ข นตอนการแก ป ญหา ม ก ข นตอน อะไรบ าง

เมื่อคุณทดสอบผลิตภัณฑ์ออกใหม่ที่สำคัญ บางครั้งคุณอาจประหลาดใจกับข้อผิดพลาดใหม่ๆ ในสภาพแวดล้อมที่ใช้งาน เพราะเหตุใด เกิดปัญหาอะไรขึ้น สภาพแวดล้อมในการทดสอบอาจไม่ใกล้เคียงกับสภาพแวดล้อมในการผลิตจริงอย่างที่คุณคิด การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างพื้นฐานสามารถเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมได้โดยไม่มีระบุมาเป็นเอกสาร ทำให้สภาพแวดล้อมค่อยๆ เริ่มแตกต่างออกไป

การแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องใช้เวลานานมาก การเรียนรู้วิธีแก้ไขปัญหาให้เร็วขึ้นถือเป็นหนึ่งในการลงทุนที่ดีที่สุดที่คุณทำได้ในฐานะนักพัฒนาซอฟต์แวร์

การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (RCA) คือเทคนิคพิเศษที่คุณนำไปใช้เพื่อแก้ไขปัญหาโดยเฉพาะ เทคนิคนี้ช่วยให้คุณสามารถวิเคราะห์ปัญหาที่พบเจอได้โดยใช้ขั้นตอนที่กำหนดมาโดยเฉพาะต่างๆ เพื่อค้นหาสาเหตุหลักของปัญหา RCA ยึดหลักการว่า การสนใจแต่ปลายเหตุโดยเพิกเฉยต่อสาเหตุของปัญหานั้นไม่มีประโยชน์

การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหามีประโยชน์อย่างไร

การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (RCA) คือเทคนิคพิเศษที่คุณนำไปใช้เพื่อแก้ไขปัญหาโดยเฉพาะ เทคนิคนี้ช่วยให้คุณสามารถวิเคราะห์ปัญหาที่พบเจอได้โดยใช้ขั้นตอนที่กำหนดมาโดยเฉพาะต่างๆ เพื่อค้นหาสาเหตุหลักของปัญหา RCA ยึดหลักการว่า การสนใจแต่ปลายเหตุโดยเพิกเฉยต่อสาเหตุของปัญหานั้นไม่มีประโยชน์

ฉันจะเริ่มต้นทำการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาได้อย่างไร

อธิบายปัญหา

ใช้แนวทางเป็ดยาง (การแก้ไขจุดบกพร่องเป็ดยาง) เพื่ออธิบายปัญหาของคุณอย่างง่ายๆ ในการอธิบายอะไรก็ตาม คุณถูกบังคับให้ต้องเรียงลำดับความคิดของคุณ Jeff Atwood ผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ถามตอบยอดนิยมอย่าง Stack Overflow เล่าให้ฟังว่ากี่ครั้งแล้วที่นักพัฒนาซอฟต์แวร์บอกเขาเกี่ยวกับการเขียนคำถามใหม่ไปยังเว็บไซต์ การค้นหาคำตอบด้วยตนเอง แต่ไม่เคยส่งคำถามจริงๆ

ลองใช้วิธีต่อไปนี้เพื่อช่วยให้คุณระบุปัญหาได้ง่ายๆ

  1. เขียนคำถามลงใน Stack Overflow แม้ว่าคุณจะไม่เคยทำก็ตาม
  2. บันทึกรายงานข้อบกพร่องโดยละเอียดเอาไว้
  3. อธิบายให้เพื่อนร่วมงานฟัง

รวบรวมข้อมูลบันทึก (และค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ)

ลำดับต่อไปคือรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับปัญหาและหาข้อมูลเชิงลึก การบันทึกและการติดตามตรวจสอบอาจช่วยได้ ไม่ว่าจะเป็นบันทึกการทำงานล้มเหลว บันทึกแอปพลิเคชันและเซิร์ฟเวอร์ และอื่นๆ คุณต้องรวบรวมหลักฐานว่าปัญหาเกิดขึ้นจริง และหากเป็นไปได้ ให้หาด้วยว่าปัญหาเกิดขึ้นนานแค่ไหนแล้วและเกิดขึ้นบ่อยแค่ไหน

ภายในข้อมูลทั้งหมดนั้น คุณต้องค้นหาจุดข้อมูลที่เฉพาะเจาะจงอย่างรวดเร็ว เครื่องมือสามารถช่วยคุณค้นหาและวิเคราะห์ข้อมูลบันทึกที่คุณได้รวบรวม และเปลี่ยนเป็นข้อมูลเชิงลึกเพื่อวินิจฉัยและแก้ไขปัญหาได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ใช้เทคนิค 5 Why

ต่อไปก็ระบุปัจจัยเชิงสาเหตุ หรือสาเหตุโดยตรงของปัญหาที่เผชิญอยู่ ไม่ควรระบุปัจจัยเชิงสาเหตุแค่ประการเดียวแล้วก็จบ คุณต้องทำต่อด้วยการใช้เทคนิค 5 Why ถาม “ทำไม” ซ้ำๆ จนกว่าจะถึงต้นตอของปัญหา ตัวอย่างเช่น เว็บไซต์ของคุณแสดงข้อผิดพลาด 500

  1. เพราะเหตุใด เพราะองค์ประกอบการกำหนดเส้นทางของเฟรมเวิร์กเว็บไซต์ทำงานผิดพลาด
  2. เพราะเหตุใด เพราะองค์ประกอบดังกล่าวต้องใช้อีกองค์ประกอบร่วมด้วย ซึ่งก็ทำงานผิดพลาดเช่นกัน
  3. เพราะเหตุใด เพราะองค์ประกอบของเฟรมเวิร์กเว็บไซต์นี้ต้องใช้ส่วนขยาย intl ซึ่งไม่ทำงาน
  4. เพราะเหตุใด เพราะส่วนขยายนี้ถูกปิดโดยไม่ได้ตั้งใจหลังจากอัปเดตซอฟต์แวร์เซิร์ฟเวอร์

แน่นอน คุณอาจจะเจอสาเหตุของปัญหาได้เร็วกว่านั้น หรือบางทีคุณก็อาจต้องถามเพิ่ม

ให้ผู้อื่นช่วย

เช่นเดียวกับการตรวจสอบโค้ด ให้คนอื่นที่เป็นกลางช่วยดูโค้ดของคุณ เมื่อเวลาผ่านไป ความคาดหมายจากการตรวจสอบจะช่วยคุณปรับแต่งกระบวนการของคุณ หรือยิ่งดีไปกว่านั้น จับคู่ปัญหากับการแก้ไขปัญหา

AWS จะสนับสนุนการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาของคุณได้อย่างไร

หนึ่งในข้อเสนอหลักของ AWS สำหรับการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาคือช่วยให้คุณนำเข้าและวิเคราะห์ข้อมูลบันทึกของคุณ สำหรับสิ่งนี้เราขอแนะนำAmazon OpenSearch Service Amazon OpenSearch Service ช่วยให้คุณดำเนินการวิเคราะห์บันทึกเชิงโต้ตอบ การตรวจสอบการใช้งานแบบเรียลไทม์ การค้นหาเว็บไซต์ และอื่นๆ ได้อย่างง่ายดาย OpenSearch เป็นโอเพนซอร์ส การค้นหาแบบกระจายและชุดการวิเคราะห์ที่ได้รับมาจาก Elasticsearch Amazon OpenSearch Service ปลดล็อกการค้นหา การเฝ้าติดตาม และการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจและการปฏิบัติงานแบบเรียลไทม์ได้อย่างปลอดภัยสำหรับกรณีใช้งานต่างๆ เช่น การติดตามตรวจสอบแอปพลิเคชัน การวิเคราะห์ข้อมูลบันทึก ความสามารถในการสังเกตค่า และการค้นหาเว็บไซต์

หลังจากตัดสินใจเลือกแนวทางการปัญหาแล้วขั้นตอนต่อไปเป็นการออกแบบชิ้นงานหรือวิธีการแก้ปัญหา โดยคำนึงถึงหลักการออกแบบผลิตภัณฑ์และความคิดสร้างสรรค์ และควรออกแบบให้มีมากกว่า 1 ทางเลือก แล้วเลือกแบบที่ตรงกับการแก้ปัญหาและเงื่อนไขของสถานการณ์นั้นให้มากที่สุด

ข นตอนการแก ป ญหา ม ก ข นตอน อะไรบ าง

ข นตอนการแก ป ญหา ม ก ข นตอน อะไรบ าง

การออกแบบการแก้ปัญหาที่เป็นชิ้นงาน ควรคำนึงถึงหลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ได้ชิ้นงานที่ตรงกับการแก้ปัญหาหรือความต้องการ ดังต่อไปนี้

  1. หน้าที่ใช้สอย (function) เป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่ต้องคำนึงถึงผลิตภัณฑ์ต้องมีหน้าที่ใช้สอยตามที่กำหนด เพื่อแก้ปัญหาหรือความต้องการที่กำหนดไว้
  2. ความปลอดภัย (safety) อันตรายที่เกิดขึ้นจาการใช้งานผลิตภัณฑ์ระบบหรือวิธีการ อาจส่งผลต่อผู้ใช้งาน เช่นการออกแบบของเล่นต้องคำนึงถึง ชิ้นส่วนขนาดเล็ก ความปลอดภัยของสีที่ใช้ ชิ้นส่วนที่แหลมคมซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อเด็ก
  3. ความแข็งแรงของโครงสร้าง (structure) การออกแบบผลิตภัณฑ์ควรคำนึงถึงความแข็งแรงของโครงสร้างผลิตภัณฑ์ ควรเลือกรูปแบบโครงสร้างที่เหมาะสมกับการใช้งาน และสภาพแวดล้อม
  4. ความสะดวกสบายในการใช้งาน (ergonomics) การออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ ผลิตภัณฑ์ ระบบหรือวิธีการที่เกี่ยวข้องกับร่างกายมนุษย์ ต้องคำนึงถึงความสะดวกสบายในการใช้งาน ลำดับขั้นตอนการใช้งาน การใช้งานที่สัมพันธ์กับข้อจำกัดทางด้านร่างกายของมนุษย์ที่อาจส่งผลต่อความมือยล เช่น ความสูงของเก้าอี้ที่ไม่เหมาะสมกับ การนั่งทำงานเป็นเวลานาน ตำแหน่งของชั้นวางของไม่เหมาะสมกับการหยิบจับ

5. ความสวยงามน่าใช้ (aesthetics) การออกแบบควรคำนึงถึงความสวยงามของรูปลักษณ์ภายนอกของผลิตภัณฑ์ เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้ใช้ และในบางกรณีส่งผลต่อการรับรู้เชิงจิตวิทยาด้วย เช่น รูปร่าง รูปทรงสี พื้นผิว วัสดุที่ประกอบเป็นผลิตภัณฑ์

6. การบำรุงรักษา (maintenance) ในการออกแบบควรคำนึงถึงชิ้นส่วนที่ ต้องเปลี่ยนหรือซ่อมแซมให้สามารถดำเนินการได้ง่าย และสามารถหาชิ้นส่วนอื่นที่นำมาใช้งานทดแทนได้

7. ราคาหรือต้นทุน (cost) การประมาณราคาก่อนการวางแผนการสร้างชิ้นงาน ช่วยให้การออกแบบมีความเป็นไปได้ตามงบประมาณที่มีอยู่ซึ่งจะสัมพันธ์โดยตรงกับ การเลือกใช้วัสดุ กระบวนการผลิต รวมถึงหน้าที่ไช้สอย และระบบการทำงานของผลิตภัณฑ์นั้นด้วย เช่น การออกแบบให้มีจำนวนชิ้นส่วนน้อยขึ้น การออกแบบที่ลดความหลากหลายของประเภทวัสดุกระบวนการผลิตที่ซับซ้อน หรือใช้เครื่องมือที่ต้องจัดหาจากแหล่งอื่น

8. วัสดุและกระบวนการผลิต (material and process) ในการออกแบบควรเลือกวัสดุที่มีสมบัติตรงกับหน้าที่ใช้สอยและรูปแบบการใช้งานของผลิตภัณฑ์ ไม่เลือกวัสดุที่มีสมบัติเกินความจำเป็นในการใช้งาน ซึ่งจะทำให้กระบวนการผลิตยุ่งยากซับซ้อน ควรเลือกวัสดุที่ผลิต หรือสามารถจัดหาได้ในท้องถิ่นหรือภายในประเทศ

นอกจากหลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่กล่าวมาแล้ว ผู้สร้างสรรค์เทคโนโลยีต้องคำนึงถึงความสะดวกในการบรรจุที่หีบห่อการขนส่ง และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การออกแบบเพื่อช่วยประหยัดพลังงาน การเลือกใช้วัสดุธรรมชาติวัสดุที่เหลือใช้หรือนำกลับมาใช้ใหม่ และกระบวนการผลิตที่ทำให้เกิดของเสียน้อยที่สุด

ข นตอนการแก ป ญหา ม ก ข นตอน อะไรบ าง

ข นตอนการแก ป ญหา ม ก ข นตอน อะไรบ าง

ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถของบุคคลในการคิดตอบสนองต่อเหตุการณ์หรือปัญหาได้มาก กว้างไกลหลายทิศทาง แปลกใหม่ และมีคุณค่า โดยสามารถคิดดัดแปลง ผสมผสานสิ่งเดิมให้เกิดเป็นสิ่งที่แปลกใหม่ และเป็นประโยชน์การแก้ปัญหาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมต้องใช้ความรู้ ทรัพยากรและลงมือปฏิบัติ สร้างชิ้นงานหรือวิธีการเพื่อให้เกิดผลผลิตที่แตกต่างและสร้างสรรค์ ดังตัวอย่าง

ข นตอนการแก ป ญหา ม ก ข นตอน อะไรบ าง

การพัฒนาทุเรียนไร้หนามของเกษตรกรชาวสวนทุเรียนอำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ทำให้สะดวกในการจับและแกะเปลือกทุเรียนเป็นการเพิ่มความน่าสนใจและเพิ่มมูลค่าของสินค้า

ข นตอนการแก ป ญหา ม ก ข นตอน อะไรบ าง

แตนเบียนกำจัดแมลงที่เป็นศัตรูพืช

การใช้แตนเบียนกำจัดแมลงที่เป็นศัตรูพืช เช่น หนอนหัวดำแมลงวันผลไม้ ไข่ผีเสื้อ โดยแตนเบียนจะวางไข่ในตัวแมลงที่เป็นศัตรูพืชทำให้แมลงตายในที่สุดเป็นการกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีการทางธรรมชาติ

ข นตอนการแก ป ญหา ม ก ข นตอน อะไรบ าง

การผลิตดินสอจากหนังสือพิมพ์ใช้แล้ว ทำให้ลดการใช้ไม้มาผลิตดินสอ และยังเป็นการนำหนังสือพิมพ์ใช้แล้วกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีกด้วย

ข นตอนการแก ป ญหา ม ก ข นตอน อะไรบ าง

การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาโดยถ่ายทอดความคิดออกมาให้เป็นรูปธรรมนั้น สามารถทำได้ในหลายรูปแบบ เช่น การร่างภาพ การเขียนผังงาน การเขียนแผนภาพ การเขียนอธิบายเป็นขั้นตอน ซึ่งมีจุดประสงค์เดียวกันคือเพื่อสรุปแนวคิดและสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ

1. การร่างภาพ เป็นการถ่ายทอดความคิดของแนวทางการแก้ปัญหาที่เป็นชิ้นงาน โดยภาพจะต้องแสดงรายละเอียดในแต่ละส่วน ซึ่งอาจแสดงรูปร่าง รูปทรง ลักษณะการทำงานหรือกลไกภายใน

ภาพที่ร่างแบ่งเป็นภาพ 2 มิติ และ 3 มิติโดยภาพ 2 มิติ คือภาพที่แสดงรายละเอียดของแนวคิดที่ประกอบด้วยด้านกว้างและด้านยาว ส่วนภาพ 3 มิติ คือ ภาพที่แสดงรายละเอียดของแนวคิดที่ประกอบด้วย ด้านกว้าง ด้านยาว และด้านสูง

ข นตอนการแก ป ญหา ม ก ข นตอน อะไรบ าง

การร่างภาพของชิ้นงานควรระบุขนาด และแสดงสัดส่วนของภาพให้ใกล้เคียงกับชิ้นงานจริง เช่น ชิ้นงานจริงด้านยาวมีขนาดมากกว่าด้านกว้าง 2 เท่า ดังนั้นภาพที่ร่างควรจะมีสัดส่วนด้านยาวมากกว่าด้านกว้าง 2 เท่าเหมือนกัน ทั้งนี้เพื่อสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจตรงกันและสามารถนำไปสร้างเป็นชิ้นงานตามที่ได้ออกแบบไว้

การร่างภาพของชิ้นงานควรระบุขนาดหรือสัดส่วนที่แท้จริง เพื่อสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจตรงกันและสามารถนำไปสร้างเป็นชิ้นงานตามที่ได้ออกแบบไว้ ภาพ 3 มิติ แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ

ข นตอนการแก ป ญหา ม ก ข นตอน อะไรบ าง

  1. ภาพออบลิค (Oblique) เป็นภาพที่แสดงด้านหน้าของวัตถุด้านข้างทำมุม 45 องศากับเส้นแกนนอน เหมาะสำหรับนำเสนอวัตถุที่มีรายละเอียดด้านหน้ามาก

ข นตอนการแก ป ญหา ม ก ข นตอน อะไรบ าง

  1. ภาพไอโซเมตริก (Isometric) เป็นภาพที่เขียนทำมุมเอียง 30 องศากับเส้นแกนนอนทั้งสองด้านของวัตถุ

ข นตอนการแก ป ญหา ม ก ข นตอน อะไรบ าง

  1. ภาพเปอร์สเปคทีฟ (Perspective) เป็นภาพที่มองจากระยะไกลลักษณะของเส้นฉายจะไปรวมกันที่จุดรวมสายตา เป็นภาพที่เหมือนจริงมากที่สุด

2. การเขียนแผนภาพ

เป็นการถ่ายทอดความคิดของแนวทางการแก้ปัญหาที่เป็นวิธีการ โดยการแสดงลำดับหรือขั้นตอนการทำงานตั้งแต่เริ่มต้นไปจนถึงผลลัพธ์สุดท้าย โดยใช้สัญลักษณ์มาตรฐานในการเขียนผังงาน (flowchart) เช่น วิธีการเดินทางจากบ้านไปโรงเรียน