ค ม อการตรวจสอบภายใน บร ษ ท ค อ

ศสว.

วชิ า การควบคุมและ

การตรวจสอบภายใน

จุดประสงค์รายวชิ า เพื่อให้

1. มคี วามรู้และความเข้าใจเกยี่ วกบั แนวคดิ พืน้ ฐานของการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายในและมาตรฐานวชิ าชีพตรวจสอบภายใน

2. มคี วามรู้ความเข้าใจในกระบวนการและเทคนิคการตรวจสอบภายใน

3. มคี ุณลกั ษณะนิสัยทเ่ี หมาะสมกบั การประกอบอาชีพ

มาตรฐานรายวชิ า

1. รู้แนวคดิ พืน้ ฐานของการตรวจสอบภายใน การควบคุม ภายในและมาตรฐานวชิ าชีพตรวจสอบภายใน

2. รู้กระบวนการและเทคนิคการตรวจสอบภายใน

3. ปฏิบตั งิ านโดยรู้หลกั เกณฑ์ มกี ารตรวจสอบเป็ นระบบ อย่างสมา่ เสมอ

หน่วยท่ี 1 แนวคดิ พืน้ ฐานของการตรวจสอบภายใน

สาระการเรียนรู้ (Chapter Objective) 1.1 ววิ ฒั นาการของการตรวจสอบภายในในต่างประเทศ 1.2 ววิ ฒั นาการของการตรวจสอบภายในในประเทศไทย 1.3 ความสาคัญของตรวจสอบภายใน 1.4 ความแตกต่างระหว่างการสอบบัญชีกบั การตรวจสอบภายใน 1.5 ประเภทของการตรวจสอบภายในแบ่งตามกลุ่มผู้ตรวจสอบ 1.6 ประเภทการตรวจสอบภายในแบ่งตามวัตถุประสงค์ 1.7 เส้นทางความก้าวหน้าในการประกอบอาชีพการตรวจสอบภายใน

ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั (Learning Objective) 1. สามารถอธิบายถึงววิ ฒั นาการของการตรวจสอบภายในได้ 2. สามารถอธิบายถงึ ความสาคญั ของการตรวจสอบภายในได้ 3. สามารถอธิบายถึงความแตกต่างระหว่างการสอบบญั ชีกบั การตรวจสอบ ภายในได้ 4. สามารถแบ่งกลุ่มการตรวจสอบภายในในแต่ละประเภทได้ 5. เพ่ือเป็ นแนวทางในการประกอบอาชีพ

1.1 ววิ ฒั นาการการตรวจสอบภายในในต่างประเทศ

ค.ศ. 1941-1970 ในช่วงน้ันการตรวจสอบภายในเน้นการตรวจสอบด้าน บัญชีและการเงิน

ค.ศ. 1992 เริ่มมกี รอบงานตามหลกั ของ Committee of Sponsoring Organizations of the Tread way Commission หรือ “COSO”

ค.ศ. 2002 ถงึ ต้นปี ค.ศ. 2004 การตรวจสอบจะเน้นการให้คาปรึกษาต่อ ผ้บู ริหารองค์กร และผ้มู สี ่วนได้เสียเพ่ือเพมิ่ คุณค่าให้กบั องค์กรเกยี่ วกบั

  1. การบริหารความเส่ียง 2) การควบคุม และ 3) การกากบั ดูแล

กลางปี ค.ศ. 2004 “COSO” ได้จัดทาเอกสารเกย่ี วกบั การพฒั นา แนวคดิ /กรอบการบริหารความเสี่ยง (COSO Enterprise Risk Management Framework)

1.2 ววิ ฒั นาการการตรวจสอบภายในในประเทศไทย

พ.ศ. 2472 เริ่มมกี ารตรวจสอบบญั ชี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณชิ ย์

พ.ศ. 2491 จดั ต้งั สมาคมนักบญั ชีและผ้สู อบบญั ชีรับอนุญาตแห่งประเทศ ไทย และการกาหนดพระราชบญั ญัตผิ ้สู อบบัญชีในปี พ.ศ.2505

พ.ศ. 2532 จัดต้งั สมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย

พ.ศ. 2535 ประกาศของตลาดหลกั ทรัพย์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2535 กาหนดคุณสมบัตขิ องบริษัททย่ี ่ืนขอจดทะเบยี นต่อตลาดหลกั ทรัพย์แห่งประเทศ ไทยต้องจดั ให้มรี ะบบการตรวจสอบภายในและการควบคุมภายในทเี่ หมาะสม

1.2 ววิ ฒั นาการการตรวจสอบภายในในประเทศไทย (ต่อ)

พ.ศ. 2539 ตลาดหลกั ทรัพย์แห่งประเทศไทยได้จดั ทาคู่มือการตรวจสอบ ภายในโดยองิ คู่มือของ Committee of Sponsoring Organizations of the Tread way Commission หรือ “COSO” มาใช้เป็ นคร้ังแรกในประเทศไทย

พ.ศ. 2545 สมาคมผ้ตู รวจสอบภายในแห่งประเทศไทย ประกาศใช้ มาตรฐานการปฏิบัติงานวชิ าชีพการตรวจสอบภายในและจรรยาบรรณวชิ าชีพ ใหม่

ปัจจุบัน สมาคมผู้ตรวจสอบภายในได้นาหลกั การตรวจสอบภายในของ “COSO” เกย่ี วกบั การพฒั นาแนวคดิ /กรอบการบริหารความเส่ียง (COSO Enterprise Risk Management Framework) ออกมา เผยแพร่ โดยแนวการตรวจสอบสมยั ใหม่จะเน้นการบริหารความ เสี่ยงขององค์กรเป็ นสาคญั

1.3 ความสาคญั ของการตรวจสอบภายใน

การตรวจสอบภายใน คือ กจิ กรรมเกย่ี วกบั การแสดงความเห็นเพ่ือให้ความ เช่ือมน่ั อย่างอสิ ระและเทย่ี งธรรม เพ่ือการเพม่ิ พูนคุณค่าขององค์กร

1.4 ความแตกต่างระหว่างการสอบบัญชีกบั การตรวจสอบภายใน

การสอบบัญชี

การสอบบญั ชี เป็ นกจิ กรรมของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ซ่ึงกฎหมาย กาหนดให้นิตบิ ุคคลต่าง ๆ ต้องมกี ารสอบบญั ชีประจาปี การสอบบัญชีจะเน้นถงึ ส่ิงทผ่ี ้บู ริหารให้การรับรองไว้เกย่ี วกบั ความถูกต้องและความเช่ือถือได้ของงบ การเงนิ ว่าเป็ นไปตามหลกั การบัญชีทรี่ ับรองทวั่ ไปหรือไม่ โดยผู้สอบบญั ชีจะ แสดงความเห็นในรูปแบบของรายงานการสอบบัญชี

ส่ิงทผี่ ู้บริหารได้รับรองไว้มดี งั ต่อไปนี้

  1. ความมอี ย่จู ริง หมายถงึ สินทรัพย์ หรือหนีส้ ิน มอี ย่จู ริง ณ วนั ท่ใี นงบ การเงนิ
  1. เกดิ ขึน้ จริง หมายถึง รายการบญั ชีและเหตุการณ์ทส่ี ะท้อนอยู่ในงบ การเงนิ เกดิ ขึน้ จริงและเกยี่ วข้องกบั กจิ การ
  1. สิทธิและภาระผกู พนั หมายถงึ สินทรัพย์ หรือหนีส้ ิน เป็ นของกจิ การ ณ วนั ทใี่ นงบการเงนิ
  1. ความครบถ้วน หมายถงึ ไม่มรี ายการ สินทรัพย์ หนีส้ ิน และรายการ หรือเหตุการณ์ใด ๆ ทไี่ ด้เกดิ ขนึ้ และเกยี่ วข้องกบั กจิ การ แต่มไิ ด้บันทกึ ไว้หรือ มไิ ด้เปิ ดเผยไว้

ส่ิงทผี่ ู้บริหารได้รับรองไว้มดี งั ต่อไปนี้ (ต่อ)

  1. การตรี าคา หมายถงึ กจิ การบนั ทึกสินทรัพย์ หรือหนีส้ ินในราคาท่ี เหมาะสมตามข้อกาหนดของมาตรฐานการบัญชีทเี่ กย่ี วข้อง
  1. การวดั มูลค่า หมายถงึ กจิ การบันทกึ รายการหรือเหตุการณ์ในจานวน เงนิ ทถ่ี ูกต้องรายได้ และค่าใช้จ่ายได้รับการบนั ทกึ ในงวดบญั ชีทถ่ี ูกต้อง
  1. การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข้อมูลในงบการเงนิ หมายถึง รายการ ในงบการเงนิ ได้เปิ ดเผย จดั ประเภท และบรรยายลกั ษณะตามข้อกาหนดของ มาตรฐานการบญั ชีทรี่ ับรองโดยทวั่ ไป

การตรวจสอบภายใน

การตรวจสอบภายใน เป็ นกจิ กรรมของผู้ตรวจสอบภายใน ซ่ึงอาจเป็ น หน่วยงานภายนอกองค์กร หรือหน่วยงานภายในองค์กร ทาหน้าทีใ่ นการสอบ ทาน และตดิ ตามดูแลการปฏิบัติงานต่าง ๆ แทนฝ่ ายบริหารเพ่ือให้บรรลุใน วตั ถุประสงค์ดงั ต่อไปนี้

  1. ความมปี ระสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดาเนินงาน
  1. ความเช่ือถือได้ของรายงานทางการเงนิ
  1. การปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบยี บ และนโยบายทใ่ี ช้บังคบั องค์กรน้ัน ๆ

1.5 ประเภทของการตรวจสอบภายในแบ่งตามกลุ่มผ้ตู รวจสอบ

  1. ผ้ตู รวจสอบภายในภาครัฐ
  2. ผ้ตู รวจสอบภายในองค์กรรัฐวสิ าหกจิ
  3. ผู้ตรวจสอบภายในสถาบนั การศึกษา
  4. ผ้ตู รวจสอบภายในองค์กรธุรกจิ ภาคเอกชน

1.6 ประเภทการตรวจสอบภายในแบ่งตามวตั ถุประสงค์

  1. การตรวจสอบการเงนิ และการบัญชี
  2. การตรวจสอบการปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย
  3. การตรวจสอบการทุจริต
  4. การตรวจสอบการดาเนินงาน
  5. การตรวจสอบการบริหาร
  6. การตรวจสอบเทคโนโลยสี ารสนเทศ

1.7 เส้นทางความก้าวหน้าในการประกอบอาชีพการตรวจสอบภายใน

หน่วยงานตรวจสอบในปัจจุบันนิยมให้เป็ นฝ่ ายงานอสิ ระซึ่งขึน้ ตรงต่อ ผ้บู ริหารระดบั สูง หรือบางหน่วยงานขนึ้ ตรงต่อคณะกรรมการบริษัท โดย ผ้บู ริหารสูงสุดของหน่วยงานตรวจสอบภายในมีตาแหน่งอย่างน้อยระดบั ผู้อานวยการฝ่ ายขึน้ ไป บางหน่วยงานมตี าแหน่งถึงระดบั รองกรรมการผ้จู ดั การ ใหญ่

กจิ กรรมเสนอแนะ

ให้นักศึกษายกตัวอย่างเกยี่ วกบั หน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐบาล รัฐวิสาหกจิ และบริษทั เอกชนทจ่ี าเป็ นต้องมผี ้ตู รวจสอบภายในทาการตรวจสอบ พร้อมท้งั อธิบายเกยี่ วกบั ข้อดแี ละข้อเสียของการมีผู้ตรวจสอบภายใน

ใบงาน หน่วยท่ี 1 แนวคดิ พืน้ ฐานของการตรวจสอบภายใน

กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5-7 คน

2. ให้หาข้อมูลหน่วยงานของภาครัฐบาล และบริษทั เอกชนทตี่ ้องมผี ู้ตรวจ สอบ ภายในมาอย่างละ 5 หน่วยงาน และแต่ละหน่วยงานทาหน้าทเ่ี กย่ี วกับอะไร พร้อมท้งั นาเสนอผลงานอย่างส้ัน ๆ

3. ให้นักศึกษากลุ่มอ่ืน ๆ ประเมนิ ผลตามแบบประเมนิ

คาถามท้ายหน่วยที่ 1

ตอนท่ี 1 จงเตมิ คาหรือข้อความในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. ความมอี ย่จู ริง หมายถึงอะไร ตอบ สินทรัพย์ หรือหนีส้ ิน มอี ยู่จริง ณ วนั ทใ่ี นงบการเงนิ 2. เกดิ ขึน้ จริง หมายถึงอะไร ตอบ รายการบัญชีและเหตุการณ์ทสี่ ะท้อนอยู่ในงบการเงนิ เกดิ ขึน้ จริงและเกยี่ วข้อง

กบั กจิ การ 3. สิทธิและภาระผกู พนั หมายถงึ อะไร ตอบ สินทรัพย์ หรือหนีส้ ิน เป็ นของกจิ การ ณ วนั ที่ในงบการเงนิ

คาถามท้ายหน่วยท่ี 1

ตอนที่ 1 จงเตมิ คาหรือข้อความในช่องว่างให้ถูกต้อง 4. ความครบถ้วน หมายถงึ อะไร

ตอบ ไม่มรี ายการ สินทรัพย์ หนีส้ ิน และรายการหรือเหตุการณ์ใด ๆ ทไี่ ด้เกดิ ขึน้ และเกย่ี วข้องกบั กจิ การ แต่มไิ ด้บันทกึ ไว้หรือมิได้เปิ ดเผยไว้

5. การตรี าคา หมายถงึ อะไร ตอบ กจิ การบนั ทึกสินทรัพย์ หรือหนีส้ ินในราคาที่เหมาะสมตามข้อกาหนดของ มาตรฐานการบัญชีทเี่ กย่ี วข้อง 6. การวดั มูลค่า หมายถึงอะไร ตอบ กจิ การบันทกึ รายการหรือเหตุการณ์ในจานวนเงนิ ทถี่ ูกต้อง รายได้ และ ค่าใช้จ่ายได้รับการบนั ทกึ ในงวดบญั ชีทถ่ี ูกต้อง

คาถามท้ายหน่วยท่ี 1 ตอนที่ 1 จงเตมิ คาหรือข้อความในช่องว่างให้ถูกต้อง

7. การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข้อมูลในงบการเงนิ หมายถงึ อะไร ตอบ รายการในงบการเงนิ ได้เปิ ดเผย จัดประเภท และบรรยายลกั ษณะตามข้อกาหนดของ มาตรฐานการบญั ชีทร่ี ับรองโดยทวั่ ไป 8. COSO ย่อมาจากอะไร ตอบ Committee of Sponsoring Organizations of the Tread way Commission 9. การตรวจสอบประเภทใดเป็ นการตรวจสอบทล่ี ะเอยี ดและซับซ้อนมากทส่ี ุด ตอบ การตรวจสอบการบริหาร 10. กลางปี ค.ศ. 2004 COSO ได้จัดทาเอกสารเกย่ี วกบั การตรวจสอบสมยั ใหม่โดยเน้น ใน

เร่ืองใด ตอบ การบริหารความเสี่ยง

ตอนที่ 2 จงทาเครื่องหมาย (√) ลงหน้าข้อทถ่ี ูกต้อง 1. การตรวจสอบภายในเริ่มคร้ังแรกทปี่ ระเทศอะไร

ก. องั กฤษ √ข. สหรัฐอเมริกา

ค. ออสเตรเลยี ง. ไทย 2. การตรวจสอบภายในเร่ิมคร้ังแรกปี ค.ศ. อะไร ก. 1941 - 1969 √ข. 1941- 1970 ค. 1941 - 1971 ง. 1941- 1972

3. กรอบในการตรวจสอบภายในของ COSO เร่ิมใน ค.ศ. อะไร ก. 1990 ข. 1991

√ค. 1992 ง. 1993

4. ในปี ค.ศ. 2002 - 2004 การตรวจสอบภายในเน้นการให้คาปรึกษาต่อผู้บริหาร เกย่ี วกบั เรื่องดงั ต่อไปนี้ ยกเว้น

ก. การบริหารความเส่ียง ข. การควบคุม

√ค. ความโปร่งใส ง. การกากบั ดูแล

5. การตรวจสอบภายในในประเทศไทยเริ่มเกดิ ขึน้ ในปี พ.ศ. อะไร ก. 2470 ข. 2471

√ค. 2472 ง. 2473

6. สมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทยก่อต้งั เม่ือปี พ.ศ.อะไร ก. 2531

√ข. 2532 ค. 2533 ง. 2534

7. ข้อใดต่อไปนีไ้ ม่ใช่สิ่งทผี่ ู้บริหารให้การรับรองไว้ ก. ความมอี ยู่จริง ข. เกดิ ขนึ้ จริง ค. ควบครบถ้วน

√ง. การวดั ราคา 8. ข้อใดต่อไปนีไ้ ม่ถูกต้อง

ก. สานักงานตรวจเงนิ แผ่นดนิ เป็ นผู้ตรวจสอบภาครัฐ √ข. บริษทั มหาชนทจี่ ดทะเบยี นในตลาดหลกั ทรัพย์ไม่จาเป็ นต้องมีผู้ตรวจ

สอบภายใน ถ้าองค์กรไม่ใหญ่มาก ค. บริษทั มหาชนทจี่ ดทะเบยี นในตลาดหลกั ทรัพย์จะต้องมผี ู้ตรวจสอบ

ภายใน ง. สถาบันการศึกษาขนาดใหญ่จะจัดให้มีหน่วยงานตรวจสอบภายในทา

หน้าทแี่ ทนฝ่ ายบริหาร

9. ข้อใดต่อไปนีไ้ ม่ใช่การแบ่งประเภทการตรวจสอบภายในตามวตั ถุประสงค์ ก. การตรวจสอบการเงนิ และการบญั ชี ข. การตรวจสอบการปฏิบตั ิตามกฎหมาย ค. การตรวจสอบการบริหาร

√ง. การตรวจสอบภาครัฐบาล 10. การตรวจสอบประเภทใดเน้น 3E

ก. การตรวจสอบการเงนิ และการบญั ชี ข. การตรวจสอบการปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย ค. การตรวจสอบการบริหาร √ง. การตรวจสอบการดาเนินงาน

ตอนท่ี 3 จงตอบคาถามต่อไปนีใ้ ห้ได้ใจความทส่ี มบูรณ์

1. การตรวจสอบภายใน หมายถงึ อะไร

ตอบ กจิ กรรมเกยี่ วกบั การแสดงความเห็นเพื่อให้ความเช่ือมั่นอย่างอสิ ระและ เทย่ี งธรรม เพ่ือการเพม่ิ พูนคุณค่าขององค์กร การตรวจสอบภายในจะช่วยให้ บรรลวุ ตั ถุประสงค์ขององค์กรและให้มกี ารปฏิบัติงานเป็ นไปอย่างประหยดั ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล

2. การสอบบญั ชี หมายถึงอะไร

ตอบ กจิ กรรมของผ้สู อบบัญชีรับอนุญาต ซึ่งกฎหมายกาหนดให้นิตบิ ุคคล ต่าง ๆ เช่น บริษัทจากดั บริษทั มหาชนจากดั เป็ นต้น ต้องมผี ู้สอบบัญชีรับ อนุญาตทาการตรวจสอบและรับรองงบการเงิน การสอบบัญชีจะเน้นถงึ สิ่งท่ี ผ้บู ริหารให้การรับรองไว้ เกยี่ วกบั ความถูกต้องและความเชื่อถือได้ของงบการเงิน ว่าเป็ นไปตามหลกั การบญั ชีทรี่ ับรองโดยท่ัวไปหรือไม่

3. จงอธิบายข้อแตกต่างระหว่างการสอบบัญชีกบั การตรวจสอบภายใน ตอบ การสอบบญั ชี เป็ นกจิ กรรมของผ้สู อบบญั ชีรับอนุญาต ซ่ึงกฎหมาย กาหนดให้นิตบิ ุคคลต่าง ๆ ต้องมผี ้สู อบบญั ชีรับอนุญาตทาการตรวจสอบและ รับรองงบการเงนิ การสอบบญั ชีจะเน้นถึงส่ิงทผี่ ้บู ริหารให้การรับรองไว้

การตรวจสอบภายใน เป็ นกจิ กรรมเกยี่ วกบั การแสดงความเห็นเพื่อให้ความ เชื่อมน่ั อย่างอสิ ระและเทยี่ งธรรม เพื่อการเพมิ่ พูนคุณค่าขององค์กร การ ตรวจสอบภายในจะช่วยให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ขององค์กรและให้มกี ารปฏิบัตงิ าน เป็ นไปอย่างประหยดั ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล

4. ประเภทของการตรวจสอบภายในแบ่งตามกล่มุ ผู้ตรวจสอบ ได้แก่อะไรบ้าง ตอบ ผ้ตู รวจสอบภายในภาครัฐ ประกอบด้วย

  1. ผ้ตู รวจสอบสานักงานตรวจเงนิ แผ่นดนิ (สตง.)
  2. ผ้ตู รวจสอบภายในของแต่ละกระทรวง ทบวง กรม
  3. ผ้ตู รวจสอบส่วนราชการประจาจังหวดั
  4. ผู้ตรวจสอบภายในขององค์กรอสิ ระของรัฐ

5. การตรวจสอบเทคโนโลยสี ารสนเทศจะตรวจสอบเกยี่ วกบั อะไรบ้าง ตอบ เป็ นการตรวจสอบระบบงานและระบบการควบคุมภายในของระบบ คอมพวิ เตอร์ เพ่ือสอบทาน 3E คือ ประหยดั (Economy) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ประสิทธิผล (Effectiveness) และระบบการรักษาความปลอดภัย ทางด้านคอมพวิ เตอร์

THE END