ก วยเต ยวเน อร านรสเด ด ม กล นหอมๆจากอะไร

1 ประวัติความเป็ นมาของขนมไทย ขนมไทยน้นัเกิดมีมานานแลว้ต้งัแต่ประเทศไทยยงัเป็นสยามประเทศ ซ่ึงสมยัน้ันไดต้ิดต่อคา้ขายกบัต่างชาติ โดยมีการแลกเปลี่ยนติดต่อกนัท้งัทางดา้นสินคา้และวฒันธรรม ขนมไทยในยุคแรกๆ เป็ นเพียงน าข้าวไปต าหรือโม่ให้ได้ แป้งและนา ไปผสมกบัน้า ตาล หรือมะพร้าว เพื่อท าเป็ นขนม แต่หลังจากการติดต่อค้าขายกับต่างชาติ วัฒนธรรมด้านอาหาร ของต่างชาติก็เขา้มามีอิทธิพลกบัอาหารไทยมากข้ึน ขนมก็ดว้ยเช่นกนั ขนมไทย จึงมีความหลากหลายมากข้ึน จนปัจจุบนั ยังยากที่จะแยกออกว่า ขนมใดคือขนมไทยแท้ ยุคที่ขนมไทยมีความหลากหลายและ เฟื่ องฟูที่สุดคือ ช่วงที่สตรีชาวโปรตุเกส "มารีกีมาร์ เดอปิ น่า " ได้สมรสกับเจ้าพระยาวิชาเยนทร์ จน ไดร้ับการแต่งต้งัเป็น ทา้ยผหู้ญิงวิชาเยนทร์ต่อมาได้ บรรดาศกัด์ิเป็น " ทา้วทองกีบมา้ " โดยรับราชการ ในพระราชวัง ต าแหน่ง "หัวหน้าห้องเครื่ องต้น" สันนิษฐานว่าชื่อตา แหน่ง ทองกีบมา้น่าจะเพ้ียนมา จากชื่อ"ตองกีมาร์" น้นัเอง ระหว่างที่รับราชการอยนู่้ัน ทา้วทองกีบมา้ไดส้อนการทา ขนม หวานตา รับของชาวโปรตุเกส แก่บ่าวไพร่ขนมเหล่าน้นั ไดแ้ก่ทองหยอด ทองหยิบ ฝอยทอง สังขยา หม้อแกง ฯลฯ ซึ่งมีไข่เป็ นส่วนผสมส าคัญ ต่อมามีการเผยแพร่สอนต่อกันมา จนขนมของท้าว ทองกีบมา้เป็นที่รู้จกัของคนทวั่ ไป จึงมีคนยกยอ่งทา้วทองกีบมา้ให้เป็น "ราชินีขนมไทย" " ข้าวนม " " เข้าหนม " " ข้าวหนม " ล้วนเป็ นค า อนัเป็นที่มาของคา ว่า "ขนม" ซ่ึงมีผสู้ันทดักรณีหลายท่านต้งัข้อสันนิษฐาน ไว้เริ่มต้งัแต่คา แรก "ขา้วนม" ที่นกัคหกรรมศาสตร์หลายท่านบอกต่อ ๆ กนัมาว่าน่าจะมาจากคา คา น้ีเนื่องจากขนมมีอิทธิพลมาจากอินเดียที่ใช้ข้าว กับนมเป็ นส่วนผสมส าคัญที่สุ ดในการท าขนมแต่ก็ไม่น่าจะเป็ นไปได้ เนื่องจากนมไม่มีบทบาทส าคัญในขนมไทยเลย ขนมไทยใช้มะพร้าวหรือ กะทิท าต่างหาก สา หรับ "เขา้หนม" น้ัน พระราชวรวงศเ์ธอกรม หมื่นจรัสพรปฏิญาณไดท้รงต้ังขอ้ สันนิษฐานไวว้่า "หนม" เพ้ียนมาจาก "เข้าหนม" เนื่องจาก "หนม" น้ันแปลว่าหวาน แต่กลับไม่ปรากฏ ความหมายของ"ขนม" ในพจนานุกรมไทย มีเพียงบอกไว้ว่าทางเหนือเรียก ขนมว่า "ข้าวหนม" แต่ถึงอย่างไรก็ไม่พบความหมายของค าว่า "หนม" ใน ฐานะคา ทอ้งถิ่นภาคเหนือเมื่ออยโู่ดด ๆ ในพจนานุกรมเช่นกนั อีกข้อสันนิษฐานหนึ่งก็นับว่าน่าสนใจไม่น้อย ค าว่า "ขนม" อาจมาจากค าในภาษาเขมรว่า "หนม" ที่หมายถึง อาหารที่ท ามาจากแป้ง เมื่อลองพิจารณาดูแล้วพบว่าขนมส่วนใหญ่ลว้นทา มาจากแป้งท้งัน้ัน โดยมีน้า ตาลและกะทิเป็น ส่วนผสม ดงัน้นัจึงอาจกล่าวไดว้่า "ขนม" เพ้ียนมาจาก"ขนม" ในภาษาเขมรก็เป็ นได้

2 ไม่ว่าขนมจะมีรากศัพท์มาจากค าใดหรือภาษาใด ขนมก็ได้เข้ามามีบทบาทส าคัญในสังคมไทยด้วยฐานะของ ขนมไทยอย่างเต็มภาคภูมิ และคนไทยเองก็ได้ชื่อว่าเป็ นชนชาติหนึ่งที่ชอบกินขนมเป็ นชีวิตจิตใจ หลักฐานเก่าแก่ที่สุดที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างขนมไทยกับคนไทยก็คือวรรณคดีมรดกสุโขทัยเรื่องไตร ภูมิพระร่วง ซึ่งกล่าวถึงขนมต้มที่เป็ นขนมไทยชนิดหนึ่งไว้ ขนมไทยเริ่มแพร่หลายมากข้ึนในสมยัอยธุยา ดงัปรากฏขอ้ความในจดหมายเหตุหลายฉบับบางฉบับกล่าวถึง "ย่าน ป่าขนม" หรือตลาดขนม บางฉบบักล่าวถึง "บา้นหมอ้" ที่มีการป้ันหมอ้และรวมไปถึงกระทะขนมเบ้ือง เตาและรังขนมครก แสดงให้เห็นว่าขนมครกและขนมเบ้ืองน้นัคงจะแพร่หลายมากจนถึงขนาดมีการป้ันเตาและกระทะขาย บางฉบบักล่าวถึง ขนมชะมด ขนมกงเกวียนหรือขนมกงขนมครกขนมเบ้ืองขนมลอดช่องจนถึงสมยัสมเด็จพระนารายณ์มหาราช อันถือได้ ว่าเป็นยคุทองของการทา ขนมไทย ดงัที่จดหมายเหตุฝรั่งโบราณไดม้ีการบนัทึกไวว้่าการท าขนมในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราชน้นัเจริญรุ่งเรืองมากโดยเฉพาะอยา่งยงิ่เมื่อชาวโปรตุเกสอยา่งท่านผหู้ญิงวิชาเยนทร์หรือบรรดาศกัด์ิว่า ทา้วทองกีบ ม้า ผู้เป็ นต้นเครื่องขนมหรือของหวานในวัง ได้สอนให้สาวชาววังท าของหวานต่าง ๆ โดยเฉพาะได้น าไข่ขาวและไข่แดงมา เป็นส่วนผสมสา คญัอยา่งที่ทางโปรตุเกสทา กนัขนมที่ท่านทา้วทองกีบมา้ทา ข้ึนและยงัเป็นที่นิยมจนถึงปัจจุบันก็ได้แก่ ขนม ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ขนมหม้อแกง และรวมไปถึงขนมทองโปร่ง ขนมทองพลุ ขนมส าปันนี ขนมไข่เต่า ฯลฯ ล่วงจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ จดหมายเหตุความทรงจ าของกรมหลวงนรินทรเทวี ผู้ทรงเป็ นพระเจ้าน้องยาเธอใน สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช กล่าวไว้ว่าในงานสมโภชพระแก้วมรกตและฉลองวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ได้มี เครื่องต้งัสา รับหวานสา หรับพระสงฆ์2,000รูป ประกอบด้วย ขนมไส้ไก่ ขนมฝอย ข้าวเหนียวแก้ว ขนมผิง กล้วยฉาบ ล่าเตียง หรุ่ม สังขยา ฝอยทอง และขนมตะไล ในกาพย์ห่อโคลงเห่เรือชมเครื่องคาวหวาน บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้ กล่าวชมเครื่องหวานหรือขนมไทยหลายชนิดด้วยกัน อาทิข้าวเหนียวสังขยา ขนมล าเจียก ขนมทองหยิบ ขนมทองหยอด ขนมผิง ขนมรังไรขนมช่อม่วง ขนมบัวลอย ฯลฯ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการพิมพ์ต าราอาหารออกเผยแพร่การท าขนมไทยก็เป็ น หน่ึงในตา ราอาหารไทยน้นัจึงนบัไดว้่าการทา ขนมไทยและวฒันธรรมขนมไทยเริ่มมีการบนัทึกเป็นลายลกัษณ์อกัษรอยา่ง มีระบบระเบียบในสมัยรัชกาลที่ 5 น้ีเองแม่ครัวหัวป่ากเ์ป็นตา ราอาหารไทยเล่มแรก ประพนัธ์โดยท่านผหู้ญิงเปลี่ยน ภาสกร วงศ์ในตา ราอาหารไทยเล่มน้ีปรากฏรายการสา รับของหวานเล้ียงพระอนั ประกอบดว้ยขนมทองหยบิขนมฝอยทองขนม หม้อแกง ขนมหันตรา ขนมถ้วยฟู ข้าวเหนียวแก้วขนมลืมกลืน วุ้นผลมะปราง ฯลฯ แสดงให้เห็นว่าคนไทยนิยมท าขนมใช้ ในงานบุญซ่ึงก็เป็นแบบแผนต่อเนื่องกนัมาต้งัแต่สมยัอยธุยา ขนมจัดเป็ นอาหารที่คู่ส ารับกับข้าวไทยมาต้งัแต่คร้ังโบราณ โดยใชค้า ว่าสา รับกบัขา้วคาว-หวาน โดยทวั่ ไป ประชาชนจะทา ขนมเฉพาะในงานเล้ียง นบัต้งัแต่การทา บุญเล้ียงพระงานมงคลและงานพิธีการอาหารหวานที่จดัเป็นสา รับ จะต้องประกอบด้วย ของหวานอย่างน้อย 5 สิ่ง ซ่ึงตอ้งเลือกให้มีรสชาติสีสัน ชนิด ตลอดจนลกัษณะที่กลมกลืนกัน แต่ละ ส ารับจะต้องมีผลไม้ 10 ที่และขนมเป็นน้า 1 ที่เสมอ ประเทศไทยคร้ังยงัเป็นสยามประเทศไดต้ิดต่อคา้ขายกบัชาวต่างชาติเช่น จีน อินเดีย มาต้งัแต่สมยัสุโขทยัโดยส่งเสริมการ ขายสิ นค้าซึ่ งกันและกัน ตลอดจนแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมด้านอาหารการกินร่ วมไปด้วยต่อมาในสมัยอยุธยาและ

3 รัตนโกสินทร์ ได้มีการเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศต่าง ๆ อย่างกว้างขวางไทยได้รับเอาวัฒนธรรมด้านอาหารของชาติ ต่าง ๆ มาดดัแปลงให้เหมาะสมกบัสภาพทอ้งถิ่น วตัถุดิบที่หาได้เครื่องมือเครื่องใช้ตลอดจนการบริโภคนิสัยแบบไทย ๆ จนท าให้คนรุ่นหลัง ๆ แยกไม่ออกว่าอะไรคือขนมที่เป็ นไทยแท้ ๆ และอะไรดัดแปลงมาจากวัฒนธรรมของชาติอื่น เช่น ขนมที่ใชไ้ข่และขนมที่ตอ้งเขา้เตาอบ ซ่ึงเขา้มาในรัชสมยัสมเด็จพระนารายณ์มหาราชจากคุณทา้วทองกีบมา้ภรรยาเช้ือชาติ ญี่ปุ่ น สัญชาติโปรตุเกสของเจ้าพระยาวิชเยนทร์ ผู้เป็ นกงศุลประจ าประเทศไทยในสมัยน้ัน ไทยมิใช่เพียงรับทองหยิบ ทองหยอด และฝอยทองมาเท่าน้นัหากยงัให้ความสา คญักบัขนมเหล่าน้ีโดยใชเ้ป็นขนมมงคลอีกดว้ย ส่วนใหญ่ตา รับขนมที่ ใส่มักเป็ น “ของเทศ” เช่น ทองหยิบ ฝอยทอง ทองหยอดจากโปรตุเกส มัสกอดจากสกอตต์ ขนมไทย เป็ นเอกลักษณ์ด้าน วัฒนธรรมประจ าชาติไทยอย่างหน่ึงที่เป็นที่รู้จกักนัดีเพราะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความละเอียดอ่อนประณีตในการทา ต้งัแต่วตัถุดิบ วิธีการทา ที่กลมกลืน พิถีพิถนั ในเรื่องรสชาติสีสัน ความสวยงาม กลิ่นหอม รูปลกัษณะชวนรับประทาน ตลอดจนกรรมวิธีการรับประทาน ขนมแต่ละชนิด ซึ่งยังแตกต่างกันไปตามลกัษณะของขนมชนิดน้นัๆ ขนมไทยที่นิยมทา กนัทุก ๆ ภาคของประเทศไทย ในพิธีการต่าง ๆ เนื่องในการทา บุญเล้ียงพระ ก็คือขนมจากไข่ และมกัถือเคล็ดจากชื่อและลกัษณะของขนมน้นัๆ งานศิริมงคลต่าง ๆ เช่น งานมงคลสมรส ทา บุญวนัเกิด หรือทา บุญข้ึน บ้านใหม่ ส่วนใหญ่ก็จะมีการเล้ียงพระกบัแขกที่มาในงาน เพื่อเป็นศิริมงคลของงานขนมก็จะมีฝอยทอง เพื่อหวงัให้อยู่ ดว้ยกนัยดืยาวมีอายยุนืขนมช้นัก็ให้ไดเ้ลื่อนข้นัเงินเดือน ขนมถว้ยฟูก็ขอให้เฟื่องฟูขนมทองเอกก็ขอให้ไดเ้ป็นเอกเป็นตน้ ขนมไทย อาจแบ่งได้เป็ น 4 หมวดดงัน้ี ขนมชาววงัเช่น ขนมเบ้ือง วุ้นกะทิวุน้ สังขยาวุน้ ใบเตยขนมไข่เห้ียขนมลูกชุบ ขนมหมอ้ตาล ขนมตามฤดูกาล หรือขนมชาวบา้น เช่น ลูกตาลเชื่อม ฟักทองเชื่อม มนัเชื่อม มะขามแช่อิ่ม ถวั่เขียวตม้น้า ตาลขา้ว ตงัขนมลืมกลืน ขา้วเม่าบด ขนมกรวยขนมข้ีหนูขนมน้า ดอกไม้เป็นตน้ ขนมในศาสนา และ ประเพณี เช่น ขนมใส่ไส้ ขนมเทียน ขนมสามงาน ขนมโพรงแสม ขนมเสน่ห์จันทร์ ขนมรังนก ลอดช่อง ข้าวเม่า ขนมถ้วยฟู ขนมปลากริมไข่เต่า ขนมบัวลอย ขนมหูช้าง ขนมคันหลาว นางเล็ด เป็ นต้น ขนมจากต่างประเทศเช่น ขนมฝรั่ง ทองมว้น ขนมสัมปันนีขนมทองเอกขนมทองโปร่ง ทองหยอด ฝอยทอง เม็ด ขนุน ทองหยิบ สังขยาเผือก ขนมไทยที่นิยมทา กนัทุกๆ ภาคของประเทศไทยในพิธีการต่างๆ เนื่องในการทา บุญเล้ียงพระก็คือขนมจากไข่และ มกัถือเคล็ดจากชื่อและลกัษณะของขนมน้ันๆ งานศิริมงคลต่างๆ เช่น งานมงคลสมรส ทา บุญวนัเกิด หรือทา บุญข้ึนบา้น ใหม่ส่วนใหญ่ก็จะมีการเล้ียงพระกับแขกที่มาในงาน เพื่อเป็ นศิริมงคลของงานขนมก็จะมีฝอยทอง เพื่อหวังให้อยู่ด้วยกัน ยดืยาว มีอายยุนืขนมช้นัก็ให้ไดเ้ลื่อนข้นัเงินเดือน ขนมถว้ยฟูก็ขอให้เฟื่องฟูขนมทองเอกก็ขอให้ไดเ้ป็นเอกเป็นตน้ ของหวานไทยหรือขนมไทย กล่าวได้ว่ามีอยู่คู่กับคนไทยมาช้านาน เพราะเป็ นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งที่บ่งบอกว่า คน ไทยเป็ นคนมีลักษณะนิสัย อย่างไร เนื่องด้วยขนมไทยแต่ละชนิด ล้วนมีเสน่ห์มี รสชาติ ที่แตกต่างกันออกไป แต่แฝงไป ดว้ยความละเมียดละไม ความวิจิตรบรรจงอยใู่นรูปลกัษณ์กลิ่น รสของขนมที่ส าคญั ขนมไทยแสดงให้เห็นว่าเป็ นคนใจ เยน็รักสงบ มีฝีมือเชิงศิลปะขนมธรรมดาๆ ทา ดว้ยแป้ง น้า ตาล มะพร้าว เป็ นส่วนประกอบ ส าคัญ สามารถดัดแปลงเป็ น ขนมหลายชนิด หน้าตา แตกต่างกัน ในสมยัโบราณคนไทยจะทา ขนมเฉพาะวาระส าคญัเท่าน้ัน เป็นตน้ว่างานทา บุญ เทศกาลส าคญัหรือตอ้นรับแขก ส าคัญ เพราะขนมบางชนิดจ าเป็ นต้องใช้ก าลังคนอาศัยเวลาในการท าพอสมควร

4 ขนมบัวลอยเผือก ประวัติและความเป็ นมาของขนมบัวลอย เป็นอาหารที่คู่ส ารับกับขา้วไทยมาต้งัแต่คร้ังโบราณ โดยทวั่ ไปประชาชนจะทา ขนมในงานเล้ียง นับต้งัแต่การ ทา บุญเล้ียงพระ งานมงคลและงานพิธีการวตัถุดิบการทา ที่กลมกลืน พิถีพิถนั ในเรื่องรสชาติสีสัน ความสวยงาม กลิ่นหอม รูปลักษณะ ชวนรับประทานตลอดจนกรรมวิธีการรับประทานขนมแต่ละชนิดซึ่งยังแตกต่างกันไปตามลักษณะของขนม ชนิดน้นัๆ ช่วงเวลาหรือเทศกาลวันไหว้บัวลอย เทศกาลไหว้ขนมบัวลอย หรือเทศกาลตังโจ่ยคือ วันเปลี่ยนเทศกาลเป็ นฤดูหนาว มีลักษณะเป็ นวันที่พระอาทิตย์ จะส่องแสงส้ันที่สุดหรือวนัที่เป็นจุดสูงสุดในฤดูหนาวโดยเทศกาลไหวข้นมบวัลอยถือเป็นเทศกาลสุดทา้ยของชาวไทยเช้ือ สายจีนในรอบหน่ึงปีปฏิทิน ซ่ึงในเทศกาลน้ีจะมีการทา ขนมบวัลอย หรือขนมอี๋มาไหวฟ้ ้าดิน ปึงเถ่ากง ตี่จู๋เอี๊ย (เจา้ที่) เพื่อ ขอบคุณที่ได้ช่วยให้การด ารงชีวิตของสมาชิกทุกคนในครอบครัวสามารถด ารงมาได้อย่างราบรื่นตลอดปี ที่ผ่านมา และเพื่อ ขอพรให้ช่วยคุ้มครองคนในครอบครัวด้วย สา หรับขนมบวัลอยหรือขนมอี๋ที่ใชใ้นการไหวจ้ะทา จากแป้งขา้วเหนียวนวดกบัน้า ตม้ สุกจนเขา้ที่และป้ันเป็ นเม็ด กลม ๆ เล็ก ๆ นิยมผสมสีชมพูและสีขาวเมื่อป้ันเสร็จแลว้จึงนา ลงไปตม้ในน้า เดือด คลา้ยกบัการทา บวัลอยน้า กะทิของคน ไทยแต่ขนมอี๋จะใชน้้า ตาลทรายขาวหรือน้า ตาลทรายแดงแทนกะทิที่สา คญัจะตอ้งมีขนมอี๋ลูกใหญ่ที่เรียกว่าอีโบ้ใส่ลงไป ในถ้วยขนมอี๋ที่จะไหว้ถ้วยละหนึ่งลูกด้วย ลักษณะกลมของขนมอี๋ สื่อความหมายถึง ความกลมเกลียวกันของคนในครอบครัว สีแดงและสีชมพู สื่อความ หมายถึงความโชคดีนอกจากน้ีขนมอี๋ยงัถือเป็นขนมมงคลของชาวไทยเช้ือสายจีน ที่นิยมทา ข้ึนในงานแต่งงานอีกดว้ย

5 ขนมบัวลอยเผือก ส่วนผสม เผือกนึ่งสุกบด 350 กรัม แป้งข้าวเหนียว 350 กรัม น้า ¾ ถ้วย มะพร้าว ½ กก. ( ค้นั ให้ไดก้ะทิ5ถ้วย ) เน้ือมะพร้าวอ่อน 2 ผล น้า ตาลทราย 230 กรัม เกลือ 1 ¼ ช้อนชา วิธีท า 1. บดเผือกให้ละเอียดเติมแป้งข้าวเหนียวคลุกเคล้าให้เข้ากัน 2. ค่อยๆเติมน้า ทีละนอ้ยนวดจนแป้งนุ่มป้ันได้ 3. โรยแป้งข้าวเหนียวบนโต๊ะ วางก้อนแป้งแล้วคลึงให้หนา 1 ซม. ตดัเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมลูกเต๋า 4. นา น้า กะทิผสมน้า ตาลทรายเกลือและใบเตยใส่หมอ้ต้งัไฟพอเดือดใส่มะพร้าวอ่อน รอจนเดือดอีกคร้ังปิดไฟ ยกลงพักไว้ 5. ต้งัน้า เดือด นา บวัลอยลงลวกพอสุกจะลอยข้ึนให้ตกัใส่หมอ้กะทิ

6 ขนมข้าวเหนียวเปี ยกเผือก ประวัติของขนมข้าวเหนียวเปี ยกเผือก ในสมยัโบราณคนไทยจะทา ขนมเฉพาะวาระส าคัญเท่าน้ัน เป็นต้นว่างานทา บุญ งานแต่ง เทศกาลส าคัญ หรือ ต้อนรับแขกส าคัญ เพราะขนมบางชนิดจ าเป็ นต้องใช้ก าลังคนอาศัยเวลาในการท าพอสมควร ส่วนใหญ่เป็ น ขนบประเพณี เป็นตน้ว่าขนมงาน เนื่องในงานแต่งงาน ขนมพ้ืนบา้น เช่น ขนมครกขนมถ้วย ฯลฯ ส่วนขนมในร้ัวในวงัจะมีหนา้ตาจุ๋มจิ๋ม ประณีตวิจิตรบรรจงในการจัดวางรูปทรงขนมสวยงาม ขนมไทยด้ังเดิม มีส่วนผสมคือ แป้ง น้ าตาล กะทิเท่าน้ัน ส่วนขนมที่ใช้ไข่เป็นส่วนประกอบ เช่น ทองหยิบ ทองหยอด เมด็ขนุน น้นั มารี กีมาร์ เดอ ปี นา (ท้าวทองกีบม้า) หญิงสาวชาวโปรตุเกส เป็ นผู้น าสูตรมาจากโปรตุเกส ขนมไทยที่นิยมท ากันทุกๆ ภาคของประเทศไทย ในพิธีการต่างๆ ก็คือขนมจากไข่ และเชื่อกันว่าชื่อและลักษณะ ของขนมน้ันๆ เช่น รับประทานฝอยทอง เพื่อหวงัให้อยู่ด้วยกันยืดยาว มีอายุยืน รับประทาน ขนมช้นัก็ให้ได้เลื่อนข้ัน เงินเดือน รับประทาน ขนมถ้วยฟูก็ขอให้เจริญ รับประทานขนมทองเอก ก็ขอให้ได้เป็ นเอก เป็ นต้น ในสมัยรัชกาลที่ 1 มีการพิมพ์ต าราอาหารออกเผยแพร่ รวมถึงต าราขนมไทยด้วย จึงนับได้ว่าวัฒนธรรมขนมไทยมี การบนัทึกเป็นลายลกัษณ์อกัษรคร้ังแรก ตา ราอาหารไทยเล่มแรกคือแม่ครัวหัวป่าก์ ในสมยัต่อมาเมื่อการคา้เจริญข้ึนในตลาดมีขนมนานาชนิดมาขายและนบัว่าเป็นยคุที่ขนมไทยเป็นที่นิยม เนื่องจากผลิตภัณฑ์จากข้าวเหนียวมีหลายรู ปแบบและข้าวเหนียวสามารถหาไดจ้ากทอ้งตลาดทวั่ ไปและราคา ค่อนขา้งถูกกลุ่มของพวกเราจึงคิดที่จะแปรรูปและนา ขา้วเหนียวมาทา เป็นผลิตภณัฑใ์หม่ข้ึน เป็นผลิตภณัฑท์ ี่ไม่เหมือนใคร ที่มาและความส าคัญ และอีกประเด็นหนึ่งคณะผู้จัดท าเล็งเห็นประโยชน์ของข้าวเหนียว คือ เป็ นธัญพืชส าคัญรองจากข้าวที่คนไทยนิยม รับประทาน และข้าวเหนียวยังมี วิตามินอี วิตามินซี ที่เป็ นสารต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดคลอเลสเตอรอลในร่างกาย

7 ขนมข้าวเหนียวเปี ยกเผือก ส่วนผสม ข้าวเหนียว 230 กรัม น้า 9 ถ้วย น้า ตาล 360 กรัม เผอืกตม้หั่นสีเหลี่ยมหรือล าไยแกะเมล็ดออก 300 กรัม ใบเตย 3 ใบ วิธีท า 1. ล้างข้าวเหนียวให้สะอาด แล้วแช่ทิ้งไว้20 นาที 2. นา น้า และใบเตยใส่หมอ้ต้งัไฟพอเดือด พอใบเตยสุกตกัทิ้ง 3. นา ขา้วเหนียวกรองให้สะเด็ดน้า เทลงในหมอ้เมื่อขา้วเหนียวสุกแต่เมด็ยงัไม่นาน 4. ให้เติมน้า ตาลทรายคนให้ละลายจนหมด 5. เติมเผือกหรือล าไยคว้านเมล็ดออกคนให้ทวั่ยกลง ส่วนผสมกะทิ มะพร้าว 300 กรัม ค้นั ให้ไดก้ะทิ 2 ถ้วยตวง แป้งมัน 1 ช้อนโต๊ะ เกลือ 1 ¼ ช้อนชา ใบเตย 1 ใบ วิธีท า 1. น ากะทิ แป้งมันและเกลือ คนให้ละลาย 2. ยกข้ึนต้งัไฟกวน ไฟอ่อน จนส่วนผสมสุกขน ยกลง้ วิธีเสิร์ฟ ควรพักข้าวเหนียวเปี ยกไว้ 30 นาทีแลว้ราดดว้ยน้า กะทิ

8 ขนมสาคูเปี ยกมะพร้าวอ่อน ประวัติของขนมสาคูเปี ยกมะพร้าวอ่อน ในสมยัโบราณคนไทยจะทา ขนมเฉพาะวาระสา คญัเท่าน้ัน เป็นตน้ว่างานทา บุญ เทศกาลส าคญัหรือตอ้นรับแขก ส าคัญ เพราะขนมบางชนิดจ าเป็ นต้องใช้ก าลังคนอาศัยเวลาในการท าพอสมควร ส่วนใหญ่เป็ น ขนบประเพณี เป็ นต้นว่า ขนมงาน เนื่องในงานแต่งงาน ขนมพ้ืนบา้น เช่น ขนมครกขนมถว้ย ฯลฯ ส่วนขนมในร้ัวในวงัจะมีหน้าตาจุ๋มจิ๋ม ประณีต วิจิตรบรรจงในการจัดวางรูปทรงขนมสวยงาม ขนมไทยด้ังเดิม มีส่วนผสมคือ แป้ง น้า ตาล กะทิเท่าน้ัน ส่วนขนมที่ใช้ไข่เป็นส่วนประกอบ เช่น ทองหยิบ ทองหยอด เมด็ขนุน น้นัมารีกีมาร์เดอ ปีนา (ทา้วทองกีบมา้) หญิงสาวชาวโปรตุเกส เป็นผคู้ิดคน้ข้ึนมา ขนมไทยที่นิยมท ากันทุกๆ ภาคของประเทศไทย ในพิธีการต่างๆ ก็คือขนมจากไข่ และเชื่อกันว่าชื่อและลักษณะ ของขนมน้ันๆ เช่น รับประทานฝอยทอง เพื่อหวงัให้อยู่ด้วยกันยืดยาว มีอายุยืน รับประทาน ขนมช้นัก็ให้ได้เลื่อนข้ัน เงินเดือน รับประทาน ขนมถ้วยฟูก็ขอให้เจริญ รับประทานขนมทองเอก ก็ขอให้ได้เป็ นเอก เป็ นต้น ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการพิมพ์ต าราอาหารออกเผยแพร่ รวมถึงต าราขนมไทยด้วย จึงนับได้ว่าวัฒนธรรมขนมไทยมี การบนัทึกเป็นลายลกัษณ์อกัษรคร้ังแรก ตา ราอาหารไทยเล่มแรกคือแม่ครัวหัวป่าก์ในสมยัต่อมาเมื่อการคา้เจริญข้ึนในตลาด มีขนมนานาชนิดมาขาย และนับว่าเป็ นยุคที่ขนมไทยเป็ นที่นิยม

9 ขนมสาคูเปียกมะพร้าวอ่อน ส่วนผสม สาคูเม็ดเล็ก 150 กรัม น้า 5 ถ้วย น้า ตาลทราย 380 กรัม ใบเตย 3 ใบ เน้ือมะพร้าวอ่อน 2 ผล วิธีท า นา สาคูใส่กระชอน เปิดน้า ใส่พอเปียกทวั่พกัไว้5 นาที นา น้า และใบเตยตม้รวมกนัพอเดือด ใบเตยสุกตดัทิ้ง เทสาคูใส่ในน้า เดือด ใชไ้มพ้ายคน ไม่ให้สาคูจบักอ้นรอจนเดือด จบัเวลา 3 นาที เติมน้า ตาลทรายคนให้น้า ตาลละลายเติมมะพร้าวอ่อนที่ตกัเป็นแผ่นบางๆ คนให้ทวั่ยกลงควรพกัไว้30 นาที จึงจะเสิร์ฟ ส่วนผสมกะทิ มะพร้าว 300 กรัม ค้นั ให้ไดก้ะทิ 2 ถ้วยตวง แป้งมัน 1 ช้อนโต๊ะ เกลือ 1 ¼ ช้อนชา ใบเตย 1 ใบ วิธีท า 1. น ากะทิแป้งมันและเกลือ คนให้ละลาย 2. ยกข้ึนต้งัไฟกวนจนส่วนผสมสุกขน้ยกลง วิธีเสิร์ฟ ราดหน้าด้วยกะทิ

10 กล้วยบวชชี ประวัติของกล้วยบวชชี กลว้ยบวชชีเป็นขนมหวานชนิดหน่ึงที่คนทวั่ ไปรู้จกัเป็นอย่างดีซ่ึงเป็นขนมที่ดูเหมือน ธรรมดา แต่มีความเป็น เอกลกัษณ์โดยเฉพาะกลว้ยน้า วา้มะพร้าวหรือน้า กะทิเป็นวตัถุดิบที่คนไทยนา มาใชป้ระกอบอาหาร ต้งัแต่สมยัโบราณจน ปัจจุบัน หรือจะใช้กล้วยไข่ก็ได้ การทา กลว้ยบวชชีในตา รับน้ีผเู้ขียนจะใชก้ะทิธญัพืชเป็นส่วนประกอบแทนกะทิทวั่ ไป เพื่อให้เป็นตา รับสุขภาพที่ ทุกคนกินได้

11 กล้วยบวชชี ส่วนผสม กลว้ยน้า วา้ห่าม 1 หวี (13-15ลูก) น้า 7 ถ้วย น้า ตาลทราย 280 กรัม เกลือ 3 ช้อนชา มะพร้าวขุด 500 กรัม ค้นั ให้ไดก้ะทิ 5 ถ้วย ใบเตย 5 ใบ วิธีท า 1. ผ่ากล้วยแบ่งเป็ น 4 ชิ้น 2. นา กลว้ย น้า น้า ตาลทราย และเกลือ ต้มรวมกันจนเดือดจับเวลา 20 นาที 3. นา ใบเตยใส่พร้อมกบักะทิคนให้ทวั่รอจนเกือบเดือด แลว้ยกลง

12 ขนมวุ้นกะทิ ประวตัขิองขนมวุ้นกะทิ วุน้เป็นสารประกอบของน้า ตาลหลายโมเลกุล2 กลุ่มคือเอกาโรส และเอกาโรเพกติน ซึ่งสกัดได้จากสาหร่าย ทะเลให้วุ้น เป็นสาหร่ายสีแดงในดิวิชั่นโรโดไฟต้า สาหร่ายสกุลที่นิยมใช้เป็ นหลักในการสกัดวุ้นในเชิงอุตสาหกรรม ได้แก่ Gelidium. Gracilaria และ Pterocladiaโดยใช้สกุลCeramium, Campylae-phoraและ Ahnfeltia เป็ นตัวเสริมนอกจาก สาหร่ายในสกุลดังกล่าวแล้ว ยังมีอีกหลายสกุลที่มีความส าคัญในเชิงอุตสาหกรรม เนื่องจากมีการกระจายอยู่ตามชายฝั่ง ทะเลของประเทศต่างๆ ในเขตศูนย์สูตร และเขตอบอุ่น ซึ่งได้แก่ สาหร่ายในสกุล Gelidiella, Acanthopeltis, Chondrus, Hypnea, Gracilariopsis, Gigartina, Suluria,Phyllophora, Furcellaria และ Eucheuma สาหร่ายให้วุ้นเหล่าน้ีแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ตามความสามารถในการแข็งตวัของวุน้ (setting power)คือ 1. เจลิเดียม (เป็ นสาหร่ายชนิดที่ให้วุ้น ซึ่งสามารถแข็งตัวได้ดี แม้จะใช้วุ้นในปริมาณต ่า 2. กราซิลลาเรี ยฮิบเนีย เป็ นสาหร่ ายที่ให้วุ้น ซึ่ งจะแข็งตัวได้เมื่อใช้ในปริ มาณค่อนข้างสูงหรื อต้อง เติมสาร อิเล็กทรอไลต์ 1. คอนดรัส เป็นสาหร่ายที่ให้วุน้ซ่ึงจะแข็งตวัได้เมื่อใชใ้นปริมาณความเขม้ขน้ สูงเท่าน้นั สาหร่ายให้วุ้น ที่มาจากแหล่งต่างกันจะให้วุ้นในปริมาณและคุณภาพที่ต่างกันไป ส าหรับมาตรฐานของสาหร่าย ให้วุ้น จะก าหนด จากองค์ประกอบต่างๆ ของสาหร่าย ไดแ้ก่สีความแห้ง ความแข็งของวุน้และปริมาณวุน้ที่ได้รวมท้งั ความบริสุทธ์ิของสาหร่าย และปริมาณสิ่งเจือปนอื่นๆ คุณภาพของวุน้จะข้ึนอยู่กับชนิดและแหล่งที่มาของสาหร่าย สภาพแวดลอ้มของทะเลรวมท้งักรรมวิธีการสกดัอนั ไดแ้ก่การกา จดัสิ่งเจือปนก่อนสกดัอุณหภูมิ ความดัน ความเป็ นกรด ด่าง และระยะเวลาที่ใช้ในการสกัด วุ้นเป็ นผลิตภัณฑ์ที่สกัดได้จากสาหร่ายสีแดงบางชนิด กลุ่มสาหร่ายให้วุ้นมักเรียกรวมกันว่า Agarophytes ซึ่งให้ คุณสมบัติแตกต่างกันไปตามความสามารถและลักษณะในการเกิดเจล (gel fomation) ปัจจุบันมีคนนิยมท าวุ้นหลายรสข้ึนมาแปลกใหม่พวกเราจึงคิดคน้ ISเกี่ยวกับเรื่องวุ้นว่ามีรสไหนบ้าง มาจากที ไหน ใครคนคิดค้น ท าอย่างไรให้อร่อย เพื่อจะสามารถน ามาใช้ในชีวิตประจ าวันได้ และสามารถท าเป็ นอาชีพเสริมได้ ซึ่ง ผู้จัดท าได้เห็นถึงประโยชน์ และกระบวนการท าวุ้นที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็ น วุ้นกะทิ วุ้นใบเตย หรือจะเป็ นวุ้นหลากสีสัน ที่ชวนรับประทาน

13 ขนมวุ้นกะทิ ส่วนผสม ผงวุ้น 25 กรัม น้า ตาลทราย 500 กรัม น้า 6 ถ้วย มะพร้าว 1 กก. ค้นั ให้ไดก้ะทิ 5 ถ้วย เกลือ 2 ½ ช้อนชา แป้งข้าวโพด 4 ช้อนโต๊ะ ใบเตย 5 ใบ วิธีท า 1. นา ผงวุน้ผสมกบัน้า เปล่าคนให้เขา้กนั ใส่ใบเตยยกข้ึนต้งัไฟจนผงวุ้นละลายเป็ นสีใสไม่เป็ นเม็ด รอจนเดือด 2. เติมน้า ตาลทรายลงไป คนให้ละลาย ตกัใบเตยออก 3. นา แป้งขา้วโพดละลายกบักะทิเล็กนอ้ยจนเขา้กนัดีจึงเติมกะทิท้งัหมดเติมกะทิและเกลือลงในวุ้นคนให้เข้า กัน รอจนเกือบเดือด ยกลง หยอดวุ้นลงในพิมพ์ที่เตรียมไว้ พักให้จนวุ้นแข็งตัวเคาะออกจากพิมพ์ จัดใส่จาน และเสิร์ฟ

14 ขนมลอดช่อง ประวัติของขนมลอดช่อง ลอดช่อง เป็นขนมไทยแทโ้บราณชนิดด้ังเดิม โดยที่ใครๆพากันคิดว่ามันคือขนม ที่มาจากเกาะสิงคโปร์นู้นแต่ แท้จริงแล้วต้นก าเนิดไม่ได้มาจากประเทศสิงคโปร์แต่เกิดจากภูมิปัญญาของคนไทยเรานี่เอง ที่ได้น าแป้งมันส าปะหลังมา ป้ัน และนวดให้เหนียว รับประทานกบักะทิสด และน้า เชื่อม น้า แข็งป่น ก็เพิ่มความสดชื่นให้กบัผูบ้ริโภคไดแ้ลว้แต่หลาย คนคงสงสัยว่าแล้วค าว่า สิงคโปร์ล่ะ มาจากไหน ซึ่งเป็ นชื่อที่เรียกกันจนติดปากถึงบริเวณที่ต้งัร้านน้ีที่เป็นเจา้แรกในการ ท า “ลอดช่องสิงคโปร์” นนั่เอง หากย้อนไปเมื่อประมาณ 60 ปีก่อน ร้านน้ีบงัเอิญไปต้งัอยบู่ริเวณหนา้โรงภาพยนตร์สิงคโปร์ (เดิม) หรื อโรงหนังเฉลิมบุรี บนถนนเยาวราช และเมื่อลูกค้าจะไปทานก็มักจะเรียกว่า “ไปทานลอดช่องหน้าโรงหนัง สิงคโปร์” สุดท้ายก็ เรียกให้ส้ันลงว่า “ลอดช่องสิงคโปร์”แทน การทา ลอดช่องยงัมีการผลิตโดยใชข้า้วเจา้ผสมกบัสีสมุนไพรที่ไดจ้ากธรรมชาติในทอ้งถิ่น ถือว่าปลอดภัยแต่ก็มี ปัญหาเนื่องจากข้นัตอนการผลิตที่ไม่สะอาดพออีกท้งัประเทศไทยเป็นประเทศเมืองร้อน อาจเป็นสาเหตุท าให้ลอดช่องไม่ สามารถเก็บไว้ได้นานเกิดการเน่าเสียเป็ นอันตรายต่อผู้บริโภค ดร.น้า ทิพย์วงษป์ระทีป ได้ร่วมกับ กลุ่มผู้ผลิตลอดช่อง ชุมชน ชาวหนองกระดิ่ง ตา บลหนองกระดิ่งอา เภอคีรีมาศจงัหวดัสุโขทยัพฒันาคุณภาพลอดช่องเป็นอาหาร ที่มีความ สะอาดปลอดภัย สร้างเอกลักษณ์และมีคุณค่า ทางโภชนาการจากสมุนไพรให้แตกต่างจากลอดช่องทวั่ ไป ลอดช่อง สมุนไพรมีวัตถุดิบที่ใช้ประกอบด้วย ข้าวเจ้า, น้า , น้า ปูนใส, น้า สมุนไพร เช่น น้า ใบเตย, น้า ฝาง, น้า มะตูมและน้า ดอก ค าฝอย อุปกรณ์ที่ต้องใช้หม้อ,กะละมัง,ไม้พาย, ตัวกดลอดช่องและเตา ส่วนข้นตอนการท า ัข้นัตอนแรกนา ขา้วไปแช่น้า และหมกัจนขา้วยยุ่จากน้นันา ไปผ่งึแดดให้แห้งข้นัตอนที่สอง นา สมุนไพรต่างๆ แช่น้า ปูนใส ใชไ้มพ้ายคนให้ทวั่เพื่อสกดั สีและตวัยาจากน้นันา มากรอง ดว้ยผา้ขาวบางจะไดน้้า สมุนไพรสีต่างๆ ลอดช่องสมุนไพร ที่มีสีสันสวยงามตามสีสมุนไพร โดยสีเขียวเกิดจากสมุนไพรใบเตย สีชมพูได้จากสีของไม้ฝาง สีส้มที่เกิดจากสีมะตูม สีเหลืองได้จากดอกค าฝอย ที่ส าคัญ การผลิตอาหารที่ดี ต้องใช้วัตถุดิบที่เป็ นข้าวเจ้าท่อนปลอดสารพิษ น้า สมุนไพรที่ไม่มีการใชส้ารเคมีและอุปกรณ์การผลิตที่ สะอาด เป็ นปัจจัยหลักที่สามารถดึงดูดใจผบู้ริโภคอีกท้งัยงัมีสรรพคุณทางยาช่วยบา รุงหัวใจทา ให้ชุ่มชื่น บา รุงโลหิต แก้ ท้องร่วง-ทอ้งเสีย บา รุงธาตุเป็นการเปิบคา เดียวไดเ้ค้ียวนก2 ตัว

15 ขนมลอดช่อง ส่วนผสม แป้งข้าวเจ้า 100 กรัม แป้งท้าวยายม่อม 30 กรัม แป้งถวั่เขียว 20 กรัม น้า ปูนใส 450 กรัม น้า ใบเตย (ใช้ใบเตย 120 กรัม) 250 กรัม วิธีท า 1. น าแป้ง 3 ชนิด ผสมให้เขา้กนัแลว้จากน้ัน เติมน้า ปูนใสทีละน้อย ขณะเดียวกนัก็นวดให้เขา้กนัจนเนียนละ เหนียวและค่อยๆ เติมน้า ปูนใสทีละนอ้ยจนหมด แลว้เติมน้า ใบเตย 2. นา ไปต้งัไฟฟ้าร้อนปานกลางกวนจนแป้งเหนียวและขน จึงลดไฟอ่อน กวนต่อจนแป้งสุก ้ (แป้งจะมีลักษณะ ข้นเหนียว) จึงปิ ดไฟ 3. เตรียมน้า ใส่ภาชนะแลว้เทลงในพิมพล์อดช่องค่อยๆ กดเป็นเส้นหยอ่นลงไป ส่วนผสมน ้ากะทิ มะพร้าวขุด 250 กรัม ค้นั ให้ไดก้ะทิ 250 กรัม น้า ตาลปีก 150 กรัม วิธีท า นา กะทิผสมกบัน้า ตาลปีกคนให้ละลายเข้ากัน

16 ขนมตะโก้ ประวัติของขนมตะโก้ ตะโก้เป็นขนมที่มีส่วนผสม คือแป้งกะทิและน้า ตาลทรายเป็นหลกั ประกอบดว้ย 2 ส่วน คือ ตัวขนมเป็ นแป้งและ น้า ตาล และส่วนหน้าขนมเป็นกะทิแป้งและเกลือส่วนผสมของตัวขนมสามารถผสมวตัถุดิบ อื่นเพื่อให้เกิดรสชาติที่ หลากหลาย เช่น แห้วขา้วโพด เผือกหรือจะเพิ่มสีเขียวของใบเตยและมีชื่อเรียกตาม วตัถุดิบที่ผสมลงไป เช่น ตะโกแ้ห้ว ตะโก้เผือก เป็ นต้น ตะโก้เป็ นขนมหวานของไทยชนิดหนึ่งที่น าส่วนผสมต่างๆมากวนใส่กันท าให้สุกแล้วน ามาหยอดลงในพิมพ์ที่เรา ท าไว้ด้วยใบเตย ตะโก้เราสามารถประยุกต์ ได้หลายรสชาติ หลายสี หลายแบบ เช่น ตะโก้เผือก ตะโก้ข้าวโพดใบเตย ซึ่ง วตัถุดิบเหล่าน้ีเราสามารถหาไดง้่ายในทอ้งถิ่นของเราและ หน้าตะโก้ เราสามารถท าให้เป็ นสีต่างๆได้ เช่น สีเขียวจากใบเตย สีม่วงจากดอกอัญชัน ฯลฯ การท าขนมตะโก้ยังเป็ นการอนุรักษ์ขนมไทย ให้คนรุ่นหลังสืบทอดกันตลอดไป

17 ขนมตะโก้ ส่วนผสมตัวตะโก้ แป้งข้าวโพด 50 กรัม น้า 1 ¾ ถ้วย น าตาลทราย 180 กรัม มะพร้าวอ่อน หรือเผือก หรือแห้วต้มสุก 150 กรัม วิธีท า 1. น าแป้ง น้า และน้า ตาลทรายคนรวมกนัจึงยกข้ึนต้งัไฟกวนจนแป้งสุกใส 2. เติมมะพร้าวอ่อน หรือเผือก หรือแห้วที่หั่นสี่เหลี่ยม ขนาด ½ ซม. กวนจนร้อนทวั่ 3. หยอดแป้งลง ½ ของกระทง หยอดหน้ากะทิทับ พักให้เย็น ส่วนผสมหน้าตะโก้ แป้งข้าวโพด 45 กรัม มะพร้าว 350 กรัม ค้นั ให้ไดก้ะทิ 3 ถ้วย เกลือ 1 ช้อนชา วิธีท า 1. นา ส่วนผสมท้งัหมดรวมกนัคนให้เขา้กนั 2. กวนด้วยไฟปานกลางจนสุกข้น ใช้หยอดตัวตะโก้ หมายเหตุ ถ้าใช้ลูกจาก 125 กรัม ตอ้งลดน้า ตาลลง 13 กรัม มิฉะน้นัตวัตะโกจ้ะหวานเกินไป

18 ขนมเล็บมือนาง ประวัติของขนมเล็บมือนาง ขนมเล็บมือนางจดัไดว้่าเป็นขนมไทยอีกหน่ึงชนิดที่เริ่มหาไดย้ากในปัจจุบนั ขนมเล็บมือนางเป็ นขนมที่ท าจาก แป้งกวนให้เป็ นก้อน และนา มาป้ันเป็นเส้นกลมๆ ยาวๆ ปลายหัวท้ายแหลม ท าเป็ นหลากหลายสีเช่น สีชมพูสีเขียว สี ฟ้าแล้วคลุกด้วยมะพร้าวขูด โรยดว้ยน้า ตาลทรายและงาขาวควั่ มีความหนึบๆ ของตัวแป้งและรสชาติหวานมัน หอมน้า มะลิและงาควั่ ขนมเล็บมือนาง (ขนมด้วง) ขนมไทยโบราณอีกชนิดหน่ึงเวลารับประทานจะไดก้ลิ่นหอม ๆ ของงา ตวัขนมจะมี ความเหนียวนุ่ม หวานมันจากกะทิสด นิยมท าแค่ 3 สีคือสีขาว เขียว และชมพู ลักษณะตัวขนมจะเรียวแหลมคล้าย เล็บมือนาง จึงเป็ นที่มาของชื่อขนม

19 ขนมเล็บมือนาง ส่วนผสม แป้งข้าวเจ้า 90 กรัม น้า 1 ½ ถ้วย แป้งมัน 90 กรัม มะพร้าวทึนทึกขูดฝอยนึ่งสุก 250 กรัม วิธีท า 1. น าแป้งค้านเขา้กนัเจา้ผสมกบัน้า คนให้เขา้กนัดีแลว้กวนด้วยไฟปานกลาง จนแป้งสุกพักให้เข้ากันดี 2. เติมแป้งมันทีละน้อย นวดจนเข้ากันดี แบ่งแป้งเป็ น 3 ส่วน หยดสีใส่แต่ละก้อนแล้วนวดให้เข้ากัน 3. แบ่งแป้งเป็นกอ้นกลมเล็กๆ ขนาดเหรียญบาท แลว้ป้ันแป้งเป็นตวัยาวแหลมหัวทา้ย 4. ต้งัน้า ให้เดือด น้า แป้งลงลวกจนสุก ตวัแป้งลอยข้ึน ตกัข้ึนพกัให้สะเด็ด น้า มะพร้าวทึนทึบโรยให้ทวั่ ส่วนผสมน ้ากะทิ มะพร้าวขูด 250 กรัม ค้นั ให้ไดก้ะทิ 1 ¼ ถ้วย เกลือ ½ ช้อนชา แป้งข้าวเจ้า 1 ช้อนชา ใบเตย 1 ใบ วิธีท า 1. น าแป้งผสมกับกะทิ ทีละน้อยจนหมด จึงเติมเกลือตนให้ละลาย 2. กวนส่วนผสมพ้อมใบเตย 1 ใบ จนสุกข้น ยกลง ส่วนผสมน ้าตาลงา งาขาวค้นัโขลกพอแตก 4 ช้อนโต๊ะ น้า ตาลทราย 100 กรัม วิธีท า น าส่วนผสมใส่ถุง แล้วเขย่าให้เข้ากัน วิธีเสิร์ฟ จดัขนมใส่จานราดดว้ยกะทิโรยดว้ยน้า ตาลผสมกบังา

20 ขนมทองหยิบ ขนมทองหยอด ขนมฝอยทองและขนมเมลด็ขนุน ประวัติและความเป็ นมาของขนมทองหยิบ ขนมทองหยอด ขนมฝอยทองและขนมเมลด็ขนุน เมื่อสมัยอยุธยา เริ่มมีการเจริญสัมพนัธ์ไมตรีกับต่างประเทศท้งัชาติตะวนัออกและตะวนัตก ไทยเรายิ่งรับเอาวฒันธรรมด้าน อาหารของชาติต่างๆ มาดัดแปลงให้เหมาะสมกับสภาพความเป็ นอยู่ เครื่องมือเครื่องใช้ วัตถุดิบที่หาได้ ตลอดจนนิสัยการ บริ โภคของคนไทยเอง จนบางทีคนรุ่ นหลังแทบจะแยกไม่ออกเลยว่า อะไรคือขนมไทยแท้ๆ อะไรที่เรายืมเค้ามา เช่น ทองหยิบ ทองหยอดและฝอยทอง หลายท่านอาจคิดว่าเป็ นของไทยแท้ๆ แต่ความจริงแล้วมีต้นก าเนิดจากประเทศโปรตุเกส โดย “มารี กีมาร์” หรือ “ท้าวทองกีบม้า” เกิดเมื่อ พ.ศ. 2201 หรือ พ.ศ. 2202 แต่บางแห่งก็ว่า พ.ศ. 2209 โดยยึดหลักจากการ แต่งงานของเธอที่มีข้ึนในปีพ.ศ. 2225 และขณะน้ัน มารีกีมาร์มีอายุเพียง 16 ปี บิดาชื่อ “ฟานิก (Phanick)” เป็ นลูกครึ่ ง ญี่ปุ่ นผสมแขกเบงกอล ผู้เคร่งศาสนา ส่วนมารดาชื่อ “อุรสุลา ยามาดา (Ursula Yamada)” ซึ่งมีเชื่อสายญี่ปุ่ นผสมโปรตุเกส ที่อพยพมาต้งัถิ่นฐานในอยุธยา ภายหลังจากพวกซามูไรชุดแรกจะเดินทางเข้ามาเป็ นทหารอาสา ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จ พระนเรศวรมหาราชไม่นานนัก ชีวิตช่วงหนึ่งของ “ท้าวทองกีบม้า” ได้เข้าไปรับราชการในพระราชวังต าแหน่ง “หัวหน้า ห้องเครื่ องต้น” ดูแลเครื่ องเงินเครื่องทองของหลวง เป็ นหัวหน้าเก็บพระภูษาฉลองพระองค์และเก็บผลไม้ของเสวย มี พนักงานอยู่ใต้บังคับบัญชาเป็ นหญิงล้วน จ านวน 2,000 คน ซึ่งเธอก็ท างานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เป็ นที่ชื่นชม ยกย่อง มี เงินคืนทองพระคลังปี ละมากๆ ระหว่างที่รับราชการนี่เอง มารี กีมาร์ ได้สอนการท าขนมหวานจ าพวก ทองหยอด ทองหยิบ ฝอยทอง ทองพลุ ทองโปร่งขนมผิงและอื่นๆ ให้แก่ผทู้า งานอยกู่บัเธอและสาวๆ เหล่าน้นั ไดน้า มาถ่ายทอดต่อมายงัแต่ละ ครอบครัวกระจายไปในหมู่คนไทยมาจนปัจจุบนัน้ี

21 ขนมทองหยิบ ส่วนผสมตัวทองหยิบ ไข่แดงของไข่เป็ ด 10 ฟอง ไข่แดงของไข่ไก่ 10 ฟอง วิธีท า 1. ตีไข่ด้วยหัวตะกร้อความเร็วสูงสุด 5 นาที 2. ลดความเร็วเหลือต ่าสุดตีนาน 1 นาที 3. ตม้น้า เชื่อมให้เดือด แลว้ปิดไฟ ตกัไข่คร้ังละ ½ ชอ้นโต๊ะ หยอดในน้า เชื่อมไข่แผต่วัออกเป็นแผน่กลม ตกัจน เกือบเต็ม เร่งไฟฟ้าให้น้า เชื่อมเดือด แลว้กลบัไข่รอจนไข่สุก ตกัข้ึนแช่ในน้า เชื่อมใสจนอุ่นหยบิ 3 – 5 หยิบ วางลงในถว้ยตะไลหยอดดว้ยน้า เชื่อมใสเล็กนอ้ย พกัไวจ้นไข่แข็งตวัจึงตกัออกจากพิมพ์ การเตรียมน ้าเชื่อมข้น น้า ตาลทราย 1 กิโลกรัม น้า 2 ½ ถ้วยตวง ใบเตย 5 ใบ กลิ่นมะลิ 1 ช้อนชา วิธีท า 1. นา น้า ตาลทราย น้า และใบเตยตม้รวมกนัจนเดือด ตกัใบเตยออกเติมกลิ่นมะลิ 2. แบ่งน้า เชื่อมออกประมาณ 1 ถ้วยตวง ตม้น้า สุก1 ถว้ยคนให้เขา้กนั ให้เป็นน้า เชื่อมใส

22 ทองหยอด ส่วนผสมตัวทองหยอด ไข่แดงของไข่เป็ ด 5 ฟอง ไข่แดงของไข่ไก่ 5 ฟอง แป้งเค้ก 40 กรัม ผงฟู ¼ ช้อนชา วิธีท า 1. ตีไข่ด้วยหัวตะกร้อ ความเร็วสูงสุด 8 นาที 2. น าแป้งและผงฟู เขย่ารวมกัน เติมลงในไข่ ใช้พายยางตะล่อมจนเข้ากัน ตักใส่ถุงแล้วหยอดเป็ นเมล็ดเล็กๆใน น้า เชื่อมเดือดพลอด

23 ฝอยทอง ส่วนผสมน ้าเชื่อมข้น น้า ตาลทราย 1 กิโลกรัม น้า 2 ½ ถ้วย ใบเตย 5 ใบ วิธีท า นา ส่วนผสมรวมกนัต้งัไฟจนเดือด รอจนน้า ตาลละลายท้งัหมด แบ่งน้า เชื่อมขน้ 1ถว้ยผสมน้า 1 ถว้ยเพื่อทา น้า เชื่อม ใส หยดกลิ่นมะลิใส่น้า เชื่อมใส1/2ชอ้นชาคนให้เขา้กนัพกัจนน้า เชื่อมเยน็ ส่วนผสมของฝอยทอง ไข่แดงของไข่เป็ ด 10 ฟอง ไข่แดงของไข่ไก่ 10 ฟอง น้า คา้งไข่ 2 ช้อนโต๊ะ น้า มนัพืช 1 ช้อนโต๊ะ วิธีท า 1. น าไข่แดง 2 ชนิด น้า คา้งไข่และน้า มนัพืชคนรวมกนัระวงัไม่ให้เกิดฟอง 2. กรองไข่ด้วยผ้าขาวบาง 1 ช้นั 3. น าส่วนผสมใส่ขวดหรือกรวยฝอยทอง 4. เร่งไฟปานกลางให้น้า เชื่อมเดือดพล่าน โรยไข่วนรอบให้สม่า เสมอประมาณ 25 รอบ ใช้ไม้ยาวๆ ช้อนเส้น แลว้ส่ายในน้า เชื่อมเพื่อให้เส้นเรียบ ยกข้ึนส่ายในน้า เชื่อมใสอีกคร้ังวางบนตะแกรง พบัให้สวยงาม

24 ขนมเมด็ขนุน ส่วนผสมถั่วกวน ถวั่เขียวซึก 300 กรัม กะทิอบควันเทียน 250 กรัม ( 1 กล่อง) น้า ตาลทราย 240 กรัม วิธีท า 1. ลา้งถวั่จนน้า ใส กรองถวั่ใส่หมอ้เติมน้า จนท่วมถวั่ตม้ดว้ยไฟปานกลางจนสุกเปื่ อย 2. พกัถวั่พออุ่นๆ เติมกะทิแลว้ปั่นดว้ยเครื่องปั่นผมไมจ้ะละเอียด 3. เทถวั่ใส่กระทะกวนดว้ยไฟปานกลางจนแห้งจึงเติมน้า ตาลทรายกวนต่อจนถวั่รวมกนัเป็นกอ้น ส่วนผสมส าหรับชุบเมด็ขนุน ไข่แดง 10 กรัม น้า เชื่อมขน้ 1 กิโลกรัม น้า เชื่อมใส 500 กรัม วิธีท า 1. ต้งัน้า เชื่อมขน้จนเดือด ปิดไฟ 2. นา ถวั่กวนรูปเม็ดขนุนเดือดเต็มกระทะ ใชท้พัพีโปร่งตกัเม็ดขนุนข้ึนใส่ในน้า เชื่อมใส แลว้ตกัข้ึนพกัไวใ้ห้ สะเด็ดน้า เชื่อม

25 ขนมปุยฝ้าย ประวัติความเป็ นมาของขนมปุยฝ้าย ขนมปุยฝ้ายเป็ นขนมมงคล จึงเป็ นที่นิยมของชาวไทยและจีนที่จะสรรหาเพื่อมอบเป็ นของฝาก เมื่อไปเยี่ยมเยือน หรืองานฉลองในเทศกาลต่างๆเช่น วันเกิด เปิ ดร้าน มงคลสมรส ฉลองความส าเร็จต่างๆเพื่อน ามาซึ่งความเป็ นมงคลแก่ผู้รับ และผู้ให้ ขนมมงคลแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทหลักๆ คือ ขนมที่นามเป็ นมงคล และขนมที่มีลักษณะเป็ นมงคล 1. นามที่เป็ นมงคลเช่น ขนมตระกูลทอง ทองหยบิทองหยอด ฝอยทอง ทองเอก ที่สื่อถึงความมงั่มี 2. ลักษณะที่เป็ นมงคล เช่น ขนมถ้วยฟู ขนมปุยฝ้าย สื่อถึงความเร่งเรือง เฟื่ องฟู ในธุรกิจการงานและครอบครัว ด้วยความเป็ นมงคลดังกล่าว "ปุยฝ้ายสวรรค์" เราเข้าใจในคุณค่าและลกัษณะของขนมมงคลจึงไดค้ดัสรรส่วนผสมช้นั ดีผา่นกรรมวิธีที่เอาใจใส่เพื่อให้ไดข้นมปุยฝ้ายสวรรค์ที่มีเน้ือนุ่ม หอมกรุ่นดว้ยรสชาติของความอร่อยและมีกลีบปุยฝ้ายที่ แตกสวยงามตามลักษณะที่เป็ นมงคลของขนมปุยฝ้าย หรือที่ชาวจีนเรียกว่า "ฮก ก้วย" เมื่อทราบถึง ความเป็นขนมมงคลดงักล่าวแลว้ โอกาสต่างๆ จากน้ีไปอย่าพลาดที่จะนา ขนมปุยฝ้ายสวรรค์เป็นสื่อ มงคลจากท่านถึงผูร้ับแลว้ท่านจะพบกบัรอยยิ้ม ของความประทบัใจมากมายจากผูร้ับที่ไดส้ ัมผสักบัความนุ่มและหอมกลุ่น ในรสชาติของความอร่อยของ

26 ขนมปุยฝ้าย ส่วนผสม แป้งตราบัวแดง 300 กรัม ผงฟู 1 ช้อนชา น้า ตาลทราย 250 กรัม ไข่ไก่ 3 ฟอง เอสพี 20 กรัม น้า (1) ½ ถ้วย น้า (2) ½ ถ้วย นมสด 3 ช้อนโต๊ะ น้า มะนาว 1 ช้อนโต๊ะ กลิ่นมะลิ ½ ช้อนชา วิธีท า 1. น าแป้งและผงฟูเขย่ารวมกัน 2. น าไข่ไก่+ น้า ตาลทราย+ เอสพี + น้า (1) ตีรวมกันด้วยความเร็วต ่า 30 นาที จนส่วนผสมเข้ากันดี ตีความเร็ว ต ่าสูงสุด 5 นาทีเปลี่ยนความเร็วเหลือต่า สุด เติมน้า มะนาว ตีนาน 30 นาที 3. แล่งแป้งเป็ น 3 ส่วน เติมแป้ง(1) ตีความความเร็วต่า สุด จนเขา้กนัจึงเติมน้า (2) ตีให้เข้ากันดี จึงเติมแป้ง(2) ตี จนเข้ากันดี จึงเติมนม ตีให้เข้ากัน จึงเติมแป้ง(3) เมื่อเขา้กนัดีแลว้จึงเติมกลิ่นมะลิ

27 ขนมเข่ง ประวัติความเป็ นมาของขนมเข่ง ความเป็ นมาของขนมเข่งที่เป็ นที่ร ่าลือก็คือ ในยุคประวัติศาสตร์ของชาวจีนมีความเชื่อว่า บรรดาเทพเจ้าจีนที่คอย ปกปักรักษามนุษยใ์นโลก จะตอ้งข้ึนไปถวายรายงานความดีความชอบ และความชวั่ที่มนุษยท์ุกคนไดก้ระทา กบัองค์เง็ก เซียนฮ่องเต้บนสวรรค์ ก่อนที่จะถึงวันตรุษจีนประมาณ 4 วัน เหล่าบรรดาคนที่รู้ว่าตนเองไม่ได้ท าความดีกับเขาสักเท่าไร จึง คิดทา ขนมเข่ง หรือที่ชาวจีนแตจ้ิ๋วเรียกว่าขนมเหนี่ยนเกา (แปลว่าขนมที่ท ามาจากแป้ง) โดยใช้แป้งข้าวเหนียวมากวนกับ น้า ตาลทรายและนา ไปน่ึงจนมีลกัษณะเป็นกอ้นแป้งแข็ง ๆ และเหนียวหนืด จากน้นัก็นา ขนมเข่งเหล่าน้ีไปถวายให้บรรดา เทพเจ้าจีน เพื่อหวงัให้ขนมแป้งเหนียว ๆ ช่วยปิดปากเทพเจา้ท้งัหลาย จนกล่าวรายงานความชวั่ของตัวเองให้องค์เง็กเซียน ฮ่องเต้ฟั งไม่ได้และนับต้ังแต่น้ันเป็นต้นมา เจ้าขนมเข่งก็กลายเป็นขนมไหว้เจ้าของชาวจีนไปโดยปริยาย แต่อีกประวตัิศาสตร์หน่ึงกลับแยง้ข้ึนมาว่า ขนมเข่งมีความส าคัญในพิธีตรุษจีนก็เพราะสืบเนื่องมาจากในยุค ประวัติศาสตร์ที่ชาวจีนหมดหนทางท ามาหากินในประเทศของตัวเอง จนต้องอพยพหนีความยากล าบาก มาท ามาหากินใน ประเทศไทย ชาวจีนเหล่าน้ีตอ้งการเสบียงที่มีอายเุก็บรักษาไดน้าน เอาไวป้ระทงัชีวิตระหว่างเดินทางโดยเรือส าเภา และ ขนมเข่งที่เป็นแป้งกวนกบัน้า ตาล ก็ตอบโจทยค์วามตอ้งการน้ีไดอ้ย่างพอดิบพอดีเลยได้กลายมาเป็ นอาหารส าคัญส าหรับ ชาวจีนในยุคแร้นแค้น ต้องอพยพหนีความยากล าบาก ดงัน้นั ในช่วงต่อมาที่ชาวจีนมีชีวิตความเป็นอยทู่ ี่ดีข้ึน และถึงวนัไหวเ้จา้คนจีนเลยถือเอาขนมเข่งที่เคยเป็ นเสบียง ส าคัญในช่วงยากล าบาก มาเซ่นไหว้เทพเจ้า เพื่อเป็ นที่ระลึกถึงวันที่ตอ้งปากกดัตีนถีบนนั่เองอีกท้งัขนมเข่งยงัมีความหมาย สื่อถึงความหวานชื่น ราบรื่น และความอุดมสมบูรณ์อีกด้วย ส่วนขนมเทียนน้นัก็ถือเป็นเป็นขนมไหวเ้จา้อีกชนิดหน่ึงก็มีตน้กา เนิดมาจากการดดัแปลงขนมเข่งเช่นกนั โดยใช้ แป้งขา้วเหนียวมากวน และใส่ไส้ถวั่บด ผสมกบัเครื่องปรุงกลายเป็นไส้เค็ม จากน้นัห่อดว้ยใบตองเป็นรูปสามเหลี่ยมเล็กๆ คล้ายทรงเจดีย์ แล้วน าไปนึ่งจนสุกนอกจากชื่อขนมเทียนแล้ว บางคนก็นิยมเรียกว่า ขนมนมสาว และชาวภาคเหนือก็นิยม เรียกว่า ขนมจ็อกอีกด้วย ซึ่งโดยส่วนมากแล้วขนมเทียนจะนิยมใช้เป็ นขนมในงานบุญวันสงกรานต์ และชาวจีนก็น าไปใช้ ในงานวันตรุษจีนด้วยเช่นกันจะเห็นไดว้่าขนมไหวเ้จา้ในวนัตรุษจีนจะเป็นขนมที่ทา จากแป้งกวนกบัน้า ตาลแลว้นา ไปน่ึง เป็นส่วนใหญ่ซ่ึงที่ตอ้งเป็นขนมแป้งน่ึงก็เนื่องจากว่า ท้งัขนมเทียนและขนมเข่ง ต่างก็มีความหมายเป็นมงคล สื่อถึงความ หวานชื่น ความราบรื่น และความอุดมสมบูรณ์

28 ขนมเข่ง ส่วนผสม แป้งข้าวเหนียว 500 กรัม น้า ตาลปี๊บ 250 กรัม น้า ตาลทราย 250 กรัม น้า ใบเตยค้นัขน้ ½ ถ้วย น้า 2 ถ้วย วิธีท า 1. นา แป้ง น้า ตาลปี๊บและน้า ตาลทรายเคลา้รวมกนั 2. ค่อยๆ เติมน้า ลงในแป้งทีละนอย นวดนาน ้ 10 นาทีให้แป้งรวมเป็นกอ้นเดียวกนัแลว้จึงเติมน้า ที่เหลือและน้า ใบเตยคนให้เขา้กนัดีเติมเน้ือมะพร้าวอ่อนที่เตรียมไว้ 3. กระทงทาดว้ยน้า มนัพืช ตกัขนมหยอดใส่กระทง น่ึงดว้ยไฟแรง นาน 25 นาที ยกลงพักให้เย็น

29 ขนมข้าวต้มมัด ประวัติความเป็ นมาของขนมข้าวต้มมัด ข้าวต้มมัดเป็ นหนึ่งในขนมไทย ที่น้อยคนนักจะบอกว่าไม่รู้จัก เนื่องจากเป็ นขนมที่มีประโยชน์ และมีคุณค่าทาง อาหาร สามารถหาวตัถุดิบในการทา ไดง้่ายในทอ้งถิ่น นอกจากน้ียงัเป็นขนมที่นา ขา้วซ่ึงเป็นอาหารหลกัของคนไทยนา มา ประยุกต์ ปรุงแต่งเป็ นขนมหวาน จึงถือได้ว่า “ข้าวต้มมัด” เป็นหน่ึงในภูมิปัญญาทอ้งถิ่นของบรรพบุรุษไทย “ข้าวต้มมัด” มีชื่อเรียกแตกต่างกันไปในแต่ละทอ้งถิ่น อาทิเช่น ทางภาคเหนือจะเรียกข้าวต้มมดัว่า “ข้าวต้ม ผัด” ทางภาคกลางเรียกว่า “ข้าวต้มมัด” เรียกตามรูปลักษณ์ที่มีห่อและมัดเป็ นกลีบโดยใช้ใบตองและเชือกกล้วย ส่วนทาง ภาคใต้โดยเฉพาะนครศรีธรรมราชจะเรียกว่า “เหนียวห่อกล้วย” เพราะลักษณะที่เห็น ประกอบกับวิธีการท าที่เป็ นการน าข้าว เหนียวมาห่อกลว้ยเอาไวแ้ละห่อปิดดว้ยใบตองอีกช้นัหน่ึง นอกจากน้ีบางทอ้งถิ่นจะห่อขา้วตม้มดัเป็นทรงกรวยโดยใชใ้บ กระพ้อแต่ไม่มัด หรือห่อเป็ นก้อนด้วยใบเตยหรือใบอ้อย แล้วไว้หางยาว ซึ่งจะเรียกว่า “ข้าวต้มลูกโยน” ในประเพณีไทยน้นัขา้วตม้มดัจดัเป็นขนมยอดนิยมที่มกัทา ไวก้ินเป็นของว่างหรือเอาไปร่วมงานบุญ บา้งก็ทา ไส้ ถวั่ดา บา้งก็ทา ไส้กลว้ย บา้งก็ไม่มีไส้ซ่ึงจะเรียกว่า “ขา้วตม้น้า วุน้ ” นอกจากน้ีเรามกัจดข้าวต้มมัดไปถวายพระในงานบุญวันออกพรรษา หรืองานตักบาตร เทโว เหตุที่คนไทยนิยมน า ั ขา้วตม้มดัไปถวายพระน้ัน มีเรื่องเล่ากนัว่า เกิดจากชาวเมืองในสมยัพระพุทธกาลที่ไปคอยรับเสด็จองค์พระสัมมาสัมพุทธ เจ้าน าไปท าบุญตักบาตรเพราะเห็นว่าเป็ นของสะดวกและรับประทานง่าย บ้างก็ว่าการน าข้าวต้มมัดมาใส่บาตรท าบุญจน เกิดข้ึนเป็นธรรมเนียมน้นัมีจุดประสงค์เพื่อให้พระภิกษุสงฆ์ใชเ้ป็นเสบียงในการเดินทางไปเผยแผ่พระธรรมคา สอน ส่วน คนไทยที่นิยมทา ขา้วตม้ลูกโยนไปใส่บาตรน้นัเล่ากนัว่าเกิดจากชาวบา้นในสมยัพระพุทธกาลที่ไปเบียดเสียดตอ้งการจะตกั บาตรองค์พระสัมมาสัมพุทธเจา้แต่เขา้ไปไม่ถึงพระองคจ์ึงตอ้งใชว้ิธีโยนขา้วตม้มดัน้ีแทน การทา ขา้วตม้มดัน้นั ไม่ไดย้งุ่ยากอยา่งที่หลายคนคิด เพียงแต่รู้เคล็ดลบั ในการทา เท่าน้นัเริ่มต้งัแต่การเลือกใบตอง ใบตองที่ห่อขา้วตม้มดัจะตอ้งเป็นใบอ่อนๆและช่วงใบส้ันๆ ใบตองที่ตดัมาจากตน้ยงัไม่สามารถนา มาห่อได้ตอ้งทิ้งคา้งคืน ไว้ 1คืน เพื่อให้ใบตองนิ่ม เพื่อที่เมื่อนา มาห่อแลว้ใบตองจะไดไ้ม่แตก ส่วนการวางใบตองสา หรับห่อน้ันให้วางตามขวาง โดยฉีกใบตองกว้าง 7 - 8 นิ้ว นา มาวางซอ้นกนัโดยสลบัหัวทา้ยและที่สา คญัตอ้งทา ความสะอาดใบตองให้สะอาด ส่วนกลว้ยที่นา มาทา ขา้วตม้มดัน้นัควรเป็นกลว้ยสวนที่งอมจดัเพื่อให้เวลาน่ึงหรือตม้แลว้ไส้ของขา้วตม้มดัจะได้ สีแดงสวย นอกจากน้ียงัสามารถใส่ไส้อื่นไดอ้ีกดว้ย เช่น ไส้เผอืก หรือไส้ถวั่เพียงเท่าน้ีเราก็จะไดข้า้วตม้มดัที่แสนอร่อย และมีประโยชน์ไว้รับประทานแทนขนมกรุบกรอบที่ไร้ประโยชน์ ที่ส าคัญยังเป็ นการสร้างกิจกรรมในครอบครัวได้อีกทาง หนึ่งด้วย

30 ขนมข้าวต้มมัด ส่วนผสม ขา้วเหนียวเข้ียวงู 500 กรัม มะพร้าวขูด 500 กรัม ค้นั ให้ไดก้ะทิ 400 กรัม เกลือ 14 กรัม น้า ตาลทราย 130 กรัม กลว้ยน้า วา้สุก 1 หวี วิธีท า 1. แช่ขา้วเหนียวในน้า 4 ชวั่โมง 2. นา ขา้วเหนียวกะทิใส่กระทะเซฟลอน ต้งัไฟปานกลางกวนรวมกนัจนน้า แห้ง 3. เติมน้า ตาลทรายเกลือและใบเตยหั่นท่อน กวนจนแห้ง 4. ตักข้าวเหนียวใส่ใบตองประมาณ 2 ชอ้นโต๊ะ วางชิ้นกลว้ย 1 ชิ้น ตกัขา้วเหนียวทบัห่อให้สวยงาม มดัดอกให้ แน่น นึ่งไฟปานกลางนาน 45 นาที ถ้าต้องการ ไส้เผือกกวน / มันกวน เน้ือเผอืก หรือ มนั 1 กิโลกรัม มะพร้าวขูด 500 กรัม ค้นั ให้ไดก้ะทิ 2 ถ้วย น้า ตาลทราย 270 กรัม วิธีท า 1. น าเผือก/มัน นึ่งด้วยไฟปานกลางจนสุกบดให้ละเอียด 2. เติมกะทิน้า ตาลกวนดว้ยไฟปานกลางจน รวมเป็นกอ้นสามารถป้ันได้ยกลงพกัไวพ้ออุ่น

31 ขนมเทียน ประวัติความเป็ นมาของขนมเทียน ในปัจจุบันการท าขนมไทย เป็ นส่วนหนึ่งที่ได้สืบสานอนุรักษ์ของไทยที่ก าลังจะเลือนหายไป ให้กับคนรุ่นหลังได้ รู้จัก ซึ่งจริงๆแล้วขนมไทยมีเสน่ห์ในตัวเองอยู่แล้วไม่ว่าจะเป็ นรูปร่างหน้าตา ที่ตกแต่งออกมาสวยงาม ข้นัตอนในการทา อย่างประณีต และรสชาติที่โดดเด่น ตามแบบฉบับของคนไทยโบราณ และที่ส าคัญ ขนมไทยส่วนมากเป็ นขนมที่มีความเป็ น มงคลอยใู่นตวัอีกดว้ย ด้งัน้ันการทา โครงการชิ้นน้ีข้ึนมา ทางสมาชิกในกลุ่มจึงอยากจะแสดงให้เห็นถึงเอกลกัษณ์ของขนม ไทย ซึ่งได้แก่ ขนมเทียน เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้รับประโยชน์ในด้านต่างๆและสามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ อย่างถูกต้องและเหมาะสม ขนมเทียน เป็นขนมไทยด้งัเดิมที่เขา้ใจว่าดดัแปลงมาจากขนมเข่งของชาวจีนเช้ือสายไทยที่นิยมทา ในวนัสารทจีน แต่จะห่อด้วยใบตองเป็ นรูปสาเหลี่ยม และยดัดว้ยไส้ต่างๆ ส่วนชาวอีสานจะเรียกขนมเทียนน้ีว่า ขนมหมก ที่นิยมทา กัน ในช่วงเทศกาลงานบุญ โดยเน้ือขนมถูกห่อดว้ยใบตองเป็นรูปสามเหลี่ยม เน้ือขนมเหนียวยดัไส้ดว้ยรสหวานมนั ขนมเทียนมีชื่อเรียกแตกต่างกนั ในแต่ละทอ้งถิ่น แต่ชื่อหลกัและนิยมใชจ้ะเป็นขนมเทียน ส่วนชื่อที่มักเรียกต่าง ได้แก่ขนมจ๊อก ทางภาคเหนือ ส่วนทางภาคกลางเรียก ขนมนมสาว และภาคอีสานเรียกขนมหมก ท้งัน้ีขนมเทียนจะมีวิธี ท าคล้ายกับขนมเข่งที่ชาวจีนไว้ไหว้เจ้า แต่จะแตกต่างกันที่การห่อ โดยขนมเทียนจะห่อทับด้วยใบตองเป็ นรูปสามเหลี่ยม แต่ขนมเข่งจะห่อใบตองเป็นเข่งแลว้ค่อยเทน้า แป้งลงก่อนนา ไปน่ึง ขนมชนิดน้ีมกันิยมทา ในภาคอีสานเช่นกนั โดยเฉพาะงานบุญอุทิศกุศลให้แก่คนตายและงานวนัออกพรรษา ซ่ึงมี ลกัษณะเดียวกบัขนมเทียน ซ่ึงชาวอีสานเรียกว่าขนมหมก ซ่ึงจะห่อดว้ยใบตองเป็นรูปสามเหลี่ยม เน้ือขนมทา จากแป้งขา้ว เหนียว ยัดไส้ดว้ยเครื่องผสมของท้งัไส้เค็ม และไส้หวาน คนไทยเช้ือสายจีนมกัมีสูตรลบั ในการนวดแป้งให้นุ่มเหนียว คือ การใส่น้า ตม้ของหญา้ชิวคกัลงผสมขณะนวด แป้ง ซ่ึงจะช่วยให้เน้ือขนมเทียนนุ่มมากข้ึน อีกท้งัช่วยเพิ่มกลิ่นหอมให้แก่ขนมเทียน หญา้น้ีจะพบขายตามร้านขายสมุนไพร จีนโบราณหรือในกลุ่มของชาวจีนเป็ นส่วนใหญ่

32 ขนมเทียน ส่วนผสมแป้งขนมเทียน แป้งข้าวเหนียว 500 กรัม น้า ตาลปี๊บ 500 กรัม น้า 1 กรัม วิธีท า 1. นา แป้งและน้า ตาลรวมกนั 2. ค่อยๆ เติมน้า ลงในแป้งทีละนอ้ย นวดจนแป้งนุ่ม พกัไว้½ ชวั่โมง 3. แผ่ แป้งออก หุ้มด้วยไส้ให้มิด นา จุ่มลงในน้า มนั ปาลม์ ให้ทวั่ลูกแลว้วางบนใบตอง ห่อให…..้ แล้วน าไปนึ่ง 40 นาที ยกลงไว้ให้เย็น ส่วนผสมไสเค็ม ถวั่เขียวซีก 300 กรัม เกลือ ¼ ช้อนชา ผงปรุงรสหมู 3 ช้อนชา พริกไทยป่ น 1 ½ ช้อนโต๊ะ ซีอิ้วขาว 3 ช้อนโต๊ะ น้า ตาลทราย 3 ช้อนโต๊ะ น้า มนัพืช 3 ช้อนโต๊ะ วิธีท า 1. ลา้งถวั่เขียวให้สะอาด เติมน้า จนท่วม ตม้ให้ถวั่เขียวเปื่อย 2. เติมส่วนผสมที่เหลือกวนให้แห้งยกลงพกัไวใ้ห้อุ่น ป้ันเป็นก่อนกลมขนาดเหรียญ

33 ขนมฟักทอง ประวัติความเป็ นมาของขนมฟักทอง ขนมฟักทองเป็ นขนมไทยอีกชนิดหนึ่ง สามารถท า กินเองที่บ้านได้ วิธีการท าไม่ยุ่งยาก วัตถุดิบหาได้ง่าย กินได้ ท้งัเด็กและผูใ้หญ่ในปัจจุบนัจะทา ใส่ถว้ยตะไล แต่ถา้จะให้ หอมควรท าใส่ห่อหรือกระทงที่ท าจากใบตอง เพราะจะได้ กลิ่นของใบตองดว้ย สูตรน้ีเป็นขนมฟักทองที่เสริมแคลเซียม ทา ให้ขนม มีคุณค่าทางโภชนาการเพิ่มมากข้ึน แคลเซียมเป็ นสารอาหารที่ จา เป็นต่อกระดูกและฟัน และในสูตรน้ียงัใช้นมถั่วเหลือง แทนกะทิ ซึ่งจะช่วยลดปริมาณ ของไขมันได้ด้วย ฟักทองเป็ นอาหารที่ย่อยง่าย และไม่ค่อยท าให้เกิดอาการแพ้ จึงเหมาะเป็ นอาหารเสริมส าหรับเด็ก ฟักทองมีคุณค่า ทางโภชนาการสูง มีบีตาแคโรทีน ซึ่งจัดเป็นสารตา้นอนุมูลอิสระตวัหน่ึงที่ช่วยป้องกนัมะเร็ง เน้ือฟักทองสามารถควบคุม ระดบัน้า ตาลในเลือด ควบคุมความดันโลหิต บา รุงตับ ไต ช่วยควบคุมสมดุลในร่างกาย หากกินท้งัเปลือกก็จะไดคุ้ณค่า เพิ่มข้ึนอีก

34 ขนมฟักทอง ส่วนผสม ฟักทองนึ่งสุกบดละเอียด 200 กรัม แป้งสาลีตราบัวแดง 250 กรัม ยีสต์ 1 ½ ช้อนชา ผงฟู 1 ½ ช้อนชา เกลือ ¼ ช้อนชา น้า ตาลทราย 180 กรัม กะทิกล่อง 250 กรัม น้า มะนาว 1 ช้อนชา วิธีท า 1. น าแป้ง ผงฟู และยีสต์ใส่ถุงเขย่ารวมกัน เทใส่อ่างไว้ 2. นา ฟักทอง น้า ตาลเกลือและกะทิคนรวมกัน แล้วเทลงในแป้งใช้ตะกร้อมือคนให้เข้ากัน 3. เติมน้า มะนาวคนให้เขา้กนั ปิดภาชนะดว้ยฟิลม์พกัไว้1 ชวั่โมง 4. คนส่วนผสมพอเข้ากันตักใส่กระทงใบตอง นึ่งด้วยไฟแรงนาน 15 นาทีจนสุก ยกลง

35 ขนมสังขยาฟักทอง ประวัติความเป็ นมาของขนมสังขยา สังขยา หรือที่เรียกในภาษามาเลย์ว่า ศรีกายา หรือกายา เป็นขนมน่ึงทา จากกะทิและน้า ตาล พบในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้หลายประเทศ เช่น อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ กายาหรือศรีกายา (มาจากค าว่าร ่ารวยในภาษามาเลย์) เป็ นขนมที่ท าจาก กะทิ ไข่เป็ ดหรือไขไก่ ซึ่งขย าให้เข้ากัน ดว้ยใบเตย ปรุงรสหวานดว้ยน้า ตาล มีจุดกา เนิดในเอเชียตะวนัออกเฉียงใตเ้พราะใชเ้ครื่องปรุงที่พบมาในทอ้งถิ่นคือน้า ตาล มะพร้าวและใบเตย กายายังใช้รับประทานร่วมกับขนมอื่น เช่น pulut tekan ซึ่งเป็ นข้าวเหนียวนึ่งที่ย้อมให้เป็ นสีม่วง pulut seri muka ข้าวเหนียวนึ่งที่ย้อมให้เป็ นสีเขียวด้วยใบเตย ฟิ ลิปปิ นส์ : สังขยาในฟิลิปปินส์ทา จากกะทิและน้า ตาลหรือกากน้า ตาล ไทย : สังขยาในไทยเป็ นขนมที่จัดอยู่ในกลุ่มที่ได้รับอิทธิพลจากโปรตุเกส นิยมรับประทานกับข้าวเหนียว หรือใส่ใน ฟักทอง เผือกหรือมะพร้าวแล้วน าไปนึ่ง เป็ นคนละชนิดกับสังขยาที่กินกับขนมปัง กัมพูชา : สังขยาในกัมพูชา ลักษณะคล้ายสังขยาในประเทศไทย นิยมปรุงกับฟักทองแบบสังขยาฟักทองในไทย ขนมสังขยาฟักทองมีส่วนผสมที่ดีต่อร่างกายมนุษย์อย่างเราเป็ นอย่างมากโดยดูได้จากฟักทองที่มีสารต่อต้านอนุ มูลอิสระเป็นส่วนช่วยในการชะลอวยัและความแก่ชราอีกท้งัยงัช่วยฟ้ืนบา รุงสุขภาพผวิให้เปล่งปลงั่สดใสและช่วยปกป้อง ผิวไม่ให้เหี่ยวย่นตามวัยหรือกาลเวลาได้เป็ นอย่างดีอีก ขนมไทย เป็ นของหวานที่ท าและรับประทานกันในอาณาจักรไทย มีเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมประจ าชาติไทยคือ มีความละเอียดอ่อนประณีตในการเลือกสรรวัตถุดิบ วิธีการท า ที่พิถีพิถัน รสชาติอร่อยหอมหวาน สีสันสวยงาม รูปลักษณ์ ชวนรับประทาน ตลอดจนกรรมวิธีการรับประทานที่ประณีตบรรจงของขนมแต่ละชนิด ซึ่งยังแตกต่างกันไปตามลักษณะ ของขนมชนิดน้ันๆ ขนมไทยเริ่มแพร่หลายมากข้ึนในสมยัอยุธยา ดงัปรากฏขอ้ความในจดหมายเหตุหลายฉบบับางฉบบั กล่าวถึง "ยา่นป่าขนม" หรือตลาดขนม บางฉบบักล่าวถึง "บา้นหมอ้" ที่มีการป้ันหมอ้และรวมไปถึงกระทะขนมเบ้ือง เตา และรังขนมครก แสดงให้เห็นว่าขนมครกและขนมเบ้ืองน้ัน คงจะแพร่หลายมากจนถึงขนาดมีการป้ันเตาและกระทะขาย บางฉบบักล่าวถึงขนมชะมด ขนมกงเกวียนหรือขนมกงขนมครกขนมเบ้ืองขนมลอดช่อง

36 ขนมสังขยาฟักทอง ส่วนผสม ไข่ไก่ 6 ฟอง น้า ตาลปี๊บ 160 กรัม กะทิ 1 ½ ถ้วย เกลือ ¼ ช้อนชา ฟักทองซอย 250 กรัม วิธีท า 1. ตีไข่ด้วยตะกร้อมือ พอเข้ากัน 2. เติมน้า ตาลปี๊บ เกลือขยา ให้เขา้กนั 3. เติมกะทิ คนให้เข้ากัน แล้วกรองด้วยผ้าขาวบาง 4. น าฟักทองใส่พิมพ์ เทสังขยาใส่ให้เต็ม นึ่งไฟปานกลางนาน 25 นาที จนสุกยกลงพักให้เย็น ถ้าท าสังขยาเผือก ให้ใช้เผือกซอย 250 กรัม เท่ากับฟักทอง

37 ข้าวเหนียวสังขยา ประวัติความเป็ นมาของขนมข้าวเหนียวสังขยา สังขยา หรือที่เรียกในภาษามาเลย์ว่าศรีกายา หรือกายา (ภาษามาเลย์: kaya or seri kaya; ภาษาตากาล็อก: matamis sa bao, matamis na bao, or kalamay-hati; ภาษาจีนฮกเก้ียน: 咖吔 ka-iā) เป็นขนมน่ึงทา จากกะทิและน้า ตาล พบในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้หลายประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซียและสิงคโปร์ กายาหรือศรีกายา (มาจากค าว่าร ่ารวยในภาษามาเลย์) เป็ นขนมที่ท าจาก กะทิ ไข่เป็ ดหรือไขไก่ ซึ่งขย าให้เข้ากัน ดว้ยใบเตย ปรุงรสหวานดว้ยน้า ตาล มีจุดกา เนิดในเอเชียตะวนัออกเฉียงใตเ้พราะใชเ้ครื่องปรุงที่พบมาในทอ้งถิ่นคือน้า ตาล มะพร้าวและใบเตย ปรุงให้สุกด้วยการนึ่ ง สุกแล้วแข็ง นิยมใช้แต่งหน้าข้าวเหนียวแบบข้าวเหนียวสังขยาของไทย ใน มาเลเซียใส่สีกายาเป็ นสีเขียวเรียก ปูลุต สรีกายา หรือ สรีมูกา ในอินโดนีเซียท ากายาหนา้สีน้า ตาลอยา่งสีไข่เรียกเกอตนัสรี กายา หรือน่ึงในผลฟักทอง เรียก สรีกายาลาบูกูนิง สังขยาอยา่งหลงัน้ีแพร่หลายในหมู่ชาวยา่หยาที่เป็นลูกผสมระหว่างจีน และมลายู สังขยาในไทยเป็ นขนมที่จัดอยู่ในกลุ่มที่ได้รับอิทธิพลจากโปรตุเกส นิยมรับประทานกับข้าวเหนียว หรือใส่ใน ฟักทอง เผือกหรือมะพร้าว แล้วน าไปนึ่ง เป็ นคนละชนิดกับสังขยาที่กินกับขนมปังสังขยาในกัมพูชา (សង់ខ្យាល្ពៅ)ลักษณะ คล้ายสังขยาในประเทศไทย นิยมปรุงกับฟักทองแบบสังขยาฟักทองในไทย

38 ข้าวเหนียวสังขยา ส่วนผสมสังขยา ไข่เป็ ดหรือไข่ไก่ฟองใหญ่ 4 ฟอง มะพร้าว 350 กรัม ค้นั ให้ไดก้ะทิหรือใชก้ะทิกล่อง 1 ¼ ถ้วย น้า ตาลปี๊บ 140 กรัม เกลือ 1/8 ช้อนชา แป้งข้าวเจ้า 1 ช้อนโต๊ะ ใบเตย 3 ใบ วิธีท า 1. ตีไข่เป็ ดตะกร้อมือจนเข้ากันดี 2. เติมน้า ตาลปี๊บและเกลือลงในไข่ใชใ้บเตยขยา จนน้า ตาลละลาย 3. เติมแป้งข้าวเจ้า และกะทิทีละน้อยคนจนเข้ากันกรองใส่พิมพ์อะลูมิเนียม 4. น่ึงสังขยาในน้า เดือดไฟปานกลางค่อนขา้งอ่อน นาน 25 นาที ส่วนผสมข้าวเหนียวมูน ขา้วเหนียวเข้ียวงู 500 กรัม สารส้มเล็กน้อย มะพร้าวขูดขาว 500 กรัม ค้นั ให้ไดก้ะทิ 280 กรัม น้า ตาลทราย 115 กรัม เกลือ 2 ½ ช้อนชา ใบเตย 3 ใบ วิธีท า 1. นา สารส้มละลายน้า ปริมาณพอท่วมขา้วขดัขา้วในน้า 5 นาที 2. ลา้งขา้วหลายคร้ังจนน้า ใสแช่ขา้วไว้4 ชวั่โมง 3. นา กะทิน้า ตาลและเกลือ ต้งัไฟคนรวมกนั (ถา้เป็นขา้วเหนียวใหม่แช่น้า อุ่น 1 ชวั่โมง) 4. นึ่งข้าวเหนียวพอสุกใส่อ่างผสมและเทกะทิที่เตรียมไว้ เคล้าพอเข้ากันปิ ดฝาพักไว้ 20 นาที

39 ขนมชั้น ประวัติความเป็ นมาของขนมชั้น ขนมช้นัเป็นขนมไทยโบราณที่จดัอยู่ในขนมประเภทแขน้ (ก่ึงแห้งก่ึงเปียกหรือแข็ง) ในอดีตนิยมใชข้นมช้นั ใน งานฉลองยศ เพราะมีความหมายถึงลา ดบัช้นัยศถาบรรดาศกัด์ิคนโบราณนิยมท ากันถึง 9 ช้นัเพราะถือเคล็ดเสียงของเลข “9”ว่าจะได้“ก้าวหน้า”ใน หนา้ที่การงานนอกจากน้ีพระยาอนุมานราชธน “เสฐียรโกเศศ”ไดเ้ขียนไวว้่าขนมช้นัยงัจดัอยู่ใน ชุดของขนมแต่งงานซึ่งในพิธีขันหมาก เนื่องจากมีชื่อที่เป็ นสิริมงคล ขนมจัดเป็ นอาหารที่คู่ส ารับกบัขา้วไทยในงานพิธีและงานมงคลต่างๆ มาต้งัแต่คร้ังโบราณ โดยใชค้า วา้ ส ารับ กับข้าวคาวหวาน ซึ่งขนมไทยเป็ นเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมประจ าชาติไทยอย่างหนึ่งที่รู่จักกันดี ในสมัยโบราณคนไทยจะ ทา ขนมเฉพาะวาระส าคญัเท่าน้ันเป็นต้นว่างานทา บุญ เทศกาลส าคญัหรืองานตอนรับแขกส าคัญ เพราะขนมบางชนิด จ าเป็ นต้องใช้ก าลังคนอาศัยเวลาในการท าพอสมควร ส่วนใหญ่เป็ น ขนมประเพณี เช่น ขนมงาน เนื่องในงานแต่งงาน ขนม พ้ืนบา้น ส่วนขนมในร้ัวในวงัจะมีหนา้ตาจุ๋มจิ๋ม ประณีต วิจิตรบรรจงในการจดัวางรูปทรงขนมสวยงาม ขนมไทยมีมานานแลว้ต้งัแต่ประเทศไทยเป็นสยามประเทศได้ติดต่อค้าขายกับชาวต่างประเทศ เช่น จีน อินเดีย มา ต้งัแต่สมยัสุโขทยั โดยส่งเสริมการคา้ขายสินคา้ซ่ึงกนัและกนัตลอดจนการแลกเปลี่ยนทางวฒันธรรม ดา้นอาหารการกินอยู่ ร่วมกันไปด้วย ต่อมาในสมัยอยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร์ ได้มีการเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศต่างๆอย่างกว้างขวาง ไทยไดร้ับเอาวฒันธรรมด้านอาหารของชาติต่างๆมาดดัแปลงให้เหมาะสมกับสภาพทอ้งถิ่น วตัถุดิบที่หาได้เครื่องมือ เครื่องใช้ตลอดการบริโภคนิสัยแบบไทยๆ ทา ให้ขนมไทยในปัจจุบันมีท้งัขนมที่เป็นไทยแทๆ้และดัดแปลงมาจาก วัฒนธรรมของต่างชาติ เช่น ขนมที่ใช้ไข่และขนมที่ตอ้งเขา้เตาอบ เป็นตน้นอกจากน้นั ไทยยงัให้ความสา คญักบัขนมที่ทา จากไข่เหล่าน้ีโดยใชเ้ป็น “ขนมมงคล” เพื่อนา ไปประกอบเครื่องคาวหวาน ถวายพระเล้ียงแขกในพิธีมงคลต่างๆ เช่น งานง คลสมรส งานบวช หรืองานข้ึนบา้นใหม่เป็นตน้ โดยจะตอ้งเลือกใชเ้ฉพาะขนมไทยที่มีชื่อไพเราะหรือเสริมสิริมงคล ดังเช่น “ขนมมงคล๙อย่าง” ซ่ึงไดแ้ก่ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ทองเอก เม็ดขนุน ขนมช้นัจ่ามงกุฎ ขนมถว้ยฟูและเสน่ห์ จันทน์ ขนมไทยผูกพันแน่นแฟ้นและอยู่คู่กับวิถีชีวิตของคนไทยมาช้านาน ซึ่งปัจจุบันเด็กไทยรับเอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้า มา ท าให้ขนมไทยไดเ้ริ่มหายไป เด็กบางคนอาจจะไม่รู้จกัขนมไทยเลยหรืออาจจะรู้จกัเห็นแต่ภาพในหนังสือเรียนบาง ใน โทรทศัน์บางแต่ไม่เคยไดเ้ห็นวิธีการทา ความหมายของชื่อ หรือแมก้ระทงั่ที่มาของขนมไทยชิ้นน้นัๆ

40 ขนมชั้น ส่วนผสม แป้งมัน 200 กรัม น้า ตาลทราย 325 กรัม กะทิ 500 กรัม น้า 50 กรัม วิธีท า 1. นา แป้งและน้า ตาลคนรวมกนั 2. เติมกะทิและน้า คนจนน้า ตาลละลาย 3. แบ่งแป้งเป็ น 2 ส่วนเติมสีหนึ่งส่วนอีกส่วนเป็ นสีขาว 4. ทาพิมพด์ว้ยน้า มนัพืชต้งัไฟจนพิมพร์้อนหยอดขนมให้ทวั่พิมพ์น่ึงนาน 3 นาทีจนสุดจึงหยอดช้นัต่อไปเพิ่ม เวลานึ่งอีกช้นัละ2 นาที

41 ขนมกล้วย ประวัติความเป็ นมาของขนมกล้วย ขนมกล้วยเป็ นขนมไทยโบราณอีกอย่างหนึ่ งที่ท าง่ายๆวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ไม่มีต้องมากมายก็สามารถท า รับประทานเองไดเ้ริ่มจากกลว้ยที่เหลือจากรับประทานไม่หมด สุกงอมบางคนน้ันไม่ชอบกลว้ยที่สุกงอมเกินไปจึงจบัมา แปรรูปให้เป็ นขนมขนมกล้วยนึ่งโรยหน้าด้วยมะพร้าว ก็อร่อยได้แบบมีคุณค่าราคาย่อมเยาว์ กล้วยที่สุกงอมมากๆเมื่อน ามา ทา เป็นขนมกลว้ยจะไดข้นมที่มีกลิ่นหอมรสชาติอร่อย “กล้วย” เป็นพืชที่สามารถใชป้ระโยชน์ไดทุ้กส่วน ต้งัแต่ใบตองลา ตน้หัวปลีและผลกลว้ยกห็วานหอมอร่อย สุดๆ อยา่งกลว้ยน้า วา้ก็ถือเป็นผลไมอ้ร่อยที่สามารถกินไดต้้งัแต่เด็กจนโต แต่ถา้กลว้ยน้า วา้สุกจนงอม เปลือกออกสีดา แลว้ จะทิ้งไปก็น่าเสียดายเพราะกลว้ยน้า วา้ที่สุกจนงอมแลว้ก็ยงัสามารถนา มาทา เป็นขนมอร่อยๆ อยา่ง “ขนมกล้วย”ได้อีกด้วย “ขนมกล้วย” มีส่วนผสมเพียงไม่กี่อยา่ง ใชก้ลว้ยน้า วา้ที่สุกจนงอม ทา ให้ไดค้วามหวานจากธรรมชาติใส่แป้ง หัว กะทิและน้า ตาลลงไปเพิ่มอีกเล็กนอ้ยและยงัเพิ่มความหอมมนัจากมะพร้าวทึนทึกขูดฝอยให้เค้ียวเพลินๆ เขา้กบัขนมกลว้ย ที่น่ึงสุกใหม่ๆ กลิ่นหอม รสหวานกลมกล่อม

42 ขนมกล้วย ส่วนผสม กลว้ยน้า วา้สุกบด 350 กรัม แป้งมัน 60 กรัม แป้งท้าวยายม่อม 30 กรัม แป้งข้าวเจ้า 30 กรัม น้า ตาลทราย 120 กรัม กะทิกล่อง 1 ถ้วย เกลือ ½ ช้อนชา วิธีท า 1. น าแป้งมัน แป้งท้าวยายม่อม และแป้งข้าวเจ้า รวมกัน ค่อยๆ เติมกะทิ ทีละน้อย คนจนเข้ากันดี 2. เติมกลว้ยบด น้า ตาลทรายและเกลือคนให้เขา้กนั 3. ตักหยอดใส่กระทง นึ่งด้วยไฟแรง นาน 10 นาที จนสุก

43 ขนมสอดไส้มะพร้าวอ่อน ประวัติความเป็ นมาของขนมสอดไส้ มะพร้าวอ่อน ขนมใส่ไส้" หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "ขนมสอดไส้" เป็ นขนมไทยที่ใช้ในพิธีขันหมากในสมัยโบราณ ขนมใส่ไส้ น้ีห่อดว้ยใบตองแลว้มีเตี่ยวคาด (เตี่ยวก็คือทางมะพร้าว) ห่อเป็นทรงสูงขนมใส่ไส้มีกลิ่นหอมและหวานจากตวัไส้รสเค็ม มันด้วยหน้ากะทิที่สดใหม่ หน้าข้นพอดีไม่เละ เดี๋ยวน้ีจะหาขนมใส่ไส้ที่มีรสอร่อยซ่ึงมีท้งักลิ่นหอมและหวานมนัมา รับประทานไดย้าก เพราะขนมใส่ไส้ที่อร่อยตอ้งใส่กะทิที่ขน้มนัซ่ึงมะพร้าวเดี๋ยวน้ีสนนราคาก็แพงน่าดูส่วนกลิ่นหอมก็ ต้องอบด้วยดอกมะลิและควันเทียน ซึ่งต้องใช้เวลาและอุปกรณ์ในการท าเพิ่มข้ึนดว้ยอย่างน้ีน่าจะทา รับ -ประทานกันเองก็ จะได้ขนมใส่ไส้รสอร่อยถูกใจและท าได้ไม่ยากเลย การท าขนมใส่ไส้ เคล็ดลับอันดับแรกก็อยู่ที่ตัวไส้ มะพร้าวที่ใช้ต้องเป็ น มะพร้าวทึนทึก เป็นมะพร้าวที่ไม่อ่อน ไม่แก่กะลามะพร้าวยงัมีสีน้า ตาลอ่อน ไม่ดา น้า ตาลปีบที่ใชต้องไม่ขมและมีสีเป็ น ้ ธรรมชาติไม่ขาเวลากวนไส้ตอ้งกวนดว้ยไฟกลางค่อนขา้งอ่อน กวนให้เหนียวพอป้ันกอ้นไดแ้ลว้เรียงใส่ขวดโหลที่มีฝาปิด อบดว้ยควนัเทียนและดอกมะลิโรยดอกมะลิดอกตูมที่แก่จดั(เด็ดกลีบเล้ียงออก) วางเทียนอบที่จุดแลว้ดบั ในถว้ยใบเล็ก ปิด ฝาอบไว้ 1 คืน ไส้จะมีกลิ่นหอมชวนกิน สา หรับตวัแป้งที่หุ้มใชท้ ้งัแป้งขา้วเหนียวขาวและแป้งขา้วเหนียวดา เวลานวดตอ้งค่อยๆ ใส่น้า แลว้ตอ้งนวดนานๆ เม็ด แป้งจะอุม้น้า ไดด้ีเพราะเป็นแป้งแห้งแป้งจะมีความเหนียวดีไม่เหมือนในสมยัก่อนจะใชแ้ ป้งที่โม่เองแป้งก็จะเปียกและอุม้ น้า อยแู่ลว้ไม่จา เป็นต้องนวดนานหน้าของขนมเวลากวนแล้วต้องรีบตักหยอดขณะที่ร้อนอยู่จึงจะเรียบเวลาห่อขนมจะได้รูป ตามที่ห่อและน่ารับประทานใบตองที่ใช้ห่อขนมใส่ไส้ควรใช้ใบตองตานีพา

44 ขนมสอดไส้มะพร้าวอ่อน ส่วนผสมไส้มะพร้าว มะพร้าวทึกทึบอ่อน 500 กรัม น้า ตาลปี๊บ 500 กรัม ใบเตย 3 ใบ วิธีท า 1. เคี่ยวน้า ตาลให้เกิดคาราเมล 2. เติมมะพร้าวและใบเตยหั่นท่อน กวนจนเหนียวพกัให้เยน็ 3. ป้ันไส้ขนาดเหรียญ 2 บาท อบควันเทียน 2 คร้ัง ส่วนผสมแป้งหุ้มไส้ แป้งข้าวเหนียว 500 กรัม น้า ใบเตยค้นัขน้ ½ ถ้วย น้า เปล่า 1 ½ ถ้วย สีผสมอาหารสีเขียว ¼ ช้อนชา วิธีท า 1. เติมน้า ใบเตยและสีผสมอาหารลงในแป้ง เคลา้ให้เขา้กนั 2. ค่อยๆ เติมน้า เปลา้ทีละนอ้ย นวดจนแป้งนุ่ม 3. ป้ันแป้งเป็นกอ้นกลม ใหญ่กว่าไส้เล็กนอ้ย หุ้มไส้ให้มิด ส่วนผสมแป้งตัวนอก แป้งข้าวเจ้า 200 กรัม มะพร้าวขูด 1 กิโลกรัม ค้นั ให้ไดก้ะทิ 10 ถ้วย เกลือ 4 ¼ ช้อนชา วิธีท า 1. น าแป้งข้าวเจ้าเกลือผสมกัน 2. ค่อยๆ เติมกะทิทีละน้อย คนจนส่วนผสมละลาย 3. กวนไฟปานกลาง จนสุกข้น 4. ตักแป้งนอกใส่ใบตอง น าไส้ใส่หอแล้วรัดด้วยเตี่ยวนึ่งไฟแรง 6 นาที จนสุก ยกลง

45 เห่ชมเครื่องหวาน ๏ สังขยาหน้าไข่คุ้น เคยมี แกมกับข้าวเหนียวสี โศกย้อม เป็ นนัยน าวาที สมรแม่ มาแมล แถลงว่าโศกเสมอพ้อม เพียบแอ้อกอร ๚ ๏ สังขยา หนา้ต้งัไข่ ข้าวเหนียวใส่สีโศกแสดง เป็ นนัยไม่เคลือบแคลง แจ้งว่าเจ้าเศร้าโศกเหลือ ๏ ซ่าหริ่ม ลิ้มหวานล้า แทรกใส่น้า กะทิเจือ วิตกอกแห้งเครือ ไดเ้สพหริ่มพิมเสนโรย ๏ สังขยา หนา้ต้งัไข่ ข้าวเหนียวใส่สีโศกแสดง เป็ นนัยไม่เคลือบแคลง แจ้งว่าเจ้าเศร้าโศกเหลือ ๏ ซ่าหริ่ม ลิ้มหวานล้า แทรกใส่น้า กะทิเจือ วิตกอกแห้งเครือ ไดเ้สพหริ่มพิมเสนโรย ๏ ล าเจียก ชื่อขนม นึกโฉมฉมหอมชวยโชย ไกลกลิ่นดิ้นแดโดย โหยไห้หาบุหงางาม ๏ มัศกอด กอดอย่างไร น่าสงสัยใคร่ขอถาม กอดเคล้นจะเห็นความ ขนมนามน้ียงัแคลง ๏ ลุดตี่น้ีน่าชม แผ่แผ่นกลมเพียงแผ่นแผง โอชาหน้าไก่แกง แคลงของแขกแปลกกลิ่นอาย ๏ ขนมจีบ เจ้าจีบห่อ งามสมส่อประพิมพ์ประพาย นึกน้องนุ่งจีบกราย ชายพกจีบกลีบแนบเนียน ๏ รสรักยักล าน า ประดิษฐ์ท า ขนมเทียน ค านึงนิ้วนางเจียน เทียนหล่อเหลาเกลากลึงกลม ๏ ทองหยิบ ทิพย์เทียมทัด สามหยิบชัดน่าเชยชม หลงหยิบว่ายาดม ก้มหน้าเมินเขินขวยใจ ๏ ขนมผิงผิงผ่าวร้อน เพียงไฟฟอนฟอกทรวงใน ร้อนนักรักแรมไกล เมื่อไรเห็นจะเย็นทรวง ๏ รังไรโรยด้วยแป้ง เหมือนนกแกล้วท ารังรวง โออ้กนกท้งัปวง ยังยินดีด้วยมีรัง

46 เห่ชมเครื่องหวาน ( ต่อ ) ๏ ทองหยอด ทอดสนิท ทองม้วน มิดคิดความหลัง สองปี สองปิ ดบัง แต่ล าพังสองต่อสอง ๏ งามจริงจ่ามงกุฏ ใส่ชื่อดุจมงกุฏทอง เรียมร ่าค านึงปอง สะอิ้งนอ้งน้นัเคยยล ๏ บัวลอยเล่ห์บัวงาม คิดบัวกามแก้วกับตน ปลงั่เปล่งเคร่งยคุล สถนนุชดุจประทุม ๏ ช่อม่วงเหมาะมีรส หอมปรากฏกลโกสุม คิดสีสไลคลุม หุ้มห่อม่วงดวงพุดตาน ๏ ฝอยทอง เป็ นยองใย เหมือนเส้นไหมไข่ของหวาน คิดความยามเยาวมาลย์ เย็บชุนใช้ไหมทองจีน ฯ

47 บรรณานุกรม ขุนเพชรขุนราม. (2559). ขนมไทยโบราณ เมนูสูตร ข้าวเหนียวสังขยา. [ออนไลน์] แหล่งที่มา : https://www.bloggang.com/m/mainblog.php 05 เมษายน 2561. คุณานนต์ ปากลาวและคณะ. (2558). โครงงานธุรกจิ Amazing ข้าวเหนียว. [ออนไลน์] แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/amazingkhawheniyw601/-1. 05 เมษายน 2561. คณิตกุล ทองร่วง. (2559). ประวตัขินมเมด็ขนุน. [ออนไลน์] แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/projectkanitkun/prawati-khnm-med-khnun-1. 05 เมษายน 2561. คอลีเยาะ สาเมาะ. (2558). ประวัติความเป็ นมาของข้าวต้มมัด. [ออนไลน์] แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/thonah086/subtopic1. 05 เมษายน 2561. ชลธิชา แสงเหลือง. (2558). ประวตัขิองขนมปุยฝ้าย. [ออนไลน์] แหล่งที่มา:https://sites.google.com/site/webreiynkhxmphiwtexr/prawati-khxng-khnm-puy. 05 เมษายน 2561. ไม่ทราบผู้แต่ง. (2559). โครงงานวุ้นผลไม้สด. [ออนไลน์] แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/khorngnganwunphlmisd/thima-laea-khwam-sakhay. 05 เมษายน 2561. ไม่ทราบผู้แต่ง. ลอดช่องแสนอร่อยหอมหวาน. [ออนไลน์] แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/lxdchxngsaenxrxyhxmhwan/prawati. 05 เมษายน 2561. ศิริยากร ภาระเวช. (2557). ขนมตะโก้วุ้นตดัแสนอร่อย. [ออนไลน์] แหล่งที่มา: http://khanoomtakosanngam.blogspot.com/2014/02/1-1.html. 05 เมษายน 2561. ศันสนีย์ อุตมอ่าง. (2560). เอกสารประกอบวิชาอาหารไทย. เพชรบูรณ์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. หมอชาวบ้าน. (2553). ขนมฟักทอง. [ออนไลน์] แหล่งที่มา: https://www.doctor.or.th/article/detail/10992. 05 เมษายน 2561. อารีรัตน์ เนินนาม. (2553). ขนมเล็บมือนาง. [ออนไลน์] แหล่งที่มา: https://cookpad.com/th/recipes/1966801. 05 เมษายน 2561. อารีย์ญา กองสุข. (2559). ประวัติของกล้วยบวชชี. [ออนไลน์] แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/5164areeya/about-us. 05 เมษายน 2561. K@Pook!. (2559). ประวตัขินมเข่ง ขนมเทยีน ขนมมงคลสัญลกัษณ์วนัตรุษจีน. [ออนไลน์] แหล่งที่มา: https://cooking.kapook.com/view79721.html. 05 เมษายน 2561. Yoyyouol. (2555). ขนมไทย. [ออนไลน์] แหล่งที่มา: https://youyouol.wordpress.com/. 05 เมษายน 2561.