กฎหมายท ควบค ม น ำอ บเฉา ราชก จจาน เบกษา

ข้อมูลโดย : ส่วนพัฒนาและบริหารระบบสารสนเทศ , ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ดาวน์โหลด

เล่ม ๑๓๓ ตอนท่ี ๗๒ ก หน้า ๘ ๑๙ สงิ หาคม ๒๕๕๙ ราชกจิ จานุเบกษา

กฎกระทรวง

กาํ หนดลักษณะอาคารประเภทอ่ืนท่ใี ช้ประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. ๒๕๕๙

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ (๓) แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และมาตรา ๘ (๑) (๒) (๗) และ (๘) แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไข เพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๓ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย โดยคําแนะนําของคณะกรรมการควบคุมอาคารออกกฎกระทรวงไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี

ขอ้ ๑ กฎกระทรวงน้ใี หใ้ ช้บงั คบั ได้มีกาํ หนดหา้ ปี ข้อ ๒ ในกรณีท่ีกฎกระทรวงน้ีมิได้กําหนดเรื่องใดไว้ ให้นําข้อกําหนดเรื่องนั้นตามกฎกระทรวงอื่น ข้อบัญญัติท้องถ่ิน หรือประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ท่ีใช้บังคับเป็นการทั่วไป มาใช้บังคับแก่อาคารตามกฎกระทรวงนี้โดยอนุโลม เว้นแต่ข้อกําหนดเกี่ยวกับ บันไดหนไี ฟใหใ้ ชบ้ ังคบั ตามท่กี ําหนดในกฎกระทรวงนี้ ข้อ ๓ กฎกระทรวงน้ีให้ใช้บังคับแก่อาคารที่มีอยู่ก่อนวันท่ีกฎกระทรวงน้ีใช้บังคับและ จะเปล่ียนการใช้อาคารมาประกอบธุรกจิ โรงแรมตามกฎหมายวา่ ดว้ ยโรงแรม ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) โรงแรมทใี่ ห้บริการเฉพาะห้องพกั (๒) โรงแรมทใี่ ห้บริการห้องพกั และห้องอาหาร หรือสถานทีส่ าํ หรับบริการอาหารหรือสถานที่ สําหรับประกอบอาหาร ข้อ ๔ การยื่นคําขอรับใบอนุญาตเปลี่ยนการใช้อาคารมาประกอบธุรกิจโรงแรมตามกฎกระทรวงน้ี ตอ้ งดาํ เนินการให้แลว้ เสร็จตามทไ่ี ด้รับอนญุ าตภายในห้าปนี ับแต่วนั ทกี่ ฎกระทรวงน้ีใชบ้ งั คับ ในกรณีท่ีต้องมีการดัดแปลงอาคารก่อนการขอรับใบอนุญาตเปล่ียนการใช้อาคาร ให้ย่ืนคําขอรับ ใบอนุญาตหรือแจ้งและดําเนินการตามมาตรา ๓๙ ทวิ เพ่ือดัดแปลงอาคารภายในสองปีนับแต่วันที่ กฎกระทรวงน้ีใชบ้ ังคบั ข้อ ๕ อาคารท่ีจะเปลี่ยนการใช้มาประกอบธุรกิจโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ให้มีที่ว่างของอาคารไม่น้อยกว่า ๑๐ ใน ๑๐๐ ส่วนของพ้ืนท่ีช้ันใดช้ันหน่ึงท่ีมากที่สุดของอาคาร และตอ้ งมลี ักษณะ ดงั ต่อไปน้ี

เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๗๒ ก หน้า ๙ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๙ ราชกิจจานุเบกษา

(๑) อาคารไมเ่ กินสองชน้ั ทม่ี ีจาํ นวนหอ้ งพกั ในอาคารหลงั เดียวกนั ไม่เกนิ ๑๐ ห้อง (ก) ช่องทางเดินในอาคารกว้างไม่นอ้ ยกว่า ๑ เมตร (ข) บันไดกว้างไม่น้อยกว่า ๐.๙๐ เมตร และต้องมีระยะห่างตามแนวทางเดินไม่เกิน

๔๐ เมตร จากจุดทไี่ กลสดุ บนพ้นื ชัน้ น้นั (ค) หน่วยน้ําหนักบรรทุกจรสําหรับส่วนต่าง ๆ ของอาคารให้คํานวณโดยเฉลี่ยไม่ต่ํากว่า

๑๕๐ กโิ ลกรมั ตอ่ ตารางเมตร (ง) ติดต้ังเคร่ืองดับเพลิงแบบมือถือหรือเครื่องดับเพลิงยกหิ้วตามประเภท ขนาด

และสมรรถนะตามมาตรฐานเครื่องดับเพลิงแบบมือถือหรือเครื่องดับเพลิงยกห้ิวของกรมโยธาธิการและผังเมือง ไม่น้อยกว่าช้ันละหนึ่งเคร่ือง โดยต้องติดตั้งให้ส่วนบนสุดของตัวเครื่องสูงจากระดับพ้ืนอาคารไม่เกิน ๑.๕๐ เมตร ในท่ีมองเห็น สามารถอา่ นขอ้ แนะนําการใช้ได้ และสามารถเข้าใช้สอยได้สะดวก

(๒) อาคารท่ไี มใ่ ชอ่ าคารตาม (๑) ทมี่ จี ํานวนหอ้ งพักในช้ันเดียวกันไมเ่ กิน ๒๐ หอ้ ง (ก) ช่องทางเดินในอาคารมคี วามกวา้ งไม่นอ้ ยกวา่ ๑.๒๐ เมตร (ข) หน่วยนํ้าหนักบรรทุกจรสําหรับอาคารให้เป็นไปตามกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๘ (๒)

และ (๓) เว้นแต่หน่วยนํ้าหนักบรรทุกจรของบันไดและช่องทางเดินที่เปล่ียนการใช้อาคารจากห้องแถว หรอื ตกึ แถว หน่วยนํ้าหนกั บรรทกุ จรตอ้ งไม่ตํ่ากวา่ ๒๐๐ กิโลกรมั ตอ่ ตารางเมตร

(๓) อาคารท่ไี ม่ใชอ่ าคารตาม (๑) ที่มจี าํ นวนหอ้ งพักในช้ันเดียวกนั เกินกว่า ๒๐ ห้อง (ก) ช่องทางเดนิ ในอาคารมคี วามกว้างไมน่ อ้ ยกวา่ ๑.๕๐ เมตร (ข) หน่วยน้ําหนักบรรทุกจรสําหรับอาคารให้เป็นไปตามกฎกระทรวงท่ีออกตามมาตรา ๘ (๒)

และ (๓) เว้นแต่หน่วยน้ําหนักบรรทุกจรของบันไดและช่องทางเดินท่ีเปล่ียนการใช้จากห้องแถว หรือตึกแถว หน่วยนา้ํ หนกั บรรทกุ จรต้องไมต่ ่ํากว่า ๒๐๐ กโิ ลกรัมตอ่ ตารางเมตร

(๔) เสา คาน ตง พ้ืน บันได โครงหลังคา และผนังของอาคารตั้งแต่สามช้ันขึ้นไป ต้องทําด้วยวสั ดุถาวรทเ่ี ป็นวสั ดุทนไฟ

(๕) อาคารต้ังแตส่ ่ีช้นั ขนึ้ ไปต้องมบี ันไดหนไี ฟทม่ี ีลักษณะ ดังตอ่ ไปน้ี (ก) บันไดหนีไฟที่ไม่ใช่บันไดในแนวดิ่งซึ่งมีความเหมาะสมกับพื้นท่ีของอาคารแต่ละช้ัน

เพ่ือให้สามารถลาํ เลียงบคุ คลท้งั หมดในอาคารออกนอกอาคารไดภ้ ายในหนึง่ ชว่ั โมง (ข) บันไดหนีไฟภายในอาคารต้องมีผนังทุกด้านโดยรอบที่ทําด้วยวัสดุทนไฟได้ไม่น้อยกว่า

๓๐ นาที (ค) กรณีท่ีนําบันไดหลักมาเป็นบันไดหนีไฟหรือมีบันไดหนีไฟเพิ่มจากบันไดหลัก

ชอ่ งประตูสบู่ ันไดหนีไฟตอ้ งเป็นบานเปิดทําด้วยวัสดุทนไฟได้ไม่น้อยกว่า ๓๐ นาที พร้อมติดตั้งอุปกรณ์ ชนิดทบ่ี งั คบั ให้บานประตูปดิ ไดเ้ องเพื่อป้องกันควันและเปลวไฟมิให้เข้าสูบ่ นั ไดหนีไฟ

(ง) ต้องมีทางเดนิ ไปยังบันไดหนีไฟโดยไมม่ ีสิ่งกดี ขวาง (จ) ตอ้ งมีความลาดชันของบนั ไดน้อยกวา่ ๖๐ องศา

เล่ม ๑๓๓ ตอนท่ี ๗๒ ก หนา้ ๑๐ ๑๙ สงิ หาคม ๒๕๕๙ ราชกิจจานุเบกษา

ข้อ ๖ การนําอาคารประเภทอื่นมาประกอบธุรกิจโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ให้ใช้ข้อกําหนดเก่ียวกับแนวอาคาร ระยะด่ิงของอาคาร ระยะหรือระดับระหว่างอาคารกับอาคาร หรือเขตท่ีดินของผู้อ่ืน หรือระหว่างอาคารกับถนน ตรอก ซอย ทางเท้า ทางหรือที่สาธารณะ และ ท่ีจอดรถยนตต์ ามประเภทอาคารท่ีกฎหมายกําหนดในขณะท่ีได้รับอนุญาตใหก้ ่อสร้างหรอื ดัดแปลงอาคารนั้น

ใหไ้ ว้ ณ วันที่ ๑๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา

รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย

เลม่ ๑๓๓ ตอนท่ี ๗๒ ก หนา้ ๑๑ ๑๙ สงิ หาคม ๒๕๕๙ ราชกิจจานุเบกษา

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มีการนําอาคารประเภทอ่ืนมาให้บริการ ท่ีพักแก่ประชาชนเป็นการทั่วไป ซึ่งลักษณะและโครงสร้างของอาคารที่มีอยู่เดิมไม่สอดคล้องกับอาคาร ท่ีจะนํามาประกอบธุรกิจโรงแรมตามท่ีกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารกําหนด จึงทําให้อาคารดังกล่าว ไม่สามารถขอรับใบอนุญาตเพ่ือประกอบธุรกิจโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรมได้ เพื่อให้อาคารที่มีอยู่แล้ว ซ่ึงได้มีการปรับปรุงแก้ไขให้มีลักษณะหรือมาตรฐานความปลอดภัยของอาคารตามที่กฎหมายกําหนด สามารถขออนญุ าตเปลย่ี นการใชอ้ าคารเพอื่ ประกอบธรุ กิจโรงแรมได้ จงึ จําเป็นตอ้ งออกกฎกระทรวงนี้

เล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๘๕ ก หน้า ๑ ๒๕ ตลุ าคม ๒๕๖๑ ราชกิจจานเุ บกษา

กฎกระทรวง

กำหนดลักษณะอำคำรประเภทอน่ื ท่ีใชป้ ระกอบธรุ กิจโรงแรม (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑

อำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ ๕ วรรคหน่ึง (๓) แห่งพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ. ๒๕๒๒ และมำตรำ ๘ วรรคหน่ึง (๑) (๒) และ (๗) แห่งพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ. ๒๕๒๒ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระรำชบัญญัติควบคมุ อำคำร (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๔๓ รัฐมนตรี ว่ำกระทรวงมหำดไทยโดยคำแนะนำของคณะกรรมกำรควบคมุ อำคำรออกกฎกระทรวงไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี

ขอ้ ๑ ให้ยกเลิกควำมในข้อ ๔ แห่งกฎกระทรวงกำหนดลักษณะอำคำรประเภทอื่น ท่ีใชป้ ระกอบธุรกจิ โรงแรม พ.ศ. ๒๕๕๙ และให้ใชค้ วำมตอ่ ไปน้แี ทน

“ข้อ ๔ อำคำรที่จะดัดแปลงหรอื อำคำรท่จี ะเปลยี่ นกำรใชม้ ำประกอบธรุ กจิ โรงแรมตำมกฎกระทรวงนี้ ต้องได้รับใบรับรองกำรดัดแปลงอำคำรหรือใบอนุญำตเปลี่ยนกำรใช้อำคำรมำประกอบธุรกิจโรงแรม แล้วแต่กรณี ภำยในหำ้ ปนี ับแต่วนั ทีก่ ฎกระทรวงนใ้ี ช้บงั คับ”

ขอ้ ๒ ให้ยกเลิกควำมในข้อ ๕ แห่งกฎกระทรวงกำหนดลักษณะอำคำรประเภทอื่นท่ีใช้ ประกอบธรุ กิจโรงแรม พ.ศ. ๒๕๕๙ และให้ใช้ควำมต่อไปนี้แทน

“ข้อ ๕ อำคำรท่จี ะดัดแปลงหรืออำคำรท่ีจะเปล่ียนกำรใชม้ ำประกอบธรุ กิจโรงแรมตำมกฎหมำย ว่ำด้วยโรงแรม ให้มีท่ีว่ำงของอำคำรไม่น้อยกว่ำ ๑๐ ใน ๑๐๐ ส่วนของพ้ืนที่ชน้ั ใดช้นั หนง่ึ ทมี่ ำกท่สี ุด ของอำคำร และต้องมีลักษณะ ดงั ตอ่ ไปนี้

(๑) อำคำรไม่เกินสองชน้ั ท่มี จี ำนวนหอ้ งพักในอำคำรหลังเดียวกันไม่เกิน ๑๐ ห้อง (ก) ช่องทำงเดนิ ในอำคำรกวำ้ งไม่นอ้ ยกวำ่ ๑ เมตร (ข) บันไดกวำ้ งไมน่ อ้ ยกว่ำ ๐.๙๐ เมตร และตอ้ งมรี ะยะหำ่ งตำมแนวทำงเดนิ ไมเ่ กนิ ๔๐ เมตร

จำกจดุ ทไี่ กลสุดบนพ้ืนชน้ั น้นั (ค) หน่วยน้ำหนักบรรทุกจรสำหรับส่วนต่ำง ๆ ของอำคำรให้คำนวณโดยเฉล่ียไม่ต่ำกวำ่

๑๕๐ กโิ ลกรมั ต่อตำรำงเมตร

เล่ม ๑๓๕ ตอนที่ ๘๕ ก หน้า ๒ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๑ ราชกิจจานเุ บกษา

(ง) มีกำรติดต้ังเคร่ืองดับเพลิงแบบมือถือหรือเคร่ืองดับเพลิงยกหิ้วตำมประเภท ขนำด และสมรรถนะตำมมำตรฐำนเครื่องดับเพลงิ แบบมือถอื หรือเคร่ืองดบั เพลิงยกห้ิวของกรมโยธำธิกำรและผงั เมอื ง ไมน่ อ้ ยกว่ำชน้ั ละหนึง่ เคร่ือง โดยต้องใหส้ ่วนบนสดุ ของตัวเครื่องสงู จำกระดับพน้ื อำคำรไมเ่ กนิ ๑.๕๐ เมตร ในท่มี องเหน็ สำมำรถอ่ำนข้อแนะนำกำรใชไ้ ด้ และสำมำรถเข้ำใช้สอยไดส้ ะดวก

(๒) อำคำรท่ีไมใ่ ชอ่ ำคำรตำม (๑) ทีม่ จี ำนวนหอ้ งพกั ในชน้ั เดียวกันไม่เกิน ๒๐ ห้อง (ก) ชอ่ งทำงเดนิ ในอำคำรมคี วำมกว้ำงไม่น้อยกว่ำ ๑.๒๐ เมตร (ข) หน่วยน้ำหนักบรรทุกจรสำหรับอำคำรให้เป็นไปตำมกฎกระทรวงที่ออกตำมมำตรำ ๘ (๒)

และ (๓) เว้นแต่หน่วยน้ำหนกั บรรทุกจรของบันไดและช่องทำงเดนิ ที่เปลี่ยนกำรใช้อำคำรจำกหอ้ งแถว หรอื ตึกแถว หน่วยน้ำหนักบรรทุกจรต้องไมต่ ่ำกวำ่ ๒๐๐ กโิ ลกรัมตอ่ ตำรำงเมตร

(๓) อำคำรทไ่ี ม่ใช่อำคำรตำม (๑) ท่มี ีจำนวนห้องพกั ในช้ันเดยี วกันเกนิ กวำ่ ๒๐ หอ้ ง (ก) ชอ่ งทำงเดินในอำคำรมีควำมกว้ำงไม่น้อยกวำ่ ๑.๕๐ เมตร (ข) หน่วยน้ำหนกั บรรทุกจรสำหรับอำคำรใหเ้ ป็นไปตำมกฎกระทรวงท่อี อกตำมมำตรำ ๘ (๒)

และ (๓) เว้นแต่หน่วยน้ำหนักบรรทุกจรของบันไดและช่องทำงเดินที่เปล่ียนกำรใช้จำกห้องแถว หรอื ตึกแถว หน่วยน้ำหนักบรรทุกจรตอ้ งไม่ต่ำกว่ำ ๒๐๐ กโิ ลกรัมตอ่ ตำรำงเมตร

(๔) อำคำรสำมช้ันท่ีมีเสำ คำน ตง พื้น บันได โครงหลังคำ หรือผนังของอำคำรท่ีทำด้วย วสั ดุไม่ทนไฟ ตอ้ งตดิ ตงั้ ระบบควำมปลอดภัยด้ำนอคั คีภยั เพ่มิ เตมิ ทุกชน้ั ตำมทกี่ ำหนด ดังตอ่ ไปนี้

(ก) ตดิ ต้งั ระบบสัญญำณเตือนเพลิงไหม้ โดยอยำ่ งนอ้ ยต้องประกอบดว้ ย ๑) อุปกรณ์ส่งสัญญำณเพื่อให้หนไี ฟท่ีสำมำรถส่งเสียงหรือสัญญำณใหค้ นทอ่ี ยู่ในอำคำร

ไดย้ ินหรือทรำบอย่ำงทั่วถึง ๒) อุปกรณ์แจ้งเหตุที่มีทั้งระบบแจ้งเหตุอัตโนมัติ และระบบแจ้งเหตุท่ีใช้มือ

เพอ่ื ให้อุปกรณ์ตำม ๑) ทำงำน (ข) ติดต้ังระบบไฟส่องสว่ำงสำรองเพ่ือให้มีแสงสว่ำงสำมำรถมองเห็นช่องทำงเดินได้

ขณะเพลงิ ไหม้ และมีป้ำยบอกชั้นและป้ำยบอกทำงหนีไฟท่ดี ำ้ นในและด้ำนนอกของประตหู นีไฟด้วยตัวอักษร ท่สี ำมำรถมองเหน็ ไดช้ ดั เจนซงึ่ ตอ้ งมีขนำดไมเ่ ล็กกว่ำ ๑๐ เซนติเมตร

(ค) ติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบมือถือหน่ึงเครื่องต่อพ้ืนท่ีอำคำรไม่เกิน ๒๐๐ ตำรำงเมตร ทกุ ระยะไมเ่ กนิ ๓๐ เมตร แต่ไมน่ ้อยกวำ่ ชนั้ ละสองเคร่ือง

(๕) อำคำรตั้งแตส่ ี่ชน้ั ข้ึนไปต้องมเี สำ คำน ตง พ้ืน บนั ได โครงหลังคำ และผนังของอำคำร ท่ีทำด้วยวสั ดุถำวรที่เปน็ วสั ดทุ นไฟ และต้องมีบนั ไดหนีไฟที่มีลักษณะ ดังตอ่ ไปนี้

(ก) บันไดหนีไฟท่ีไม่ใช่บันไดในแนวด่ิงซึ่งมีควำมเหมำะสมกับพื้นท่ีของอำคำรแต่ละชั้น เพ่ือใหส้ ำมำรถลำเลียงบุคคลทง้ั หมดในอำคำรออกนอกอำคำรไดภ้ ำยในหนง่ึ ช่ัวโมง

เล่ม ๑๓๕ ตอนที่ ๘๕ ก หน้า ๓ ๒๕ ตลุ าคม ๒๕๖๑ ราชกจิ จานุเบกษา

(ข) บันไดหนีไฟภำยในอำคำรต้องมีผนังทุกด้ำนโดยรอบท่ีทำด้วยวัสดุทนไฟได้ไม่นอ้ ยกวำ่ ๓๐ นำที

(ค) กรณีที่นำบันไดหลักมำเป็นบันไดหนีไฟหรือมีบันไดหนีไฟเพิ่มจำกบันไดหลัก ชอ่ งประตูสูบ่ นั ไดหนีไฟต้องเป็นบำนเปิดทำด้วยวัสดุทนไฟได้ไมน่ ้อยกว่ำ ๓๐ นำที พร้อมติดตงั้ อปุ กรณ์ ชนดิ ทบ่ี ังคบั ใหบ้ ำนประตปู ิดได้เองเพ่อื ป้องกันควนั และเปลวไฟมิให้เขำ้ สบู่ ันไดหนีไฟ

(ง) ต้องมที ำงเดินไปยงั บนั ไดหนไี ฟโดยไมม่ สี ิง่ กดี ขวำง (จ) ตอ้ งมีควำมลำดชนั ของบันไดน้อยกว่ำ ๖๐ องศำ”

ให้ไว้ ณ วนั ที่ 11 ตลุ ำคม พ.ศ. ๒๕๖๑ พลเอก อนพุ งษ์ เผำ่ จนิ ดำ

รฐั มนตรีวำ่ กำรกระทรวงมหำดไทย

เล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๘๕ ก หน้า ๔ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๑ ราชกิจจานเุ บกษา

หมำยเหตุ :- เหตุผลในกำรประกำศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยท่ีเป็นกำรสมควรแก้ไขเพิ่มเติมข้อกำหนด เก่ียวกับกำรดัดแปลงอำคำรหรือกำรเปลี่ยนกำรใช้อำคำรมำประกอบธุรกิจโรงแรม เพ่ือขยำยระยะเวลำ ให้เจ้ำของหรือผู้ครอบครองอำคำรประเภทอื่นมีระยะเวลำในกำรดำเนินกำรเพ่ือให้ได้รับใบรับรองกำรดัดแปลงอำคำร หรือใบอนุญำตเปล่ียนกำรใช้อำคำรมำประกอบธุรกิจโรงแรมได้ภำยในห้ำปีนับแต่วันที่กฎกระทรวงกำหนด ลักษณะอำคำรประเภทอื่นท่ีใช้ประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. ๒๕๕๙ ใช้บังคับ และแก้ไขเพ่ิมเติมกำรกำหนด เกี่ยวกับลักษณะอำคำรที่จะดัดแปลงมำประกอบธุรกิจโรงแรม ตลอดจนควบคุมให้อำคำรที่จะดัดแปลง มำประกอบธุรกิจโรงแรมมีลักษณะหรือมำตรฐำนควำมปลอดภัยของอำคำรตำมที่กำหนด จึงจำเป็นต้อง ออกกฎกระทรวงนี้

เลม่ ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๑๕๐ ง หนา้ ๒๔ ๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ราชกจิ จานุเบกษา

คําสงั่ หัวหนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ

ที่ ๓๕/๒๕๕๙ เร่ือง มาตรการในการแก้ไขปัญหาการครอบครองและใช้ประโยชน์ท่ดี ินป่าภูทับเบกิ

ในทอ้ งทีต่ ําบลวังบาลและตําบลบา้ นเนิน อาํ เภอหล่มเก่า จงั หวัดเพชรบูรณ์

โดยที่ปรากฏว่าพ้ืนที่ป่าภูทับเบิกในท้องที่อําเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ ซึ่งเป็นพื้นท่ีป่า ตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช ๒๔๘๔ ท่ีอยู่ในพ้ืนที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ํา ชั้นที่ ๑ A ชั้นท่ี ๑ B และชัน้ ท่ี ๒ ซง่ึ เปน็ แหล่งต้นน้ําลําธารท่สี ําคญั ของแม่น้ําป่าสัก ถูกบุกรุก ถือครอง โดยฝ่าฝืนกฎหมาย วา่ ดว้ ยป่าไม้ และนาํ ไปกอ่ สร้างโรงแรม สถานที่พักตากอากาศ และร้านค้าท่ีมีวัตถุประสงค์ในทางธุรกิจ อีกทั้งสิ่งก่อสร้างดังกล่าวยังมีความไม่ม่ันคงแข็งแรงตามหลักวิศวกรรมหรือมาตรฐานความปลอดภัย ด้านวิศวกรรม ปิดกั้นทางไหลของน้ํา และเสี่ยงต่อการพังทลายของดิน อันอาจก่อให้เกิดอุบัติภัย และความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินของนักท่องเท่ียวและประชาชนในพ้ืนท่ี รวมท้ังส่งผลกระทบต่อ ระบบนิเวศนไ์ ด้ จงึ มีความจําเปน็ ตอ้ งกาํ หนดมาตรการในการระงับ ปราบปราม และป้องกันการกระทํา การท่ีมีผลกระทบในพื้นที่ป่าภูทับเบิก เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงเพ่อื ให้มีการเรง่ ฟืน้ ฟปู ่าภูทบั เบิกให้กลับคืนสู่สภาพเดิม รวมทั้งอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ทม่ี ีความสําคญั ตอ่ ระบบเศรษฐกจิ สงั คม และส่ิงแวดลอ้ ม

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ จงึ มีคําสง่ั ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ในคําสงั่ นี้ “ป่าภูทับเบิก” หมายความว่า “ป่า” ตามมาตรา ๔ (๑) แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช ๒๔๘๔ ในท้องที่หมู่ที่ ๑๔ บ้านทับเบิก หมู่ที่ ๑๖ บ้านทับเบิกใหม่ หมู่ท่ี ๑๗ บ้านนาสะอุ้ง ตําบลวังบาล และหมทู่ ่ี ๘ บ้านนํา้ เพยี งดนิ ตําบลบา้ นเนนิ อําเภอหลม่ เก่า จังหวดั เพชรบรู ณ์ “ส่ิงปลูกสร้าง” หมายความว่า โรงแรม ร้านค้า สถานท่ีพักตากอากาศ อาคารหรือสถานที่ ที่ใช้เพ่ือประกอบธุรกิจให้บริการที่พักช่ัวคราวสําหรับบุคคลอ่ืนโดยมีค่าตอบแทน ส่ิงที่เป็นอันตราย หรือสิ่งที่ทําให้ป่าเสื่อมสภาพ และสิ่งปลูกสร้างอ่ืนท่ีอาจก่อให้เกิดอุบัติภัยหรือส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ ตามทอี่ ธบิ ดกี รมป่าไมป้ ระกาศกําหนดเพ่มิ เติม “เจ้าหนา้ ที”่ หมายความวา่ ผวู้ า่ ราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ นายอําเภอหล่มเก่า ผู้อํานวยการ สํานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ ๔ สาขาพิษณุโลก พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเพชรบูรณ์ และโยธาธกิ ารและผังเมืองจังหวดั เพชรบรู ณ์ “ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่” หมายความว่า เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือบุคคลใด ๆ ซึ่งเจ้าหน้าที่มอบหมาย ให้ดําเนินการตามคําสงั่ นี้

เลม่ ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๑๕๐ ง หนา้ ๒๕ ๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ราชกจิ จานุเบกษา

ข้อ ๒ ภายในพ้นื ทปี่ ่าภูทบั เบิก ใหเ้ จ้าหนา้ ทีม่ ีอาํ นาจ ดังต่อไปน้ี (๑) สั่งให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองสิ่งปลูกสร้างออกจากป่าภูทับเบิกภายในเวลาที่กําหนด และงดเวน้ การกระทาํ ใด ๆ ในปา่ ภูทบั เบกิ (๒) ส่ังให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองส่ิงปลูกสร้างในป่าภูทับเบิกร้ือถอน ทําลาย หรือกระทําการ อ่ืนใดแก่ส่ิงปลูกสร้าง เพื่อให้ป่าภูทับเบิกกลับคืนสภาพเดิมหรือใกล้เคียงสภาพเดิม แล้วแต่กรณี เพื่อประโยชนแ์ ก่รฐั ในการเขา้ ฟ้ืนฟแู ละอนรุ ักษท์ รพั ยากรป่าไม้ (๓) ยึด รื้อถอน ทําลาย หรือกระทําการอื่นใดแก่สิ่งปลูกสร้าง เพื่อให้ป่าภูทับเบิกกลับคืน สภาพเดิมหรือใกล้เคียงสภาพเดิม ในกรณีที่เจ้าของหรือผู้ครอบครองไม่ปฏิบัติตาม (๒) หรือไม่ปรากฏ ตัวเจ้าของหรือผคู้ รอบครองส่งิ ปลกู สร้าง ข้อ ๓ ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองชดใช้หรือออกค่าใช้จ่ายท่ีเกิดขึ้นจากการที่เจ้าหน้าที่ ไดป้ ฏบิ ัติการอย่างหนง่ึ อย่างใดตามข้อ ๒ (๓) ข้อ ๔ การปฏิบัติหน้าที่ตามคําสั่งน้ีไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครองและกฎหมายว่าดว้ ยการจัดตัง้ ศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดปี กครอง ข้อ ๕ เจ้าหน้าท่ีและผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติหน้าที่ตามคําส่ังน้ี ท่ีกระทําไปตามอํานาจ หน้าท่ีโดยสุจริต ไม่เลือกปฏิบัติ และไม่เกินสมควรแก่เหตุ ย่อมได้รับความคุ้มครองและไม่ต้องรับผิด ทางแพ่ง ทางอาญา และทางวินัย แต่ไม่ตัดสิทธิผู้ได้รับความเสียหายที่จะเรียกร้องค่าเสียหายจากทางราชการ ตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี ข้อ ๖ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามคําส่ังน้ี ให้เจ้าหน้าท่ีและผู้ช่วยเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงาน ตามประมวลกฎหมายอาญาและเป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตํารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา ขอ้ ๗ คาํ สง่ั น้ใี หใ้ ช้บังคบั ตั้งแต่วันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นตน้ ไป

สัง่ ณ วันที่ ๕ กรกฎาคม พุทธศกั ราช ๒๕๕๙ พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา

หัวหน้าคณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ

หน้า ๑๗ ๑๒ มถิ ุนายน ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๕๑ ง ราชกิจจานเุ บกษา

คำส่งั หวั หนำ้ คณะรกั ษำควำมสงบแห่งชำติ

ท่ี 6/๒๕๖๒ เรือ่ ง มำตรกำรสง่ เสรมิ และพัฒนำมำตรฐำนกำรประกอบธุรกิจโรงแรมบำงประเภท

โดยที่รัฐบำลมีนโยบำยส่งเสริมกำรประกอบอำชีพสุจริตของชุมชนเพ่ือให้เศรษฐกิจมีควำมคล่องตัว เกิดกำรกระจำยรำยได้ เกิดกำรสร้ำงงำน ขณะเดียวกันก็ลดควำมขัดแย้งในชุมชนและจัดให้กิจกำร ท่ีอยู่นอกระบบเข้ำมำอยู่ในระบบให้ถูกต้องตำมกฎหมำย มีกำรบริหำรจัดกำรท่ีดีและมีกำรตรวจสอบ ควบคุมโดยรัฐ ตำมหลักกำรดังกล่ำวน้ีปรำกฏว่ำมีผู้นำอำคำรมำให้บริกำรเป็นท่ีพักแก่ประชำชนบ้ำง ใช้บ้ำนเรือนที่อยู่อำศัยให้บริกำรในรูปแบบของโรงแรมตำมแหล่งท่องเที่ยวต่ำง ๆ เพื่อหำรำยได้บ้ำง ซ่ึงกรณีเหล่ำน้ีมีจำนวนมำกกว่ำสองหมื่นแห่งท่ียังไม่ได้รับอนุญำตให้ดำเนินกำรได้โดยถูกต้องตำมกฎหมำย ข้อขัดข้องบำงส่วนเนื่องจำกไม่เป็นไปตำมข้อกำหนดกำรใช้ท่ีดินตำมกฎกระทรวงใหใ้ ช้บังคับผังเมืองรวม ตำมกฎหมำยว่ำดว้ ยกำรผงั เมอื ง และข้อกำหนดเกี่ยวกับกำรประกอบธุรกิจโรงแรมตำมกฎหมำยวำ่ ด้วย โรงแรมซ่ึงมีจำนวนหลำยพันแห่งตำมจังหวัดต่ำง ๆ มำกกว่ำห้ำสิบจังหวัด และยังมีที่ไม่ได้ดำเนินกำร ให้เป็นไปตำมกฎกระทรวงตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรควบคุมอำคำรอีกหลำยพันแห่ง ซ่ึงควรให้โอกำส

ดำเนินกำรเสียใหถ้ ูกต้องภำยในระยะเวลำและตำมเง่ือนไขท่ีกำหนดเช่นเดยี วกับท่ีเคยมีกฎหมำยผ่อนผัน ในเร่ืองอ่ืนไว้ทำนองเดยี วกนั แล้ว อันจะทำให้กจิ กำรเหล่ำน้ีเขำ้ มำอยูใ่ นระบบ ลดควำมขัดแย้งในชุมชน ภำครัฐสำมำรถตรวจสอบควบคุม ยกระดับมำตรฐำนกำรประกอบกำรและสร้ำงควำมปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน ผู้รับบรกิ ำรเองกไ็ ด้รับกำรบริกำรท่ีมีคุณภำพและเปน็ ธรรม ฝ่ำยผู้ประกอบกำรก็สำมำรถ ใช้ประโยชน์จำกทรัพย์สินของตน ก่อให้เกิดอำชีพและรำยได้ ท้ังยังเป็นกำรส่งเสริมให้มีกำรลงทุน และดูแลรักษำกิจกำรอย่ำงเต็มควำมสำมำรถทำงเศรษฐกิจ โดยยังคงรักษำสิ่งแวดล้อม วิถีชีวิต และควำมเป็นอยู่ในชุมชนไว้ได้ จึงจำเป็นต้องแก้ไขข้อขัดข้องที่มีอยู่ดังกล่ำว อันจะเป็นประโยชน์ ในกำรปฏิรูปเศรษฐกิจของประเทศและส่งเสริมกำรท่องเที่ยว ตลอดจนลดควำมขัดแย้งในสงั คม

อำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ ๒๖๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย ประกอบกับ มำตรำ ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแหง่ รำชอำณำจกั รไทย (ฉบบั ชว่ั ครำว) พทุ ธศกั รำช ๒๕๕๗ หัวหน้ำคณะ รักษำควำมสงบแห่งชำตโิ ดยควำมเห็นชอบของคณะรกั ษำควำมสงบแหง่ ชำตจิ งึ มคี ำสงั่ ดังตอ่ ไปนี้

ข้อ ๑ นับแต่วันท่ีคำส่ังนี้มีผลใช้บังคับจนถึงวันท่ี ๑๘ สิงหำคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ให้กำรประกอบ

ธุรกิจโรงแรมซ่งึ มอี ำคำรท่ีมลี ักษณะตำมข้อ ๓ แห่งกฎกระทรวงกำหนดลักษณะอำคำรประเภทอื่นทใ่ี ช้ ประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รับยกเว้นกำรใช้บังคับกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวม ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรผังเมือง และข้อบัญญัติท้องถิ่นกำหนดบริเวณห้ำมก่อสร้ำง ดัดแปลง ร้ือถอน เคลื่อนย้ำย และใช้หรือเปล่ียนกำรใช้อำคำรซ่ึงออกโดยอำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ ๘ (๑๐) แห่งพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๔๓ และมำตรำ ๙ และมำตรำ ๑๐ แห่งพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ. ๒๕๒๒

หน้า ๑๘ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๕๑ ง ราชกจิ จานุเบกษา

ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ท่ีกำหนดให้ส้ินสุด ระยะเวลำกำรใช้บังคับเมื่อมีกำรประกำศใช้บังคับกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมในท้องท่ีนั้น ทมี่ ผี ลใช้บงั คับอยใู่ นวนั ที่มีคำสัง่ น้ี

ข้อ ๒ เพื่อประโยชน์ในกำรควบคุมไม่ให้มีกำรประกอบธุรกิจโรงแรมผิดไปจำกท่ีกำหนดไว้ ในกฎหมำยว่ำด้วยโรงแรม ให้ผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมซ่ึงมีอำคำรที่มีลักษณะตำมข้อ ๓ แห่งกฎกระทรวง กำหนดลกั ษณะอำคำรประเภทอื่นที่ใช้ประกอบธรุ กิจโรงแรม พ.ศ. ๒๕๕๙ ซึ่งใช้อำคำรในกำรประกอบธุรกิจ โรงแรมอยู่ในวันก่อนวันท่ีคำส่ังน้ีมีผลใช้บังคับและอำคำรนั้นมีลักษณะเป็นกำรฝ่ำฝืนข้อกำหนด ตำมกฎหมำยกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ แจ้งให้เจ้ำพนักงำนท้องถ่ินทรำบถึงกำรฝ่ำฝืนและดำเนินกำร

ปรับปรุงระบบควำมปลอดภัยด้ำนอัคคีภัยให้เป็นไปตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๗ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ. ๒๕๒๒ และติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบมือถือ ๑ เคร่ือง ต่อพื้นท่ีอำคำรไม่เกิน ๒๐๐ ตำรำงเมตร ทุกระยะไม่เกิน ๓๐ เมตร แต่ไม่น้อยกว่ำ ชั้นละ ๒ เครื่อง ภำยในเก้ำสิบวันนับแต่วันท่ีคำสั่งนี้มีผลใช้บังคับ พร้อมท้ังยื่นเอกสำรหรือหลักฐำน เพ่ือประกอบกำรตรวจสอบ ท้ังนี้ ตำมหลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย ประกำศกำหนด

(๑) ฝ่ำฝืนประกอบธุรกิจโรงแรมโดยไม่ได้รับอนุญำตตำมมำตรำ ๑๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระรำชบัญญตั ิโรงแรม พ.ศ. ๒๕๔๗

(๒) ฝ่ำฝืนใช้ประโยชน์ที่ดินผิดไปจำกที่ได้กำหนดไว้ในผังเมืองรวมหรือปฏิบัติกำรใด ๆ ซึง่ ขดั กับขอ้ กำหนดของผังเมอื งรวมตำมมำตรำ ๒๗ แหง่ พระรำชบัญญตั ิกำรผงั เมือง พ.ศ. ๒๕๑๘

(๓) ฝำ่ ฝนื ดัดแปลงอำคำรโดยไม่ได้รับใบอนุญำตหรือไมไ่ ดร้ ับใบรับแจ้งจำกเจ้ำพนักงำนทอ้ งถน่ิ ตำมมำตรำ ๒๑ แห่งพระรำชบญั ญัติควบคุมอำคำร พ.ศ. ๒๕๒๒ ซงึ่ แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระรำชบญั ญตั ิ

ควบคุมอำคำร (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ (๔) ฝ่ำฝืนใช้อำคำรประเภทควบคุมกำรใช้โดยไม่ได้ใบรับรองกำรดัดแปลงอำคำรตำมมำตรำ ๓๒

แห่งพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๓

(๕) ฝำ่ ฝืนเปลี่ยนกำรใช้อำคำรโดยไมไ่ ดร้ ับใบอนญุ ำตหรือไม่ได้รบั ใบรบั แจง้ จำกเจำ้ พนักงำนทอ้ งถน่ิ ตำมมำตรำ ๓๓ แห่งพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดย พระรำชบญั ญตั คิ วบคุมอำคำร (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕

ให้ผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมท่ีได้แจ้งให้เจ้ำพนักงำนท้องถ่ินทรำบถึงกำรฝ่ำฝืนและอยู่ระหว่ำง ดำเนินกำรปรับปรุงอำคำรตำมวรรคหนึ่ง ได้รับยกเว้นโทษทำงอำญำสำหรับควำมผิดตำมกฎหมำย ว่ำด้วยโรงแรม กฎหมำยว่ำด้วยกำรผังเมือง หรือกฎหมำยว่ำด้วยกำรควบคุมอำคำร แล้วแต่กรณี ท่เี กิดขึน้ ก่อนวนั ทค่ี ำสงั่ น้ีมผี ลใช้บงั คับจนถึงวันทไ่ี ดร้ ับหนงั สอื แจง้ ผลกำรตรวจสอบจำกเจ้ำพนกั งำนทอ้ งถนิ่

หน้า ๑๙ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๕๑ ง ราชกิจจานเุ บกษา

ขอ้ ๓ เมื่อได้รับแจ้งตำมข้อ ๒ และมีเอกสำรหรือหลักฐำนอันเชอ่ื ได้วำ่ เป็นผู้ประกอบธุรกิจโรงแรม อยู่ในวันก่อนวันท่ีคำส่ังน้ีมีผลใช้บังคับ ให้เจ้ำพนักงำนท้องถิ่นตรวจสอบกำรปรับปรุงอำคำรให้เป็นตำม ที่กำหนดในข้อ ๒ วรรคหนึง่ ใหแ้ ลว้ เสร็จภำยในสำมสิบวนั นบั แต่วนั ทไี่ ดร้ ับแจง้

ในกรณีท่เี จ้ำพนักงำนท้องถน่ิ พบเหตไุ ม่ถกู ตอ้ ง ให้แจ้งผู้ประกอบธุรกจิ โรงแรมดำเนินกำรแก้ไข และแจ้งผลกำรดำเนนิ กำรภำยในสำมสิบวันนับแต่วันท่ีได้รบั แจ้ง และให้เจ้ำพนักงำนท้องถิ่นดำเนินกำร ตรวจสอบกำรแก้ไขดังกล่ำวใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภำยในสิบหำ้ วนั นบั แตว่ นั ทไี่ ด้รับแจ้งจำกผปู้ ระกอบกจิ กำรโรงแรม

ขอ้ ๔ เมื่อเจ้ำพนักงำนท้องถ่ินดำเนินกำรตรวจสอบตำมข้อ ๓ แล้ว ให้แจ้งผลกำรตรวจสอบ ต่อผู้ประกอบธุรกิจโรงแรม และนำยทะเบียนตำมกฎหมำยว่ำด้วยโรงแรมทรำบเป็นหนังสือ

เพ่ือดำเนินกำรต่อไป ทั้งน้ี ให้ผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมซึ่งผ่ำนกำรตรวจสอบสำมำรถประกอบกิจกำรโรงแรม ต่อไปได้เชน่ เดียวกบั เจำ้ ของหรอื ผคู้ รอบครองท่ีดนิ ซงึ่ ไดใ้ ชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ มำก่อนท่ีผังเมืองรวมจะใชบ้ งั คบั ในพนื้ ที่นนั้ ตำมกฎหมำยว่ำดว้ ยกำรผงั เมอื ง และใหไ้ ด้รบั ยกเว้นโทษทำงอำญำสำหรบั ควำมผดิ ตำมข้อ ๒ ที่เกดิ ขน้ึ ก่อนวนั ท่ไี ดร้ บั หนังสือแจง้ ผลกำรตรวจสอบจำกเจ้ำพนักงำนทอ้ งถิน่

ข้อ ๕ เพื่อประโยชน์ในกำรพัฒนำธุรกิจให้บริกำรสถำนท่ีพักของชุมชนให้เกิดควำมเข้มแข็ง อันจะเป็นประโยชน์ต่อกำรส่งเสริมธุรกิจกำรท่องเที่ยวของประเทศ และสร้ำงควำมเข้มแข็งและรำยได้ ให้แก่ชุมชน ในกรณีท่ีกำรดำเนินกำรประกอบธุรกิจโรงแรมหรือธุรกิจสถำนท่ีพักท่ีมีลักษณะตำมข้อ ๑ แห่งกฎกระทรวงกำหนดประเภทและหลักเกณฑ์กำรประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. ๒๕๕๑ แห่งใด ไม่สำมำรถดำเนินกำรอย่ำงถูกต้องตำมกฎหมำยได้ เนื่องจำกมีข้อจำกัดเร่ืองกำรใช้ประโยชน์ที่ดิน ตำมกฎหมำยอื่นนอกเหนือจำกที่กำหนดไว้ในข้อ ๒ ให้หน่วยงำนที่มีหน้ำท่ีรับผิดชอบตำมกฎหมำย รวบรวมข้อเท็จจริง สภำพปัญหำ และแนวทำงแก้ไข เสนอคณะกรรมกำรนโยบำยท่ีดินแห่งชำติ เพื่อมีข้อเสนอแนะเก่ียวกับแนวทำงกำรแก้ไขปัญหำต่อคณะรัฐมนตรี ท้ังน้ี ข้อเสนอแนะดังกล่ำว

ใหค้ ำนงึ ถึงนโยบำยและแผนกำรบรหิ ำรจัดกำรท่ีดินและทรัพยำกรดนิ ของประเทศเปน็ สำคัญด้วย ข้อ ๖ คำส่ังน้ใี ห้ใชบ้ งั คับตัง้ แตว่ นั ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเป็นตน้ ไป

ส่ัง ณ วนั ท่ี 12 มถิ นุ ำยน พทุ ธศักรำช ๒๕๖๒ พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชำ

หัวหน้ำคณะรกั ษำควำมสงบแหง่ ชำติ

หน้า ๒ ๒ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๙๕ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

ประกาศกระทรวงมหาดไทย

เร่ือง กาหนดหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงือ่ นไขการยนื่ เอกสารหรือหลกั ฐานของผปู้ ระกอบธรุ กิจโรงแรม ซึง่ มีอาคารท่มี ลี ักษณะตามขอ้ ๒ ของคาสง่ั หวั หน้าคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ

ท่ี ๖/๒๕๖๒ เรอื่ ง มาตรการสง่ เสรมิ และพฒั นามาตรฐานการประกอบธรุ กิจโรงแรมบางประเภท ลงวนั ท่ี ๑๒ มถิ นุ ายน พุทธศักราช ๒๕๖๒

อาศัยอานาจตามความในข้อ ๒ ของคาสง่ั หัวหนา้ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี ๖/๒๕๖๒ เรื่อง มาตรการส่งเสริมและพัฒนามาตรฐานการประกอบธุรกิจโรงแรมบางประเภท ลงวันท่ี ๑๒ มิถุนายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยจึงออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปน้ี

ขอ้ ๑ ให้ผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมซ่งึ มีอาคารที่มีลักษณะตามข้อ ๒ ของคาสั่งหัวหน้าคณะ รักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี ๖/๒๕๖๒ เร่ือง มาตรการส่งเสริมและพัฒนามาตรฐานการประกอบธุรกิจ โรงแรมบางประเภท ลงวันท่ี ๑๒ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๖๒ ยื่นหนังสือต่อเจ้าพนักงานท้องถ่ิน ในท้องท่ีท่ีอาคารนั้นต้ังอยู่ว่ามกี ารฝ่าฝืนข้อหน่ึงข้อใดตามข้อ ๒ ของคาสั่งหัวหนา้ คณะรักษาความสงบ แห่งชาติดังกล่าว พร้อมเอกสารหรือหลักฐานอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อแสดงได้ว่าเป็นอาคารที่มีลักษณะ ตามขอ้ ๓ แห่งกฎกระทรวงกาหนดลักษณะอาคารประเภทอื่นที่ใชป้ ระกอบธรุ กิจโรงแรม พ.ศ. ๒๕๕๙ ซ่งึ ใชอ้ าคารประกอบธรุ กิจโรงแรมอยกู่ อ่ นวนั ท่ี ๑๒ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒ ดงั ตอ่ ไปนี้

(๑) สาเนาใบอนุญาตก่อสร้างหรือดัดแปลงอาคารหรือสาเนาใบรับรองการก่อสร้างหรือ

ดัดแปลงอาคาร

(๒) สาเนาแสดงความเป็นเจ้าของอาคารหรือสถานท่ที อ่ี าคารนน้ั ตัง้ อยู่

(๓) สาเนาใบอนญุ าตประกอบกิจการท่เี ป็นอันตรายต่อสขุ ภาพ

(๔) หลกั ฐานการเสยี ภาษหี อ้ งพักใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่

(๕) หลักฐานการเสียภาษีให้แกส่ รรพากร

(๖) หลกั ฐานการได้รับอนญุ าตให้ใช้ไฟฟ้า ประปา

(๗) หลกั ฐานการขอออกทะเบยี นราษฎร์

(๘) สาเนาสญั ญาซือ้ ขายที่ดิน อาคาร ทจ่ี ดทะเบียนตอ่ เจา้ พนักงานท่ีดิน

(๙) หลักฐานการลงโฆษณาทางเวบ็ ไซตต์ า่ ง ๆ หรอื สญั ญาจา้ งโฆษณา

(๑๐) แบบแปลน แผนผังอาคารที่เคยไดร้ บั อนุญาตใหก้ ่อสร้างหรอื ดัดแปลงอาคาร หรอื

(๑๑) เอกสารหรือหลักฐานอื่น ๆ ท่ีแสดงได้ว่าเป็นอาคารท่ีมีลักษณะตามข้อ ๓ แห่งกฎกระทรวง

กาหนดลักษณะอาคารประเภทอืน่ ทใ่ี ช้ประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. ๒๕๕๙ ซ่ึงใช้อาคารประกอบธุรกิจ

โรงแรมอยกู่ อ่ นวันท่ี ๑๒ มถิ ุนายน ๒๕๖๒

หน้า ๓ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๙๕ ง ราชกิจจานเุ บกษา

ขอ้ ๒ เม่ือเจ้าพนักงานท้องถ่ินได้รับหนังสือพร้อมด้วยเอกสารหรือหลักฐานตามท่ีกาหนด ในข้อ ๑ แล้วให้ดาเนินการตามข้อ ๓ และข้อ ๔ ของคาส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี ๖/๒๕๖๒ เร่ือง มาตรการส่งเสริมและพัฒนามาตรฐานการประกอบธุรกิจโรงแรมบางประเภท ลงวนั ที่ ๑๒ มิถนุ ายน พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ ตอ่ ไป

ข้อ ๓ ประกาศกระทรวงมหาดไทยนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ พลเอก อนุพงษ์ เผา่ จนิ ดา

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย

ประกาศ หน่วยป้องกันและพัฒนาป่าไมเ้ ขาค้อ ท่ี 1 /2563

เร่อื ง ประชาสัมพนั ธ์แนวทางการขออนญุ าตเข้าทาประโยชนใ์ นเขตป่าไม้ (นอกเขตป่าสงวนแห่งชาติ) -------

ดว้ ยปจั จบุ ันราษฎรจานวนมากในท้องท่ีอาเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ไดย้ นื่ คาขออนุญาต ใชป้ ระโยชนพ์ นื้ ทีใ่ นเขตปา่ ตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัตปิ า่ ไม้ พุทธศักราช 2484 ซึ่งหนว่ ยปอ้ งกนั และ พฒั นาปา่ ไมเ้ ขาค้อพิจารณาแลว้ เห็นว่า เพอ่ื ใหก้ ารยน่ื คาขออนุญาตใช้พื้นที่ป่าเป็นไปอย่างถูกต้องตามระเบียบ ของทางราชการและตรงตามวตั ถุประสงค์ของผู้ขออนุญาต จงึ ประกาศประชาสัมพันธ์แนวทางการขออนุญาต ใช้ประโยชน์ในพนื้ ท่ปี ่าตามมาตรา 4 แห่งพระราชบญั ญัตปิ ่าไม้ พุทธศักราช 2484 (พื้นท่ไี ม่มีเอกสารสิทธ์ิ ของกรมทีด่ ินและอยู่นอกเขตป่าสงวนแหง่ ชาต)ิ ตามกฎกระทรวงว่าดว้ ยการขออนุญาตและการขออนุญาตเขา้ ทาประโยชนใ์ นเขตป่า พ.ศ.2558 และกฎหมายอ่ืนท่เี กยี่ วขอ้ ง สรุปแนวทางสาหรับบุคคลธรรมดา ดังน้ี

1. ผ้ยู ื่นคาขออนุญาต ตอ้ งมคี ุณสมบตั ิดังน้ี (1) มอี ายุไม่ตา่ กวา่ ย่สี บิ ปีบรบิ ูรณห์ รือบรรลุนติ ภิ าวะตามกฎหมาย (2) มีสญั ชาติไทย (3) ไมเ่ ป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (4) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย

2. เอกสารประกอบการย่ืนคาขออนญุ าต (1) บัตรประจาตัวประชาชนหรือสาเนาบตั รประจาตวั ตามกฎหมายกาหนด กรณมี ายนื่ คา

ขอด้วยตนเองใหน้ าตน้ ฉบับจรงิ มาและให้เจ้าหนา้ ทถ่ี ่ายเอกสารสาเนาเอง และใหผ้ ู้ย่ืนคาขอรับรองความถูกต้อง (2) ทะเบยี นบ้าน กรณีมายื่นคาขอดว้ ยตนเองให้นาต้นฉบบั จริงมาและใหเ้ จ้าหน้าที่ถา่ ย

เอกสารสาเนาเอง และให้ผู้ย่ืนคาขอรับรองความถูกตอ้ ง (3) แผนท่สี งั เขป และแผนทร่ี ะวางมาตราสว่ น 1 : 50,000 แสดงจดุ ที่ต้งั บริเวณทีข่ อ

อนุญาต (4) รายละเอยี ดโครงการท่ีขออนุญาต พรอ้ มแบบแปลน หรือแผนผงั โครงการ หรอื

กิจกรรมที่ขออนุญาต และอื่นๆ (5) กรณผี ยู้ ่ืนคาขอเป็นผู้ทาการแทนต้องมหี นังสือมอบอานาจแนบท้ายคาขอ โดยตดิ อากร

แสตมป์ใหถ้ ูกต้องตามกฎหมาย (6) หลักฐานท่แี สดงผลการพิจารณาใหค้ วามเห็นจากสภาองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ที่

ป่านั้นต้ังอยู่ (7) บนั ทกึ ยินยอมแก้ไขปญั หาเกีย่ วกบั ราษฎร (8) เอกสารอ่ืนๆ (ถ้ามี)

3. วัตถปุ ระสงค์การย่นื คาขออนุญาต อย่างหนึ่งอย่างใด ดงั นี้ (1) เพ่ือการขดุ เกบ็ ซง่ึ ทราย ลูกรงั หรือดนิ ที่มิใช่การทาเหมืองแรห่ รือการขดุ หาแร่ (2) เพื่อการอยู่อาศยั หรอื ประกอบอาชพี เกษตรกรรม (3) เพ่ือการปลูกปา่ หรอื การทาสวนปา่ (4) เพื่อจดั เป็นที่พกั ผ่อนหย่อนใจ /4. พื้นที่ท่ีจะ…

-2-

4. พ้นื ท่ีทีจ่ ะพจิ ารณาอนุญาตไดต้ อ้ งอยใู่ นหลักเกณฑ์ ดงั ต่อไปนี้ (๑) ไม่เป็นพ้ืนที่ป่าท่ีมสี ภาพป่าไมส้ มบูรณ์ (๒) ไมเ่ ป็นพื้นทที่ ี่ควรรักษาไวเ้ ป็นแหลง่ ทอี่ ยู่อาศยั ของสตั วป์ า่ (๓) ไม่เปน็ พื้นทท่ี ่ีมีมติคณะรฐั มนตรีกาหนดหลักเกณฑห์ ้ามใชป้ ระโยชน์ไวเ้ ปน็ การเฉพาะ

หรอื หากเป็นพนื้ ที่คุณภาพล่มุ น้าชน้ั ท่ี 1 ซึ่งมคี วามลาดชนั สงู ต้องจดั ทารายงานการวิเคราะหผ์ ลกระทบ ส่ิงแวดลอ้ ม

5. จานวนพน้ื ทแ่ี ละระยะเวลาการอนญุ าต (1) การขดุ เก็บ ซึง่ ทราย ลกู รงั หรอื ดนิ ตอ้ งห่างจากทางหลวงแผน่ ดินไม่น้อยกวา่

500 เมตร เนอ้ื ทไ่ี มเ่ กิน 10 ไร่ ระยะเวลาไม่เกินคราวละ 5 ปี (2) การอยู่อาศยั หรอื ประกอบอาชีพเกษตรกรรม จานวนพื้นท่ตี ามความจาเปน็ และ

เหมาะสม ระยะเวลาไมเ่ กนิ คราวละ 10 ปี (3) การปลกู ป่าหรือการทาสวนปา่ จานวนพื้นท่ีตามความจาเปน็ และเหมาะสม ระยะเวลา

ไมเ่ กนิ คราวละ 30 ปี (4) การจดั เปน็ ท่ีพักผอ่ นหย่อนใจ จานวนพืน้ ที่ตามความจาเป็นและเหมาะสมไม่เกนิ

500 ไร่ ระยะเวลาไมเ่ กินคราวละ 10 ปี 6. การโอนใบอนุญาต ในกรณที ี่ผู้ไดร้ บั ใบอนุญาตตาย ให้ทายาทหรือผูจ้ ัดการมรดกของ

บคุ คลดังกลา่ ว สามารถทาประโยชน์ในเขตป่าต่อไปได้ไม่เกินเก้าสิบวนั นับแตว่ นั ที่ผไู้ ด้รับใบอนญุ าตตาย และ หากทายาทหรือผูจ้ ัดการมรดกของบุคคลดงั กล่าวประสงค์จะทาประโยชน์ตามวัตถุประสงคเ์ ดมิ ท่ีได้รับอนญุ าต ไว้ตอ่ ไปแทนผ้ไู ด้รับใบอนุญาต ใหย้ ่ืนคาภายในเก้าสิบวนั นับแต่วนั ท่ผี ้ไู ด้รับใบอนุญาตตาย หากไมย่ ่นื คาขอ ภายในกาหนดเวลาดงั กล่าว ใหถ้ อื ว่าใบอนญุ าตน้นั ส้ินสุดลง

7. การยืน่ คาขออนุญาต ให้ย่นื คาขอท่ีสานักจดั การทรัพยากรปา่ ไม้ที่ 4 สาขาพิษณโุ ลก หรอื ศนู ยป์ ่าไม้เพชรบรู ณ์ หรือหน่วยป้องกนั และพัฒนาป่าไม้เขาคอ้

8. คา่ ธรรมเนยี มและค่าใช้จ่ายอืน่ ๆ (1) ชาระเงนิ คา่ แบบพมิ พ์คาขอ ฉบบั ละ 1 บาท โดยจ่าย ณ สถานที่ยน่ื คาขออนญุ าต (2) ในวันท่ีมารบั ใบอนุญาต ผู้ได้รบั อนุญาตต้องชาระเงินอนั เป็นค่าใชจ้ ่ายเพ่ือให้พนักงาน

เจา้ หนา้ ท่ไี ปทาการบารุงป่าหรือปลกู สร้างสวนปา่ ตามมติคณะรฐั มนตรเี ม่ือวันท่ี 29 มกราคม 2556 ในอัตรา ไรล่ ะ 10,960 บาท ตามจานวนพื้นทีท่ ีไ่ ด้รับอนญุ าต โดยจา่ ย ณ สถานทรี่ ับใบอนญุ าต

ท้ังนี้ ผู้ย่นื คาขออนญุ าตต้องไม่เขา้ ใช้ประโยชน์ในพนื้ ที่ป่าก่อนได้รบั อนญุ าตตามกฎหมาย หรอื ตามโครงการพัฒนาลุ่มน้าเขก็ (รอส.) หรือผ่อนผนั ตามมติคณะรัฐมนตรเี มื่อวันที่ 30 มถิ นุ ายน 2541 หรือนโยบายรัฐบาลอืน่ ๆ ท่เี ก่ียวข้อง ซ่ึงหากฝ่าฝืนเมอ่ื เจ้าหน้าที่ตรวจสอบพ้ืนทจ่ี ะทาให้ผู้ยนื่ คาขออนญุ าต ตกเป็นผู้กระทาผิดกฎหมายป่าไมแ้ ละถูกดาเนินคดีตามกฎหมาย

จึงประกาศมาเพ่ือทราบโดยทั่วกนั

ประกาศ ณ วนั ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ.2563

(นายสมชาย ฉมิ แย้ม) หัวหน้าหน่วยป้องกันและพฒั นาป่าไมเ้ ขาค้อ

ประกาศ หน่วยป้องกันและพฒั นาป่าไม้เขาค้อ ท่ี 2 /2563

เรอื่ ง แนวทางการขออนญุ าตเข้าทาประโยชนใ์ นเขตป่าสงวนแห่งชาติ -------

ดว้ ยปจั จบุ ันราษฎรจานวนมากในท้องท่ีอาเภอเขาค้อ จังหวดั เพชรบูรณ์ ไดย้ ื่นคาขออนุญาต ใชป้ ระโยชน์พื้นทใี่ นเขตป่าสงวนแหง่ ชาติ ตามมาตรา 16 แหง่ พระราชบัญญตั ปิ ่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507 และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเตมิ ซึ่งหน่วยปอ้ งกนั และพฒั นาปา่ ไม้เขาค้อพิจารณาแลว้ เหน็ วา่ เพ่อื ให้การย่นื คาขออนุญาต ใชพ้ ้นื ทปี่ ่าสงวนแหง่ ชาติเป็นไปอย่างถูกต้องตามระเบียบของทางราชการ และตรงตามวตั ถุประสงค์ของผู้ขอ อนญุ าต จงึ ประกาศประชาสัมพนั ธแ์ นวทางการขออนุญาตใช้ประโยชน์ในพื้นทปี่ ่าสงวนแห่งชาติ ตามมาตรา 16 แหง่ พระราชบญั ญัติปา่ สงวนแหง่ ชาติ พ.ศ.2507 โดยระเบียบคณะกรรมการพิจารณาการใช้ประโยชนใ์ น เขตปา่ สงวนแห่งชาติวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขออนญุ าตและการอนุญาตให้เขา้ ทาประโยชน์ หรืออยู่อาศัยในเขตป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2563 ซง่ึ กาหนดแนวทางท่ีเกยี่ วขอ้ งสาหรับบคุ คลธรรมดา สรุปดงั น้ี

1. ผยู้ ่นื คาขออนญุ าต ตอ้ งมีคุณสมบตั ดิ ังน้ี (1) มอี ายุไม่ต่ากว่ายส่ี ิบปีบรบิ รู ณห์ รอื บรรลนุ ิติภาวะตามกฎหมาย (2) มสี ัญชาตไิ ทย (3) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรอื คนเสมือนไร้ความสามารถ (4) ไม่เปน็ บุคคลลม้ ละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทจุ รติ (5) ไม่เปน็ ผู้เคยไดร้ ับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถงึ ที่สุดให้จาคุกตามพระราชบญั ญัติ (6) ไม่เปน็ ผู้เคยปฏบิ ัตผิ ดิ เงอ่ื นไขในข้ันทถ่ี ูกเพิกถอนการอนุญาต

2. เอกสารประกอบการยืน่ คาขออนุญาต (1) คาขออนญุ าตเขา้ ทาประโยชนห์ รอื อยู่อาศัยภายในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ตามมาตรา

16 แห่งพระราชบญั ญตั ิป่าสงวนแหง่ ชาติ พ.ศ.2507 (2) ทะเบยี นบ้าน กรณมี ีบุคคลมาย่นื คาขอดว้ ยตนเองใหน้ าตน้ ฉบบั จรงิ มาและให้

เจา้ หน้าทถี่ า่ ยเอกสารสาเนาเอง และใหผ้ ยู้ ่ืนคาขอรับรองความถกู ต้อง (3) กรณกี ารมอบอานาจ ให้แนบหนงั สือมอบอานาจพรอ้ มเอกสารประกอบ ผมู้ อบอานาจ

ตอ้ งสาเนาเอกสารและรบั รองสาเนามาให้พร้อม (4) แผนที่แสดงภูมิประเทศ มาตราส่วน 1 : 50,000 และแผนท่ภี าพถา่ ยทางอากาศ

มาตราสว่ นตามความเหมาะสม พร้อมแผนทีส่ งั เขป แสดงบริเวณพ้ืนท่ีท่ีขออนญุ าต และพ้ืนท่ีข้างเคียงทต่ี ดิ ต่อ กบั พืน้ ที่ทขี่ อ

(๕) รายละเอียดโครงการที่ขอเขา้ ทาประโยชน์ วัตถุประสงค์ ลกั ษณะการดาเนินงานของ โครงการ ผไู้ ด้รบั ประโยชนจ์ ากโครงการ ผลตอบแทนโครงการ ระยะเวลาคนื ทนุ แนวทาง การบรหิ ารและการ จดั การโครงการ พร้อมแผนผงั และแผนการใช้ประโยชนท์ ่ีดิน สาหรับการขออนญุ าตเพื่อการท่องเทย่ี วเชงิ นเิ วศ การทอ่ งเท่ียวเกษตรวถิ ชี มุ ชน และกจิ กรรมท่กี ่อให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ ชุมชนและส่ิงแวดล้อม ซง่ึ โครงการท่เี สนอ ตอ้ งเป็นโครงการที่พัฒนาพืน้ ท่ใี ห้สอดคล้องกบั วถิ ีของชมุ ชน มงุ่ เน้นใหเ้ กิดการอนรุ ักษ์และฟื้นฟทู รัพยากรป่าไม้

/(๖) รายละเอียด...

-2-

(๖) รายละเอยี ดสภาพปา่ เบอ้ื งตน้ ที่จะขออนุญาตเข้าทาประโยชน์ ทั้งทางกายภาพและ ชีวภาพ

(๗) เอกสารหลักฐานท่แี สดงผลการพิจารณาให้ความเห็นชอบจากสภาองค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่นิ ท่ีป่าน้นั ตง้ั อยู่

(๘) กรณโี ครงการหรือกจิ การท่เี ขา้ ขา่ ยจะต้องจัดทารายงานการประเมนิ ผลกระทบ ส่งิ แวดล้อม หรือรายงานผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มเบื้องต้นหรืออนื่ ๆ ใหแ้ นบรายงานฉบบั สมบูรณแ์ ละหนังสือ แจ้งผลการพจิ ารณาให้ความเห็นชอบ สาหรับโครงการหรือกิจการทเี่ ขา้ ขา่ ยทจ่ี ะต้องจดั ทารายงานข้อมลู ด้าน สิ่งแวดล้อมใหแ้ นบขอ้ มูลดงั กล่าวด้วย

(๙) บนั ทึกยนิ ยอมแก้ไขปัญหาราษฎร (10) หากเป็นพน้ื ที่อนุญาตเดิมของรายอน่ื ท่ยี ังไมส่ ้นิ อายุ ตอ้ งมีหนงั สือแสดงความยินยอม ใหใ้ ช้พน้ื ที่ของผู้รับอนญุ าตเดิม (11) เอกสารหรอื หลักฐานอน่ื ๆ (ถ้าม)ี 3. วตั ถปุ ระสงค์การย่นื คาขออนญุ าต อย่างหน่งึ อยา่ งใด ดงั น้ี (1) เพือ่ การขุดดินลกู รงั หรือดนิ ท่มี ิใช่การทาเหมอื งแรห่ รือการขุดหาแร่ (2) เพ่ือการทอ่ งเท่ยี วเชิงนิเวศ การท่องเท่ยี วเกษตรวถิ ีชมุ ชน และกิจกรรมท่กี ่อใหเ้ กิด ประโยชน์ตอ่ ชุมชนและส่งิ แวดล้อม 4. พื้นที่ทีจ่ ะพิจารณาอนุญาตได้ตอ้ งอยูใ่ นหลักเกณฑ์ ดงั ต่อไปนี้ (๑) ไม่เป็นพน้ื ท่ีป่าซง่ึ อยรู่ ะหวา่ งการใชศ้ ึกษาคน้ คว้าทางวชิ าการป่าไม้ (2) ไมข่ ดั กบั มาตรการการใช้ท่ดี ินในพ้นื ท่ลี ุ่มนา้ และมาตรการการใช้ประโยชนท์ รพั ยากร และท่ีดินปา่ ไม้ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติตามที่คณะรัฐมนตรีไดม้ มี ติไว้ และหากเปน็ พ้นื ทีค่ ุณภาพลุ่มน้าชน้ั ที่ 1 ซึง่ มีความลาดชันสงู ต้องจดั ทารายงานการวเิ คราะห์ผลกระทบสิ่งแวดลอ้ ม (3) ไมข่ ดั กับมาตรการทกี่ ฎหมายอื่นกาหนดไวเ้ ปน็ พนื้ ท่ีสงวน ค้มุ ครองและอนรุ ักษ์ (4) ตอ้ งมีไม้ขนาดความโตวดั โดยรอบลาต้นตรงท่สี งู หน่ึงรอ้ ยสามสบิ เซนตเิ มตรจากพื้นดนิ ตงั้ แต่ห้าสิบถึงหนึ่งร้อยเซนตเิ มตรข้ึนกระจายอยู่ท่ัวพืน้ ที่ไม่เกินไรล่ ะแปดต้น หรือมีไมข้ นาดความโตวัดโดยรอบ ลาตน้ ตรงที่สงู หน่งึ ร้อยสามสิบเซนติเมตรจากพืน้ ดินเกินหน่งึ ร้อยเซนติเมตรข้นึ ไป ขนึ้ กระจายอยู่ทวั่ พ้นื ที่ไม่เกนิ ไรล่ ะสองต้น (5) ต้องมีลกั ษณะขนาด อาณาเขต และเน้ือท่ีเหมาะสมกับกิจการตามวตั ถุประสงค์ท่ีขอ และแผนการใช้พ้นื ทตี่ ามโครงการประกอบคาขอ 5. จานวนพ้ืนทแ่ี ละระยะเวลาการอนุญาต (1) การอนุญาตเพื่อขุดดินลูกรังหรือดนิ ต้องห่างจากทางหลวงแผ่นดนิ ไม่น้อยกวา่ 500 เมตร รวมทั้งต้องไมเ่ ปน็ บริเวณพระราชฐาน วัด หรอื สถานทีท่ ่ีใชเ้ พือ่ การประกอบศาสนกจิ ต้องมีแบบ แปลนรายการประกอบแบบแปลน ปากบ่อดนิ จะตอ้ งหา่ งจากแนวเขตที่ดนิ ของบคุ คลอ่นื หรือทีส่ าธารณะเปน็ ระยะไม่น้อยกวา่ สองเท่าของความลกึ ของบ่อดินท่จี ะขุด และตอ้ งมีมาตรการป้องกนั การพงั ทลายของดนิ หรือ สง่ิ ปลูกสร้าง โดยพจิ ารณาอนุญาตในจานวนเนอ้ื ที่แต่ละคาขอไมเ่ กินสบิ ไร่ และให้มีกาหนดระยะเวลาการ อนญุ าตคราวละไม่เกนิ ห้าปี และผู้รับอนุญาตจะต้องยน่ื คาขออนุญาตเกบ็ หาของป่าภายในเขตปา่ สงวนแห่งชาติ ตามความในมาตรา 15 แหง่ พระราชบัญญัติปา่ สงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 ด้วย

/(2) การอนุญาต…

-3-

(2) การอนญุ าตเพื่อการท่องเท่ียวเชงิ นิเวศ การทอ่ งเทีย่ วเกษตรวิถชี มุ ชน และกจิ กรรมที่ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อชมุ ชนและสิง่ แวดลอ้ ม พ้ืนที่ทจ่ี ะพจิ ารณาอนญุ าตได้ต้องอย่ใู นหลักเกณฑ์ ตามข้อ 4 และเปน็ พ้นื ทโ่ี ครงการจัดทีด่ ินทากนิ ให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล หรอื โครงการอน่ื ๆ ทค่ี ณะรัฐมนตรมี มี ติใหใ้ ช้ พน้ื ที่ โดยให้พจิ ารณาอนุญาตในแตล่ ะคาขอจานวนเนอื้ ที่ไม่เกินยส่ี บิ ไร่ โครงการทีเ่ สนอพร้อมคาขอตอ้ งเป็น โครงการที่พัฒนาพื้นท่ใี หส้ อดคลอ้ งกับวถิ ขี องชุมชน มุ่งเน้นใหเ้ กิดการอนุรกั ษแ์ ละฟืน้ ฟทู รัพยากรป่าไม้ พร้อม จดั ทาแผนการกาหนดให้มีพ้นื ท่ีสเี ขียวตามท่ีกรมกาหนด และใหม้ ีกาหนดระยะเวลาการอนญุ าตคราวละไม่น้อย กวา่ ห้าปีแต่ไมเ่ กินสามสบิ ปี

6. การให้เช่าหรอื รบั ช่วงสิทธ์ิหนังสอื อนุญาตตามระเบียบน้ีจะกระทามิได้ แต่ในกรณีทผ่ี รู้ บั อนุญาตถึงแก่ความตาย และทายาทหรอื ผู้จดั การมรดกประสงคจ์ ะกระทาการตามหนังสืออนุญาตน้ันต่อไป ให้ยื่นคาขอตามขอ้ ภายในกาหนด 90 วัน นบั จากวนั ท่ีผูร้ บั อนญุ าตถึงแก่ความตาย หากพน้ กาหนดน้ีแล้ว ทายาทหรือผู้จัดการมรดกยังมไิ ด้ย่ืนคาร้องขอรบั อนญุ าตให้ถอื วา่ สนิ้ สุดการอนุญาตนัน้ กรณบี คุ คลทีเ่ ลิกกจิ การ ให้แจง้ เจ้าหน้าที่ทราบ เพ่ือพิจารณายกเลิกการอนุญาตต่อไป

7. การยื่นคาขออนุญาต ใหย้ ืน่ คาขอท่ีสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มจังหวดั เพชรบรู ณ์

8. คา่ ธรรมเนยี มตามกฎกระทรวงฉบับที่ 1221 (พ.ศ.2531) และคา่ ใชจ้ ่ายอ่ืนๆ (1) ชาระเงินค่าแบบพิมพ์คาขอ ฉบบั ละ 1 บาท โดยจา่ ย ณ สถานทยี่ ่ืนคาขออนุญาต (2) ค่าธรรมเนียมหนงั สอื อนุญาตใหบ้ ุคคลเข้าทาประโยชน์ โดยวางมัดจาในวนั ยน่ื คาขอ

ณ สถานทย่ี ่ืนคาขออนญุ าต ในอัตราดังนี้ - การเกษตรกรรม ไรล่ ะ 20 บาท - การขุดกรวด ทราย ลูกรงั หรือดิน ไรล่ ะ 500 บาท - การสร้างอาคารเปน็ ที่พกั ผ่อนหยอ่ นใจเพื่อการบริการ ไรล่ ะ 500 บาท - การใช้ประโยชน์อ่ืนๆ ไรล่ ะ 50 บาท โดยเงินมัดจาไมเ่ ป็นข้อผกู พนั วา่ จะตอ้ งไดร้ ับอนญุ าต หากไม่ได้รับอนุญาตตามท่ขี อ

ผู้ขออนุญาตสามารถขอรบั เงินมดั จาคืนได้ (3) ในวนั ที่มารบั ใบอนุญาต ผไู้ ด้รบั อนญุ าตต้องชาระเงินอันเป็นคา่ ใชจ้ า่ ยเพ่ือให้พนักงาน

เจ้าหนา้ ทไี่ ปทาการบารุงปา่ หรอื ปลูกสรา้ งสวนป่าตามมตคิ ณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2556 ในอตั รา ไรล่ ะ 10,960 บาท ตามจานวนพ้ืนทีท่ ่ีได้รบั อนุญาต โดยจ่าย ณ สถานท่รี ับใบอนญุ าต

ทั้งน้ี ผู้ย่นื คาขออนญุ าตตอ้ งไม่เขา้ ใช้ประโยชน์ในพื้นท่ีป่าสงวนแหง่ ชาติกอ่ นไดร้ ับอนญุ าต ตามกฎหมาย หรอื ตามโครงการพัฒนาลมุ่ น้าเข็ก (รอส.) หรือการผอ่ นผนั ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มถิ นุ ายน 2541 หรือนโยบายรัฐบาลอ่นื ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง ซ่งึ หากฝ่าฝืนเมอื่ เจ้าหน้าท่ีตรวจสอบพน้ื ทจี่ ะทาให้ผูย้ ืน่ คาขออนญุ าตตกเปน็ ผู้กระทาผดิ กฎหมายป่าไมแ้ ละถกู ดาเนินคดตี ามกฎหมาย

จึงประกาศมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน

ประกาศ ณ วนั ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ.2563

(นายสมชาย ฉมิ แย้ม) หัวหนา้ หน่วยปอ้ งกนั และพัฒนาปา่ ไมเ้ ขาค้อ