การส ารวจท กษะของตนเอง ม ประโยชน ต อการหางานอย างไร

ใบนําเสนองาน วิทยากรพี่เลี้ยง นายมะณู คุมกล่ำ และ นายธีรศักดิ์ อรุณวัชรพันธ ผูเขารับการพัฒนา ชื่อ-สกุล นางนวพร โชติกานต กลุมที่ ๑ เลขที่ ๗ 1.1 การสรุปองคความรูแตละสมรรถนะ และเสนอแนวทางการนำไปใชในการบริหารสถานศึกษา สมรรถนะหลักที่ 1 การดำรงตนของรองผูอำนวยการสถานศึกษาอาชีวศึกษายุคใหม สมรรถนะยอย 1.1 เจตคติและสรางกรอบความคิดแบบเปดกวางในการบริหารสถานศึกษาใหสอดคลอง กับอาชีวศึกษายุคใหม งานบริหาร คือตำแหนงที่มั่นคงและเปนกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนองคกร ซึ่งตองอาศัยคุณสมบัติ หลายอยางนอกเหนือจากใบปริญญา หนาที่ของงานบริหารจึงเปนการผสมผสานทั้งศาสตรและศิลปเพื่อให บุคคลากรในทีมทำงานไดสำเร็จ หนาที่หลักของงานบริหาร คือ ตองรูจักขอบเขตหนาที่ความรับผิดชอบของ ตัวเอง โดยโครงสรางทั่วไปในองคกรจะแบงระดับงานบริหาร ไดแก งานบริหารระดับตน คือ ตำแหนงหัวหนา งาน และผูควบคุม งานบริหารระดับกลาง คือ ตำแหนงหัวหนาแผนก และ ผูชวยผูจัดการ และงานบริหาร ระดับสูง คือ ตำแหนงผูจัดการ และผูอำนวยการ หัวใจสำคัญของทุกระดับตำแหนงงานบริหาร คือการ บริหารงาน ทรัพยากรและบุคลากร ใหเกิดประโยชนสูงสุด งานจะสำเร็จไดนั้นไมไดขึ้นอยูกับตัวผูบริหารเพียง อยางเดียว แตเกิดจากการทำงานรวมกันของหลายฝาย ซึ่งทักษะที่ผูบริหารยุคใหมควรมีประกอบไปดวย Hard Skill, Soft Skill และ Meta Skill ดังนี้ Hard Skill ทักษะเชิงเทคนิคความรู -ทักษะดานเทคนิคการทำงาน (Technical Skill) สิ่งแรกตองมี คือ หากตองการไดรับความไววางใจ ในการเลื่อนตำแหนงเปนผูบริหาร ตองมีความเชี่ยวชาญความรูในสาขาที่เรียนและทำงาน ใชเครื่องมือทาง เทคโนโลยีไดคลอง เปนตัวอยางในการถายทอดวิธีการทำงาน พัฒนาการทำงานของตนเองอยางตอเนื่อง และ แกไขปญหาเฉพาะหนาไดดี Soft Skill คือทักษะทางสังคมที่จำเปนสำหรับการทำงาน -แกปญหาอยางสรางสรรค (Creative Problem Solving) การทำงานมักมาพรอมกับปญหาใหแกไข อยูเสมอ เมื่อเจอปญหา ขอดีคือ ทำใหเราไดฝกฝนกระบวนการทำงานอยูตลอด และเรียนรูที่จะปองกันไมให เกิดขึ้นซ้ำๆ อีก ผูบริหารตองแกปญหาการทำงานใหเร็วและกระทบผลประโยชนใหนอยที่สุด การแกปญหา 3 ทักษะหลัก คือ 1) การฝกวิเคราะหแยกแยะปญหา (Critical Thinking) หาสาเหตุและจัดลำดับสำคัญของ ปญหา 2) ความสามารถในการตัดสินใจ (Decision Making) เลือกวิธีแกอยางเหมาะสม อาจนำเทคโนโลยี ใหมๆ ชวย เพื่อควบคุมงบประมาณและยนระยะเวลา 3) วางแผนระดมบุคคลผูเชี่ยวชาญ (Agile Planning) เมื่อรูแนวทางแกจากนั้นจัดสรรทีมงานที่มีความสามารถ วางแผนงบประมาณ โดยกำหนดระยะเวลาแกปญหา อยางเหมาะสม และประเมินผลทุกครั้ง เพื่อปองกันไมใหเกิดปญหาซ้ำๆ ขึ้นอีก

-ยอมรับความแตกตาง ผูบริหารยุคใหมควรสงเสริมความเทาเทียม ทั้งการทำงานและคุณลักษณะ สวนตัว โดยปราศจากอคติ สรางวัฒนธรรมองคกรยุคใหมที่เห็นคุณคาของทุกคนและสามารถแสดงศักยภาพใน การทำงานไดอยางเต็มที่และสรางสรรค -การสื่อสารอยางเห็นใจ (Empathic Communication) ผูบริหารควรเรียนรู ทักษะการสื่อสาร อยาง เห็นอกเห็นใจ ซึ่งเปนการเปดใจกวางๆ Meta Skil ทักษะการสรางทัศนคติเชิงบวก -รูจักและเขาใจตนเอง (Self-Awareness) ยอมรับขอดีขอแสียของตัวเอง พยายามปรับปรุงใหดีขึ้น รับฟงความคิดเห็นของเพื่อนรวมงานทุกระดับดวย การรูจักและเขาใจตัวเอง จะทำใหเพิ่มประสิทธิภาพในการ สรางสัมพันธไมตรีกับคนอื่นมากขึ้น - ยืดหยุนทางความคิด (Resilience) เปนการฝกฝนทัศนคติแงบวก ยอมรับความผิดพลาด ปรับ แนวคิดไมใหตึงหรือหยอนจนเกินไป ไมยึดติดกับผลลัพทในอดีต เปนทักษะสำคัญที่จะชวยสรางขวัญกำลังใจ ใหกับลูกทีมในการพัฒนาการทำงานตอไป ผูบริหารไมไดทำงานสำเร็จไดดวยตัวคนเดียว สิ่งสำคัญของงาน บริหารคือคุณลักษณะของผูนำที่ทุกคนยอมรับ ผูบริหารอยาเกงดานความรูเฉพาะทางอยางเดียว สาเหตุมาก จากการขาดการฝกฝนทักษะการเปนผูนำกอนเขามารับตำแหนงบริหาร ดังนั้นใครที่อยากกาวมาเปนผูบริหาร ตองฝกฝนทักษะใหครบทั้ง Hard skill, Soft skill และ Meta Skill เพื่อเติบโตเปนผูบริหารยุคใหมที่มีคุณภาพ ทักษะผูบริหารที่ตองการประสบความสำเร็จ ไดแก 1) ทักษะการกำหนดเปาหมาย เปนทักษะแรกที่ สำคัญมาก เพราะผูบริหารมีหนาที่นำทีมไปสูเปาหมายรวมกัน สรางแรงบันดาลใจและกระตุนใหทุกคนรวมมือ กันทำงานเพื่อเปาหมาย บางคนเรียกเปาหมายระยะยาววาวิสัยทัศนหรือ Vision 2) ทักษะการวางแผน ผูบริหารตองมีแผนงาน/แผนกลยุทธที่ชัดเจน แตยืดหยุนปรับเปลี่ยนไดตามสถานการณและนำไปปฏิบัติไดจริง ไมปลอยใหลูกนองคิดกันเองเพื่อไปสูเปาหมาย 3) ทักษะการสื่อสาร การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพจะชวยจูงใจ ใหทีมงานมีแรงผลักดันในการทำงาน มีความอดทนไมยอทอตออุปสรรค มีขวัญกำลังใจ หากผูบริหารสื่อสาร ชัดเจน ลูกนองทุกคนยอมมีความเขาใจและอยากมีสวนรวม จะชวยประสบความสำเร็จมาก ๆ 4) ทักษะการ โคช ผูบริหารยุคเกามักใชแนวทางในการสั่งงานและตัดสินใจดวยตัวเอง แตปจจุบันโลกเปลี่ยนไป อินเตอรเน็ต มีบทบาทมากขึ้น ลูกนองเขาถึงเทคโนโลยีมากขึ้น จึงทำใหกลาตัดสินใจ กลาลงมือทำในสิ่งใหม กลาคิดนอก กรอบ 5) ทักษะการสรางแรงจูงใจ ไมใชการใชเงินในการจายไมอั้น แตอาศัยศิลปะและจิตวิทยาในการเขาใจ ทีมงานทุกคน จะชวยใหผูบริหารเขาใจและรูจักมอบหมายงานใหตรงกับความรูความสามารถ ทักษะสำหรับผูบริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 เพื่อนำไปสูการพัฒนาครู พัฒนาเด็ก มีอยู 5 ทักษะสำคัญๆ ไดแก 1) ผูบริหารตองปรับตัว หูไวตาไว รูทิศทางของตนเองวาจะบริหารสถานศึกษาอยางไร และติดตามขาวสาร นโยบายการศึกษาในระดับตางๆ ซึ่งทุกนโยบายสวนใหญตองการใหการพัฒนาไปสู หองเรียน 2) ทักษะการเปนผูนำการเปลี่ยนแปลงในหองเรียน โดยมีการวางแผน การจัดการ การกำหนดกล ยุทธ 3) ทักษะการเปนผูนำทางวิชาการ นอกจากผูบริหารสถานศึกษากำหนดกลยุทธ วิสัยทัศน แลว ยังตองมี ทักษะจัดการเรียนรู เขาใจจิตวิทยาการเรียนรูของเด็ก และเพิ่มประสิทธิภาพของครูในโรงเรียน 4) ทักษะ ศึกษาหองเรียนเปน ผูบริหารตองรูจักหองเรียน และลงไปดูหองเรียน แลวสามารถแยกไดวาหองเรียนแบบไหน ครูคนไหนสอนเปนเชนไร 5) การเปนโคชชิ่ง (Coaching) ทำอยางไรถึงเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนครู โดยครูก็ตองมีความสุขในการทำงานรวมดวย โคชที่ดีตองไมสั่ง ไมสอน ไมใหคำตอบ และชื่นชมใหกำลังใจเมื่อ คุณครูทำในสิ่งที่ถูก ดังนั้น การจะปฎิรูปการศึกษาใหสำเร็จไดตองแกที่จุดเกิดขึ้น นั่นคือ หองเรียน เพราะครู

และนักเรียนอยูในหองเรียน ผูบริหารตองใหความสำคัญสิ่งที่เกิดขึ้นในหองเรียน และรูจักสรางระบบนิเวศการ เรียนรูใหไดอยางเหมาะสม ทักษะสำคัญของผูบริหารโรงเรียนที่ดีคือ 1) มีความเปนผูนำ ผูบริหารตองเปนผูนำที่เขมแข็ง นาเชื่อถือ และนาเคารพ (Strong Leader) ที่จะทำใหนักเรียน คุณครู หรือผูปกครองมีความเคารพ และรับฟง ในสิ่งที่ผูบริหารพูด ผูบริหารตองเปนกลาง รับฟงความทุกข-สุขของทุกฝาย และชวยแกไขปญหาเพื่อใหทุกฝาย ไดรับความเปนธรรม 2) พรอมที่จะปรับเปลี่ยนและเปลี่ยนแปลง ผูบริหารตองไมกลัวการเปลี่ยนแปลง ในทาง ตรงกันขาม และนำเทคโนโลยีเขามามีสวนรวมในการออกแบบเนื้อหา และวิธีการสอน 3) มีทักษะดาน IT ผูบริหารตองเปดใจ พรอมจะเรียนรูสิ่งใหม ๆ แสดงออกมาใหครูเห็นวา ไมรูก็ไมเปนไร เรามาพรอมเรียนรู ดวยกันนะ 4) มีทักษะการสื่อสาร ผูบริหารจะตองสื่อสารขอมูลที่จำเปน และเลือกชองทางสื่อสารกับบุคคลนั้น ไดอยางเหมาะสม มีน้ำเสียง ทาที หรือเปาหมายในการสื่อสาร 5) พรอมที่จะมอบหมายงานใหผูอื่นทำแทน ผูบริหารควรมอบหมายงานบางงานใหกับใครเปนผูทำแทน และมีความไวใจ (TRUST) ในตัวบุคลากร คุณครู และนักเรียน ในการใหพวกเขาทำงานบางอยางใหสำเร็จ โดยที่มีผูบริหารคอยทำหนาที่เปนโคช (Coach) คอย แนะนำและคอยชวยเหลือ 6) กลาตัดสินใจ มีความเด็ดขาด ผูบริหารมีความกลาตัดสินใจ ไดอยางเด็ดขาด และรวดเร็ว 7) มีทักษะการแกปญหา ผูบริหารตองคอยชวยพวกเขาแกปญหา 8) จัดลำดับความสำคัญใหเปน เมื่อผูบริหารไดยินหรือไดพบเจอปญหาตาง ๆ ในแตละวัน ควรจัดลำดับความสำคัญของปญหา หรือประเด็น ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในแตละวันนั้น เพื่อที่จะใหปญหาแตละเรื่องถูกจัดการไดอยางรวดเร็วและเปนไปไดมากที่สุด 9) มีความเขาอกเขาใจผูอื่น ผูบริหารควรมีบุคลิกที่พรอมรับฟง เปดกวาง ดูเขาถึงงาย จะทำใหทุกคนสามารถ ไววางใจพรอมที่จะพูดคุย มีทักษะในการรับฟงปญหา และใหคำปรึกษาได 10) เขาถึงได ปรากฏตัวใหเห็น บอย ๆ เพื่อใหครู นักเรียน หรือผูปกครองสามารถเขามาพูดคุย ปรึกษาหารือ และรูจักชุมชนโรงเรียนที่อยูไดดี ยิ่งขึ้น และทำใหผูบริหารไดรับฟงความตองการของครู นักเรียนและผูปกครอง กรอบความคิด เปนความเชื่อหรือวิธีการคิดที่สงผลตอพฤติกรรม แบงเปน 2 แบบ คือ 1) กรอบคิด แบบตายตัว เปนความเชื่อวาคุณสมบัติของตัวเองเปนสิ่งที่ไมสามารถเปลี่ยนแปลงได และ 2) กรอบคิดแบบ พัฒนาได เปนความเชื่อวาคุณสมบัติพื้นฐานที่เรามีเปนสิ่งที่พัฒนาไดดวยความพยายาม ซึ่งวิธีการพัฒนากรอบ ความคิด ไดแก สำรวจและฟงเสียงกรอบความคิด หากมีกรอบความคิดแบบตายตัวจะทำใหไมกลาพัฒนา ตัวเอง 2) เลื่อที่จะฟงกรอบความคิดแบบพัฒนาได 3) โตตอบและเถียงกลับ 4) ลงมือปฏิบัติ 5) ยังทำไมได ไมใช ทำไมได ดังนั้นกรอบความคิดเปนสิ่งที่พัฒนาได การเปลี่ยนกรอบความคิดเปนการมองสิ่งตาง ๆ ดวยวิธี คิดใหม ๆ การถูกตัดสินใจจะชวยใหเรียนรู พรอมที่จะพัฒนาโดยตองใชเวลา ความอดทน ความพยายาม และ แรงสนับสนุน

สมรรถนะยอย 1.2 วินัย การรักษาวินัย คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรณวิชาชีพและหลักธรรมมาภิบาล องคความรูที่ไดรับ วินัยและการรักษาวินัย ลูกจางประจําตองรักษาวินัยโดยเครงครัดอยูเสมอ ลูกจางประจําผูใด ฝาฝนขอหามหรือไมปฏิบัติตามขอกําหนดทางวินัยตามที่กําหนดไวในหมวดนี้ผูนั้นเปนผูกระทําผิดวินัย จะตอง ไดรับโทษทางวินัย เวนแตมีเหตุอันควรงดโทษตามที่กําหนดการปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่ราชการ โดยมิชอบ เพื่อใหตนเองหรือผูอื่นไดประโยชนที่มิควรไดเปนการทุจริตตอหนาที่ราชการและเปนความผิดวินัย อยางรายแรง ลูกจางประจําตองตั้งใจปฏิบัติหนาที่ราชการใหเกิดผลดีหรือความกาวหนาแกราชการดวยความ อุตสาหะ เอาใจใส ระมัดระวังรักษาประโยชนของทางราชการ และตองไมประมาทเลินเลอในหนาที่ราชการ หากลูกจางประจําผูใดกระทําผิดวินัยหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวโดยไมสุจริต ใหถือวาผูนั้นกระทําผิดวินัย มีโทษ ทางวินัย 5 สถาน คือ (1) ภาคทัณฑ(2) ตัดคาจาง (3) ลดขั้นคาจาง (4) ปลดออก และ (5) ไลออก “จรรยาบรรณของวิชาชีพ” หมายความวา มาตรฐานการปฏิบัติตนที่กําหนดขึ้นเปนแบบแผน ในการประพฤติตน ซึ่งผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตองปฏิบัติตาม เพื่อรักษาและสงเสริมเกียรติคุณชื่อเสียง และฐานะของผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาใหเปนที่เชื่อถือศรัทธาแกผูรับบริการและสังคม อันจะนํามา ซึ่งเกียรติและศักดิ์ศรีแหงวิชาชีพ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองประพฤติตนตามจรรยาบรรณของ วิชาชีพ และแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ จรรยาบรรณตอตนเอง ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองดานวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน ใหทันตอการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยูเสมอ จรรยาบรรณตอวิชาชีพ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองรัก ศรัทธา ซื่อสัตยสุจริต รับผิดชอบตอ วิชาชีพ และเปนสมาชิกที่ดีขององคกรวิชาชีพ จรรยาบรรณตอผูรับบริการ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองรัก เมตตา เอาใจใส ชวยเหลือ สงเสริม ใหกําลังใจแกศิษย และผูรับบริการ ตามบทบาทหนาที่โดยเสมอหนา ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองสงเสริมใหเกิดการเรียนรู ทักษะ และนิสัย ที่ถูกตองดีงามแกศิษย และผูรับบริการ ตามบทบาทหนาที่อยางเต็มความสามารถ ดวยความบริสุทธิ์ใจ ตองประพฤติปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ตองไมกระทําตนเปนปฏิปกษตอความ เจริญทางกาย สติปญญา จิตใจ อารมณ และสังคมของศิษย และผูรับบริการ ตองใหบริการดวยความจริงใจ และเสมอภาค โดยไมเรียกรับหรือยอมรับผลประโยชนจากการใชตําแหนงหนาที่โดยมิชอบ จรรยาบรรณตอผูรวมประกอบวิชาชีพ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและ กันอยางสรางสรรคโดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สรางความสามัคคีในหมูคณะ จรรยาบรรณตอสังคม ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเปนผูนําในการอนุรักษ และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญา สิ่งแวดลอม รักษาผลประโยชน ของสวนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ธรรมาภิบาลจัดเปนแนวคิดสำคัญในการบริหารงานและการปกครองในปจจุบัน เพราะโลกปจจุบันได หันไปใหความสนใจกับเรื่องของโลกาภิวัตนและธรรมาภิบาลหรือการบริหารจัดการที่ดี มากขึ้น แทนการสนใจ เรื่องการพัฒนาอุตสาหกรรมดังแตกอน เพราะกระแสการพัฒนาเศรษฐกิจมีความสำคัญกระทบถึงกัน การ ติดตอสื่อสาร การดำเนินกิจกรรมในที่หนึ่งมีผลกระทบตออีกที่หนึ่ง การพัฒนาเรื่องของการเมืองการปกครอง ไดมุงใหประชาชนเปนศูนยกลางมากขึ้น หากจะใหประเทศมีการเจริญเติบโตอยางยั่งยืน การมุงดำเนินธุรกิจ

หรือปฏิบัติราชการตางๆโดยไมใหความสนใจถึงเรื่องของสังคม ประชาชน และสิ่งแวดลอมจึงเปนไปไมไดอีก ตอไป การมีการบริหารจัดการที่ดีจึงเขามาเปนเรื่องที่ทุกภาคสวนใหความสำคัญและเริ่มมีการนำไปปฏิบัติกัน มากขึ้น ธรรมาภิบาลหรือการบริหารจัดการที่ดี เปนการบริหารงานใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตั้งมั่นอยู บนหลักการบริหารงานที่เที่ยงธรรม สุจริต โปรงใส ตรวจสอบได มีจิตสำนึกในการทำงาน มีความรับผิดชอบใน สิ่งที่ไดกระทำ พรอมตอบคำถามหรือตอบสนองตอผูมีสวนไดสวนเสียและพรอมรับผิด มีศีลธรรม จริยธรรมใน การทำงาน การคำนึงถึงการมีสวนรวมในการรับรู ตัดสินใจ ดำเนินการและประเมินผล ตลอดจนรวมรับผลจาก การตัดสินใจรวมนั้น มีการสงเสริมสถานภาพหญิงชาย และการใหความสำคัญกับกลุมตางๆ รวมทั้งคนดอย โอกาส ตลอดจนการสรางความเทาเทียมกันทางสังคมในการรับโอกาสตางๆที่ประชาชนพึงจะไดรับจากรัฐดวย สมรรถนะยอยที่ 1.3 การดำรงตนของรองผูอำนวยการสถานศึกษาอยางปลอดภัยและมีความสุข การดำรงตนของผูบริหารสถานศึกษาใหปลอดภัยและมีความสุขนั้น ควรนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาใชในการบริหารงานในสถานศึกษามาใชในการทำงาน คือ 3 หวง ไดแก พอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุมกันในตัวที่ดี และ 2 เงื่อนไข ไดแก ความรู และคุณธรรม และ 4 สมดุล (เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม) หลักการครองตน ครองคน ครองงาน การครองตน ไดแก ๑) การพึ่งตนเอง ขยันหมั่นเพียร และมีความรับผิดชอบ 2) การประหยัดและเก็บ ออม 3) การรักษาระเบียบวินัยและเคารพกฎหมาย 4) การปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา 5) การมีความ จงรักภักดีตอชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริยสวนการครองคน ไดแก ๑) ความสามารถในการประสาน สัมพันธและสรางความเขาใจอันดีกับผูบังคับบัญชา เพื่อนรวมงาน ผูใตบังคับบัญชา และผูมาติดตองาน 2) ความสามารถในการรวมทำงานเปนกลุม สามารถจูงใจใหเกิดการยอมรับและใหความชวยเหลือ 3) ใหบริการแกผูมาติดตองานดวยความเสมอภาค แนะนำสิ่งที่เปนประโยชน4) การเปนผูมีความเปนธรรมทั้ง ตอตนเองและตอผูอื่น 5) การเสริมสรางความสามัคคีและรวมกิจกรรมของหมูคณะทั้งในและนอกหนวยงาน และการครองงาน ไดแก 1) ความรับผิดชอบตอหนาที่ 2) ความรู ความสามารถ และความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงาน 3) ความคิดริเริ่มสรางสรรคและปรับปรุงงาน 4) ความพากเพียรในการทำงาน และมีผลงานที่เปน ที่นาพอใจ และ 5) การคำนึงถึงประโยชนของสวนรวมและประชาชน การปฏิบัติงานไดยึดหลักผลประโยชนของสวนรวมและประชาชนเปนสำคัญ และ สอดคลองกับความ ตองการของสวนรวมและประชาชน โดยคำนึงถึงการใชวัสดุ อุปกรณและสาธารณูปโภคไดอยางประหยัดและ เหมาะสม ตลอดจนรวมมือ ชวยเหลือ และประสานงานระหวางราชการกับประชาชนอยางทุมเทและจริงใจ