กฎหมายตราสามดวง เป นหล กฐานข นท ต ยภ ม หร อไม

ของโลก ทำใหม ีผลตอ ความเจริญของโลกมยั ใหม จนถึง ค.ศ.๑๙๔๕ เม่ือสิ้นสุดสงครามโลกคร้ังที่ ๒ เร่มิ จาก

ค.ศ.๑๙๔๕ จนถงึ เหตุการณแ ละความเจรญิ ปจจบุ นั มีผลตอการดำเนนิ ชวี ิตของผคู นในปจจุบนั

๒. การแบงยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตรไ ทย

สวนใหญยึดถือหลักเกณฑของประวัติศาสตรสากล แบงเปน สมัยกอนประวัติศาสตรไทย และสมัย ประวัติศาสตรไทย

สมัยประวัติศาสตรไทยแบง ตาม - สมัยโบราณหรือสมัยกอ นสโุ ขทัย ตงั้ แต พ.ศ. ๑๑๘๐ ถงึ พ.ศ. ๑๗๙๒ - สมัยสุโขทัย ตั้งแต พ.ศ. ๑๗๙๒ ถงึ ๒๐๐๖ - สมัยอยุธยา ตัง้ แต พ.ศ. ๑๘๙๓ ถึง ๒๓๑๐ - สมยั ธนบรุ ี ตง้ั แต พ.ศ. ๒๓๑๐ ถึง ๒๓๒๕ - สมยั รัตนโกสินทร ตงั้ แต พ.ศ. ๒๓๒๕ ถึง ปจ จบุ ัน

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๙

การเทียบยุคสมยั สำคญั ระหวา งประวตั ิศาสตรสากลกบั ไทย

ประวตั ิศาสตรส ากล ประวตั ิศาสตรไ ทย

สมยั โบราณ สมัยโบราณหรอื สมยั กอนสโุ ขทัย

- อารยธรรมเมโสโปเตเมีย ตัง้ แตพ .ศ.๑๑๘๐ ถงึ พ.ศ. ๑๗๙๒

- อารยธรรมอียิปต - อาณาจกั รลงั กาสุกะ

- อารยธรรมกรีก - อาณาจกั รทวารวดี

- อารยธรรมโรมนั - อาณาจักรโยนกเชยี งแสน

สนิ้ สุดสมยั โบราณ เมอ่ื ค.ศ. ๔๗๖(พ.ศ.๑๐๑๙) - อาณาจักรตามพรลิงค

สมยั กลาง สมัยสโุ ขทยั พ.ศ. ๑๗๙๒ ถงึ ๒๐๐๖

- จกั รวรรดโิ รมันตะวนั ออกสิ้นสดุ ค.ศ.๑๔๕๓ สมยั อยธุ ยา พ.ศ. ๑๘๙๓ ถงึ ๒๓๑๐

- การสรางอาณาจักรคริสเตยี น

- การปกครองในระบบฟวดัล

- การฟน ฟเู มอื งและการคา

- การฟน ฟศู ลิ ปะวิทยาการ

- การคน พบทวีปอเมริกา

สมยั ใหม สมัยธนบุรี ต้ังแต พ.ศ. ๒๓๑๐ ถึง ๒๓๒๕

- การสำรวจทางทะเล สมัยรตั นโกสินทร พ.ศ. ๒๓๒๕ ถึง ปจจบุ นั

- การปฏิวัติวทิ ยาศาสตร

- การปฏิวัตอิ ุตสาหกรรม

- การปฏิวัติฝรงั่ เศส

- สงครามโลกคร้ังที่ ๑-๒

- สิ้นสดุ สมยั ใหม ค.ศ.๑๙๔๕

สมยั ปจจุบนั - รวมสมยั – ปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช

- ยคุ สงครามเย็น มหาราช (๒๔๘๙ - ปจจบุ นั )

- ยคุ เทคโนโลยกี ารสอื่ สาร

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๑๐

ตัวอยางเหตกุ ารณส ำคญั ทแ่ี สดงความสัมพนั ธแ ละความตอ เนอื่ งของกาลเวลา ๑.ประวัติศาสตรสากล

เหตุการณสำคัญในประวตั ิศาสตรสากละนำมาเปน ตวั อยา ง คือ ยุคจกั รวรรดินยิ ม เกิดขึ้นมาจากปจ จัย หลายประการ ทั้งทางการเมือง เศรษฐกจิ และพลังทางสังคม ซงึ่ ทำใหประเทศในทวีปยุโรปมีอำนาจเขมแข็ง มีความกาวหนา ทางเศรษฐกิจ มีความเจริญรุงเรือง แตการมีอำนาจและความม่ันคงดังกลาวเกิดข้ึนมา เพราะการปฏิวัติอุตสาหกรรม และยุคจักรวรรดินิยม สิ้นสุดเมื่อสงครามโลกคร้ังที่ ๑ ซ่ึงทำใหมหาอำนาจ ท้ังหลายหยุดการลาอาณานิคม แตอาณานิคมทั้งหลายที่เปนอยูก็ยังคงเปนอาณานิคมตอมาอีกหลายป หลายชาติ เรม่ิ เรยี กรอ งเอกราช และสว นใหญไดเอกราชคนื ภายหลงั สงครามโลกครัง้ ท่ี ๒

๒.ประวัตศิ าสตรไทย

เหตกุ ารณสำคญั ในประวัติศาสตรไ ทย ท่ีนำมาเปนตวั อยา ง คอื ยุคการปรับปรงุ ประเทศ อยูในชวง พงศ. ๒๓๙๔-๒๔๗๕ หรือในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวถึง พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ระหวางน้ีมีการปรับปรุงและปฏิรูปประเทศทุกดานท้ังการปกครอง สงั คม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม ฯลฯ

วิธกี ารทางประวัตศิ าสตร

ความหมายของวิธีการทางประวัติศาสตร ในการสืบคน คนควาเรื่องราวทางประวัติศาสตร มีอยูหลายวิธี เชน จากหลักฐานทางวัตถุที่ขุดคนพบ หลักฐานท่ีเปนการบันทึกลายลักษณอักษร หลักฐานจากคำบอกเลา ซ่ึงการรวบรวมเร่ืองราวตางๆทาง ประวัตศิ าสตรเ หลา นี้ เรยี กวา วิธกี ารทางประวัติศาสตร วิธีการทางประวัติศาสตร คือ การรวบรวม พิจารณาไตรตรอง วิเคราะหและตีความจากหลักฐานแลว นำมาเปรียบเทียบอยางเปนระบบ เพื่ออธิบายเหตุการณสำคัญที่เกิดข้ึนในอดีตวาเหตุใดจึงเกิดข้ึน หรือ เหตกุ ารณใ นอดีตน้นั ไดเ กิดและคลี่คลายอยา งไร ซง่ึ เปนความมงุ หมายท่ีสำคญั ของการศึกษาประวัติศาสตร ข้นั ตอนที่ ๑ การกำหนดเปาหมาย เปนขั้นตอนแรก นักประวัติศาสตรตองมีจุดประสงคชัดเจนวาจะศึกษาอะไร อดีตสวนไหน สมัยอะไร และเพราะเหตุใด เปนการตั้งคำถามท่ีตองการศึกษา นักประวัติศาสตรตองอาศัยการอาน การสังเกต และ ควรตองมีความรูกวางๆ ทางประวัติศาสตรในเร่ืองนั้นๆมากอนบาง ซ่ึงคำถามหลักที่นักประวัติศาสตรควร คำนงึ อยตู ลอดเวลาก็คือทำไมและเกดิ ข้นึ อยา งไร ข้ันตอนที่ ๒ การรวบรวมขอมูล หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรท ่ีใหขอ มลู มีท้ังหลกั ฐานทีเ่ ปน ลายลักษณอ กั ษร และหลกั ฐานที่ไมเ ปนลาย ลกั ษณอกั ษร มีทง้ั ท่ีเปนหลกั ฐานช้ันตน (ปฐมภมู ิ) และหลักฐานชนั้ รอง(ทตุ ิยภูมิ)

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๑๑

การรวบรวมขอมูลนั้น หลักฐานช้ันตนมีความสำคัญ และความนาเช่ือถือมากกวาหลักฐานช้ันรอง แต หลกั ฐานช้ันรองอธบิ ายเรื่องราวใหเ ขา ใจไดง า ยกวา หลักฐานชัน้ รอง

ในการรวบรวมขอมูลประเภทตางๆดังกลาวขางตน ควรเริ่มตนจากหลักฐานช้ันรองแลวจึงศึกษา หลักฐานชั้นตน ถาเปนหลักฐานประเภทไมเปนลายลักษณอักษรก็ควรเริ่มตนจากผลการศึกษาของ นักวชิ าการทีเ่ ช่ยี วชาญในแตละดาน กอนไปศกึ ษาจากของจริงหรือสถานที่จรงิ

การศึกษาประวัติศาสตรที่ดีควรใชขอมูลหลายประเภท ข้ึนอยูกับวาผูศึกษาตองการศึกษาเรื่องอะไร ดังนั้นการรวบรวมขอมูลที่ดีจะตองจดบันทึกรายละเอียดตางๆ ทั้งขอมูลและแหลงขอมูลใหสมบูรณและ ถูกตอ ง เพอ่ื การอางองิ ทน่ี า เชอ่ื ถอื

ขัน้ ตอนท่ี ๓ การประเมินคุณคาของหลักฐาน วิพากษวิธีทางประวัติศาสตร คือ การตรวจสอบหลักฐานและขอมูลในหลักฐานเหลาน้ันวา มีความ นา เชื่อถือหรอื ไม ประกอบดวยการวิพากษหลักฐานและวิพากษขอมูลโดยข้ันตอนทั้งสองจะกระทำควบคูกัน ไป เนื่องจากการตรวจสอบหลักฐานตองพิจารณาจากเนื้อหา หรือขอมูลภายในหลักฐานนั้น และในการ วิพากษขอมูลก็ตองอาศัยรูปลักษณะของหลักฐานภายนอกประกอบดวยการวิพากษหลักฐานหรือวิพากษ ภายนอก

การวิพากษหลักฐาน (External criticism) คือ การพิจารณาตรวจสอบหลักฐานที่ไดคัดเลือก ไวแตละช้ินวามีความนาเช่ือถือเพียงใด แตเปนเพียงการประเมินตัวหลักฐาน มิไดมุงท่ีขอมูลในหลักฐาน ดังนนั้ ขั้นตอนนีเ้ ปน การสกัดหลกั ฐานที่ไมนา เช่ือถอื ออกไปการวพิ ากษขอ มลู หรือวพิ ากษภายใน

การวิพากษขอมูล (Internal criticism) คือ การพิจารณาเน้ือหาหรือความหมายท่ีแสดงออก ในหลักฐาน เพ่ือประเมินวานาเชื่อถือเพียงใด โดยเนนถึงความถูกตอง คุณคา ตลอดจนความหมายท่ีแทจริง ซึ่งนับวามีความสำคัญตอการประเมินหลักฐานที่เปนลายลักษณอักษร เพราะขอมูลในเอกสารมีท้ังท่ี คลาดเคลื่อน และมีอคติของผูบันทึกแฝงอยู หากนักประวัติศาสตรละเลยการวิพากษขอมูลผลท่ีออกมา อาจจะผิดพลาดจากความเปน จรงิ

ข้ันตอนท่ี ๔ การตีความหลักฐาน การตีความหลักฐาน หมายถึง การพิจารณาขอมูลในหลักฐานวาผูสรางหลักฐานมีเจตนาท่ีแทจริง อยางไร โดยดูจากลีลาการเขียนของผูบันทึกและรูปรางลักษณะโดยทั่วไปของประดิษฐกรรมตางๆเพื่อใหได ความหมายทแี่ ทจ ริงซึง่ อาจแอบแฟงโดยเจตนาหรอื ไมกต็ าม ในการตีความหลักฐาน นักประวัติศาสตรจึงตองพยายามจับความหมายจากสำนวนโวหาร ทัศนคติ ความเชื่อ ฯลฯ ของผูเขียนและสังคมในยุคสมัยน้ันประกอบดวย เพื่อทีจะไดทราบวาถอยความน้ันนอกจาก จะหมายความตามตวั อกั ษรแลว ยังมีความหมายท่แี ทจ ริงอะไรแฝงอยู

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๑๒

ขั้นตอนที่ ๕ การสงั เคราะหและการวิเคราะหข อ มูล จัดเปนขั้นตอนสุดทายของวิธีการทางประวัติศาสตร ซ่ึงผูศึกษาคนควาจะตองเรียบเรียงเร่ือง หรือ นำเสนอขอมูลในลักษณะที่เปนการตอบหรืออธิบายความอยากรู ขอสงสยั ตลอดจนความรูใหม ความคิดใหม ที่ไดจากการศกึ ษาคนควานั้น ในขั้นตอนนี้ ผูศึกษาจะตองนำขอมูลท่ีผานการตีความมาวิเคราะห หรือแยกแยะเพ่ือจัดแยกประเภท ของเร่ือง โดยเร่ืองเดยี วกันควรจัดไวด วยกัน รวมท้งั เรื่องทีเ่ ก่ียวของหรือสัมพนั ธกัน เรื่องท่เี ปนเหตเุ ปน ผลซ่ึง กันและกัน จากน้ันจึงนำเรื่องทั้งหมดมาสังเคราะหหรือรวมเขาดวยกัน คือ เปนการจำลองภาพบุคคลหรือ เหตุการณในอดีตขึ้นมาใหม เพ่ือใหเห็นความสัมพันธและความตอเนื่อง โดยอธิบายถึงสาเหตุตางๆ ที่ทำให เกิดเหตุการณ เหตุการณท่ีเกิดขึ้น และผล ทั้งน้ีผูศึกษาอาจนำเสนอเปนเหตุการณพื้นฐาน หรือเปน เหตุการณเ ชงิ วเิ คราะหก ็ได ขึ้นอยูกบั จุดมุง หมายของการศึกษา

การแบง หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร

เร่ืองราวทางประวัติศาสตรไมอาจสรางข้ึนเองอยางเลือนลอยไดตามความพอใจของผูหน่ึงผูใด แต ประวัติศาสตรเปนผูทำหนาที่สืบสวนคนควาขอเท็จจริงตาง ๆ ทีเกิดข้ึนในอดีตแลวนำมาใชเปนหลักฐาน อางอิงในการบันทกึ เร่ืองราวทางประวัตศิ าสตร

หลกั ฐานทางประวัติศาสตร ตามแหลงขอมลู ๑. หลกั ฐานชั้นตน (Primary source) สิ่งที่บันทึก, สรางหรือจัดทำข้ึนโดยผูเก่ียวของกับเหตุการณนั้นโดยตรง เชน จารึก, เอกสารทาง

วิชาการ, จดหมายโตต อบ ๒. หลกั ฐานช้นั รอง (Secondary source) สง่ิ ทีบ่ นั ทกึ สรา งหรือจัดทำขน้ึ หลงั จากเหตกุ ารณน ั้น ๆ ผา นพนไปแลว หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร ๑. หลักฐานท่เี ปน ลายลกั ษณอกั ษร – จารกึ , พงศาวดาร, จดหมายเหต,ุ บนั ทึกสวนตัว ๒. หลกั ฐานทไ่ี มเปนลายลกั ษณอกั ษร – โบราณสถาน, โบราณวัตถ,ุ เงนิ ตรา

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๑๓

บทท่ี ๒

ความท่วั ไปเกี่ยวกับประวัตศิ าสตรก ฎหมาย

การศึกษาทางดานกฎหมายไทยท่ีผานมาเปนการศึกษาวิวัฒนาการของกฎหมายไทยตั้งแตแรกมี หลักฐานในสมัยสุโขทัยจนถึงสมัยรตั นโกสินทรตอนตน การปฏริ ูปกฎหมายไทยในชวงรชั กาลที่ ๕-๗ ระบบ กฎหมายไทยหลังการเปลี่ยนแปลง พ.ศ. ๒๔๗๕ กระบวนการยุติธรรมและการบังคับใชกฎหมาย เม่ือไทย ไดเปดประเทศทำสนธิสัญญาเบาวริงกับอังกฤษ (พ.ศ. ๒๓๙๘) และประเทศตะวันตกอ่ืน ๆ ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ผลกระทบ (impacts)ดานสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและ วัฒนธรรมจากอารยธรรมตะวันตกสงผลใหสังคมไทยเกิดการเปล่ียนแปลงทั้งในดานเศรษฐกิจ แนวคิดทาง การเมอื งการปกครองและสังคมวัฒนธรรม การทำสนธิสัญญากับตางประเทศทำใหชาวตา งชาติมีสิทธสิ ภาพ นอกอาณาเขตในพระราชอาณาจักรไทยเราตองยกเวนการใชอำนาจศาลและกฎหมายไทยแกคน ตางประเทศตามสนธิสัญญาเบาวริง จึงจำเปนตองปรับปรุงกฎหมายเดิมท่ีบัญญัติไวในคัมภีรพระ ธรรมศาสตรเพ่ือใหเหมาะสมกับสถานการณบานเมืองที่เจริญข้ึนตามกาลสมัย ดังจะเห็นไดจากการที่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวไดทรงใชพระราชอำนาจในการตรากฎหมายเพื่อควบคุมการบริหาร ประเทศในฐานะผูออกกฎหมายอยางแทจริง (โปรดดูในหนวยที่ ๙ ประเด็นในการศึกษาทางดานกฎหมาย) ใหมีผลบังคับใชในรัชสมัยของพระองค และนำไปสูการปฏิรูประบบกฎหมายไทยในรัชกาลท่ี ๕ และรัชกาล ตอ ๆ มาจนประเทศไทยไดรบั สิทธสิ ภาพนอกอาณาเขตอยางสมบูรณต ั้งแต พ.ศ. ๒๔๘๑ เปน ตน มา

เม่ือเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาสูระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตั้งแต พ.ศ. ๒๔๗๕ จนถึงปจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๕๐) เปนเวลา ๗๕ ป ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญและธรรมนูญการปกครองประเทศถึง ๑๗ ฉบับปจจุบันคือฉบับท่ี ๑๘ ซ่ึงเปน รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช... เปนฉบับซึ่งอยูระหวางการพิจารณาของสภาราง รัฐธรรมนูญมีทั้งหมด ๒๙๙ มาตรา รางรัฐธรรมนูญฉบับน้ีมีสาระสำคัญและวัตถุประสงคเพื่อ “จะ แกปญหาของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ท่ีกอใหเกิดการผูกขาดอำนาจรัฐ และการใชอำนาจอยางไมเปนธรรม การดำเนินการทางการเมืองที่ขาดความโปรงใส ไมมีคุณธรรมและ จริยธรรม ระบบการตรวจสอบการใชอำนาจรัฐท่ีลมเหลว และการใชสิทธิเสรีภาพของประชาชนยังไมได รับการคุมครองและสงเสริมอยางเต็มท่ี” (คณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐:๑) สาระสำคัญ ดังกลา ว จึงมุงทจี่ ะแกปญ หาใน ๓ แนวทาง คอื

๑. การคุม ครอง สง เสรมิ และการขยายสทิ ธิและเสรภี าพของประชาชนอยางเต็มที่ ๒. การลดการผูกขาดอำนาจรัฐและขจัดการใชอ ำนาจอยางไมเปน ธรรม

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๑๔

๓. การทำใหการเมอื งมคี วามโปรงใส มคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม

๑. ประวัตศิ าสตรก ฎหมายคืออะไร

คือ การศึกษาวิวัฒนาการของแนวความคิด หลักและกฎเกณฑท่ีมนุษยไดกำหนดขึ้นมาเพื่อรักษา ความเปนระเบียบเรียบรอยในสังคม อันตองอาศัยกาลเวลา และการเกิดจากเหตุการณตาง ๆ กัน เก่ียวกับ ตัวบทกฎหมายที่ผานมาและเหตุผลของการเปล่ียนแปลงนั้นดวย วาทำไมจะตองเขียนอยางนั้น ทำไมตอง เปล่ียนแปลง เพ่ือใหทราบถึงความสัมพันธระหวางกฎหมายกับมนุษยท่ีอยูรอบ ๆ กฎหมาย เน่ืองจาก กฎหมายเปนสว นสำคัญของวัฒนธรรมในสงั คม และชวี ิตความเปน อยูข องมนุษย

๒. การเรยี นประวตั ศิ าสตรกฎหมายมปี ระโยชนอยา งไร

มีประโยชนอยางสูงในการทำความเขาใจใหทราบถึงเหตุและผลของที่มาท่ีไป หรือกลาวอีกนัยคือ ทำใหทราบเหตทุ ่ีทำใหเกิด และเหตุทที่ ำใหเ ปล่ียนแปลง หรอื อาจจะเสื่อมลงวาเปน เพราะอะไร ทำไมจงึ เปน เชนนั้น มีปจจัยรอบขางอะไรถึงกฎหมายที่ดี ไมดีอยางไร กาลเวลา สังคม วัฒนธรรม ศีลธรรม ศาสนา มี ผลกระทบตอการเปล่ียนแปลงรูปแบบของกฎหมายหรือไม เมื่อไดศึกษาโดยละเอียดยอมสามารถทำใหทาน เขาใจอยา งมเี หตุผล ซ่ึงเปน ประโยชนพื้นฐานทีส่ ำคัญมากในการเรยี นกฎหมาย

นอกเหนอื จากทีไ่ ดก ลา วมาแลว ยงั มปี ระโยชนในความรรู อบดา นทีเ่ ก่ยี วกับกฎหมายในอดีต ไดแ ก ๑. ทำใหรูระเบียบของชุมชนในอดีต และทำใหทราบถึงวิธีการตาง ๆ ทางกฎหมายท่ีมนุษยคิดคน

ข้ึนมาเพ่ือแกปญหาของความยุงยากทางสังคม อันจะทำใหสามารถนำมาเปนประสบการณชี้ แนวโนม ของกฎหมายในอนาคตไดด ว ย ๒. ทำใหทราบถึงระบบการเมอื ง การปกครองของประเทศตา ง ๆ ๓. ทำใหทราบอารยธรรมตาง ๆ เพราะถือวาเปนสวนสำคัญอยางหนึ่ง ในการเรียนประวัติศาสตร อันหลีกเลยี่ งมไิ ดด วย

การศึกษาวชิ าประวตั ศิ าสตรก ฎหมาย

ประวัตศิ าสตรก ฎหมาย อาจแบงออกไดเปน ๒ สว นคือ สวนแรก จะศึกษาถึงประวัติศาสตรของไทยเราเอง ซึ่งมี ๓ ยุคสมัย ที่มีผลตอการเปล่ียนแปลง ประวัตศิ าสตรกฎหมายไทยมาก ดังน้ี ๑. กฎหมายสโุ ขทยั ซ่ึงเร่ิมตั้งแตสมัยพอ ขุนรามคำแหง ป ๑๘๒๖ ซึ่งมอี ยู ๓ เรือ่ ง ดว ยกนั คอื

๑.๑ กฎหมายพอขุนรามคำแหง ๑.๒ ศิลาจารกึ หลกั ที่ ๓๘ หรือทีเ่ รียกวา กฎหมายลกั ษณะโจรสมยั สุโขทยั ๑.๓ มังรายศาสตร หรือกฎหมายของพระเจามังราย ๒. กฎหมายอยธุ ยา จะเกิดความยากลำบากตรงท่เี ราไมมีตัวบทกฎหมายเลย

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๑๕

ถามวา ทำไมไมมี ก็เพราะเขาใจวา สมัยกรุงศรีอยธุ ยาต้ังแตป  ๑๘๙๓-๒๓๑๐ เราถอื วา กรุงศรี อยธุ ยา ต้งั ขน้ึ เม่อื ป ๑๘๙๓ และสน้ิ สุดเมอ่ื ป ๒๓๑๐ สมยั กรงุ ศรอี ยุธยาน้ันเราไมมีตวั บทกฎหมายเหลอื อยู เลย เหตเุ พราะวา สมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยานั้นครงั้ หนง่ึ ๆ กฎหมายเขียนขึน้ มา ๓ ฉบบั และเกบ็ ไวท ี่

ฉบบั ท่ี ๑ เก็บท่หี อ งเครื่องหรือหองเสวยพระกระยาหารของพระเจาแผนดิน ฉบบั ที่ ๒ เกบ็ ไวท ่ีหอหลวง คือ สถานทท่ี ่ขี นุ นางปฏบิ ตั ริ าชการ ฉบับท่ี ๓ เกบ็ ไวท่ศี าลหลวง สำหรับขนุ ศาลตลุ าการนำออกมาใหพ ิจารณา และพิพากษาอรรถคดี ตา ง ๆ เมือ่ ป ๒๓๑๐ พมาเผาทำลายกรงุ ศรีอยุธยา ทำใหก ฎหมายทงั้ หลายทเ่ี ก็บไวใ นท่สี ามแหงดังกลา ว ถูกเผาไปดวย แมจะมอี ยบู า งก็อาจเปน ฉบับทค่ี ดั ลอกกนั ตอ ๆ มา ๓. สมัยรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๑ ก็นำกฎหมายเหลานี้มาใช และก็เกิดปญหาจากการรองทุกขฎีกาของ นายบุญศรี ชางเหล็กหลวง รองทุกขวา เมียตวั เอง คือ อำแดงปอมไปทำชูกับคนอื่นแลวมาฟองหยา นายบุญ ศรีไมยอมหยา คดีน้ีตองจำ เขาตั้งชื่อวา คดีอำแดงปอม คำวา อำแดงเปนคำนำหนาชื่อสตรีสมัยกอน พอ มาถึงรัชกาลท่ี ๖ จึงไดมีการเปลี่ยนเปน นางสาว, นาง ซ่ึงคดีน้ีศาลพิพากษาใหหยาได โดยอางวากฎหมาย เขยี นวาเปน หญิงหยา ชายชายหยาได รชั กาลท่ี ๑ เหน็ วากฎหมายเขียนไวอยางน้นั ไมเปนธรรม เพราะอำแดง ปอมเปนฝายผิดแลวยังมาขอหยาสามีโดยการพึ่งบารมีศาล ซึ่งตามหลักสมัยใหมน้ันทำไมได เขาบอกวาคน ที่มาศาลตองมาดวยมือสะอาด จึงทำการชำระสะสางกฎหมายเสียใหม เรียกวา กฎหมายตรา ๓ ดวง นี่เปน กฎหมายเม่ือคร้ังกรุงรัตนโกสินทรน้ีเอง แตเน่ืองจากกฎหมายนี้ใชกฎหมายที่คัดลอกมาตั้งแตสมัยกรุงศรี อยุธยามาเปนแบบอยางในการเขียนขึ้นมาใหม หรือนำเอาของเกามาแกไขใหถูกตองตามความยุติธรรม ซึ่ง เรียกวา กฎหมายตราสามดวง กฎหมายนี้ก็ใชมาถึงประมาณป พ.ศ.๒๔๘๒ ก็ยกเลิกหมด เม่ือเรามีประมวล กฎหมายตาง ๆ ทยอยออกมา ไมใชออกมาทีเดียวทุกประมวลกฎหมาย คือ เมื่อมีกฎหมายใหมออกมาก็ ยกเลิกกฎหมายตราสามดวงไปเร่ือยจนหมด ฉะนั้นกฎหมายตราสามดวง ซึ่งเปนกฎหมายท่ีตราข้ึนสมัย รัชกาลที่ ๑ จึงมีลักษณะท่ีถือวาเปนกฎหมายสมัยกรุงศรีอยุธยา นอกจากนี้ในพระอัยการลักษณะตาง ๆ ใน กฎหมายตรา ๓ ดวง ยังระบุพระนามพระเจาแผนดินที่ทรงบัญญัติกฎหมายตรานั้นขึ้น ซ่ึงก็เปนพระเจา แผนดินในสมัยกรุงศรีอยุธยาท้ังส้ิน และศักราชที่ใชในกฎหมายเหลานี้ลวนแตเปนศักราชที่มีอายุนอยถอย หลังไปถึงสมัยอยุธยาท้ังสิ้นเชนเดียวกัน เขาจึงถือวา การเรียกกฎหมายตราสามดวงก็เหมือนกับการเรียน กฎหมายสมัยกรงุ ศรอี ยุธยา เพราะเขาเห็นวา เปนอันเดยี วกัน แตมีขอสังเกตวา กฎหมายตราสามดวงอาจจะไมใชกฎหมายท่ีเขียนอยางกฎหมายเม่ือคร้ังกรุงศรี อยุธยาก็ได เพราะกฎหมายตราสามดวงก็มีการแกไข เปล่ียนแปลง แตจริง ๆ แลวเราไมรูวากฎหมายสมัย กรุงศรีอยุธยาเขียนไววาอยางไร แตนาจะมีการแกไขเปลี่ยนแปลงเพราะใชเวลา ๑ ป ในการแกไข เปล่ยี นแปลงโดยนำกฎหมายเกาที่เหลอื อยมู าแกไ ข น้กี ็คอื ความเปนมาโดยสรุป สำหรบั สวนท่ี ๒ กจ็ ะกลาวถงึ ระบบกฎหมายสากล

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๑๖

บทท่ี ๓ กฎหมายสมัยเมโสโปเตเมยี

มีวิวัฒนาการมาจากกฎหมายบาบิโลน (Baby Lonian Lwa) และประมวลกฎหมายพระเจาฮัมมูราบี (Hammuriabi Code) โดยมรี ายละเอยี ดดังตอ ไปนี้

กฎหมายในสมัยบาบิโลน เกิดข้ึนทางแถบดินแดนอุดมสมบูรณ โดยมีอารยธรรมและความเจริญเกิดขึ้น รวมทั้งกอใหเกิดกฎหมายข้ึนมาในสมัยบาบิโลน เม่ือกอนคริสตกาลประมาณ ๕,๐๐๐ ป มีชนเผาด้ังเดิมอาศัยอยูใน ลุมแมน้ำ ๒ สาย แมน้ำสายแรกคือ แมน้ำไทกริส (Tigris) และแมน้ำยูเฟรติส (Euphrates) ดินแดนที่อุดมสมบูรณ ระหวางแมน้ำ ๒ ลายน้ี เรียกวา เมโสโปเตเมีย (Mesopotamia) ซ่ึงปจจุบันเปนที่ตั้งประเทศอิรักในสมัยนั้นมี กฎหมายลายลักษณอ ักษรเกดิ ขนึ้ ถอื วา เกา แกท ่สี ุดในโลก สมัยบาบโิ ลนดินแดนแถบน้ไี ดม ชี นเผา ตาง ๆ มาอาศยั อยู หลายเผา ดวยกนั ดังนค้ี ือ

(๑) สุเมเรยี น (Sumaria) (๒) อคั คาเดยี หรอื อคั คัด (Akkadia) (๓) บาบโิ ลเนยี (Babylonia) (๔) เปอรเซีย (Persia) ตอมา มีการรุกรานจากชนเผาที่ราบสูง คือ พวกอัคคาเดียหรืออัคดัด (Akkadia) ซ่ึงเปนนักรบไดเขามา รุกรานพวกสุมเรีย และในที่สุดก็รบชนะพวกสุเมเรียทำใหตกเปนทาสถูกใชแรงงาน และเผาอัคดัดไดมีผูตั้งตนเปน กษัตริยปกครองมีพระนามวา พระเจาซารกอน (Sargon) พระองคไดทรงพัฒนาอารยธรรมของตนเอง และไดรับ เอาอารยธรรมของเผาอื่นถึงข้ันคิดคนตัวอักษรข้ึนมาใชเปนผลสำเร็จ เรียกวา อักษรล่ิมหรือคิวนิฟอรม (Cuneiform) นอกจากนี้ชนชาติตาง ๆ ไดสรางอารยธรรมข้ึนและเปนอารยธรรมดั้งเดิมที่ไดสืบเน่ืองมาเปนอารย ธรรมของประเทศตาง ๆ ท่ัวโลก ไมวาจะเปน ทางดา นรัฐศาสตร ทางการปกครอง ทางอักษรศาสตร หรือแมกระท่ัง ทางสถาปต ยกรรมการกอ สรางตา ง ๆ ทางศาสนา ทางวรรณคดีและท่ีสำคัญกค็ ือ อารยธรรมทางนิตศิ าสตร ในสมัยพระเจาซารกอนยังไมมีประมวลกฎหมายเกิดข้ึน จนกระทั่งอีก ๒๐๐ ปตอมา มีการสืบทอดราช สมบัติตอจากพระเจาซารกอน คือ ประมาณ ๔,๘๐๐ ปกอนคริสตกาล มีกษัตริยพระนามวา พระเจาฮัมมูราบี (Hammurabi) ไดทรงปกครองชาวบาบิโลนในสมัยตอมา และพระองคมีความคิดวาจะตองปกครองใหราษฎรอยู ดว ยความรมเย็นเปนสุข ซึง่ การปกครองทดี่ ีกต็ องมีกฎเกณฑท ่ดี ี มีกฎหมายทใ่ี ชใ นการปกครอง

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๑๗

ฉะน้ันพระเจาฮัมมูราบีจึงไดรวบรวมเอานักปราชญนักคิด มาชวยกันเขียนกฎหมายขึ้นมาเปนผลสำเร็จ และไดใชชื่อเดียวกับ พระมหากษัตริยพระองคน้ีคือ ประมวลกฎหมายพระเจาฮัมมูราบี หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกวา Hammurabi code ซ่ึงถือวาเปน กฎหมายที่เกาแกท่ีสุดในโลก โดยใชอักษรคิวนิฟอรม การเขียน กฎหมายไดเขียนบนกอนศิลาหรือกอนหิน ซึ่งคลายกับของไทยท่ีการ เขียนกฎหมายใชอักษรที่เรียกวา ลายสือไทย และเขียนไวบนศิลา จารึก ในตำนานบางเลม บอกวา Hammurabi code นี้เกิดข้ึนในราว ป ค.ศ.๑๙๐๒ กอนคริสตศักราช ซึ่งหลักฐานทางประวัติศาสตรที่ คนพบจะเหน็ วา กฎหมายบาบิโลนเกิดกอนกฎหมายโรมนั

หลักกฎหมายสำคัญที่ปรากฏใน Hammurabi Code มี กฎหมายอยู ๓ ประเภทใหญ ๆ คือ

๑. กฎหมายมหาชน ๒. กฎหมายเอกชน ๓. กฎหมายอาญา ทนี มี้ าดูรายละเอยี ดในกฎหมาย Huammurabi Code ๑. กฎหมายมหาชน กฎหมายนี้เราตองทราบการแบงชนช้ันในสมัยบาบิโลนเสียกอน ในสมัยน้ันไดมีการ แบงชนชั้นวรรณะของประชาชนออกเปน ๓ ประเภทดวยกัน เมื่อมีการแบงชนช้ันออกเปน ๓ ประเภท กฎหมายก็ จะตองบัญญตั อิ อกมาสอดคลองกบั วรรณะ หรอื ชนชั้นของประชาชนดังกลา ว ซึง่ การแบง ชนชัน้ มดี งั นีค้ ือ

๑.๑ ชนช้ันสูง (Awellu) ซงึ่ เปน ชนชนั้ ปกครองพวกขุนนาง ๑.๒ ประชาชนธรรมดา (Muskinu) หรือพวกเสรีชน (Freeman) ๑.๓ ชนช้นั ต่ำ (Ardu) หรอื ทาส การกระทำความผดิ ตอชนชั้นสูงหรอื ที่เรียกวา อภิสิทธิ์ชนจะตองไดรับ หรือถกู ปรับสูงกวาอัตราปกติ หรือ มากกวาประชาชนธรรมดา ถาชนชัน้ สงู ทำรา ยรางกายประชาชนธรรมดา ประชาชนธรรมดาจะทำรา ยตอบไมไ ด จะ ทำไดก็แตเรียกรองคาเสียหาย ชดใชเปนทรัพยสิน แตกลับกัน ถาประชาชนธรรมดาไปทำรายชนชั้นสูง กฎหมาย Hammurabi Code ใหอำนาจผูถูกทำรายแกแคนตอบแทน เนื่องจากการที่จะไปจายคาเสียหายใหน้ันเขาไม ตอ งการ เพราะเขามีเงินทองอยูแลว ดังนน้ั จงึ ทำใหเ ห็นถึงสภาพความไมเ ทา เทยี มกัน ขอสังเกต Hammurabi Code ไดแบงชนชั้นออกเปน ๓ วรรณะ ที่ต่ำท่ีสุด คือ ชนชั้นต่ำ หรือทาส ไดแก ประชาชนธรรมดาท่ีเปนหนี้แลวไมสามารถใชคนได ก็ตองมาทำงานชดใชหรือเปนทาส แตอยางไรก็ตามใน Hammurabi Code บอกวา ถาทาสเกิดมีลูกหรือชนช้ันที่สามกับชนช้ันที่สองรักใครชอบพอแลวแตงงานกัน ลูกท่ี เกิดมาจะเปนอิสระถือวาลูกท่ีเกิดมาไมไดเปนทาสแตเปนประชาชนธรรมดา หรือเสรีชน (Freeman) ถามีคนตาง เผาหรือคนตางดาวเขามาอาศัยอยูในเมือง ก็ใหเอากฎหมาย Hammurabi Code ไปใชดวยโดยใหถือวา อยู ภายใตกฎหมายเดียวกัน หมายความวา คนตางดาวหรือชนเผาอ่ืนที่เขามาอยูในบาบิโนจะไมมีเอกสิทธิ์ในสวนนี้จึง ถือวา เปนกฎหมายมหาชน

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๑๘

๒. กฎหมายเอกชน เปน กฎหมายทวี่ า ดวยสิทธหิ นา ท่ีตาง ๆ มีกฎหมายอยู ๖ ประเภท คือ (๑) กฎหมายลักษณะเชา ท่ีดินสมัยนั้นถือวากษัตริยเปนเจาของ ประชาชนอยากจะทำไรไถนา

เพาะปลูกก็สามารถที่จะมาขอเชาได จะเห็นไดวามีการทำสัญญาเชาทีด่ ินต้ังแตสมัยบาบโิ ลน ซึ่งการเชาท่ีดินจะตอง มีการเสียคาเชาหรือคาตอบแทนดวย ถาเกิดคดีพิพาทข้ึนมา โดยปรากฏวาเชาที่ดินของกษัตริยแลวไปมีเร่ืองมีราว กบั ท่ดี นิ ขางเคยี ง หรอื ทำความเสียหายเกิดขนึ้ ผทู ่จี ะตองรบั ผดิ ชอบใน Hammurabi Code บอกวา เมือ่ ผเู ชา เปน ผู กอความเสียหาย ผูเชาจะตองรับผดิ ชอบ ดังนั้นจะมาเรียกรองจากเจาของที่ดินคือพระมหากษัตริยไมได แตในสมัย นน้ั ถา เอกชน หรอื คนธรรมดาไปจับจองหรือครอบครองเปนเจา ของที่ดินกส็ ามารถเอาใหค นอน่ื เชา ไดเชนเดียวกัน

(๒) กฎหมายเชาปศุสัตว นอกจากที่ดินทำกินแลว พวกปศุสัตวก็คือ สัตวที่ใชทำการเกษตรซ่ึง ไมไดเชาเฉพาะท่ีดินทำกิน ยังเชาสัตวพวกน้ีดวย การเชาปศุสัตวผูท่ีเปนเจาของฟารมไมอยากทำกิจการ ก็เอาปศุ สัตวนี้ไปใชใหผูอื่นเชาได การเชาปศุสัตวตางจากการเชาประเภทแรก ซึ่งเชาเฉพาะท่ีดิน การเชาปศุสัตวน้ีจะมีสัตว เล้ียงอยูบนที่ดินนั้นดวย อยางไรก็ตามถา เชาไปแลวใหอ าหาร ยารกั ษาโรคไมด ีพอทำใหส ัตวเลี้ยงตาย Hammurabi Code ก็ไดเขยี นไวว า ผูเชาปศุสัตวน ัน้ จะตอ งรบั ผดิ ชอบในความเสียหายทีเ่ กดิ ขนึ้ และมขี อ ความเพมิ่ เติมวา การเชา ปศสุ ัตวน น้ั เปนหนาทีข่ องผูเ ชา จะตองดูแลใหม ีการสืบพันธุออกลกู ออกหลานไมใ ชป ลอยใหสูญพนั ธุไป ถาเกดิ ความ เสยี หายขน้ึ ผูเชาตอ งรับผิดชอบในความเสียหายทเี่ กดิ ขึ้นดังกลา ว

นอกจากน้ี ถาวัวไปกินพืชพันธุของคนอื่นที่ดินขางเคียงเขาปลูกไว ผูเชาปศุสัตวก็ตองรับผิด เชน เดียวกัน

(๓) กฎหมายชลประทาน น้ำเปนสิ่งสำคัญมาก สังคมด้ังเดิมเปนสังคมเกษตรกรรม ดังน้ันการ เพาะปลูกทำไร ทำนา จึงตองอาศัยน้ำกิน น้ำใช ซึ่งกฎหมายชลประทานนี้ใหความสำคัญตอแหลงน้ำ มีการขุด คลอกคลอง คลองสงน้ำ แตถาผูท่ีขุดลอกคลองสงน้ำไปทำความเสียหายกับแหลงน้ำคนท่ีกอความเสียหายตอง รบั ผดิ ชอบ อาจจะทำใหน้ำขุน หรือทง้ิ อะไรลงไปในนำ้ ทำใหเกดิ การเนา เสยี ขน้ึ

(๔) กฎหมายวาดวยการจางแรงงาน เมื่อมีท่ีดินกวางใหญไพศาล แตไมสามารถทำไร ไถนาคน เดียวได จงึ ไปจางคนอ่ืนมาชวยทำ ในสมัยน้ันไมมีการทำใหฟรี ถาจะทำใหฟรีก็เฉพาะพวกทาสกับนายทาส ซ่ึงพวก ทาสจะไมอ ยูภายใตก ฎหมายวา ดวยการจางแรงงาน ทาสนั้นนายทาสสามารถใชแรงงานฟรโี ดยไมตองจายตอบแทน เพราะการเก็บหน้ีสินทำใหตองมาเปนทาสทำงานชดใชหนี้ แตถาเปนคนอ่ืนไมใชทาส เมื่อใหเขามาทำงานให จะตอ งมกี ารจายสนิ จา งหรือคา ตอบแทนดวย จึงเกิดเปน กฎหมายจางแรงงานข้ึนมา

(๕) กฎหมายครอบครัว ในสมัยบาบิโลนการสมรสจะเปนไปในลักษณะที่เรียกวา การซ้ือขาย คือผูชายจะ เปนผูไปซ้ือผูหญิงมา ที่เรียกแบบนี้เพราะวา บิดามารดาของทั้งสองฝายเปนผูจัดการใหมีการสมรสโดยตลอด เริ่มแรกโดยฝายชายอาจจะเปนพอ แม มอบเงินจำนวนหนึ่งใหแกฝายหญิงแลวเอาตัวผูหญิงมา ซึ่งเหมือนกับของ ไทยสมัยรัชกาลท่ี ๕ ถือวาเปนการซือ้ ขาย คนเปนทรัพยสิน ฝายชายไปซ้ือผูหญิงมาได แตจะตองใชเงินจำนวนหนึ่ง ภาษาอังกฤษเรียกวา Bride – Price อยางไรก็ตามบิดามารดาของฝายหญิงก็จะมอบเงินทุน (Dowry) เงินทุนนั้น อาจจะเปนเงินหรือทรัพยสินก็ได และเงินทุนนจี้ ะตกเปนสินสวนตวั ของหญิงตลอดชีวิต ถาฝายหญิงถึงแกความตาย เงินทุนน้ันก็ตกไดแกบุตรของหญิงนั้น แตถาไมมีบุตร Hammurabi Code บอกวาเงินทุนนั้นจะถูกสงกลับคนมาให ครอบครวั เดิม

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๑๙

ในสมัยน้ัน กฎหมายพระเจาฮัมมูราบีเขียนไววา สามีภรรยาเปนบุคคลเดียวกัน ถาเกิดฝายหญิงมีหน้ีสิน และมาแตงงานกับฝายชาย หน้ีน้ันสามีก็ตองรับมาดวย ตองชำระหนี้แทนฝายหญิง แมเปนหน้ีท่ีเกิดกอนสมรสก็ ตาม อยางไรก็ตามบทบัญญัติใน Hammurabi Code อนุญาตใหมีการทำสัญญาจำกัดความรับผิดในเรื่องหนี้สินได ฉะนั้นถาชายจะสมรสกับหญิงและจะไมรับผิดชอบในหน้ีสินที่ฝายหญิงมีมากอนสมรส ตองทำสัญญากันใหชัดเจน ถาไมมีสัญญาถือวาสามีภรรยาเปนบุคคลคนเดียวกัน ดังน้ันหน้ีสินของภรรยาก็เปนหนี้ของสามีดวย เม่ืออยูกันกัน แลวอาจจะมีการหยาขาดจากกันได โดยเฉพาะสามีจะหยากับภรรยาของตนเมื่อไรก็ได แตตองมอบเงินทุนใหแก ภรรยาไป และใหภ รรยาเปนผูดบู ุตร โดยสามเี ปนผูจายคา อุปการะเลยี้ งดู ในกรณีทภ่ี รรยาประพฤติชว่ั เม่อื หยา ขาด จากกันแลว สามีมีสิทธิปกครองบุตรและไมตองคืนเงินทุน ถาสามีโหดรายทารุณภรรยาอาจรองของตอศาลสั่งให ตนเองแยกกันอยูกับสามี และใหสามีคืนเงินทุนใหก็ได ถาภรรยาตกเปนหญิงหมายสามีตาย ภรรยาจะทำการสมรส ใหมได โดยไดรบั อนุญาตจากศาลและศาลจะวางขอบังคับอยางเขมงวด กวดขันในสวนที่เก่ียวกับทรัพยสินของสามี คนกอน ทง้ั น้ีเพอื่ ประโยชนของบตุ รทีเ่ กดิ จากเจา มรดกน่นั เอง

ภรรยาไมทำเชนน้ี สามีอาจหาหญิงอื่นมาเปนภรรยานอยได ถึงแมสถานะภรรยานอยจะดอยวาภรรยา หลวง Hammurabi Code บอกวา ความสัมพันธระหวางสามีภรรยารวมท้ังการขาดจากการสมรส ใหเอา หลกั เกณฑค ลา ยคลงึ ในเร่ืองภรรยาหลวงมาใชด วย

(๖) กฎหมายนิติกรรมและสัญญา การทำสัญญาในสมัยนั้นนิยมใหเจาหนาที่เปนผูเขียนให ซึ่งเจาหนาที่ใน สมัยน้ันตำราใชคำวา สไครส (Scrives) หรือสไครเวอเนอร (Scrivener) เพราะฉะนั้นเอกชนกบั เอกชนจะทำสัญญา กันโดยมากแลวนิยมใหเจาหนาที่ท่ีเขียนให มีการประทับตราและมีพยานรับรองในที่สาธารณะ ถาไมทำเปนลาย ลักษณอักษรในลักษณะแบบน้ีจะเปนโมฆะสัญญานั้นใชไมได ซ่ึงในกฎหมายมิไดบังคับไวอยางน้ัน แตบอกวาคน ๒ คน จะทำสัญญากันจะนิยมใหเจาหนาที่เขียน และศาลก็เช่ือถือ หรือจะทำสัญญากันเองก็ได แตศาลจะเช่ือหรือไม เปนอีกเร่ืองหนงึ่ ฉะนน้ั สูวิธีทีใ่ หเ จา หนา ท่ีเขียนใหไมได แตน ไ้ี มใ ชแ บบของนิติกรรม ถา ไมไดท ำแลวสัญญาจะไมเปน โมฆะเพยี งแตเปน การอา งอิงในเรอื่ งพยานหลกั ฐาน เวลามกี ารพสิ ูจนว า มีการทำสญั ญากันจริง ๆ หรอื ไม

ขอสังเกตวา ถาใหเจาหนาท่ีเขียนมีการประทับตรา และมีพยานรูเห็นแลวคูกรณีจะนำสืบหักลางโดยเอา พยานบุคคลมาพิสูจนวาไมจริง พิสูจนหักลางไมได นอกจากน้ีสัญญาหรอื นิติกรรมท่ีทำกันนั้นจะมีขอหน่ึงกำหนดไว วา เม่ือมีขอ พพิ าทเกดิ ขน้ึ ใหก ษัตรยิ เปนผูชีข้ าด สัญญาทีท่ ำกนั มากที่สดุ คือ สัญญาซอื้ ขาย

หลักในเร่ืองเกี่ยวกับสัญญาซื้อขาย มีหลักอยูขอหนึ่งซึ่งเปนภาษาลาติน เรียกวา คาวีตเอมเตอร (Caveat Empter) แปลวา “ผูซื้อตองระวัง” คือ กอนท่ีจะซื้อตองดูใหดีกอนวาทรัพยสินน้ันชำรุดบกพรองหรือเปลา เพราะ ถารูวาชำรุดบกพรองแตยังซ้ือไป กรณีน้ีจะมาเรียกใหผูขายรับผิดในความชำรุดบกพรองไมได แมทรัพยสินนั้นจะ ชำรดุ กต็ าม อันนเ้ี ปน หลักต้ังแตในสมยั Hammurabi Code ทกุ วนั นี้กฎหมายซือ้ ขายของไทยก็ยงั มีหลักน้อี ยู

นอกจากนี้การสงมอบ Hammurabi Code ยังขยายความวา มีการสงมอบโดยปริยายดวย เชน ถาใน ปจ จุบันการซอ้ื ขายรถยนตจะสง มอบโดยการสง กุญแจให หรือถาซ้ือชางผูข ายจะหยิบโซหรือเชือกที่ติดอยูกับตัวชาง สงใหผ ซู อ้ื โดยไมแตะตองทรพั ย กถ็ อื วาผขู ายสงมอบเรียบรอ ยแลว

ขอสังเกต ในเรื่องเกี่ยวกับการซ้ือขายทรัพยสินหรือรับฝากทรัพยสิน กฎหมาย Hammurabi Code ได บัญญัติลงโทษผูซื้อทรัพยสิน หรือผูรับฝากทรัพยสิน จากคนท่ีเปนผูเยาว หรือทาส โดยปราศจากอำนาจผูซ้ือจะถูก ลงโทษฐานลักทรัพย และถาผูใดรับทรัพยสนิ ที่ถูกลักมา จะมีความผิดและถูกลงโทษถงึ ขน้ั ประหารชีวิต ยกเวน กรณี

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๒๐

สามารถพิสูจนไดวาไดรับทรัพยสินนั้นมาโดยสุจริต แตตองคืนทรัพยสินน้ันใหแกเจาของไป สวนตนเองไลเบี้ยเอา จากผขู ายทรพั ยนัน้ ได

๓. กฎหมายอาญา ในกฎหมาย Hammurabi Code ยึดถอื หลกั การแกแคน หรอื ตอบแทนอยางรุนแรงที่ มีขอความกลาววา “ตาตอตาฟนตอฟน” (Any eye for an eye a tooth for a tooth) หลักการดังกลาวนี้เปน หลักการของกฎหมายด้ังเดิมซึ่งมีชอ่ื วา “Lex Talionis” ซงึ่ มีมาตั้งแตเ ม่ือสมัย ๔,๐๐๐ ปกอนจนทกุ วนั น้ี ถาฆาเขา ตายโทษทีส่ าสมกต็ องตายตกไปตามกนั คอื ประหารชวี ติ

ดังน้ันที่บอกวา “ตาตอตาฟนตอฟน” ใน Hammurabi Code เขียนไววา เจาหนี้ทำใหบุตรของลูกหน้ีซึ่ง มาอยูกับตนในฐานเปนผูขัดหนี้ (Mancipium) ถึงแกความตาย บุตรของเจาหนี้จะตองถูกลงโทษใหถึงแกความตาย ดวย ชางกอสรางบานเรือนท่ีทำใหบุตรเจาของบานถึงแกความตายโดยประมาท บุตรของตนจะถูกลงโทษใหถึงแก ความตายเชนกัน ดงั น้ันถาทำฟนผูอื่นหักสองซ่ีกจ็ ะตองถอนฟน ออก ๒ ซ่ีดวย หรอื ถาทำเขาตาบอดก็จะตอ งถูกควัก ลูกนัยนต าดวย ซ่ึงการใชหลักนี้จะนำมาใช ๑๐๐% ไมได เพราะคนบางคนบรสิ ุทธิ์ ฉะน้ันควรจะทำกับคนผิดไมค วร ทำกับบคุ คลในครอบครัวเขา เชน นีถ้ ือวา ผิดหลักการลงโทษ ในสมยั ตอมาจึงมีการแกไขระบบ “ตาตอ ตาฟน ตอฟน ”

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๒๑

บทท่ี ๔ กฎหมายฮิปบรู

กฎหมายทองหยิบในสมยั ตอ มาไดน ำระบบ “ตาตอ ตาฟนตอ ฟน ” มาปรบั ปรงุ วา จะตองมีความพอดี หมายความวา สาสมกนั จะเห็นวา มาตรา ๒๘๘ ในประมวลกฎหมายอาญาของไทย บัญญตั วิ า “ผใู ดฆา ผูอ นื่ นัน้ ตอง ระวางโทษประหารชีวติ ....” นกี่ ็คอื หลัก “ตาตอ ตาฟน ตอ ฟน ” นนั่ เอง

อยางไรกต็ าม Hammurabi Code ก็ไดว างหลกั ผูท ี่จะตอ งรบั โทษทางอาญาอยา งรนุ แรงจะตองทำผดิ โดย เจตนา เชน ฆา คนตายโดยเจตนา แตถ ูกถาจำเลยสาบานวา ไดฆ า จรงิ แตเปน เรื่องฆา โดยไมเ จตนาโทษทจี่ ะไดร ับ Hammurabi Code กำหนดวาไมถูกประหาร แคล งโทษปรบั เทา นนั้ โดยคำนึงถงึ ชนั้ วรรณะของผูทถี่ งึ แกความตาย เปนสำคัญ

เรอ่ื งความผิดฐานมีชู ฝายหญิงทีม่ สี ามแี ลวมคี วามสมั พนั ธก บั ชายอื่นทีเ่ รียกวา ชู สมยั บาบโิ ลนถอื วาเปน ความผิดอาญา และจะตองมกี ารพิสูจนโ ดยเอาหญงิ ผนู ้ันโยนลงไปในนำ้ ถา ลอยน้ำแสดงวาพดู จรงิ ไมไดเ ปนชู ถา จมน้ำถือวา ทำผดิ จรงิ สมยั บาบโิ ลนไมมโี ทษจำคกุ มีแตปรบั กบั ประหารชีวติ ถา เปน โทษทางอาญาจะประหารชีวิต เลย เชน ลกั ทรพั ย ปลนทรพั ย ชิงทรัพย มขี อเพม่ิ เติมในเรอ่ื งทางอาญา ความผิดบางประเภทอาจไดร ับโทษซง่ึ ไม ปรากฏอยใู นกฎหมายปจ จบุ นั เลยคือ ลูกทำรา ยรางกายพอ แมจ ะถกู ลงโทษใหตัดมือท้ิงเสีย

กฎหมายลายลกั ษณอ กั ษรในยคุ ตอมา กอ นทจี่ ะถงึ ยุคโรมันคอื กฎหมายของพวกฮิบรู ตามตำนานดัง้ เดมิ ทางประวัติศาสตร กฎหมายของชาวฮบิ รเู กดิ ข้นึ ในสมัยทชี่ นเผาดงั้ เดิมอาศยั อยแู ถบลมุ แมนำ้ ไนล ปจ จบุ ันคือ ประเทศอียิปต ชาวฮิบรูเปน ชนเผา ด้งั เดมิ เพาะปลูก ทำไร ไถนา แตถกู นกั รบชนเผาอ่นื รกุ รานเขามายึดเอาดนิ แดน ทีอ่ ดุ มสมบรู ณ และเอาชาวฮบิ รูเปน ทาส ปรากฏวามีผูน ำของชาวฮบิ รู ซง่ึ เรยี กกนั หรอื รกู ันในหมขู องชาวอยี ิปตช อ่ื วา โมเสส ถอื เปนบรรพบรุ ษุ กอ ตงั้ ศาสนา เปนผนู ำของชาวฮิบรู เมอื่ ชาวอยี ปิ ตยึดครองแลวมีหวั หนาทตี่ ง้ั ตนเปน กษัตริยใ นสมัย ตอมา มพี ระนามวา ฟาโรห ชาวฮิบรูกถ็ กู เกณฑไ ปใชแ รงงานโดยสรางปร ามิด สรา งเมือง ถาคนไหนสรา งไมไ หวจะ ถูกเฆยี่ นตี และฆา ท้ิง โมเสสเหน็ วา ถา ขนื เปนทาสของฟาโรหน บั วันก็จะถกู เขนฆาลม ตายเปน จำนวนมาก จึงหาทาง ทีจ่ ะหนจี ากฟาโรห ไดสวดออ นวอนตอพระยะโฮวา ซึ่งเปน พระผูเปน เจาของชาวฮบิ รู ขอใหห นไี ดสำเรจ็ พอถึงวัน นัดก็หนอี อกมา ความทราบถงึ ฟาโรหสง กองทพั มาไลฆ า ชาวฮบิ รูหนไี ปจนตดิ ทะเล โมเสสจงึ สวดออ นวอนตอพระ เจา ใหชว ยชาวฮบิ รู จึงเกิดปาฏหิ ารยิ เ มฆดำหมนื่ สายฟา ฟาดลงมาที่ทะเลแยก นำ้ ทะเลออกเปน ๒ ขาง ตรงกลาง เปนทางเดนิ ชาวฮิบรูจงึ รบี เดนิ ขามหนีกองทพั มาของฟาโรห แตก องทพั อยี ปิ ตก ็ยงั ไลล า ตามลงไป น้ำทะเลก็กลับสู สภาพเดมิ ทำใหกองทัพมา ทหารลมตายไปจำนวนมาก แตพอพน จากทะเลมหาสมุทร แตอีกฝง หนงึ่ กลายเปน ทะเลทราย อาหาร น้ำทน่ี ำไปเกดิ ขาดแคลน จนกระทง่ั เกดิ การลกั ขโมยรวมไปถงึ การประพฤตผิ ิดเปนชกู ัน โมเสส หามปรามก็ไมมใี ครเช่ือกลับทำรายโมเสส เขาจงึ เดินขึ้นไปบนภเู ขาสูงเพอ่ื ไปสวดออนวอนตอพระผเู ปนเจา ซ่ึงภเู ขา ลกู นน้ั เรยี กวา ไซนาม เพือ่ ใหช วยชาวฮิบรทู ่กี ำลงั จะอดตายและเขนฆากนั สวดออ นวอนเสรจ็ กเ็ กดิ เปนนมิ ติ รของ พระผเู ปนเจาเกดิ สายฟาฟาดกรดี ไปทีภ่ เู ขาผาออกเปนกอนศลิ า ๒ แทง เปน ภาษาของชาวฮบิ รู เปนลายลกั ษณ

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๒๒

อกั ษร ขอท่ี ๑-๕ กอ นหน่ึง ขอ ที่ ๖-๑๐ อีกกอ นหนึง่ เปน บัญญตั ิ ๑๐ ประการ เรียกวา “The Ten Commandment” แลวโมเสสก็เดินถอื ศิลา ๒ กอน ลงจากเขาไซนาม เมื่อกลับมาจากเขา พบชาวฮิบรู โมเสสก็ ตะโกนวา ตอไปนีถ้ า ใครไมฟ ง บญั ญตั ิคำสอนของพระผูเ ปนเจา จะตองถกู ลงโทษ

ฉะน้นั “The Ten Commandment” เปน กฎหมายลายลกั ษณอ กั ษรทเี่ กดิ ข้ึนในสมยั ตอ มา เรียกวา บญั ญัติ ๑๐ ประการ คือ กฎหมายของยวิ ตอ จาก Hammurabi Code และ The Ten Commandment น้ัน เทยี บไดก บั คัมภรี พ ระธรรมศาสตรข องไทยเรา จะเหน็ ความคลายกนั ในสมยั โบราณ หรอื สมัยดัง้ เดิม การจะอา ง อะไรใหค นเชอ่ื ถอื ตองอา งคำสงั่ พระผเู ปนเจา นีเ่ ปนหลักฐานทางประวตั ิศาสตร ที่เปน กฎหมายลายลกั ษณอ กั ษรใน สมัยตอ มา แตเ กา กวา น้ี Hammurabi Code ซง่ึ ถอื วา เปน กฎหมายเกาทส่ี ุดในโลก รองลงมาคือ The Ten Commandment ตอจากกฎหมายนีค้ ือ กฎหมายโรมัน

พระบัญญตั ิ ๑๐ ประการ

คือขอกฎหมาย ๑๐ ขอที่พระเจาทรงโปรดประทานใหกับชนชาติ อิสราเอลไดปฏิบัติหลังจากไดอพยพออกจากแผนดินอียิปต พระ บัญญัติ ๑๐ ประการนี้ไดสรุปรวบรวมจากพระบัญญัติท่ีมีอยูในพระ คำภีรเดิมทั้งหมด ๖๐๐ กวาขอ พระบัญญัติ ๔ ขอแรกไดพูดถึงการ ปฏิบัติและความสัมพันธระหวางเรากับพระเจา และ ๖ ขอหลังได พูดถึงการปฏิบัติและความสัมพันธระหวางเรากับผูอ่ืน ซ่ึงพระ บัญญัติ ๑๐ ประการน้ีไดบันทึกไวในพระคำภีรพระธรรม อพยพ ๒๐: ๑-๑๗ และพระธรรม เฉลยธรรมบญั ญตั ิ ๕:๖-๒๑ ดงั นี้ ขอท่ี ๑ “อยามีพระเจาอื่นใดนอกเหนือจากเรา” บัญญัติขอนี้ได ตอตานการนมัสการพระอื่นเพราะมีพระเจาท่ีแทจริงเพียงองคเดียว เทา น้นั นอกน้ันเปน พระเจา เทจ็ ขอท่ี ๒ “อยาทำรูปเคารพสำหรับตน เปนรูปสิ่งใดท่ีอยูในฟาเบื้อง บน หรือบนแผนดินเบื้องลาง หรือในน้ำใตแผนดิน อยากราบไหว หรือปรนนิบัติรูปเหลาน้ัน เพราะเราคือพระเจาของเจา เปนพระเจาท่ีหวงแหน ใหโทษบิดาตกทอดไปถึงลูกหลาน ของผูท่ีชังเราจนถึงสามชั่วส่ีช่ัวอายุคน แตเราแสดงความรักมั่นคงตอคนที่รักเรา และปฏิบัติตามบัญญัติของเรา จนถึงพันชั่วอายุคน” พระบัญญัติขอน้ีการตอตานการสรางรูปเคารพ,การสรางตัวแทนของพระเจาท่ีเรามองเห็นได ไมมีสิ่งจำลองใดท่ีเราสามารถสรางใหเหมือนกับพระเจาที่แทจริงได การสรางรูปเคารพเปรียบเสมือนกับการ นมัสการพระเจา เทจ็ น้ันเอง ขอที่ ๓ “อยาออกพระนามพระเจาของเจาอยางไมสมควร เพราะผูท่ีออกพระนามพระองคอยางไมสมควร น้ันพระเจาจะทรงถือวาไมมีโทษก็หามิได” พระบัญญัติขอน้ีไดตอตานการกลาวถึงพระนามของพระเจาอยางไม เหมาะสม เราแสดงถึงการเคารพตอ พระเจาโดยการกลา วถงึ พระองคด ว ยความสภุ าพและใหเ กียรตพิ ระองคเ สมอ

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๒๓

ขอท่ี ๔ “จงระลึกถึงวันสะบาโต ถอื เปนวนั บริสุทธ์ิ จงทำการงานของเจาท้ังส้ินหกวัน แตวันที่เจ็ดน้ันเปนสะ บาโตของพระเจาของเจา ในวันน้ันอยากระทำการงานใดๆ ไมวาเจาเอง หรือบุตรชาย บุตรหญิงของเจา หรือทาส

ทาสีของเจา หรือสัตวใชงานของเจา หรือแขกท่ีอาศัยอยูในประตูเมืองของเจา เพราะในหกวันพระเจาทรงสรางฟา

และแผน ดิน ทะเล และสรรพสิ่งซ่ึงมีอยูในทเ่ี หลาน้ัน แตในวันที่เจ็ดทรงพัก เพราะฉะน้ันพระเจาทรงอวยพระพรวัน

สะบาโต และทรงตั้งวันน้ันไวเปนวันบริสุทธ” พระบัญญัติขอนี้ไดตั้งไวใหวันสะบาโต (ซ่ึงวันเสารน้ันถือเปนวัน

สุดทายของสปั ดาห)เปนวันที่เราไดอทุ ศิ ใหก ับพระเจา ขอ ท่ี ๕ “จงใหเกียรตแิ กบดิ ามารดาของเจา เพือ่ อายขุ องเจา จะไดยนื นานบนแผน ดนิ ซึ่งเจา ของเจาประทาน

ใหแกเ จา” พระบญั ญัติขอนี้สอนใหเ ราปฏิบัติตอ บดิ ามารดาของเราดว ยความเคารพและนับถือ ขอ ท่ี ๖ “อยาฆาคน” พระบญั ญตั ขิ อน้ีไดตอ ตานการฆา ผูอ นื่ ดว ยการไตรต รองไวล ว งหนาแลว ขอที่ ๗ “อยาลวงประเวณีผัวเมียเขา” พระบัญญัติขอน้ีไดตอตานการมีเพศสัมพันธกับผูอื่นนอกเหนือจากคู

สมรสของตัวเอง ขอที่ ๘ “อยาลักทรัพย” พระบัญญัติขอน้ีไดตอตานการเอาสิ่งของของผูอ่ืนท่ีไมใชของตัวเองโดยท่ีไมไดขอ

อนุญาตจากเจา ของกอ น ขอ ท่ี ๙ “อยา เปนพยานเท็จใสรา ยเพ่ือนบาน” พระบัญญัติขอ น้ีไดต อตานการเปนพยานเทจ็ ตอ ความผดิ ของ

ผูอ ่ืน และเปนขอบัญญัติที่สำคัญมากในการที่เราควรตอ ตา นการพดู เท็จตา งๆ ขอท่ี ๑๐ “อยาโลภครัวเรือนของเพ่ือนบาน อยาโลภภรรยาของเพื่อนบานหรือทาสทาสีของเขา หรือโค ลา

ของเขา หรือสิ่งใดๆซ่ึงเปนของของเพื่อนบาน” พระบัญญัติขอน้ีไดตอตานการอยากไดของของผูอื่นท่ีไมใชของเรา

ความโลภสามารถนำเราไปสูความแตกแยก และการฆาคน, การลวงประเวณี และการขโมย ถาการทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด

เปน ความผดิ การคิดทจี่ ะทำสงิ่ น้ันก็เปน ความผิดเชน กัน

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๒๔

บทที่ ๕ กฎหมายกรีก

แผนทอ่ี ารยธรรมกรกี สมัยโบราณ ชวง ๖๐๐-๔๐๐ กอ นครสิ ตกาล

๑. อารยธรรมด้ังเดิมแถบทะเลอเี จียนกอนพวกกรกี อพยพลงมา

ดินแดนแถบฝงทะเลทางตะวันตกของเซียไมเนอร (Asia Miner) เกาะตางๆ ในทะเลอีเจียน (Aegean Sea) และเมืองทางแหงขุนแหลมกรีกเจริญกอนที่พวกกรีกจะอพยพมาต้ังแต ๓๐๐๐ B.C. พรอมๆ กันอียิปตและแถบลุม แมน ำ้ ๒ สาย ลงมาจนราว ๑๑๐๐ B.C. อารยธรรมแถบนี้รวมเรยี กวา Aegean Civilization

๑.๑. แถบที่เจริญหนาท่ีสุดไดแกที่เกาะ Cvete ซึ่งเจริญสูงสุดในระหวาง ๑๗๐๐-๑๔๐๐ B.C. อารยธรรมที่ แบงน้ีมีช่ือเฉพาะลงไปอีกวา Minoan Civilization เมืองที่สำคัญที่เกาะ Crete ไดแก Cnassus Knossus ซึ่ง Sir. Arthur Evans ไดทำการขุดคนเมื่อราว ค.ศ. ๑๙๐๐ ปราสาทสูงหลายช้ัน ๓-๔ ช้ัน มีหองจำนวนมากและมีหองใต ดิน ทางเขาวกวนมีระบบการระบายน้ำเสีย การประปามีสถานท่ีสำหรับเลนกีฬา มีการใช Bronze และทำ เคร่ืองปนดินเผาแบบโอง ไห ขนาดใหญจนถวยเล็กๆ ซง่ึ มีลวดลายสวยงาม มีการใชทอง งาชาง และเพชรนิลจินดา เปนเคร่อื งประดับ มกี ารวาดภาพตามฝาผนัง มีตวั อกั ษรใชเปน รูปภาพ แบบ Symbolic ซ่ึงมสี ลกั บนแผนดิน

๑.๒ แถบที่เจริญบนแหลมกรีก เมือง Mycenac ซึ่งเจริญตอจากแถบ Crete ราว ๑๖๐๐-๑๑๐๐ B.C. ผูท่ี ทำการขุดคนคือ Heinrica Schliemanr (๑๘๗๐) ปรากฎวามีความเจริญทางการกอสรางปราสาทมีหอคอยลอม และมีกำแพงหนาถึง ๑๐ ฟุต หลุมฝงศพใชหินกอ งใหญ มีความร่ำรวยเห็นไดจากการใชทอง สัมฤทธ์ิ ใชเงิน ใชทอง ปดหนาศพดวยน้ำทำดวยทองและเงิน แหวนทอง ดาบ และมีดทำดวยทองสัมฤทธ์ิ พวกกรีกสาขา Achaeans ซ่ึง เปนพวกแรกที่อพยพลงมาจากทางเหนือจะมาต้ังถิ่นฐานอยูท่ี Mycenae น้ี และจะทำความเจริญใหจนผลท่ีสุดจะ ถกู พวก Darians เขา มาคุกคามเมื่อ ๑๒๐๐-๔๕๐ B.C.

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๒๕

๑.๓ เมอื งแถบฝง Asia Miner-Trov เจริญในระยะแรกนี้เชน เดียวกนั Heinrich Schlieman เปน ผูข ดุ คนพบ สถานท่ีแสดงวาเคยเจริญมาจริงๆ ไดมีสงครามระหวางพวกกรีก Myceneans กับ Troy เมื่อราว ๑๒๐๐ B.C. เรียกวา Trojan War ลักษณะพลเมืองรฐั เอเธนส

๒. ลกั ษณะพลเมืองรัฐเอเธนส

ลักษณะการแบงฐานะของพลเมืองในรัฐเอเธนสกอนศตวรรษท่ี ๗ จะเห็นไดวาชนชั้นสูงสุดคือ พวกขุนนาง หรือพวกผูดีมีตระกูลเปนพวกที่มีอำนาจสูงสุด มาในศตวรรษที่ ๗ กอนคริสตกาลฐานะของพลเมืองในนครรัฐ เอเธนสก็เริ่มเปล่ียนแปลงไป มีการเปล่ียนแปลงที่เห็นไดชัดคือ การที่พวกผูดีหรือ ขุนนาง ซ่ึงเคยเปนพลเมืองชั้น สูงสดุ ของนครรัฐเรม่ิ หมดความสำคัญลงทีละนอ ย ปจ จัยสำคัญท่กี อใหเกิดการเปล่ียนแปลงดังกลา ว สืบเนอ่ื งมาจาก การเปลีย่ นแปลงในทางเศรษฐกจิ กลา วคือในระยะศตวรรษที่ ๗ กอนคริสตกาล การคา และอุตสาหกรรมของนครรัฐ เอเธนสเจริญขึ้นและขยายตัวอยางรวดเร็ว เอเธนสมีสินคาออกที่สำคัญคือน้ำมันมะกอก และการทำภาชนะบรรจุ นำ้ มันมะกอก จัดเปนอุตสาหกรรมท่ีขน้ึ หนาขนึ้ ตาท่ีสดุ พวกชนชนั้ พอคา เร่ิมรำ่ รวยขนึ้ และทำการสะสมเงนิ ทองมาก ขึ้นทุกที ขุนนางบางคนท่ีตองการฐานะร่ำรวยข้ึนก็หันมาจับงานคาขายบางคนร่ำรวยข้ึน แตบางคนยากจนลง กวาเดิม ในระยะนี้ความม่ังมีและทรัพยสินเปนที่ยอมรับในวงสังคมและการเมืองเชนเดียวกัน มีความเทาเทียมกับ คนมีตระกูล ฐานะของพลเมอื งและสทิ ธิในการเมืองวัดกันดว ยความม่ังคง่ั และทรัพยสนิ เงนิ ทอง หรือผลติ ผลในท่ีดิน กลาวคอื ผูทม่ี ีผลิตผลในท่ีดินมากท่ีสดุ เปนชนชั้นสูงสุด ผูท่ีมีผลิตผลในท่ีดนิ รองลงมากเ็ ปน ชนช้ันรองลงมาตามลำดับ มาในระยะนี้ชนช้ันสูงสุดจึงไมจำเปนจำตองเปนพวกผูดีมีตระกูล แตเปนคนที่มีทรัพยสินเงินทอง พวกนี้มีสิทธิดำรง ตำแหนงสูงๆ ในทางการเมอื งดว ย นอกจากน้ียังมพี วกกสิกรท่ีมีนาของตนเอง แตผ ลิตผลทไ่ี ดจากท่ีนามีจำนวนนอย ไมมากพอที่จะจัดอยูในอันดับของพลเมืองที่กลาวมาแลว พวกน้ีรวมกับพวกจางฝมือเรียกวา “Thetes” มี ความหมายวากรรมกรเปนพลเมืองแตข าดสิทธิทางการเมืองการปรับปรุงของโซลอน (Solon) และการวางรากฐาน ประชาธปิ ไตยของเอเธนส

การปกครองนครรัฐเอเธนสในชั้นตนก็คลายคลึงกับนครรัฐอ่ืนๆ ของกรีก คือในสมัยตนๆ มีกษัตริยปกครอง ตอมาเปนการปกครองโดยอภิสิทธิ์ชนและตอจากนั้นก็วิวัฒนาการกลายเปนรูปการปกครองแบบประชาธิปไตย(๑) การปฏริ ูปการปกครองใหคลอยตามความตองการของคนหมูมากในสังคมขึน้ ตอ มาเปนผลงานของขุนนางช่ือโซลอน (Solon) ซึ่งไดร ับเลือกเปน อารค อน เมอื่ ๕๙๔ ป กอ นครสิ ตกาล

ในตอนกลางศตวรรษที่ ๘ กอนคริสตศักราช เอเธนส (Athens) ปกครองโดยกษัตริยประชาชนสมัยนั้น แบงออกเปน ๒ พวก คือ ขุนนางกับพอคา ไดแก เจาของท่ีดิน หรือพอคาชาวเมืองที่เปนคนชั้นกลาง หรือชาวนาที่ มที ่ีดินแปลงเล็กๆ เปนของตอนเอง ตอ มาสมัยศตวรรษท่ี ๗ กอนคริสตศักราช สภาขนุ นางไดลดอำนาจของกษัตริย ลง เนอื่ งจากเจา ของท่ดี นิ ม่งั ค่งั จากการทำเกษตรเริ่มมอี ำนาจมากขน้ึ แตช าวนารายยอยทำเกษตรไมไ ดผ ล ตองกูห นี้ ยืมสินจากผูม่ังค่ังจนดอกเบี้ยเพ่ิมพูนมากขึ้น เม่ือไมสามารถชำระดอกเบ้ียไดก็ตองยอมเอาท่ีดินของตนไปจำนอง โดยหลัววาจะไถถอนคืนไดในอนาคต เมื่อไมสามารถทำได พวกนี้ไดกลายเปนทาสในท่ีสุด นอกจากน้ีเกษตรกรท่ี ไมมีท่ีนา เปนของตนเองแตรับจางแรงงานในที่นาของผูอ่ืน โดยไดรับคาจาง คือ หนึ่งสวนหก ของผลผลิตที่ไดจาก แรงงานของตนมีความเปน อยอู ยางฝด เคือง ทำใหปญหาระหวา งพวกคนยากจนกับพวกร่ำรวยทวีความรุนแรงย่งิ ข้ึน

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๒๖

อีกทั้งไดมกี ารจำกัดสทิ ธิผูซ่ึงเขาประจำการในกองทหารอาวุธหนักไดค อื พลเมืองท่ีมัง่ ค่ังเทาน้ัน เพราะทหารเหลานี้ ตอ งจัดหาอาวธุ ดว ยตนเอง สามัญชนจึงเรยี กรอ งใหมีการสรางกฎหมายลายลักษณอกั ษรขึ้นเพือ่ ใหท กุ คนมสี ิทธิเทา เทยี มกัน

๓. ดา นกฎหมาย และกระบวนการนติ ิบัญญตั ิ

ผซู งึ่ มบี ทบาทในการรางประมวลกฎหมาย และพฒั นารูปแบบการปกครองประชาธิปไตย คือ ๑. ดราโค (Draco)1๒ เปนผูซ่ึงมีบทบาทในชวงราวปท่ี ๖๒๐ กอนคริสตศักราช คราโดไดทำการรวบรวม กฎหมายและตราใหเปนระเบียบหมวดหมู เขาเปนเจาของประมวลกฎหมายท่ีเขมงวด จนท่ีเกิดคำวา “Draconic” หมายความวา รุนแรง หรือเขมงวด จนมีคำกลาววา กฎหมายของเขาเขียนดวยเลือดไมใชดวยหมึก เชนผูซึ่งเปน หนคี้ นอืน่ แลวไมสามารถชำระหน้ี ไดต ามกำหนดจะตอ งตกเปนทาสของเจา หนี้ หรอื ใครขโมยกะหลำ่ ปลจี ะตองถูก ลงโทษประหารชีวติ กฎหมายฉบับนแ้ี มจ ะใหค วามยตุ ิธรรม แตการลงโทษกร็ ุนแรงเกนิ ไป มไิ ดช ว ยแกไ ขความเดือน รอนทางเศรษฐกจิ ผูม ั่งคั่งยงั รวยจนเหลอื ลน ในขณะทค่ี นจนกย็ ังยากจนอยา งแสนสาหัส พวกขนุ นางยังคงตดั สนิ คดี เขาขางตนเอง ความเขมงวดของกฎหมายน้ีเองเปนเหตุใหเกิดความยุงยาก จนถึงข้ันจลาจลวุนวายข้ึน ในป ๖๐๐ กอนศริสตศักราช อน่ึงประมวลกฎหมายของคราโด ถือวาเปนกฎหมายลายลักษณอักษรฉบับแรกของกรีก ผลดีของกฎหมายฉบับน้ีมีเพียงประการเดียว คือทำใหประชาชนมีโอกาสรูกฎหมายบานเมืองมิใชปลอยใหขุนนาง เปนผตู ัดสนิ คดีตามใจแตกอน ๒.โซลอน (Solon)2๓ เขาเปนพอคา ซึ่งเปนชนชั้นมั่งคั่งท่ีสุดในนครรัฐเอเธนส โซลอนไดเขามาปฏิรูปการ ปกครอง ในราวป ๕๙๔ กอนคริสตศักราช เขาไดเขามารับแตต้ังเปนอารคอนมีอำนาจพิเศษในการตรากฎหมาย เมื่อเขามารบั ตำแหนงแลว ไดยกเลิกกฎหมายของคราโด โดยโซลอนไดพยายามเลิกทาส และยกฐานะของบุคคลให เสมอภาคกัน ผลงานชน้ิ สำคัญ คอื ๒.๑. ดา นการจดั การระเบียบการปกครอง

ในสว นทีเ่ ก่ยี วกับระเบยี บการปกครองรัฐ โซลอนไดปรับปรงุ ใหมบางประการ คอื ๒.๑.๑. ใหเจาหนาท่ีฝายบริหารหรือคณะอารคอนคงมีอำนาจหนาที่ตามเดิม แตใหรับผิดชอบต่ำ กวาศาลสงู สุดของประชาชน ซง่ึ โซลอนไดตั้งข้นึ ๒.๑.๒. จัดต้ังสภาส่ีรอย (The Council of Four Hundred) เพื่อเตรียมงานทางดานนิติ บัญญัติมีสมาชิก ๔๐๐ คน เลือกมาจากพลเมืองท้ังส่ีเผาพันธุท่ีประกอบดวยชาวนครรัฐเอเธนสเผาพันธุละ ๑๐๐ คนโดยใหสิทธิชนช้ันกลางและชนช้ันต่ำเขาเปนสมาชิกดวย จุดมุงหมายของการจัดต้ังสภานี้ ก็เพื่อใหเกิดความ สมดุลทางการเมือง กลาวคือ คนทั้ง ๔ เผาพันธุตางมีสวนรวมในการปกครองเทาๆ กัน ประชาชนทุกคนมีสิทธิ เทาเทยี มกนั ในทางนติ ิบญั ญตั ิ และในสภา

๒ กาํ ธร กาํ ประเสริฐ และสุเมธ จารประดบั , “ประวตั ิศาสตรก์ ฎหมายไทย และระบบกฎหมายหลกั ”, (สาํ นกั พมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง, กรงุ เทพ) หนา้ ๑๑๕.

๓ กาํ ธร กาํ ประเสรฐิ และสุเมธ จารประดบั ,”เรอ่ื งเดมิ หนา้ ๑๑๖,

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๒๗

๒.๑.๓. สภาราษฎร (Assembly) ใหประกอบดวยพลเมืองทุกคนที่มีอายุ ๑๘ ปข้ึนไป ซึ่งมารวม ประชุมในสภาน้ี มีอำนาจหนาที่เลือกตั้งเจาหนาท่ีฝายบริหารหรือคณะอารคอนตามเดิม และมีอำนาจลงมติใน ปญหาตา งๆ ทส่ี ภาสี่รอยเสนอขน้ึ มา

๒.๒. ดานกฎหมายและการแกไขกฎหมาย การปรับปรุงระเบียบการปกครองในดานนิติบัญญัติแลวโซลอนก็ยังไดปรับปรุงแกไขทางดาน

เศรษฐกิจและสงั คมอีกหลายอยางคอื ๒.๒.๑. จัดตั้งศาลยุติธรรม มีคณะผูพิพากษา เรียกวา เฮเลีย (Heliaea) เรียกศาลน้ีวาศาลเฮเลีย

ในระยะแรกศาลนี้ทำหนาท่ีพิจารณาคดีเบื้องตน โดยท่ีอำนาจผูพิพากษาสูงสุดยังคงอยูกับอารคอน ตอมาภายหลัง ศาลเฮเลียทำหนาที่เปนทั้งศาลเบื้องตน และศาลสูงสุด คณะผูพิพากษาประกอบดวยประชาชนทั่วไป นอกจาก อำนาจในการพิจารณาคดีแลว ศาลน้ียงั มีอำนาจซกั ฟอกผบู ริหารทีถ่ ูกกลา วหาและถูกเชิญตวั มาในศาลดว ย

ประการยกเลิกบรรดาทรัพยสนิ ท่ีจำนอง หน้สี ินตางๆ ที่ลกู หนี้มอี ยู และหา มการจำนองทดี่ นิ ๒.๒.๒. ยกเลิกหน้ีสินตางๆ ที่ลูกหนี้มีอยู รวมทั้งใหอิสรภาพแกผูท่ีตองกลายเปนทาส เนื่องจาก การตดิ หน้สี นิ และหา มการขายตัวเพื่อชดใชหน้ีสิน ๒.๒.๓. จัดใหมีการควบคุมเกี่ยวกับการถือกรรมสิทธิ์ในที่ดิน เพื่อปองกันมิใหเอกชนคนใดมีท่ีดิน มากเกนิ ไป ๒.๒.๔. ออกกฎหมายหามการสงพืชผลทุกชนดิ ออกนอกประเทศ เวนแตนำ้ มนั มะกอก ซ่ึงมีอยูมาก การหา มเชนน้กี เ็ พ่อื ปอ งกันความขาดแคลนเครื่องบรโิ ภคภายในประเทศ ๒.๒.๕. ออกกฎหมายบังคับใหบิดาสอนบุตรของตนใหทำการคาขาย และไดออกกฎหมายสงเสริม การประกอบ ๒.๒.๖. อุตสาหกรรมหลายฉบับ ท้ังน้ีโดยพิจารณาเห็นวาที่ดินในรัฐนั้นไมมีสภาพเหมาะสมแกการ ประกอบกสิกรรม จึงไดม งุ ที่จะสรา งความเจริญใหแกประเทศทางพาณิชยแ ละอุตสาหกรรม ซ่งึ ในสมัยตอมาเอเธนส กไ็ ดถอื เอากิจการทง้ั สองประเภทน้ีเปน หลักสำคัญในการสรา งความเจริญใหแกบ านเมือง ๒.๒.๗. ออกกฎหมายจำกัดเสรีภาพของหญิง เชน หามไมใหออกนอกบานเวลากลางคืน หญิงใน สมัยโซลอนมีเสรีภาพนอยกวาในสมัยกอนๆ มาก และมีเสรีภาพนอยกวาหญิงในสปารตาในขณะเดียวกัน ตองเก็บ ตัวอยูใ นบานมากข้นึ ทุกทีอันเปน เหตใุ หอ ทิ ธพิ ลทางสงั คมของหญงิ นอ ยลงเปนสำคญั เมื่อโซลอนเปนวาไดท ำหนา ที่ของตนใหสิ้นไปแลว ทั้งไมตองการอยูเ พ่ือแกไขกฎหมายก็ตามตราขึ้นอีก จึง ไดออกเดินทางไปประเทศตางๆ เพื่อคาขายและทองเที่ยวเปนเวลา ๑๐ ป แตเม่ือกลับมาประเทศของตนโซลอน กลับประสบกับสถานการณที่ยุงเหยิงอยางท่ีสุด เพราะปรากฏวาไมมีใครพอใจในการปรับปรุงแกไขของโซลอน แมว าโซลอนจะไดตรากฎหมายอยางดเี ยย่ี มข้นึ ไวกต็ าม แตห ามผี ใู ดปฏิบตั ติ าม หรือคอยบงั คบั การใหเปนไปตามกฎหมายดว ยความเตม็ ใจ ปรชั ญากฎหมายของกรกี

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๒๘

แตทั้งนี้ส่ิงท่ีอารยธรรมกรีกไดมีคุณคาตอการนิติศาสตรก็คือ แนวคิดทางดานปรัชญากฎหมายที่ตอมาชาว โรมันไดนำไปเปนแนวทางในการบัญญัติเปนกฎหมายลายลักษณอักษรของโรมันในยุคตอมา แนวความคิดที่เปน มรดกเกี่ยวกับปรัชญากฎหมายมดี งั น้ี

เพลโต อธิบายวา ความยุติธรรมหมายถึง การกระทำกรรมดี การทำส่ิงที่ถูกตอง ความยุติธรรมเปน เสมือนองคกรรวมของคุณธรรม คือเปนคุณธรรมท่ีสำคัญท่ีสุดย่ิงกวาคุณธรรมอื่นใด และโดยท่ัวไปจะถูกคนพบได ดวยอาศยั ปญ ญาหรือการไตรตรอง เปน การคิดในเชงิ อดุ มคติ

อริสโตเติล มองวา ความยุติธรรมเปนคุณธรรมทางสังคมประเภทหนง่ึ ท่มี ีลกั ษณะเปนการเฉพาะเรื่อง เก่ยี วขอ งกับความสัมพันธระหวางบุคคล ซึ่งมีหลักการกวางๆ วา ส่งิ ที่เหมือนกันกค็ วรไดรับการปฏิบัติเชน เดียวกัน และสง่ิ ทต่ี า งกนั ก็ควรไดร บั การปฏบิ ัตทิ แี่ ตกตางกันดว ย แบงความยุตธิ รรมออกเปน ๒ ประเภท

๑. ความยุติธรรมทว่ั ไป แบง ออกเปน ๑.๑ความยุติธรรมตามธรรมชาติ = ความยุติธรรมอันเปนสากล ไมข้ึนอยูกับการรับรู หรือยอมรับ

ของมนษุ ย ๑.๒ ความยุติธรรมที่มนุษยสรางข้ึน เปนมาตรการที่มนุษยสรางขึ้น เพื่อชี้ถูกผิดในเร่ืองที่ไมมีถูกไม

มีผดิ จึงเปนความผดิ ที่สมมตุ ใิ หเกิดขึ้น ๒. ความยตุ ธิ รรมเฉพาะเรอ่ื ง แบงออกเปน ๒.๑ ความยุติธรรมในการแบงสันปนสวน (ความยุติธรรมทางเศรษฐกิจ/ความยุติธรรมทางสังคม)

การใหสิง่ ท่ีเทากันแกผ ูมีความสามารถหรือคุณธรรมที่ตางกันยอมไมเปนธรรม ยดึ หลัก “ผลงานหรือการทำงานของ บคุ คล”

๒.๒ ความยุติธรรมในการแลกเปล่ียนทดแทน มีขึ้นเพ่ือสนับสนุนรักษาความยุติธรรมในการ แบงสนั ปน สว น เพอ่ื ทดแทนสว นทเ่ี ขาเสียไปใหไดกลับคนื มา

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๒๙

บทท่ี ๖ กฎหมายสมยั โรมนั

กอนทจ่ี ะกลาวถงึ กฎหมายโรมนั วามีกฎหมายอะไรบาง เราจะตองทราบถึงสภาพความเปน อยแู ละ การเมอื ง การปกครองในสมยั โรมนั กอ นวา สมยั โรมนั นั้นปกครองกนั อยางไร มียุคใด ยุคโรมนั เราสามารถแบง เปน กี่ ยคุ ในตำราแบง เปน ๓ ยคุ แตเ พื่อใหละเอยี ดยคุ ท่ี ๓ แยกไดเ ปน ๒ ยคุ จึงกลายเปน ๔ ยคุ ดวยกนั คือ

๑. ยุคแรก เรยี กวา ยุคกษตั รยิ  Monarchy หรือ Regal period เริม่ ต้ังแต ๗๕๓ ถงึ ๕๐๙ กอน ครสิ ตศักราชในชว งน้มี รี ะยะเวลาประมาณ ๒๐๐ กวา ป

๒. ยุคท่ี ๒ เรยี กวา ยุคสาธารณรฐั (Republic) อันเปนชวงตอจากป ๕๐๙ ถงึ ปท ่ี ๒๗ กอ นครสิ ตกาล กฎหมายสบิ สองโตะเกิดข้ึนในยคุ นี้ และมกี ารปกครองโดยรฐั สภากบั กงกุส หรอื คอนซลู ท่ีมชี ่อื เสียง คือ ซซี าร

๓. ยุคท่ี ๓ เรยี กวา ยุคจกั รวรรดิหรือจกั รพรรดิ (Principate) เปนยุคลาอาณานคิ ม อันเปน ชว งทตี่ อจากป ๒๗ คือปท ี ๒๖ กอนคริสตกาลถึง พ.ศ.๒๘๔ รวมแลว ประมาณ ๓๐๐ กวาป

๔. ยุคท่ี ๔ ยุคเผด็จการ (Dominate) ตงั้ แต ค.ศ.๒๘๕ ถงึ ค.ศ.๔๗๖

๑. กฎหมายสิบสองโตะ The Twelve of Tables (ลายลักษณอักษรช้นิ แรกของโลก)

มีท่ีมาเนื่องจากมีขอเรียกรองของพวกสามัญชน โดยอางวาตนไมสามารถรูถึงกฎหมายตาง ๆ ท่ีมีอยู เพราะถูกบิดบัง และกลาวหาวาการใชกฎหมายของพวกชนชั้นสูงหรือเจาหนาที่ฝายปกครองเปนไปโดยไมแนนอน ดังน้ันในการออกกฎหมาย บังคับใชกฎหมาย หรือการชี้ขาดตัดสินคดีเปนอำนาจของพวก Patricians ทั้งสิ้น จึง กอใหเกิดความไมพอใจแกพวก Plebeians ซ่ึงไมใครจะมีโอกาสไดรูเลยวากฎหมายท่ีใชมีอยูอยางไร ไดมีการ เรียกรอง ใหนำกฎหมายเหลาน้ันมาเขียนใหปรากฏเปนลายลักษณอักษร อยางไรก็ตามพวก Plebeians และพวก Patriclans ก็ลวนแตมีสภาของตนเองใหการปกครอง และมีอำนาจในการออกกฎหมายมาใชบังคับกับพวกของตน

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๓๐

เม่ือพวก Plebeians ถูกกดขี่มาก ๆ จึงเกิดการตอสูเรียกรองใหสิทธิเทาเทียมกัน เพราะโดยปกติตำแหนงสูง ๆ ผูที่

จะเปนไดก็คือพวกชนชั้นสูง จึงมีการบัญญัติกฎหมายลายลักษณอักษรขึ้นมา การตอสูใหไดมาซ่ึงสิทธิของพวก

Plebeians จนกระท่ังมีการออกกฎหมายท่ีสำคัญ มีช่ือเรียกวา กฎหมาย ๑๒ โตะ The Twelve of Tables เปน

โตะ ทองบรอนซใ นสมัยจกั รพรรดิ Justinian ประมาณ ๔๐๐ – ๔๕๐ ปก อ น ค.ศ. ถือกนั วาเปน กฎหมายที่มชี อ่ื เสียง

มาก เปนกฎหมายจารีตประเพณีท่ีใชอยูเปนสวนใหญ จึงไดทำการรวบรวมจารีตประเพณีที่ใชเปนกฎหมายอยูใน

ขณะน้ันบันทึกลงบนแผนทองแดง โดยมีการแตงตั้งเจาหนาที่ฝาย ปกครอง ๑๐ คน ในป ๔๕๑ กอนคริสตกาล

กรรมการชุดนี้จึงไดจัดทำการแตงตั้งกรรมการขึ้นอีกชุดหน่ึงจัดทำกฎหมายข้ึนมาใหมอีก ๑๒ โตะ ซ่ึงก็ไดรับความ

เห็นชอบจาก Comitia Centuriata อีกเชนกัน บทบัญญัติของกฎหมาย ๑๒ โตะ ไดเขียนไวบนแผนทองบรอนซ

และนำไปต้ังอยูในทองตลาด แตภายหลังตอมาในป ๓๙๐ กอนคริสตกาล ไดถูกพวกโกล (Goul) เผาทำลาย กรุง

โรม อยางไรก็ดีความรูในเนื้อหาของกฎหมาย ๑๒ โตะ ซึ่งไดมากจากฉบับที่คัดลอกเพื่อการศึกษาเปนสวนตัวและ

จากเอกสารอื่น ๆ จึงทำใหท ราบวา กฎหมาย ๑๒ โตะน้ปี ระกอบดว ย

โตะ ท่ี ๑, ๒ และ ๓ พจิ ารณาความแพง และการบังคบั คดี

โตะ ที่ ๔ อำนาจบดิ าในฐานะเปน หัวหนาครอบครัว

โตะท่ี ๕, ๖ และ ๗ การใชอ ำนาจปกครอง และการสบื มรดกและทรพั ยสนิ

โตะ ที่ ๘ ละเมิด หรอื กฎหมายอาญา

โตะ ที่ ๙ กฎหมายมหาชน

โตะที่ ๑๐ กฎหมายศกั ดิ์สทิ ธ์ิ

โตะที่ ๑๑ ,๑๒ กฎหมายเพิ่มเติม ซึ่งรวมท้ังกฎหมายหามมิใหมีการสมรสระหวางพวกชน

ชัน้ สูง (Patrician) กบั พวกสามยั ชน (Plebeians)

ตอมาในป ๔๕๒ กอนคริสตศักราช ทางการจึงสงผูแทน ๓ คน เดินทางไปยังประเทศกรีซ เพื่อ

ทำการศึกษากฎหมาย Solon ซึ่งเปนกฎหมายลายลักษณอักษรของกรีซ เพื่อเอามาเปนแบบอยางในการจัดทำ

กฎหมายโรมัน โครงรางเพ่ิมขึ้นอีก ๑๐ โตะ จึงกลายเปนกฎหมาย ๒๒ โตะ แต ๑๒ โตะแรกนั้น ผูรางกฎหมายคือ

พวกชนชั้นสูงหรอื พวก Patrician เม่ือรางออกมาแลวก็ยังมีการกดข่อี ยู และไมไดใหส ิทธิเทาท่ีควรจะได ดงั น้ัน จึงมี

การเสนอใหพวก Plebeians เขาไปรว มเปนกรรมการในการรา งกฎหมายเพิ่มเตมิ

รูปแบบการปกครองในยุคสาธารณรัฐจะปกครองโดยขาราชการตำแหนงตาง ๆ ซ่ึงประกอบดวยสถาบัน

หลักของบา นเมอื ง ๓ สถาบนั คอื

(๑) ขา ราชการ (Officials)

(๒) สภานติ ิบัญญตั ิ (Comitial)

(๓) สภาอาวุโส (Senate)

๑. ขาราชการ มีตำแหนงตาง ๆ อยูทั้งหมดดวยกัน ๖ ตำแหนง ท่ีถือเปนแขนขาของรัฐบาลในการ

ปกครองชาวโรมันสมยั กอน ประมาณศตวรรษท่ี ๔ กอ นครสิ ตกาล ไดแก

(๑) คอนซูล (Consul) หรือ กงสุล ในยุคสาธารณรัฐ ประมุขของรัฐไมใชพระมหากษัตริยอีกตอไป แต

เปน คนธรรมดาที่ไดร ับเลือกขนึ้ มา เรยี กวา Consul ซงึ่ ถอื วา เปน ขาราชการทมี่ อี ำนาจสงู สุดในการปกครองประเทศ

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๓๑

เวนแตยามฉุกเฉิน Consul จะมีหนาที่แตงตั้งจอมทัพ (Dictator) ฉะน้ันคอนซูลจะตองพิจารณาใหดีกอนตั้งเพราะ เมื่อต้งั ไปแลว จอมทพั จะใหญก วา มีอำนาจมากกวา

คอนซูลจะมาจากการเลือกต้ัง จะมีระยะเวลาอยูในตำแหนงคนละ ๑ ป บางคนเปนไปแลวก็ไดรับ เลอื กอีก โดยเฉพาะผูปกครองอาณาจกั รโรมนั และทำความเจรญิ รงุ เรืองอยา งมาก

(๒) พรีทอร (Praetor) เปนตำแหนง ที่มีความสำคัญย่ิง เปนผูชวยของ Consul ในการบริหารกฎหมาย เอกชน ถาถือวา Consul เปนนายกรัฐมนตรี Praetor ก็เปนรัฐมนตรีวการกระทรวงยุติธรรมและทำหนาที่ กระบวนการยุตธิ รรม ซง่ึ เปน หนาทีเ่ กยี่ วกับกฎหมายพรที อรม าจากการเลือกตงั้ และกฎหมายโรมนั ทีพ่ ัฒนามาไดถงึ จุดสุดยอดก็เพราะพรีทอร เปนผูปรับหลักใหกฎหมายยุติธรรมมากข้ึนและใชกฎหมายอยางเปนธรรม ผูที่เปนพรี ทอรมีหนา ท่ีในกระบวนการยุติธรรมโดยตรงเกียวกบั เรือ่ งคดีความตา ง ๆ พรที อรไมใชผพู พิ ากษา แตม หี นาที่ไตสวน มูลฟองและคำใหการของคูกรณีเพื่อจะกล่ันกรองเร่ืองกอนท่ีจะมีการพิจารณาเร่ืองน้ัน โดยพิพากษาจะตองไตสวน กอน ผูพิพากษาสมัยนั้นอาจจะไมใชนักกฎหมายก็ได ผูที่จะเปนพรีทอรไดในระยะแรก ไดแก ชนชั้นสูง หรือที่ เรียกวา Patrician เทาน้ัน หลังจากนั้นอีก ๓๐ ป ตอมานับจากป ๓๖๗ กอนคริสตกาล พวก plebeians จึงมีสิทธิ ท่ีจะดำรงตำแหนงเปนพรีทอรได เดิมพรีทอรมีตำแหนงเดียว เวลามีคดีฟองกันระหวางชาวโรมันกับชาวโรมัน คนท่ี จะไตส วนลำดับแรกคือ พรีทอรกอ นท่จี ะใหผูพ ิพากษชี้ขาด ผูพพิ ากษาสมยั นั้นเรียกวา Index พรที อรทมี่ ีช่อื เสยี งจะ ลงสมัครในตำแหนง คอนซูล

ตอ มาคนโรมันทะเลาะเปนคดีความกับคนตางดาว หรือคนตางดาวทะเลาะกันเอง แลวจะใหพรีทอรช้ีขาด ไตสวนคดคี วามไมไ ด ทำใหเกดิ พรีทอรข น้ึ มาอกี ๑ ตำแหนง รวมเปน ๒ ตำแหนง คือ

๑. Preetor Urbanus เรยี กวา พรีทอรป ระจำพระนคร จะไตส วนคดีความระหวางชาวโรมัน โดยท้ังโจทก และจำเลยเปน ชาวโรมนั

๒. Preetor Peregrinus เรยี กวา พรที อรสำหรับคนตางดาว จะไตสวนคดีความที่ชาวโรมันกับคนตางดาว หรือระหวา งคนตา งดา วดว ยกนั

ในสมัยตอมาไดมีการเพิ่มพรีทอรขึ้นอีก ๔ คน โดยใหไปอยูตามหัวเมืองตาง ๆ พรีทอรมีความสำคัญมาก ตอการพัฒนากฎหมายโรมนั เพราะการเขยี นกฎหมายน้ันจะตายตัว บางครงั้ เรอื่ งทเ่ี กดิ ขึ้นไมต รงกบั กฎหมายกม็ ี ถา กฎหมายลายลักษณอักษรท่ีบัญญัติไวมีขอบกพรองอยางไร พรีทอรจะใชอำนาจที่ตนมีอยูน้ันแกไขเพิ่มเติมเทาที่จะ เปน ไปได

กลาวโดยสรุป Praetor มบี ทบาทในการบรหิ ารกฎหมายเอกชนของโรมัน ดงั น้ี ๑. แกไขเพ่ิมเติมบทบัญญัติของกฎหมาย กลาวคือ ถากฎหมายลายลักษณอักษรที่บัญญัติไวมีขอบกพรอง อยา งไร Praetor จะใชอ ำนาจแกไ ขเพิม่ เตมิ เทา ทีส่ ามารถทำได ๒. โดยการตีความตัวบทกฎหมาย ซ่ึงอาจจะเปน การตคี วามโดยเครงครดั ตามตวั อกั ษร หรืออาจจะตีความ ถอ ยคำในตวั บทกฎหมายใหก วา ง เพือ่ คลมุ ถงึ เหตกุ ารณตา ง ๆ ท่ีเกดิ ขึ้นในภายหลัง ๓. โดยการเทียบเคียงบทบัญญัติของกฎหมายท่ีใกลเคียงอยางยิ่ง (Analogy) กลาวคือ ในระบบกฎหมาย ของกลุมที่ใชกฎหมายลายลักษณอักษรเปนสวนใหญ ปญหาที่ตองประสบคือ ปญหาชองวางของกฎหมาย เม่ือมีคดี ความเกิดขึ้นแตเปนกรณีที่กฎหมายไมไดบัญญัติไว จะดำเนินการกับกรณีดังกลาวอยางไร เพราะศาลจะปฏิเสธไม ตดั สนิ คดี

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๓๒

ไมได วิธีการที่จะแกปญหาดังกลาวก็คือ การใชกฎหมายโดยการเทียบเคียงบทบัญญัติท่ีใกลเคียงอยางยิ่งเปนนิติวิธี (Juristic Method) ทีใ่ ชอยูในระบบ Civil Law

(๓) พนักงานตำรวจ (Aedilis) ขาราชการตำแหนงน้ีเริ่มในป ๓๖๗ กอนคริสตกาล เพื่อทำหนาที่รักษา ความสงบเรยี บรอย และดูแลเกยี่ วกบั ตลาดและการคาขาย Aedilis มีบทบาทตอการพัฒนาสญั ญาซื้อขายเปนอยาง มาก วาระอยูในตำแหนง ๑ ป แตถาทำดีประชาชนก็สามารถเลือกเขาไปดำรงตำแหนงตอได นโยบายการควบคุม การซื้อขายของแอดิลิส เปนที่มาของหลักกฎหมายสำคัญ ๆ เชน หลักความรับผิดโดยเด็ดขาดของผูขาย (Strict Liability) เปน ตน

แอดิลิส มี ๔ นาย แตง ตงั้ จาก Patrician ๒ นาย และแตต ัง้ จาก Plebeian ๒ นาย (๔) พนักงานชันสูตรพลิกศพ (Quaestor) ทำหนาท่ีชวยคอนซูลทางการคลัง และการบริหาร นอกเหนอื จากการชันสูตรพลิกศพแลว เควสเตอรเ ปน ขาราชารระดบั ต่ำสุด เม่อื มกี ารตายเกิดขึน้ ตองไปชนั สูตรพลิก ศพ เพราะจะตอ งดูสาเหตุการตาย (๕) สัสดี (Censor) เลือกตั้งขึ้นมาเพื่อการควบคุมการเกณฑทหาร ทางรัฐจะตองมีการสำรวจสำมโน ประชากรทุก ๕ ป สัสดีมีหนาท่ีดูแลความประพฤติของประชาชน และวินิจฉัยวาบุคคลใดมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง หรือไม หนาที่ของสัสดีอยูประมาณ ๑๘ เดือน ในทุก ๆ ๕ ป จะมีหนาที่สำรวจสำมโนประชากรในเรื่องของการ เกณฑทหาร อีก ๓ ปหนึ่ง จะมีหนาที่ดูแลความประพฤติของประชาชนทั่วไป การสำรวจสำมโนประชากรนอกจาก เพ่ือประโยชนการเกณฑทหารแลว ยังเปนประโยชนในการจัดเก็บภาษี รวมท้ังการพิจารณาหาบุคคลเขาดำรง ตำแหนงทางการเมือง (๖) จอมทัพ (Dictator) ตำแหนงนี้ตั้งข้ึนชั่วคราว ตามรัฐธรรมนูญของโรมันในภาวะฉุกเฉินเขียนไววา คอนซูลมีอำนาจแตงต้ังจอมทัพ ซึ่งจะมีอำนาจเด็ดขาดในการบริหารประเทศ เพราะการทำสงครามน้ันภาวะ บานเมืองไมปกติจะใหคอนซูลบริหารไปตามปกติไมได จึงตองใชอำนาจเด็ดขาดของจอมทัพ และจอมทัพจะมี อำนาจสูงกวาคอนซูล ซ่ึงเปนผูแตงตัง้ และในกรณีน้ีถาจอมทัพลงโทษโบย หรือประหารชีวิตใครจะอุทธรณไม ซึ่งใน ยามท่ีบานเมืองปกติคอนซูลลงโทษประหารใครหรือลงโทษโบย ผูกระทำผิดมีสิทธิท่ีจะอุทธรณตอสภาเซ็นทูริอาทา นอกจากนี้ จอมทัพจะตอ งลาออกทันทที ่ภี าวะฉกุ เฉินสนิ้ สดุ ลง และระยะเวลาการดำรงตำแหนง จะไมเกินระยะเวลา ของตำแหนงคอนซูลนับตั้งแตไดรับการแตงต้ังหรือไมเกิน ๖ เดือนนับแตไดรับการแตงตั้ง แลวแตระยะใดจะนอย กวา ตำแหนงจอมทัพน้ีจะเกิดขึ้นในสมัยแรกที่มีการรบกับชนชาติอื่น ตอมาไมคอยมีการแตงต้ังตำแหนงน้ี ฉะน้ัน อำนาจสว นใหญจึงไปตกอยูท่คี อนซูล โดยสรุป ขาราชการของโรมันสมัยสาธารณรัฐ จะเห็นวามีอำนาจมาก อยางไรก็ตามยังถูกควบคุมโดย ประชาชน เพราะสวนใหญมาจากการเลือกตั้ง สวนมากจะมีวาระ ๑ ป เวนแตตำแหนงสัสดี นอกจากนี้จะมี ขาราชการท่มี ีอำนาจและหนา ท่อี ยางเดยี วกันตัง้ แต ๒ ตำแหนง ขึ้นไป เพอ่ื ท่จี ะไดทำการใชส ทิ ธยิ บั ยัง้ กนั และกนั ได ๒. สภานิติบัญญัติ (Comitial) ประชาชนชาวโรมันทำการปกครองประเทศโดยผานสภานิติบัญญัติ ซึ่ง ประกอบดวย ชาวโรมันที่บรรลุนิติภาวะท้ังหมด สภานิติบัญญัติจะทำการประชุมตามวันเวลาท่ีกำหนดโดย ประธานสภาจะเปนผูพิจารณาเห็นสมควรวาจะมีการประชุมวันไหน อยางไรก็ตาม สภานิติบัญญัติที่จะออกเสียง ตามญตั ตทิ ป่ี ระธานเสนอ และไมมีสทิ ธจิ ะขออภปิ รายหรือแปรญตั ติใด ๆ ในการออกเสียงเปน กลุมทปี่ ระกอบกันขึน้ เปนสภานติ บิ ัญญตั ิ บคุ คลแตละคนไมม สี ิทธิออกเสยี งโดยลำพงั

ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารยโ์ กญจนาท เจรญิ สุข

มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ๓๓

สภานติ ิบญั ญัติของชาวโรมัน มี ๓ สภา คือ

๑. สภาคูรอิ าทา

๒. สภาเซ็นทรู ิอาทา

๓. สภาเพลเบยี น

(๑) สภาคูริอาทา ประกอบดวย หนวยงานของชาวโรมันท่ีเรียกวา คูเรีย หรือคิวริอา ซ่ึงระยะแรก ๆ

สมาชิกเปนชนชั้นสูงเทานั้นท่ีเปนสมาชิกของคูเรีย แตระยะหลังพวกเพลเบียนก็มีสิทธิเปนสมาชิกของคูเรียไดดวย

สภาคูริอาทามีมาตั้งแตยุคกษัตริยซึ่งเปนยุคแรก คร้ันถึงยุคสาธารณรัฐ สภาน้ีจึงมีบทบาทนอยลงไป สภาคูริอาทา

นั้นไมใชสภานิติบัญญัติท่ีแทจริง แตมีหนาท่ีรับรองใหความเห็นชอบตอการออกพระราชบัญญัติหรือพระบรมราช

โองการ หรอื ประกาศใด ๆ ของพระมหากษตั ริย หรือของขาราชการ นอกจากนัน้ ยงั มีหนาทีใ่ นการเลือกตั้งและเปน

พยานในการทำพินัยกรรม หรอื การรบั รองบตุ ร หรอื รับบตุ รบุญธรรมของเอกชน

(๒) สภาเซ็นทรู อิ าทา สภานีป้ ระกอบดว ย หนวยของชาวโรมนั จำนวนหนว ยละ ๑๐๐ คน มกี ารจดั ระบบ

แบบทหาร โดยเรียกหนวยตาง ๆ วากองรอย โดยแบงประชาชนออกเปนชนช้ันและถือความมั่งคั่งเปนเกณฑ

ประชาชนแตละคนจะตองถืออาวุธหรือเคร่ืองไมเครื่องมือมาคนละอยาง เพื่อมารายงานทำหนาท่ีตามฐานะ และ

ความมงั่ คง่ั ของตน ชนช้ันแหง ความมง่ั คั่งจะมีอยู ๕ ชนชัน้

ชนชนั้ อนั ดับหนงึ่ ซง่ึ ม่งั ค่งั ท่ีสดุ มี ๘๐ กองรอ ย

ชนชัน้ อนั ดบั ที่สอง สาม สี่ มี ๒๐ กองรอ ย

ชนชัน้ อนั ดับทีห่ า มี ๓๐ กองรอ ย

นอกจากนี้ยังมีกองทหารมา กองทหารชาง กองดุริยางค และกองสัพเพเหระที่ไมอาจจัดเขาชนช้ันใดได

กลาวคอื

กองทหารมา มี ๑๘ กองรอย

กองทหารชางและกองดุรยิ างค มี ๔ กองรอย

กองสพั เพเหระมี ๑ กองรอย

รวม ๑๕๓ กองรอย

แมวาชนช้ันอันดับหน่ึงจะมีนอยกวาชนชั้นอ่ืน ๆ ในแงจำนวนประชากร แตในสภากับมีจำนวนกองรอย

มากกวา คือ มีถึง ๙๘ เสียง เม่ือรวมกับทหารมาทำใหมีเสียงขางมากในสภา ฉะน้ันผูท่ีคุมเสียงได คือ ชนชั้นอันดับ

หนึ่งกับกองทหารมารวมกัน นอกจากน้ันผูท่ีเปนสมาชิกของกองรอยในแตละชนช้ันจะมีจำนวนเทากันระหวาง

กองรอ ยผูมีอายุ และกองรอ ยผูออนอายุ ท่ีเรยี กวา ซีเนียร และจูเนียร

ตอมาในศตวรรษท่ี ๒๑ และ ๒๑๘ กอนคริสตศักราช ไดมีการจัดกองรอยใหม โดยคำนึงถึงฐานะความม่ัง

คงั่ และเร่มิ มีการเอากรรมสิทธิ์ในทด่ี ินมาวัดกันถึงความมงั่ คงั่

ในศตวรรษท่ี ๒๔๑ กอนคริสตกาล ประเทศโรมันไดแบงเขตการปกครองออกเปน ๓๕ จังหวัด ไดมีการ

จัดต้ังสภากองรอยท่ีเปนสมาชิกของสภาเซ็นทูริอาทา โดยใหแตละจังหวัดมีสิทธิสงกองรอยเขาไปนั่งประชุมชนช้ัน

ละ ๒ กองรอย คือ กองรอยคนแก กองรอยคนหนุม ในที่สุดก็มีถึง ๓๕๐ กองรอย ในสมัยตอมาสภาเซ็นทูริอาทา

เปนสภาที่มีความสำคัญท่ีสุดในบรรดาสภาทั้งหลายที่มีอยูตามรัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐ สภานี้มีหนาที่ออกเสียง

มูลเหตุในการชำระกฎหมายและตรากฎหมายตราสามดวงขึ้นมีเหตุมาจากกรณีใด

สาเหตุของการชำระกฎหมาย และการรวบรวมตัวบทกฎหมายต่างๆ ในสมัยของรัชกาลที่ 1 ปรากฏอยู่ในเอกสารสำคัญ คือ “ประกาศพระราชปรารภ” โดยกล่าวว่า ในรัชสมัยของพระองค์ ได้เกิดคดีอำแดงป้อมฟ้องหย่านายบุญศรี ช่างเหล็กหลวง โดยที่นายบุญศรีสามีมิได้มีความผิด แต่อำแดงป้อมนั่นเองที่ประพฤติไม่สมควร คบชู้ด้วยนายราชาอรรถ แต่พระเกษมซึ่งทำหน้าที่ ...

เพราะเหตุใดรัชกาลที่ 1 ทรงให้มีการตรวจชำระและตรากฎหมายตราสามดวง

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจึงมีพระราชดำริว่า ตัวบทกฎหมายเช่นนี้ไม่มีความยุติธรรม คงมีความฟั่นเฟือนวิปริตไป เหตุคงมาจากผู้ที่มีความโลภหลงไม่รู้จักละอายต่อบาปจ้องแต่จะหาประโยชน์ ส่วนตัว ทำการแต่งกฎหมายตามใจชอบ มาพิพากษาคดีให้เสียความยุติธรรม โดยทรงยกตัวอย่างว่า ในทางพุทธจักรได้โปรดเกล้าฯ ให้ชำระสะสางพระ ...

กฎหมายตราสามดวงมีความสำคัญอย่างไร

สาระสำคัญโดยรวมของกฎหมายตราสามดวงปรากฎให้เห็นถึงโครงสร้างของสังคมไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยาและกรุงรัตนโกสินทร์ที่เป็นสังคมยึดถือศักดินาเป็นหลัก กล่าวได้ว่า ศักดินาเป็นเครื่องกำหนดสิทธิ หน้าที่ความรับผิดชอบและฐานะของคนทุกกลุ่มในสังคม ระบบศักดินาจึงเป็นพื้นฐานสำคัญของการจัดระบบสังคม โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มอย่างกว้าง ๆ คือ ...

ทำไมอำแดงป้อมฟ้องหย่านายบุญศรี

“อำแดงป้อมภรรยานายบุญศรีฟ้องหย่านายบุญศรีๆ ให้การแก่พระเกษมว่า อำแดงป้อมนอกใจทำชู้ด้วยนายราชาอรรถแล้วมาฟ้องหย่านา