION) ขนาดคละ คือ การกระจายของขนาดต่างๆ ของอนุภาคมวลรวมในคอนกรีต ประกอบด้วย มวลรวมหยาบ มวลรวมละเอียด ซึ่ งจะต้องมีขนาดใหญ่ เล็กคละกันไปคอนกรี ตที่ ใช้มวลรวมที่มีขนาดคละดีจะมีส่วนผสมที่เข้ากันสมํ่าเสมอ เทเข้าแบบได้ง่ายไม่ออกหิ นออก ทราย ทาให้แน่นไดง่าย การปาดแต่งผิวหน้า กาลงอดและความทนทานยงเป็นไปตามขอกาหนด ํ ้ ํ ั ั ั ้ ํ
  • 21. 95-100% เราเรียกวา “มวลรวมหยาบ” ซ่ ึ ง ่ ไดแก่ หิน กรวด เป็นตนมวลรวมที่มีขนาดเลกกว่าตะแกรงเบอร์ 4 ประมาณ 95-100% เรา ้ ้ ็ เรียกว่า “มวลรวมละเอียด” ซ่ ึ งไดแก่ ทราย หินบดละเอียด เป็นตน ้ ้ มวลรวมที่มีขนาดคละดีจะทําให้ช่องว่างเหลือน้อยที่สุดทําให้ใช้ปริ มาณซี เมนต์เพสต์ น้อยที่สุดซึ่ งช่วยให้คอนกรี ตมีราคาตํ่าลงได้คอนกรี ตที่มีมวลรวมละเอียดมากเกินไป จะทํา ให้ ความสามารถในการเทได(้ WORKABILITY) น้อยลง จึงต้องเพิ่มนํ้าและเพสต์ให้มากขึ้นแต่ก็ ส่งผลต่อกําลังของคอนกรี ตคอนกรี ตที่มีมวลรวมหยาบมากเกินไปแม้ว่าความสามารถในการเท ได้ (WORKABILITY)จะดีแต่ก็อาจก่อให้เกิดปัญหาการแยกตัว (SEGREGATE) ของคอนกรี ต มวลรวมที่มีขนาดคละดีก็จะส่งผลให้คอนกรี ตมี WORKABILITY ดี , STRENGTH ดี และราคา ตํ่าด้วยมวลรวมที่มีขนาดคละดี หมายถึง มวลรวมที่มีมวลรวมหยาบและละเอียดขนาดต่างๆกัน คละเคล้ากันให้เหลือช่องว่างน้อยที่สุดอัตราส่วนของทรายต่อมวลรวม (S/A) อยในช่วง 0.40- ู่ 0.50 โดยน้ าหนกหินที่ใชมีSIZE NUMBER 6 (หินกลาง) และ SIZE NUMBER 7 (หินเลก) ํ ั ้ ็ นํามารวมกันในอัตราส่วน SIZE NO.6 /SIZE NO.7 เท่ากบ 50-65% โดยน้ าหนก ั ํ ั 3.ค่าความละเอียด (FINENESS MODULUS), (F.M.) โมดูลสความละเอียดเป็ นค่าที่บอกความละเอียดของทรายหาได้โดยการรวมค่า ั เปอร์เซ็นต์คางสะสม (CUMULATIVE PERCENTAGES RETAINED) บนตะแกรงเบอร์4, 8, ้ 16, 30, 50 และ 100 แล้วหารด้วย 100 - ทรายสาหรับผลิตคอนกรีต ควรมีค่าโมดูลสความละเอียดต้งแต่ 2.2 - 3.2 ํ ั ั ่ - ค่า F.M. น้อย (F.M. 2.2) แสดงวา ทรายละเอียด - ค่า F.M. มาก (F.M. 3.2) แสดงว่า ทรายหยาบ ั - ค่า F.M. ที่เหมาะกบงานคอนกรีต = 2.7 ทรายที่มีความละเอียด (F.M. 2.2) จาเป็นตองใชน้ ามากเพื่อให้ไดความสามารถเทได้ ํ ้ ้ ํ ้ (WORKABILITY) ที่เท่ากนเนื่องจากพ้ืนที่ผิวสมผสมากกว่า เมื่อน้ าหนกเท่ากนถาทรายมีความ ั ั ั ํ ั ั ้
  • 22. ก็จะทาให้ความสามารถในการแทรกประสานเขาไปในชอง ํ ้ ่ ระหว่างมวลรวมหยาบไม่ดีพอ ต้องใช้ปริ มาณเพสต์เพื่อเข้าไปแทนที่ช่องว่างมากขึ้นอันทําให้ คอนกรี ตที่ได้มีราคาสูงขึ้นด้วย รู ปที่ 2.4 เครื่ องคัดแยกขนาดหิน ทราย ข้อควรระวง ทรายที่นามาใชในการทดสอบน้ นตองมีความช้ืนนอยมาก เพราะ ทรายที่มี ั ํ ้ ั ้ ้ ความช้ืนมากจะจบตวกนแน่น ทาให้ไม่สามารถร่อนผานตระแกรงได้ และไมสามารถชงน้ าหนก ั ั ั ํ ่ ่ ั่ ํ ั ปริ มาตรเนื้อแท้ของทรายได้
  • 23. ํ ความถ่วงจาเพาะของมวลรวมคือ อตราส่วนระหว่างความหนาแน่นของมวลรวมต่อ ํ ั ความหนาแน่นของน้ าหรือ ถ.พ. ของมวลรวม = น้ าหนกมวลรวม / น้ าหนกของน้ าที่มีปริมาตร ํ ํ ั ํ ั ํ ่ เท่ากัน ถ.พ. ทราย = 2.65 ถ.พ. หิน = 2.70 ถ.พ. ซีเมนต์ = 3.15 คา ถ.พ. ใชในการแปลงน้ าหนก ้ ํ ั ของวตถุน้ นให้เป็นปริมาตรเช่น ซีเมนตหนก 315 ก.ก. = 315 / 3.15 = 100 ลิตร ั ั ์ ั การผสมซีเมนต์ การวดส่วนผสมอาจทาได้ 2 วิธี คือ การตวงส่วนผสมโดยปริมาตรและการชงส่วนผสม ั ํ ่ั โดยน้ าหนกการชงน้ าหนกจะให้คาที่ถูกตองแม่นยากว่าการตวงปริมาตรมาก จึงเหมาะสาหรับ ํ ั ั่ ํ ั ่ ้ ํ ํ งานก่อสร้างขนาดใหญ่ งานคอนกรีตกาลงอดปานกลาง – สูงในกรณี ที่หินทรายมีความชื้นเราก็ ํ ั ั สามารถปรับน้ าหนกส่วนผสมให้ถูกต้อง เนื่องจากความชื้นได้แต่วิธีการตวงทําไม่ได้ ํ ั เวลาในการผสมคอนกรีต เวลาที่เหมาะสมที่สุดในการผสม คือ เวลาพอดีที่ทาให้ได้คอนกรี ตที่มีเนื้อสมํ่าเสมอทุกๆ ครั้งที่ ํ ผสมซึ่ งจะได้จากการทดลองผสมก่อนใช้งานจริ ง ได้ขอสรุ ปดังนี้ ้ 1. ถ้าส่วนผสมแห้ง ปูนซี เมนต์นอย จะต้องผสมเป็ นเวลานาน ้ 2. ถ้ามวลรวมมีความเป็ นเหลี่ยมมุม จะต้องใช้เวลาผสมนานกว่ามวลรวมที่มีรูปร่ างกลม ในกรณี ที่คอนกรี ตถูกผสมเป็ นเวลานานนํ้าจะระเหยออกจากคอนกรี ตนั้น ส่งผลให้คอนกรี ตมี ํ ความสามารถลื่นไหลเข้าแบบลดลงและจะเริ่ มก่อตัวขึ้น จะส่งผลดังนี้คือ มวลรวมที่มีกาลังตํ่าจะ แตกทําให้ส่วนละเอียดเพิ่มขึ้น ความสามารถเทได้ลดลง และผลของแรงเสี ยดทานจะก่อให้ อุณหภูมิของส่วนผสมเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยงทําให้ปริ มาณฟองอากาศลดลงอีกด้วย ั การบ่มคอนกรีต คอนกรี ตจําเป็ นต้องได้รับการบ่มทันทีหลังจากเสร็จสิ้ นการเทและควรบ่มต่อไป ่ ํ จนกระทังคอนกรี ตมีกาลังตามต้องการ หลักการทัวไปของการบ่มที่ดีจะต้องสามารถป้ องกัน ่
  • 24. อลม ไม่ให้คอนกรี ตร้อนหรื อ เย็นมากเกินไปไม่ให้สมผัสกับสารเคมีที่จะเป็ นอันตรายต่อคอนกรี ต และไม่ถกชะล้างโดยนํ้าฝน ั ู หลังจากเทคอนกรี ตเสร็จใหม่ๆ เป็ นต้น การบ่มเปี ยก ในกรณี ทวไปคอนกรี ตต้องได้รับการป้ องกันจากการสูญเสี ยความชื้นจากแสงแดดและ ั่ ลมหลังจากเสร็ จสิ้ นการเทจนกระทังคอนกรี ตเริ่ มแข็งแรง และหลังจากที่คอนกรี ตเริ่ มแข็งแรง ่ แลวผิวหนาของคอนกรีตที่สมผสกบบรรยากาศยงตองคงความเปียกช้ืนอยู่ ซ่ ึ งอาจทาไดดวยการ ้ ้ ั ั ั ั ้ ํ ้ ้ ปกคลุมด้วยกระสอบเปี ยกนํ้า ผ้าเปี ยกนํ้า หรื อฉี ดนํ้าให้ชุ่ม เป็ นต้น คอนกรี ตที่ใช้ปูนซี เมนต์ ปอร์ ตแลนด์ประเภทที่ 1 ควรบ่มเปี ยกติดต่อกันอย่างน้อย 7 วน ส่วนคอนกรี ตที่ใช้ปูนซี เมนต์ ั ปอร์ ตแลนด์ประเภทที่ 3 ควรบ่มอย่างน้อย 3 วัน ในกรณี ของคอนกรี ตที่มีวสดุปอซโซลานผสม ั ่ ั ควรบ่มมากกว่า 7 วัน ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบชนิดและปริ มาณของวัสดุปอซโซลานที่ใช้คอนกรี ตที่ไม่ได้ รับการบ่มอย่างถูกต้องจะไม่มีการพัฒนากําลังเท่าที่ควรเนื่องจากปฏิกิริยาไฮเดรชันต้องการนํ้า ่ นอกจากน้ นการสูญเสียความช้ืนจากผิวหนาของคอนกรีตที่ไม่ไดรับการบ่มจะทาให้เกิดการ ั ้ ้ ํ แตกร้าวด้วยกรณี ใช้กระสอบหรื อผ้าในการบ่มคอนกรี ต กระสอบหรื อผ้าที่ใช้ควรเป็ นวัสดุที่มี ความหนาพอสมควรเพื่อไม่ให้แห้งเร็ วเกินไป และต้องรดนํ้าให้เปี ยกชุ่มอยูตลอดเวลาการบ่ม ่ ด้วย รูปที่ 2.5 รู ปแสดงการบ่มคอนกรี ตด้วยกระสอบเปี ยก
  • 25. และความเร็วลมต่ออตรา ์ ั ั ั การระเหยของความช้ืนบนผวซีเมนต์ ิ
  • 26. ิ คอนกรี ตสดที่ดีตองมีคุณสมบัติดงต่อไปนี้ ซ่ ึ งคุณสมบัติต่างๆ ของคอนกรี ตสด จะส่งผล ้ ั โดยตรงต่อกําลังและความทนทานของคอนกรี ตเมื่อคอนกรี ตแข็งตัวแล้ว 1. ความสามารถเทได้ (WORKABILITY) คือ ความสามารถในการที่จะเทคอนกรีตเขาสู่ ้ แบบให้แน่น และไม่เกิดการแยกตวของส่วนผสม ั 2. การยึดเกาะ (COHESION) คือ การที่เนื้อคอนกรี ตสามารถจับรวมตัวกันเป็ นกลุ่ม หรื อ แยกออกจากกันได้ยาก ่ ั 3. ความข้นเหลว (CONSISTENCY) คือ สภาพความเหลวของคอนกรี ต ซึ่ งขึ้นอยูกบ ปริมาณน้ าเป็นส่วนใหญ่โดยการทดสอบต่างๆ เช่น ค่ายุบตัว, การไหล เป็ นต้น ํ 4. การแยกตัว (SEGREGATION) คือ การแยกออกของส่วนประกอบต่างๆ ในเนื้อ คอนกรีต ทําให้คอนกรี ตมีเนื้อไม่สมํ่าเสมอ 5. การเย้ม (BLEEDING) คือ การแยกตัวชนิดหนึ่ง เป็ นการแยกตัวในแนวดิ่งโดยที่วสดุ ิ ั ผสมที่หนักจะจมลงด้านล่างและวัสดุผสมที่เบาจะลอยขึ้นด้านบนสู่ผิวของคอนกรี ต ปัจจยที่มีผลกระทบโดยตรงกับคุณภาพของซีเมนต์ ั 1. อัตราส่วนนํ้าต่อซี เมนต์ จากการทดสอบพบว่ากําลังอัดของคอนกรี ตจะแปรผกผันกับ อัตราส่วนของนํ้าต่อซี เมนต์นนคือกําลังอัดของคอนกรี ตจะมากขึ้นถ้าอัตราส่วนนํ้าต่อซี เมนต์ ั่ ลดลง อัตราส่วนของนํ้าต่อซี เมนต์นอยที่สุดและเหมาะสมประมาณ 0.30 (WC = 0.3) เนื่องจาก ้ ปูนซี เมนต์ตองใช้น้ าในการทาปฏิกิริยาไฮเดรชน ้ ํ ํ ่ั ่ ั 2. ชนิดของปูนซี เมนต์ข้ ึนอยูกบสารประกอบในปูนซี เมนต์และขนาดเม็ดปูนซี เมนต์ ปูนซีเมนตที่มีการบดละเอียดเมดเลก พ้ืนที่ผิวสมผสจะมาก ทาปฏิกิริยาไดเ้ ร็ว ทาให้สามารถรับ ์ ็ ็ ั ั ํ ํ กําลังอัดได้สูงในระยะเวลาเร็ ว คุณสมบัตด้านกําลังอืนๆ ของคอนกรีต ิ ่
  • 27. ความต้านทานในด้านรับแรงดึงของคอนกรี ตมีค่าตํ่ามากประมาณ 10 % ของกําลังอัดประลัยความต้านทานในการรับแรงดึงของคอนกรี ตจะช่วยในการควบคุมการ แตกร้าวของคอนกรี ตเนื่องจากผลกระทบต่างๆ เช่น อุณหภูมิ การหดตัว งานคอนกรี ตอัดแรง งานก่อสร้างเก็บของเหลว เป็ นต้น ่ 2. BOND STRENGTH. ความต้านทานต่อการลื่นไถลของเหล็กเสริ มที่หล่ออยูภายในเนื้อ ่ ั คอนกรี ตขึ้นอยูกบชนิดของซี เมนต์ สารผสมเพิ่ม w/c ซึ่ งมีอิทธิพลต่อคุณสมบัติของเพสต์ แรง ยึดเหนี่ยวกับเหล็กเสริ มในแนวนอนจะน้อยกว่าแนวตั้ง เพราะนํ้าที่เกิดจากการเยิ้มอาจไปเกาะอยู่ ใต้เหล็กเสริ มตามแนวนอนได้ เมื่อคอนกรี ตแข็งตัวจึงเกิดเป็ นรู โพรงใต้เหล็กเสริ มนั้น ทําให้ลด กําลังยึดเหนี่ยวลง 3. SHEAR STRENGTH. 4. IMPACT STRENGTH. ั 5. การตานทานการเสียดสีข้ ึนกบ ้ ํ ั ั - w/c (กาลงอด) สูงจะมีความตานทานสูง ้ - Agg/C (มวลรวม/ซีเมนต์) สูงจะมีความต้านทานสู ง - ความต้านทานตํ่าเมื่อใช้มวลรวมเบา - ความต้านทานเพิ่มขึ้นถ้าเกิดการเยิ้มขึ้นเพียงเล็กน้อย - ประการที่สาคัญที่สุด คือ การบ่มคอนกรี ตอย่างถูกต้องและเพียงพอ ํ การทดสอบคุณสมบัตของปูนซีเมนต์ ิ 1. คุณสมบัตทางกายภาพ ิ