กล องโทรทรรศน อวกาศฮ บเบ ล ม ข อด อย างไร

การสอบวิชาพเิ ศษ ลกู เสือ เนตรนารี สามญั รุน่ ใหญ่

นักดาราศาสตร์ ด.ช.อพทั ธดนย์ ต๋าคา ด.ช.กิตติทตั ก๋าสม ด.ช.นพเกา้ จองแสง

คานา

เพอื่ ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาลกู เสือในสถานศกึ ษามีความรู้ ความเขา้ ใจแนวทาง การ ดาเนินงานสอบวิชาพิเศษลกู เสือ โดยเฉพาะลกู เสือ เนตรนารี สามญั รุน่ ใหญ่ ดงั นนั้ สานกั การลกู เสือ ยวุ กาชาดและกิจการนกั เรียน จงึ แต่งตง้ั คณะกรรมการดาเนินงาน การประชมุ จดั ทาค่มู อื การสอบวชิ าพเิ ศษลกู เสอื เนตรนารี สามญั รุน่ ใหญ่ วิชานกั ดาราศาสตร์ สานกั การลกู เสือ ยวุ กาชาดและกิจการนกั เรยี น ขอขอบคณุ คณะกรรมการ ดาเนินงานการประชมุ จดั ทาค่มู อื การสอบวชิ าพิเศษลกู เสือ เนตรนารี สามญั รุน่ ใหญ่ โดยมี นางสวุ ฒั นา ธรรมประภาส นกั วชิ าการศึกษาชานาญการพิเศษ หวั หนา้ ฝ่าย สง่ เสริมกิจการลกู เสอื เป็นเลขานกุ ารคณะกรรมการ ซงึ่ คณะกรรมการไดจ้ ดั ทา ค่มู ือการสอบวิชาพิเศษลกู เสอื เนตรนารี สามญั รุน่ ใหญ่ ครง้ั นีจ้ นสาเรจ็ ลลุ ว่ งดว้ ย ความเรยี บรอ้ ย โดยมงุ่ หวงั เผยแพรใ่ หผ้ บู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ในสถานศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนตน้ สามารถนาไปใชเ้ ป็นคมู่ อื การสอบวิชาพิเศษลกู เสอื เนตรนารี สามญั รุน่ ใหญ่ วชิ านกั ดาราศาสตร์ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

ผอู้ านวยการสานกั การลกู เสอื ยวุ กาชาดและกิจการนกั เรยี น

เนื้อหาวชิ า

ดาราศาสตร์ คือ วทิ ยาศาสตรท์ ี่วา่ ดว้ ยเอกภพปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ท่ีสามารถ สงั เกตได้ และกฎเกณฑต์ า่ ง ๆ ที่เก่ียวขอ้ งกบั ดาว และเทหวตั ถบุ นทอ้ งฟา้ เอกภพ Universe (จกั รวาล) คือ ทกุ ส่งิ ทกุ อยา่ งที่มีอยู่ หรือเคยมีอยใู่ นทกุ ท่ีทกุ แหง่ เชน่ โลก ดวงอาทิตย์ กาแลกซี่ รวมทง้ั ท่ีวา่ ง หรอื อวกาศจกั รวาลนน้ั มีวิวฒั นาการ เอกภพและ สิ่งตา่ ง ๆ ท่ีอยภู่ ายในเอกภพ เปลี่ยนแปลงตามกาล-เวลา ดงั นนั้ ดาราศาสตร์ เป็นการศึกษาปรากฏการณ์ ในเอกภพดว้ ยวิธีการแบบวิทยาศาสตร์ คือเริม่ ดว้ ย การสงั เกตการณเ์ ก็บขอ้ มลู มาวเิ คราะห์ ในระยะตน้ นน้ั อาศยั แสงสวา่ งที่ไดร้ บั จาก พนื้ โลก ขนั้ ตน้ ใชต้ าเปลา่ เมอ่ื วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีเจรญิ ขนึ้ ก็ประดิษฐ์อปุ กรณ์ เพิ่มการเห็นคือกลอ้ งโทรทศั น์ ตอ่ มาใชว้ ิธีการถ่ายรูปชว่ ยบนั ทกึ ภาพแลว้ ใชเ้ ครื่องวดั ความเขม้ ของแสง เม่ือความรูเ้ รือ่ งการแผ่รงั สีเพม่ิ ขนึ้ ก็ใชอ้ ปุ กรณร์ บั คลนื่ วิทยแุ ละ รงั สอี ื่น ๆ ที่แผ่เขา้ มาจากทอ้ งฟา้ ในปัจจบุ นั ดาราศาสตรใ์ ชค้ วามรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ ทกุ สาขาคือ ฟิสิกส์ เคมี ชีววทิ ยา ธรณีวทิ ยา ฯลฯ และใชอ้ ปุ กรณท์ ่ีอาศยั เทคโนโลยี ทนั สมยั ท่ีสดุ เพอื่ ศึกษาธรรมชาติของเอกภพในขอบเขตที่กวา้ งท่ีสดุ ซง่ึ ใน ขณะเดียวกนั ก็ตอ้ งเรียนรูโ้ ครงสรา้ งเล็กท่ีสดุ และดาราศาสตรค์ รอบคลมุ ทง้ั อดีตตงั้ แต่ เอกภพเร่มิ อบุ ตั ิ ขนึ้ จนปัจจบุ นั และสภาวะอนาคตที่ดาวและเอกภพจะพฒั นาไป

วธิ ีการดูดาว

หรือเปรียบเทียบตาแหน่งของวตั ถุ บนทอ้ งฟา้ และสงั เกตการเคลอ่ื นที่ของวตั ถุ เหลา่ นน้ั ไดง้ า่ ยขนึ้ ภาพที่ 1 จินตนาการจากอวกาศ หากตอ่ แกนหมนุ ของโลกออกไปบนทอ้ งฟา้ ทงั้ สองดา้ น เราจะไดจ้ ดุ สมมตเิ รียกวา่ ขวั้ ฟา้ เหนือ (North celestial pole) และ ขวั้ ฟา้ ใต้ (South celestial pole) โดยขวั้ ฟา้ ทงั้ สอง จะมแี กนเดียวกนั กับแกนการหมนุ รอบตวั เองของโลก และ ขวั้ ฟา้ เหนือจะชีไ้ ปประมาณตาแหน่งของดาวเหนือ ทาใหเ้ รามองเห็นวา่ ดาวเหนือไมม่ ี การเคลื่อนที่ หากขยายเสน้ ศนู ยส์ ตู รโลกออกไปบนทอ้ งฟา้ โดยรอบ เราจะไดเ้ สน้ สมมติ เรยี กวา่ เสน้ ศนู ยส์ ตู รฟา้ (Celestial equator) เสน้ ศนู ยส์ ตู รฟา้ แบง่ ทอ้ งฟา้ ออกเป็น ซีก ฟา้ เหนือ (Northern hemisphere) และ ซกี ฟา้ ใต้ (Southern hemisphere) เช่นเดียวกบั ที่เสน้ ศนู ยส์ ตู รโลก แบง่ โลกออกเป็น ซีกโลกเหนือ และซกี โลกใต้ ภาพที่ 2 จินตนาการจากพนื้ โลก ในความเป็นจริง เราไมส่ ามารถมองเห็น ทรงกลมทอ้ งฟา้ ไดท้ งั้ หมด เนอื่ งจากเราอยู่ บนพนื้ ผิวโลก จงึ มองเห็นทรงกลมทอ้ งฟา้ ไดเ้ พียงครง่ึ เดียว และเรียกแนวที่ทอ้ งฟา้ สมั ผสั กบั พนื้ โลก รอบตวั เราวา่ เสน้ ขอบฟา้ (Horizon) ซงึ่ เป็นเสมอื นเสน้ รอบวงบนพนื้ ราบ ท่ีมตี วั เราเป็นจดุ ศนู ยก์ ลาง หากลากเสน้ โยงจากทิศเหนือมายงั ทิศใต้ โดยผ่านจดุ เหนือ ศรีษะ จะไดเ้ สน้ สมมติซงึ่ เรยี กวา่ เสน้ เมอรเิ ดียน (Meridian) หากลากเสน้ เช่ือม

ทิศตะวนั ออก-ทิศตะวนั ตก โดยใหเ้ สน้ สมมตินน้ั เอียงตงั้ ฉากกบั ขวั้ ฟา้ เหนือ ตลอดเวลา จะได้ เสน้ ศนู ยส์ ตู รฟา้ (Celestial equatorial) ซงึ่ แบง่ ทอ้ งฟา้ ออกเป็น ซกี ฟา้ เหนือ และซกี ฟา้ ใต้ หากทาการสงั เกตการจาก ประเทศไทย ซง่ึ อยบู่ นซกี โลกเหนือ จะมองเห็นซีกฟา้ เหนือ มีอาณาบรเิ วณมากกวา่ ซกี ฟา้ ใตเ้ สมอ สมบตั ิของทรงกลมทอ้ งฟา้ ทอ้ งฟา้ ที่เรามองเห็นมลี กั ษณะผิวโคง้ เกือบครง่ึ วง กลม ในขณะเดียวกนั คนท่ีอยตู่ รง ขา้ มหรือทางสว่ นลา่ งของเรา ก็จะเห็นทอ้ งฟา้ อีกสว่ นหนึง่ เป็นครงึ่ วงกลมเช่นเดียวกนั จึงคิดรวมไดว้ า่ ทอ้ งฟา้ มลี กั ษณะเป็นทรงกลมกลวง เรียกวา่ ทรงกลมทอ้ งฟา้ (celestial sphere) ซงึ่ จะกลา่ วถงึ สมบตั ิเป็นขอ้ ๆ ดงั นี้

ภาพแสดงโลกและทรงกลมทอ้ งฟา้ 1. ทรงกลมทอ้ งฟา้ มลี กั ษณะคลา้ ยทรงกลมกลวง โดยมดี าวฤกษ์ ดวงอาทิตย์ ดวง จนั ทร์ ดาวเคราะห์ และวตั ถทุ อ้ งฟา้ อ่ืนปรากฏอยู่ ณ ผิวในของทรงกลม โลกเป็นทรง กลมตนั ท่ีซอ้ นอยขู่ า้ งในของทรงกลมทอ้ งฟา้ 2. เนื่องจากผิวทรงกลมทอ้ งฟา้ ปรากฏอยไู่ กลสดุ สายตา จึงมรี ศั มีไกลสดุ สายตา หรือ มีคา่ อนนั ต์ เพ่อื ความสะดวกในการคานวณ บางครงั้ นิยมใหเ้ ท่ากบั หน่ึงหนว่ ย 3. ตาแหน่งจดุ ศนู ยก์ ลางของทรงกลมทอ้ งฟา้ ไมแ่ นน่ อน ผสู้ งั เกตอยู่ ณ ท่ีใดบนโลก หรือในอวกาศ ก็สามารถคิดไดว้ า่ ตาแหน่งนนั้ คือตาแหน่งจดุ ศนู ยก์ ลางทรงกลมทอ้ งฟา้ แตโ่ ดยท่วั ไป เรามกั นึกถงึ ตาแหน่ง

บนโลก หรือบางทีอาจจะใชต้ าแหนง่ เดียวกนั กบั จดุ ศนู ยก์ ลางของโลกโดยสมมติวา่ โลกมีลกั ษณะ เป็นทรงกลมจริง 4. การแบง่ ตาแหน่งบนผิวทรงกลมทอ้ งฟา้ ใชร้ ะยะทางตามมมุ คิดเป็นมมุ ณ จดุ ศนู ยก์ ลาง เช่นเดียวกบั การบอกตาแหน่งบนผิวโลก 5. ทรงกลมทอ้ งฟา้ ปรากฏหมนุ รอบตวั เองครบรอบในเวลา 1 วนั เช่นเดียวกบั โลก แต่ หมนุ ในทิศทาง ที่สวนกนั คือ หมนุ จากทศิ ตะวนั ออกไปทางทิศตะวนั ตก ตามลกั ษณะที่เราสงั เกต เห็นดวงอาทติ ยข์ นึ้ ทาง ทิศตะวนั ออก แลว้ ตกทางทิศตะวนั ตกน่นั เอง ถา้ ต่อแนวแกนสมมติของโลกออกไป ทางขวั้ เหนือ และขว้ั ใตต้ ลอดจนจรดทอ้ งฟา้ จะไดต้ าแหน่งขว้ั เหนือทอ้ งฟา้ (north celestial pole "NCP") และขวั้ ใตท้ อ้ งฟา้ (south celestial pole "SCP") และถา้ ขยายเสน้ ศนู ยส์ ตู รของโลกออกไปจนจรดทรงกลมทอ้ งฟา้ จะไดเ้ สน้ ศนู ยส์ ตู รทอ้ งฟา้ และระนาบศนู ยส์ ตู รทอ้ งฟา้ (celestial equator)

แผนทีด่ าว แผนที่ดาว คือ แผนท่ีแสดงตาแหน่งของดวงดาวบนทอ้ งฟา้ ที่ครอบโลกของเราอยู่ จะ มลี กั ษณะเป็น ทรงกลมไมว่ า่ เราจะดดู วงดาวท่ีตาแหน่งใดของโลก ตวั ผดู้ จู ะเป็นศนู ยก์ ลางของ ทอ้ งฟา้ เสมอ

วธิ ีใช้ แผนที่ฟา้ ของสมาคมดาราศาสตรไ์ ทย ( สาหรบั ดดู าวดว้ ยตาเปลา่ และกลอ้ งสองตาเบอื้ งตน้ ) A กรอบนอกของแผนท่ีดาว ทาจากกระดาษแขง็ สนี า้ เงิน, เป็นสว่ นที่ Fixed อยกู่ บั ท่ี หมนุ ไมไ่ ด,้ จะสามารถใชง้ านไดท้ งั้ สองดา้ น, แตใ่ นภาพเรากาลงั ใชง้ านดา้ น "ขวั้ ฟา้ เหนือ" คือเราหนั ไปทางทิศเหนือ ขณะใชแ้ ผนทนี่ ีด้ ดู าวบนทอ้ งฟา้ น่นั เอง B หมดุ ทองเหลอื ง เป็นจดุ หมนุ ของแผนที่ดาว, เป็นตาแหน่งทอ่ี อกแบบใหต้ อกทบั "ดาวเหนือ" (POLARIS) บนทอ้ งฟา้ พอดี, หมายความวา่ บนทอ้ งฟา้ จริง อาจจะถือไดว้ า่ ดาว เหนืออยนู่ ่ิงๆ ไม่ เคล่ือนที่, ในขณะท่ีดาวและวตั ถอุ ื่น บนทอ้ งฟา้ เคล่ือนท่ี รอบดาวเหนืออยา่ งชา้ ๆ, ตามเวลาที่ผ่านไป จ.ขอนแกน่ ดาวเหนือหา่ งพนื้ ดิน 16 องศา

C รอยบากชอ่ งนีส้ าหรบั ใชน้ ิว้ ชีข้ ยบั -หมนุ , (จะหมนุ ตามเขม็ หรอื ทวนเข็มนาฬกิ า ขนึ้ อยกู่ บั เวลาที่ เราตอ้ งการด)ู D หนา้ นีแ้ สดงวา่ เรากาลงั ดแู ละ หนั หนา้ ไปทางทิศเหนือบนทอ้ งฟา้ จริง, แผนท่ีนี้ ออกแบบ ใหใ้ ช้ สาหรบั ประเทศไทยและคนไทย E,F,G,H วิธีการใช้ พยายามใชภ้ าษาง่ายๆเหมือนคยุ กนั คอ่ ยๆทาตาม...step by step วนั ท่ี และ เดือน แผน่ กระดาษแขง็ วงกลมหมนุ ได,้ พนื้ สีขาว, พมิ พ์ อกั ษรสีนาเงิน,แสดงวนั ที่-เดือน จะแบง่ ดงั นี้ 1.แบง่ เป็น 12 ช่องใหญ่ คือ 12 เดือน ของรอบปี (มกราคม ถงึ ธันวาคม) 2.ในแต่ละ ชอ่ งใหญ่ จะถกู แบง่ ซอยเป็นช่องเล็กๆ ซงึ่ ก็คือ วนั ที่ น่นั เอง

แผนท่ีดาววงกลม แผนท่ีดาววงกลมเป็นอปุ กรณอ์ ยา่ งง่าย ที่ช่วยในการวางแผนและสงั เกตการทอ้ งฟา้ แผนท่ีดาวชนดิ นีป้ ระกอบดว้ ย แผ่นกระดาษสองใบคือ แผนที่ดาว (แผ่นลา่ ง) และ แผ่นขอบฟา้ (แผ่นบน) ซอ้ นกนั อยู่ และ ยดึ ติดกนั ดว้ ยตาไก่ ที่ตรงจดุ ศนู ยก์ ลาง

ภาพที่ 1 แผ่นแผนที่ดาว (แผ่นล่าง) แผ่นแผนท่ี (ภาพท่ี 1) มจี ดุ ศนู ยก์ ลางเป็นขวั้ ฟา้ เหนือ ดาวเหนือจะอยตู่ รงตาไกพ่ อดีตรงปลาย กลมุ่ ดาวหมีเลก็ ท่ีกง่ึ กลางของรศั มแี สดงดว้ ยเสน้ วงกลมเป็น "เสน้ ศนู ยส์ ตู รฟา้ " กลมุ่ ดาวที่อยู่ ภายในคือ "ซกี ฟา้ เหนือ" กลมุ่ ดาวที่อยภู่ ายนอก คือ "ซกี ฟา้ ใต"้ ใกลๆ้ กบั เสน้ ศนู ยส์ ตู ร ฟา้ จะเป็น "เสน้ สรุ ยิ ะวิถี" ซงึ่ แสดงดว้ ยวงกลมเสน้ ประ กลมุ่ ดาวท่ีอยบู่ นเสน้ สรุ ยิ ะวิถี จะเป็นกลมุ่ ดาวจกั ราศีทงั้ 12 กลมุ่ บริเวณแถบวงแหวนสีเทา บนแผนที่ดาวแสดง "ทางชา้ งเผือก" ที่ขอบของแผนท่ีเป็นสเกล "ปฏิทิน" บอก "วนั ท่ี" และ "เดือน"

ภาพที่ 2 แผ่นขอบฟ้า (แผ่นบน) แผน่ ขอบฟา้ (ภาพท่ี 2) เป็นแผน่ เจาะชอ่ ง แสดงอาณาเขตของทอ้ งฟา้ เสน้ ขอบฟา้ และ แสดงทิศเหนือ (N), ตะวนั ออกเฉียงเหนือ (NE), ตะวนั ออก (E), ตะวนั ออกเฉียงใต้ (SE), ใต้ (S), ตะวนั ตกเฉียงใต้ (SW), ตะวนั ตก (W), ตะวนั ตกเฉียงเหนือ (NW) ตามลาดบั ที่ขอบของแผ่นขอบฟา้ เป็นเสมือน "นาฬกิ า" บอกเวลาเป็น "ช่วั โมง" และมสี เกลขีด ละ 10 นาที

ภาพที่ 3 แผนที่ดาววงกลม วธิ ีใชง้ าน ตงั้ เวลาท่ีจะสงั เกตการณ์ โดยหมนุ "นาฬิกา" (ที่ขอบแผน่ ขอบฟา้ ) ใหต้ รงกบั "ปฏิทิน" (ที่ขอบแผนท่ีดาว) ตวั อยา่ งเชน่ ตอ้ งการดดู าวในเวลา 05.00 น. ของวนั ท่ี 5 เดือนมกราคม ก็ใหห้ มนุ แผน่ ขอบฟา้ มาจนกระท่งั ขีด สเกล "05.00" ตรงกบั สเกลขดี ที่ 5 เดือนมกราคม จบั แผนท่ีดาวแหงนขนึ้ โดยใหท้ ิศเหนือและทิศใตบ้ น แผนท่ีดาว ชีต้ รงกบั ทิศเหนือและทิศใตข้ องภมู ิประเทศจริง ควรระลกึ ไวเ้ สมอวา่ การ อ่านแผนที่ดาวมิใชก่ ารกม้ อ่านหนงั สือ แตเ่ ป็นการแหงนดู เพ่ือเปรยี บเทียบทอ้ งฟา้ ใน แผนท่ีกบั ทอ้ งฟา้ จรงิ เมอื่ เวลาเปลย่ี นไป ใหห้ มนุ แผ่นขอบฟา้ (แผน่ บน) ตามทิศตาม เข็มนาฬิกา ไปยงั เวลาปัจจบุ นั จะเห็นไดว้ า่ กลมุ่ ดาวทางทิศตะวนั ออกของแผนท่ี จะ เคล่อื นท่ีออกห่างจากขอบฟา้ (E) มากขนึ้ ในขณะที่กลมุ่ ดาวในทิศตะวนั ตก จะ เคลอ่ื นท่เี ขา้ หาขอบฟา้ (W) เสมือนการเคลอื่ นท่ี ขนึ้ -ตก ของกลมุ่ ดาวบนทอ้ งฟา้ จริง จะสงั เกตเห็นวา่ ไมว่ า่ จะหมนุ แผ่นขอบฟา้ ไป อยา่ งไรก็ตาม เสน้ ศนู ยส์ ตู รฟา้ จะอยตู่ รงแนวทิศตะวนั ออก (E) และตะวนั ตก (W) เสมอ เพราะน่นั คือเสน้ แบง่ ซกี ทอ้ งฟา้ และเสน้ สรุ ิยะวิถีตรงกลมุ่ ดาวคนคู่ จะอยคู่ อ่ น ไปทางเหนือ (โซลสต์ ิสฤดรู อ้ น) และเสน้ สรุ ิยะวถิ ีตรงกลมุ่ ดาวคนยิงธนู จะอยคู่ ่อนไป ทางใต้ (โซลสต์ ิซฤดหู นาว) วงกลมทง้ั สองเอียงตดั กนั เป็นมมุ 23.5 เนื่องเพราะแกน ของโลกเอียงขณะโคจรรอบดวงอาทิตย์

ขอ้ พงึ ระวงั แผนท่ีดาวแบบวงกลมนีม้ ีขอ้ จากดั เน่ืองจากสรา้ งขนึ้ โดยการตีแผท่ รงกลมออกเป็น ระนาบสองมติ ิ (360? projection) กลมุ่ ดาวในซีกฟา้ เหนือจะมขี นาดเล็กกวา่ ความเป็นจรงิ และกลมุ่ ดาวในซีกฟา้ ใตจ้ ะขยายถา่ งเกินสดั สว่ นจรงิ ดงั นนั้ ถา้ หากใช้ แผนท่ีดาวนีด้ ดู าวที่อยใู่ กลข้ อบฟา้ ใต้ ขอใหแ้ นะนาใหด้ ดู าวสวา่ งเป็นดวงๆ แลว้ คอ่ ย ไลเ่ ปรยี บเทียบไปกบั ทอ้ งฟา้ จรงิ ตาแหนง่ บอกทิศทง้ั แปดมไิ ดห้ า่ งเทา่ ๆ กนั สเกล ระหวา่ งทิศเหนือ (N) ไปยงั ทิศตะวนั ออก (E) และทิศตะวนั ตก (W) จะอยใู่ กลช้ ิด กนั มาก สว่ นสเกลไปทางทิศใต้ (S) จะมีระยะห่างออกไป กวา้ งกวา่ หลายเทา่ หาก หนั หนา้ ดดู าวทางทิศเหนือ ใหห้ นั เอาดา้ นอกั ษร N ลง หากหนั หนา้ ดดู าวทางทิศใต้ ใหห้ นั กลบั ดา้ นอกั ษร S ลง หากหนั หนา้ ไปทางทิศอ่ืน ใหพ้ ยายามตรงึ แนว N – S ใหข้ นานกบั ทิศเหนือ – ใต้ ของภมู ปิ ระเทศจรงิ ไวต้ ลอดเวลา k

หมายเหตุ แผนท่ีดาววงกลมนี้ ถกู ออกแบบขนึ้ เพื่อใช้ ณ บริเวณใกลก้ บั ละติจดู 15? เหนือ เชน่ ภาคกลาง และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ อยา่ งไรก็ตามการนาไปใช้ ณ ละติจดู อ่ืนๆ ของประเทศไทย ก็มิไดม้ แี ตกตา่ งไปจากทอ้ งฟา้ จริงมากนัก

การสงั เกตกลมุ่ ดาวสวา่ ง

แมว้ า่ จะมีกลมุ่ ดาวบนทอ้ งฟา้ อยถู่ งึ 88 กลมุ่ แต่ในทางปฏิบตั ิมีกลมุ่ ดาวเพยี งสิบกวา่ กลมุ่ ที่เหมาะสมสาหรบั การเร่มิ ตน้ และกลมุ่ ดาวเหลา่ นีก้ ็มิไดม้ ใี หเ้ ห็นตลอดเวลา เพราะโลกหมนุ รอบตวั เอง และหมนุ รอบดวงอาทิตย์ กลมุ่ ดาวสวา่ งแตล่ ะกลุ่มจะ ปรากฏใหเ้ ห็นเพียงแตล่ ะชว่ งเวลาเท่านนั้

ดาวฤกษส์ ว่างรอบดาวหมีใหญ่ ในการเริ่มตน้ ดดู าวนน้ั เราตอ้ งจบั จดุ จากดาวฤกษท์ ่ีสวา่ งเสยี ก่อน แลว้ จงึ คอ่ ยมองหา รูปทรงของ กลมุ่ ดาว สงิ่ แรกท่ีตอ้ งทาความเขา้ ใจคือ การเคล่อื นที่ของทอ้ งฟา้ เราจะตอ้ งหาทิศ เหนือใหพ้ บ แลว้ สงั เกตการเคล่ือนที่ของกลมุ่ ดาว จากซกี ฟา้ ตะวนั ออกไปยงั ซีกฟา้ ตะวนั ตก เน่ืองจากการหมนุ รอบตวั เองของโลก “กลมุ่ ดาวหมใี หญ่” (Ursa Major) ประกอบดว้ ยดาวสวา่ งเจ็ดดวง เรียงตวั เป็น รูปกระบวยขนาดใหญ่ ดาวสองดวงแรกชาวยโุ รปเรียกวา่ “เดอะ พอยเตอร”์ (The Pointer) หมายถงึ ลกู ศรซง่ึ ชีเ้ ขา้ หา “ดาวเหนือ” (Polaris) อยตู่ ลอดเวลา

โดยดาวเหนือจะอยหู่ า่ งจากดาวสองดวงแรกนนั้ นบั เป็นระยะเชิงมมุ ส่ีเท่า ของระยะ เชิงมมุ ระหวา่ งดาวสองดวงนน้ั ดาวเหนืออยใู่ นสว่ นปลาย หางของ ”กลมุ่ ดาวหมเี ลก็ ” (Ursa Minor) ซงึ่ ประกอบดว้ ยดาวไมส่ วา่ ง เรียงตวั เป็นรูปกระบวยเล็ก แมว้ า่ ดาวเหนือจะมคี วามสวา่ งไมม่ ากนกั แต่ในบรเิ วณขว้ั ฟา้

เหนือ ก็ไมม่ ดี าวใดสวา่ งไปกวา่ ดาวเหนอื ดงั นนั้ ดาวเหนือจึงมีความโดดเดน่ พอสมควร เมอ่ื เราทราบตาแหนง่ ของดาวเหนือ เราก็จะทราบทิศทางการหมนุ ของทรงกลม ทอ้ งฟา้ หากเราหนั หนา้ เขา้ หาดาวเหนือทางขวามอื จะเป็นทิศตะวนั ออกและทางซา้ ย มือจะเป็น ทิศตะวนั ตก กลมุ่ ดาวทงั้ หลายจะเคลือ่ นที่จากทางขวามือไปตกทางซา้ ย มือ ในขนั้ ตอนต่อไปเราจะตง้ั หลกั ท่ีกลมุ่ ดาวหมใี หญ่ วาดเสน้ โคง้ ตาม “หางหมี” หรอื “ดา้ มกระบวย” ต่อออกไปยงั “ดาวดวงแกว้ ” (Arcturus) หรอื ที่มชี ่ือเรียก อีกชื่อหน่ึงวา่ “ดาวมหาจฬุ ามณี” เป็นดาวสสี ม้ สวา่ งมากใน “กลมุ่ ดาวคนเลยี้ ง สตั ว”์ (Bootes) และหากลากเสน้ อารค์ โคง้ ต่อไปอีกเทา่ ตวั ก็จะเห็นดาวสวา่ งสี ขาวชื่อวา่ “ดาวรวงขา้ ว” (Spica) อยใู่ นกลมุ่ ดาวหญิงสาว (Virgo) หรอื ราศี กนั ย์ กลมุ่ ดาวนีจ้ ะมี ดาวสวา่ งประมาณ 7 ดวงเรยี งตวั เป็นรูปตวั Y อยบู่ นเสน้ สรุ ยิ ะวถิ ี กลบั มาท่ีกลมุ่ ดาวหมใี หญ่อีกครง้ั ดาวดวงที่ 4 และ 3 ตรงสว่ นของกระบวย จะชีไ้ ป ยงั “ดาวหวั ใจสิงห”์ (Regulus) ใน”กลมุ่ ดาวสิงโต” (Leo) หรือ ราศีสิงห์ พงึ ระลกึ ไวว้ า่ กลมุ่ ดาวจกั ราศีจะอยบู่ นเสน้ สรุ ิยะวถิ ีเสมอ ถา้ เราพบกลมุ่ ดาวราศีหนงึ่ เราก็สามารถไลห่ ากลมุ่ ดาวราศีของเดอื นอื่นซงึ่ เรยี งถดั ไปได้ เช่น ในภาพท่ี 1

เราเห็นกลมุ่ ดาวราศสี ิงห์ และกลมุ่ ดาวราศีกนั ย์ เราก็สามารถประมาณไดว้ า่ กลมุ่ ดาว ราศีกรกฏ และราศีตลุ ยจ์ ะอยทู่ างไหน

สามเหลี่ยมฤดูหนาว

ในชว่ งของหวั ค่าของฤดหู นาว จะมกี ลมุ่ ดาวสวา่ งอยทู่ างทิศตะวนั ออก คือ กลมุ่ ดาว นายพราน กลมุ่ ดาวสนุ ขั ใหญ่ และกลมุ่ ดาวสนุ ขั เลก็ หากลากเสน้ เช่ือม ดาวบเี ทลจสุ (Betelgeuse)ดาวสวา่ งสีแดงตรงหวั ไหลข่ องนายพรานไปยงั ดาวซิรอิ สุ (Sirius) ดาวฤกษส์ วา่ งที่สดุ สขี าว ตรงหวั สนุ ขั ใหญ่ แล ะ ดาวโปรซีออน (Procyon) ดาวสวา่ งสขี าวตรงหวั สนุ ขั เล็ก จะไดร้ ูปสามเหลีย่ มดา้ นเทา่ เรยี กวา่ “สามเหลีย่ มฤดหู นาว” (Summer Triangle) ซงึ่ จะขนึ้ ในเวลาหวั ค่าของฤดู หนาว กลมุ่ ดาวนายพรานเป็นกลมุ่ ดาวท่ีเหมาะสมกบั การเริม่ ตน้ หดั ดดู าวมากท่ีสดุ เน่ืองจากประกอบดว้ ยดาวสวา่ ง ที่มีรูปแบบการเรียงตวั (pattern) ที่โดดเด่นจา งา่ ย และขนึ้ ตอนหวั ค่าของฤดหู นาว ซงึ่ มกั มสี ภาพอากาศดี ทอ้ งฟา้ ใส ไมม่ เี มฆปก คลมุ สญั ลกั ษณข์ องกลมุ่ ดาวนายพรานก็คือ ดาวสวา่ งสามดวงเรียงกนั เป็นเสน้ ตรง ซง่ึ เรยี กวา่ “เข็มขดั นายพราน” (Orion’s belt) ทางทิศใตข้ องเข็มขดั นายพราน มีดาวเล็กๆ สามดวงเรยี งกนั คนไทยเราเห็นเป็นรูป “ดา้ มไถ” แตช่ าวยโุ รป เรียกวา่ “ดาบนายพราน” (Orion’s sword) ที่ตรงกลางของบรเิ วณดาบนายพรานนี้ ถา้ นา กลอ้ งสอ่ งดจู ะพบ “เนบิวลา M42” เป็นกลมุ่ ก๊าซ ในอวกาศ กาลงั รวมตวั เป็นดาวเกิดใหม่ ซง่ึ อยตู่ รง ใจกลางและสอ่ งแสงมากระทบเนบวิ ลาทาใหเ้ รา มองเห็น ดาวสวา่ งสองดวงท่ีบรเิ วณหวั ไหลด่ า้ นทิศตะวนั ออกและหวั เขา่ ดา้ นทิศตะวนั ตกของ กลมุ่ ดาวนายพราน มีสีซง่ึ แตกตา่ งกนั มาก ดาวบีเทลจสุ มสี อี อกแดง แต่ดาวไรเจล (Rigel) มีสีออกนา้ เงิน สขี องดาวบอกถึงอายุ และอณุ หภมู ิของดาว ดาวสีนา้ เงิน

เป็นดาวที่มอี ายนุ อ้ ย และมอี ณุ หภมู ิสงู 1 – 2 หมน่ื องศาเซลเซียส ดาวสีแดงเป็นดาว ที่มีอายมุ าก และมีอณุ หภมู ิต่าประมาณ 3,000 ?C สว่ นดวงอาทิตยข์ องเรามสี ี เหลอื ง เป็นดาวฤกษซ์ ง่ึ มีอายปุ านกลาง และมอี ณุ หภมู ทิ ่ีพนื้ ผิวประมาณ 6,000 C ในกลมุ่ ดาวสนุ ขั ใหญ่ (Canis Major) มีดาวฤกษท์ ี่สวา่ งที่สดุ บนทอ้ งฟา้ มีช่ือวา่ ดาวซิริอสุ (Sirius) คนไทยเราเรยี กวา่ “ดาวโจร” (เนื่องจากสวา่ งจนทาใหโ้ จร มองเห็นทางเขา้ มาปลน้ ) ดาวซริ ิอสุ ไมไ่ ดม้ ีขนาดใหญ่ แต่วา่ อยหู่ ่างจากโลกเพียง 8.6 ลา้ นปีแสง ถา้ เทียบกบั ดาวไรเจลในกลมุ่ ดาวนายพรานแลว้ ดาวไรเจลมขี นาดใหญ่ และมีความสวา่ งกวา่ ดาวซิรอิ สุ นบั พนั เทา่ หากแตว่ า่ อยหู่ า่ งไกลถงึ 777 ลา้ นปีแสง เมื่อมองดจู ากโลก ดาวไรเจลจงึ มคี วามสวา่ งนอ้ ยกวา่ ดาวซริ อิ สุ

สามเหลี่ยมฤดูร้อน ในช่วงหวั ค่าของตน้ ฤดหู นาว จะมกี ลมุ่ ดาวสวา่ งทางดา้ นทิศตะวนั ตก คือ กลมุ่ ดาว พณิ กลมุ่ ดาวหงษแ์ ละกลมุ่ ดาวนกอินทรยี ์ หากลากเสน้ เช่ือม ดาวเวกา้ (Vega) - ดาวสวา่ งสขี าวในกลมุ่ ดาวพิณไปยงั ดาวหางหงษ(์ Deneb) - ดาวสวา่ งสขี าวใน

กลมุ่ ดาวหงษ์ และ ดาวนกอินทรีย์ (Altair) - ดาวสวา่ งสขี าวในกลมุ่ ดาวนกอินทรยี ์ จะไดร้ ูปสามเหลยี่ มดา้ นไมเ่ ท่าเรียกวา่ “สามเหลี่ยมฤดรู อ้ น” (Summer Triangle) ซงึ่ อยใู่ นทิศตรงขา้ มกบั สามเหลย่ี มฤดหู นาว ขณะท่ีสามเหล่ยี มฤดู รอ้ นกาลงั จะตก สามเหล่ียมฤดหู นาวก็กาลงั จะขนึ้ (สามเหล่ยี มฤดหู นาวขนึ้ ตอน หวั ค่าของฤดรู อ้ นของยโุ รปและอเมริกา ซง่ึ เป็นชว่ งฤดฝู นของประเทศไทย) ในคืนที่ เป็นขา้ งแรมไรแ้ สงจนั ทรร์ บกวน หากสงั เกตใหด้ ีจะเห็นวา่ มแี ถบฝา้ สวา่ งคลา้ ยเมฆ ขาว พาดขา้ มทอ้ งฟา้ ผา่ นบริเวณ กลมุ่ ดาวนกอินทรีย์ กลมุ่ ดาวหงษ์ ไปยงั กลมุ่ ดาวแคสสโิ อเปีย (คา้ งคาว) แถบฝา้ สวา่ งที่เห็นนนั้ แทท้ ี่จริง คือ “ทางชา้ งเผือก” (The Milky Way)

การหาทิศเหนือ ตอ้ งดจู ากดาวเหนือ ดาวเหนือ (Polaris)

เป็นดาวฤกษท์ ่ีอยหู่ า่ งจากโลกเป็นระยะ 465 ปีแสง สวา่ งกวา่ ดวงอาทิตย์ 2,500 เทา่ อยใู่ นกลมุ่ ดาวหมีเล็ก การหาดาวเหนือ ตอ้ งดจู ากกลมุ่ ดาวหมใี หญ่ หรอื กลมุ่ ดาวจระเข้ ผทู้ ี่อยเู่ หนือเสน้ ศนู ยส์ ตู รเทา่ นนั้ จึงจะมองเห็นดาวเหนอื ถา้ ไปอยทู่ ี่ ขว้ั โลกเหนือจะเห็นดาวเหนอื อยตู่ รงศีรษะและดาวดวงต่าง ๆ จะหมนุ ไปรอบ ๆ ดาว เหนือ กลุ่มดาว หมายถงึ อาณาเขตแคบๆ ของทอ้ งฟา้ ซงึ่ ดาวฤกษป์ รากฏอยู่ สนุ ทรภู่ ไดแ้ ต่งกลอนชมดาวไวต้ อนหนง่ึ วา่ “...ดโู น่นแนะ่ แมอ่ รุณรศั มี ตรงมือชีด้ าวเต่าน่นั คนั ไถ โนน่ ดาวธงตรงหนา้ อาชาไนย ดาวลกู ไกเ่ คียงค่เู ป็นหมกู่ นั ...” พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั ทรงพระราชนิพนธค์ ากลอนไวใ้ น ละครเร่ืองอิเหนา ตอนหน่ึงวา่ “...โรหิณีสีสดบรสิ ทุ ธิ์ กตั ติกาโลกสมมติดาวลกู ไก่ ท่ี สาม ดวงช่วงเรยี งเคียงกนั ไป เรียกดาวไถแตบ่ รุ าณ...” อีกตอนหนึ่งวา่ “...จระเขเ้ หราปลาเตา่ ดาวสาเภา หวั ทรง ดาวหงสห์ า่ น ดาวเคราะหเ์ ห็นจาเพาะแต่ดาวองั คาร สดี าวหา้ วหาญกวา่ ทกุ ดวง...”

กลุ่มดาวฤดูหนาว ฤดหู นาวเป็นฤดทู ี่เหมาะแก่การศึกษากลมุ่ ดาวบนทอ้ งฟา้ เพราะทอ้ งฟา้ แจม่ ใส จะเห็นกลมุ่ ดาวที่สวยสะดดุ ตาอยกู่ ลางทอ้ งฟา้ เวลาประมาณ 3 ท่มุ ของฤดหู นาว

ฤดหู นาวของประเทศโซนอบอนุ่ เรมิ่ ตงั้ แต่ 21 มนี าคม จะเห็นกลมุ่ ดาวเตา่ และดาวไถ กระจกุ ดาวลกู ไก่ กลมุ่ ดาวธง ดาวสนุ ขั ใหญแ่ ละสนุ ขั เลก็ กลมุ่ ดาวสารภี ฯลฯ

1. กลุ่มดาวนายพรานใหญ่หรือกลุ่มดาวเตา่ ประกอบดว้ ยดาวฤกษ์ 7 ดวง ถา้ ลากเสน้ ตรงเช่ือมดาว 4 ดวง รอบนอกจะได้ รูปสีเ่ หลย่ี ม คนไทยจินตนาการเป็นรูปเต่าหนั หวั ไปทางทิศเหนือ (ท่ีหวั เต่ามดี าวเลก็ ๆ 3 ดวง) ในรูปส่ีเหลี่ยมมดี าวสวา่ งเท่ากนั 3 ดวงเรยี งกนั เป็นเสน้ ตรง คนไทย จินตนาการ เป็นรูปไถ คนั ไถ ชีไ้ ปทางขาหลงั ของเตา่ ชาวกรกี โบราณจินตนาการดาว 2 กลมุ่ นี้ เป็นรูปนายพรานใหญ่ ดาว 4 ดวง รอบนอกเป็นรา่ งกาย 3 ดวงเป็นเขม็ ขดั นายพราน กลมุ่ ดาวนายพรานใหญ่ มดี าวที่สวา่ งสกุ ใส 2 ดวงคือ ไรเจล (Rigel) สวา่ ง อนั ดบั 7 เห็นเป็นสขี าวแกมนา้ เงินท่ีไหลข่ องนายพรานมดี าวสแี ดงสวา่ งอนั ดบั 12

ชื่อบีเทลจสุ (Betelgeuse) ใกลๆ้ กลมุ่ ดาวนายพรานใหญ่ หรือดาวเต่า มดี าวธง ดาวลกู ไก่

และทิศตะวนั ตกมีกลมุ่ ดาวมา้ จะอยตู่ รงศีรษะเวลา 3 ทมุ่ ในวนั ที่ 25 มกราคมทกุ ปี กลมุ่ ดาวนายพรานใหญ่ (ORION) คนไทยเห็นเป็นกลมุ่ ดาวเตา่ และกลมุ่ ดาวไถ

อยรู่ วมกนั ดาวกลมุ่ นีส้ วยงามท่ีสดุ

2. กลุ่มดาวววั ตัวผู้ เป็นกลมุ่ ดาวราศีพฤษภ คนไทยเห็นเป็นดาวธงเพราะเป็นรูปสามเหลี่ยมคลา้ ย ธงสงครามสมยั โบราณ อยทู่ างขวามือของกลมุ่ ดาวเต่า ใกลๆ้ กระจกุ ดาวลกู ไก่ กลมุ่ ดาวววั มีดาวสกุ ใสตรงยอดซีกหนงึ่ ของตวั V ชื่อ อลั ดิบาแรนเป็นตาขา้ งหน่งึ ของ ววั (สวา่ งกวา่ ดวงอาทิตย์ 100 เทา่ ) กลมุ่ ดาวธงหรือกลมุ่ ดาวววั จะอยกู่ ลางทอ้ งฟา้ ตรงศีรษะเวลา 3 ทมุ่ ในวนั ท่ี 15 มกราคมทกุ ปี

3. กระจุกดาวลูกไก่ อยใู่ กลด้ าวธงมี 7 ดวง กระจกุ ดาวลกู ไกเ่ ป็นกระจกุ ดาวใชก้ ลอ้ ง 2 ตาสอ่ ง จะเห็น 14-15 ดวง ถา้ ใชก้ ลอ้ งโทรทรรศนข์ นาด 2 นิว้ จะเห็น 78 ดวง ถา้ ใชก้ ลอ้ ง โทรทรรศน์ ขนาดใหญจ่ ะเห็น 625 ดวง ถา้ ถ่ายภาพนบั จากฟิลม์ จะไดม้ ากกวา่ 2,362 ดวง

กลุ่มดาว 12 ราศี การหากลมุ่ ดาว 12 ราศี ครง้ั แรกตอ้ งหากลมุ่ ดาว 12 ราศีกลมุ่ ใดกลมุ่ หนง่ึ

ท่ีสงั เกตง่ายใหพ้ บกอ่ น เมอื่ พบแลว้ ใหแ้ บง่ ทอ้ งฟา้ เป็น 6 สว่ น ๆ ละ 30 องศา โดยเริ่ม สงั เกตขณะดวงอาทิตยต์ ก กลมุ่ ดาว 12 ราศีประจาเดือนนนั้ จะปรากฏบนทอ้ งฟา้ บรเิ วณดวงอาทิตยต์ กสงู ขนึ้ มา 30 องศา จะเป็นกลมุ่ ดาว 12 ราศีประจาเดือน ถดั ไปเรื่อยๆ ทางขอบฟา้ ทิศตะวนั ออกจะเป็นกลมุ่ ดาว 12 ราศีประมาณราศีท่ี 6 ที่ นบั จากราศีเดือนนน้ั มา 1. กลุ่มดาวแกะ (ราศเี มษ) สงั เกตง่าย จะเห็นดาวสวา่ ง 3 ดวง คลา้ ยสามเหล่ียมมมุ ปา้ นตรงหวั แกะ การสงั เกตใหด้ จู ากกลมุ่ ดาวลกู ไก่ทางทิศตะวนั ตกของดาวลกู ไก่ คือ กลมุ่ ดาวแกะ ถดั ไปเป็นกลมุ่ ดาวมา้

2. กลุ่มดาวววั (ราศพี ฤษภ) ดาวฤกษด์ าวอลั ดิบาแรน สวา่ งเป็นอนั ดบั ท่ี 14 มเี สน้ ผ่าศนู ยก์ ลาง 31,000,000 ไมล์ คนไทยเหน็ เป็นกลมุ่ ดาวธง สงั เกตงา่ ย เมอ่ื เห็นดาวลกู ไก่ ซง่ึ อยบู่ นหนอกขวา ของววั ทิศตะวนั ออกของกลมุ่ ดาวลกู ไก่ จะเห็นกลมุ่ ดาวธงรูปสามเหล่ียมคลา้ ยตวั V มีดาวสีแดงอยตู่ รงยอดธง 3. กลุ่มดาวคนคู่ (ราศีเมถุน) กลมุ่ ดาวคนค่เู ป็นกลมุ่ ดาวที่อยตู่ ิดกบั กลมุ่ ดาวฤดหู นาว คือ ใกลๆ้ กบั กลมุ่ ดาว สนุ ขั เล็ก มีดาวฤกษ์ 2 ดวงสวา่ งเห็นไดเ้ ด่นชดั คือดาวฤกษท์ ี่เป็นศีรษะของคนทง้ั สอง ดาวฤกษ์ Pollux สวา่ งเป็นอนั ดบั ท่ี 15 ในทอ้ งฟา้ ดาวกลมุ่ นีจ้ ะอยกู่ ลางทอ้ งฟา้ ใน ตอนหวั ค่าเม่ือเรม่ิ ฤดใู บไมผ้ ล 4. กลุ่มดาวปู (ราศีกรกฎ) ดาวกลมุ่ นีเ้ ป็นกลมุ่ ดาวทไี่ มส่ ะดดุ ตาและหาไดย้ ากที่สดุ ในกลมุ่ ดาว 12 ราศี กลมุ่ ดาวกลมุ่ นีอ้ ยรู่ ะหวา่ งกลมุ่ ดาวคนค่แู ละกลมุ่ ดาวสงิ โต มดี าวฤกษส์ วา่ งจางๆ อยู่

8 ดวง ประกอบเป็นรูปตวั ปู วิธีการหากลมุ่ ดาวนี้ คือตอ้ งหากลมุ่ ดาวคนคแู่ ละกลมุ่ ดาว สงิ โตใหไ้ ดก้ อ่ น 5. กลุ่มดาวสิงโต (ราศีสิงห)์ เป็นกลมุ่ ดาวที่เกา่ แกท่ ่ีสดุ ตามท่ีไดม้ กี ารบนั ทกึ มา ดาวกลมุ่ นีเ้ ก่ียวขอ้ งกบั ดวงอาทิตยอ์ ยา่ งใกลช้ ิด นบั แต่แรกเกิดระบบสรุ ิยะ มีดาวฤกษท์ ่ีสวา่ งที่สดุ ในกลมุ่ ดาว สงิ โต อยทู่ ี่หวั ใจสงิ โต คือดาวเรกกิวลสั ชาวเปอรเ์ ซยี ถือเป็นดาวทวารบาลดวง หนึ่งของสวรรคห์ รอื ทอ้ งฟา้ 6. กลุ่มดาวหญิงสาว (ราศีกันย)์ อยรู่ ะหวา่ งกลมุ่ ดาวสงิ โตและกลมุ่ ดาวคนั ช่งั มีดาวฤกษส์ ไปกา สกุ ใส

(Spica = รวงขา้ ว) ตรงกบั ดาว 27 นักษตั ร ช่ือ “จิตราฤกษ”์ เป็นจดุ ตดั ของเสน้ ศนู ยส์ ตู ร ทอ้ งฟา้ และเสน้ สรุ ิยวิถี เป็นวนั ท่ีดวงอาทิตยย์ กเขา้ สรู่ าศีตลุ ย์ วนั ที่ 23 กนั ยายน เป็นวนั ที่กลางวนั และกลางคืนเท่ากนั 7. กลุ่มดาวคันช่งั (ราศตี ุลย)์ กลมุ่ ดาวคนั ช่งั อยทู่ างทิศตะวนั ตกของกลมุ่ ดาวแมงป่อง มีรูปรา่ งคลา้ ย ขนมเปียกปนู 8. กลุ่มดาวแมงป่ อง (ราศีพิจกิ ) เป็นกลมุ่ ดาวที่มีรูปรา่ งเหมือนช่ือที่สดุ ประกอบดว้ ยสว่ นหวั สว่ นตวั สว่ นหาง และจะงอยของหาง เหมอื นแมงป่องจริง เม่ือเห็นดาวกลมุ่ นีจ้ ะมองเห็นทางชา้ งเผือก เป็นสขี าวสลวั ใกลๆ้ ตวั แมงป่อง กลมุ่ ดาวนีจ้ ะมดี าวแอนทาเรส เป็นดาวท่ีมแี สงสวา่ ง มากที่สดุ ตง้ั อยใู่ จกลางของแมงป่อง

9. กลุ่มดาวคนถือธนู (ราศธี นู) ดาวกลมุ่ นีอ้ ยใู่ นแนวทางชา้ งเผือก มีรูปรา่ งคลา้ ยกาตม้ นา้ อยทู่ างทิศตะวนั ออก

ของกลมุ่ ดาวแมงป่องศนู ยก์ ลางของกาแล็กซ่ี ที่ระบบสรุ ิยะเราอยู่ อยบู่ รเิ วณ กลมุ่ ดาวนี้ 10. กลุ่มดาวมังกร (ราศีมังกร) กลมุ่ ดาวมงั กรอยตู่ รงขา้ มกบั กลดุ่ าวมราศีปู กลมุ่ ดาวสว่ นใหญ่อยเู่ ลยไปทาง ทิศใตข้ องเสน้ Ecliptic ระหวา่ งกลมุ่ ดาวคนถือหมอ้ นา้ และกลมุ่ ดาวราศีธนู ดาว กลมุ่ นี้ ไมม่ ดี าวท่ีสวา่ งสกุ ใสพอที่จะสงั เกตเห็นไดง้ า่ ย จินตนาการเห็นเป็นมงั กร หรือ แพะทะเล หวั เป็นแพะหางเป็นปลา 11. กลุ่มดาวคนแบกหม้อนา้ (ราศีกุมภ)์ กลมุ่ ดาวคนแบกหมอ้ นา้ เป็นกลมุ่ ดาวใหญแ่ ต่ไมส่ ะดดุ ตา อยทู่ างทิศใต้ ของกลมุ่ ดาวมา้ คนโบราณเห็นเป็นรูปคนกาลงั เทหมอ้ นา้ ออกจากหมอ้ 12. กลุ่มดาวปลา (ราศมี ีน) เป็นกลมุ่ ดาวที่หายาก เพราะไมส่ ะดดุ ตา กลมุ่ ดาวนีแ้ ทนปลา 2 ตวั ผกู ติดกนั ดว้ ยรบิ บนิ้ ที่หางและสญั ลกั ษณแ์ ทนดาวกลมุ่ นีก้ ็ใชป้ ลาเหมอื นกนั คนไทยท่วั ไปถือวา่ ปลาเป็นสญั ลกั ษณแ์ ห่งการนาโชค สว่ นชาวอยี ิปตแ์ ละนกั โหราศาสตรส์ ากลถือวา่ ปลา เป็นสญั ลกั ษณแ์ ห่งความอบั โชค

ระบบสรุ ยิ ะ (Solar Systems) มวี ตั ถจุ านวนหนงึ่ ถกู แรง โนม้ ถ่วงดึงดดู ใหโ้ คจร วนรอบดวงอาทิตย์ และ ติดตาม การเคล่ือนท่ีของดวง อาทิตยไ์ ปในอวกาศ วตั ถุ เหลา่ นี้ ไดแ้ ก่

ดาวเคราะหก์ บั บรวิ าร ของตน ดาวเคราะหน์ อ้ ย วตั ถชุ ิน้ เลก็ นอ้ ยพวกอกุ กาบาตและดาวหางเราเรียกสิ่ง เหลา่ นีร้ วมกบั ดวงอาทิตยซ์ ง่ึ เป็นประธานอยตู่ รงกลางวา่ “ระบบสรุ ิยะ” หรือ “สรุ ยิ ะ จกั รวาล” สมาชิกที่สาคญั ของระบบสรุ ยิ ะถดั จากดวงอาทิตย์ คือ ดาวเคราะห์ มี 9 ดวง ต่างโคจรรอบดวงอาทิตยเ์ ป็นวงรเี กือบวงกลม สว่ นมากเกือบอยใู่ นระนาบ เดียวกนั เรียงรายหา่ งจากดวงอาทิตยต์ ามลาดบั ดงั นี้ ดาวพธุ ดาวศกุ ร์ โลกดาว องั คาร ดาวพฤหสั ดา วเสาร์ ดาวยเู รนสั ดาวเนปจนู และดาวพลโู ต

-ดาวพธุ เป็นดาวเคราะหท์ ่ีอยใู่ กลด้ วงอาทิตยม์ ากที่สดุ และมขี นาดเล็กที่สดุ ในระบบ สรุ ิยะ ใชเ้ วลาโคจรรอบ

ดวงอาทิตย์ 88 วนั และหมนุ รอบตวั เองเป็นเวลา 56.646 วนั ดาวพธุ ไมม่ บี ริวาร เน่ืองจากดาวพธุ อยใู่ กลด้ วงอาทิตย์ หมนุ รอบตวั ชา้ หรอื เราเรียกดาวพธุ อีกอยา่ งหนงึ่ วา่ เตาไฟแช่แขง็ -ดาวศุกร์ ดาวศกุ รจ์ ะเป็นดาวท่ีปรากฏแสงสวา่ งมากท่ีสดุ ในทอ้ งฟา้ ถา้ ปรากฏให้ เห็นบนทอ้ งฟา้ ตอนหวั ค่า เรียกวา่ ดาวประจาเมือง และ ถา้ ปรากฏใหเ้ ห็นบนทอ้ งฟา้ ในตอนเชา้ มอื เรยี กวา่ ดาวประกายพรกึ ดาวศกุ รไ์ มม่ บี รวิ าร และ ดาวศกุ ร์ ไดช้ ื่อวา่ เป็น ดาวฝาแฝดกบั โลก ใชเ้ วลาหมนุ รอบตวั เอง 243 วนั และ โคจรรอบดวงอาทิตยร์ อบละ 22 -โลก เป็นดาวเคราะหท์ ี่อยหู่ ่างจากจากดวงอาทิตยเ์ ป็นลาดบั ที่ 3 มีดวงจนั ทรเ์ ป็น บรวิ าร 1 ดวง ใชเ้ วลาหมนุ รอบตวั เอง 24 ช่วั โมง และโคจรรอบดวงอาทิตยป์ ระมาณ 365 วนั - ดาวอังคาร เป็นดาวเคราะหท์ ่ีอยหู่ ่างจากดวงอาทิตยเ์ ป็นลาดบั ท่ี 4 ใชเ้ วลาโคจร รอบดวงอาทิตยป์ ระมาณ 687 วนั และหมนุ รอบตวั เองในเวลา 24.623 ช่วั โมง มีดาวบริวาร 2 ดวง หรือเราเรยี กดาวองั คารอีกอยา่ งหนง่ึ วา่ ดาวเคราะหส์ แี ดง หรือ ดาวเทพแหง่ สงคราม -ดาวพฤหสั บดี เป็นดาวเคราะหท์ ี่ใหญ่ที่สดุ ในระบบสรุ ยิ ะ มีขนาดใหญก่ วา่ โลก ประมาณ 11 เท่า อยหู่ า่ งจากดวงอาทิตยเ์ ป็นลาดบั ท่ี 5

หมนุ รอบตวั เองเป็นเวลา 9.925 ช่วั โมง เรว็ กว่าดาวเคราะหด์ วงอ่ืนๆ โคจรรอบดวง อาทิตยเ์ ป็นเวลา 12 ปี ดาวพฤหสั บดีเรยี กอีกชื่อหนง่ึ วา่ โลกยกั ษ์ เพราะเป็นดาว

เคราะหท์ ่ีมีขนาดใหญท่ ี่สดุ ในระบบสรุ ยิ ะ และ ดาวพฤหสั บดีเรียกอีกช่ือหนงึ่ วา่ ดาว เคราะหแ์ ก๊ส - ดาวเสาร์ เป็นดาวเคราะหท์ ี่อยหู่ ่างจากดวงอาทิตยเ์ ป็นลาดบั ท่ี 6 ดาวเสารม์ วี ง แหวนขนาดใหญ่ ซง่ึ ประกอบดว้ ยกอ้ นหินท่ีมนี า้ แขง็ ปะปน หมนุ รอบตวั เองเป็นเวลา 10.42 ช่วั โมง มดี วงดาวบริวาง62 ดวง เชน่ ไททนั ไมมั ส รอี า ทีทิส เป็นตน้ และ โคจร จรรอบดวงอาทิตยเ์ ป็นเวลา 29 ปี มีฉายาวา่ เทพเจา้ แหง่ การเกษตร - ดาวยเู รนัส หรือ ดาวมฤตยู เป็นดาวเคราะท่ีอยหู่ ่างจากดวงอาทิตยเ์ ป็นลาดบั ที่ 7 จดั เป็นดาวเคราะแก๊ส โคจรรอบดวงอาทิตยเ์ ป็นเวลา 84 ปี หมนุ รอบตวั เองเป็น เวลา 17.24 ช่วั โมง มีดาวบรวิ าร 27 ดวง มฉี ายาวา่ เทพเจา้ แหง่ ความงาม - ดาวเนปจนู หรือ ดาวเกตุ เป็นดาวเคราะที่อยหู่ า่ งจากดวงอาทิตยเ์ ป็นลาดบั ที่ 8 จดั เป็นดาวเคราะหแ์ ก๊ส โคจรรอบดวงอาทิตยเ์ ป็นเวลา 165 ปี หมนุ รอบตวั เองเป็น เวลา 16.06 ช่วั โมง มีดาวบรวิ าร 8 ดวง มฉี ายาวา่ เทพเจา้ แหง่ ทอ้ งทะเลโรมนั หรือ ดาวสมทุ ร

กล้องโทรทรรศน์ อปุ กรณท์ ่ีสาคญั ในการศึกษาวิชาดาราศาสตร์ คือ กลอ้ งโทรทรรศน์ กลอ้ งโทรทรรศน์ ท่ีใหญ่ที่สดุ ในโลกคือ กลอ้ งโทรทรรศนข์ องหอดดู าวมลรฐั แคลิฟอเนียรต์ ง้ั อยบู่ นเขา พาโลมา มีเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 200 นิว้ หอดดู าวของทอ้ งฟา้ จาลองกรุงเทพ ก็มรี ูปทรงเหมอื นหอดดู าวแหง่ นีแ้ ตม่ ีขนาด เลก็ กวา่ กลอ้ งโทรทรรศนข์ องหอดดู าวทอ้ งฟา้ จาลองกรุงเทพ มีเลนสห์ นา้ กลอ้ งขนาด เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 150 มม. ความยาวโฟกสั 2,250 มม. ประดิษฐ์ตามแบบคเู ดข้ อง คารล์ ไซซ์ โดยใหผ้ ตู้ รวจน่งั ประจาท่ี และมอี ปุ กรณไ์ ฟฟา้ ในการขบั เคลอ่ื นใหก้ ลอ้ ง หนั เบนติดตามดวงดาวท่ีกาลงั ทาการตรวจอยไู่ ดท้ กุ ระยะโดยอตั โนมตั ิ มีกาลงั ขยาย ต่าสดุ 36 เท่าและสงู สดุ 360 เท่า นอกจากจะใชใ้ นการดภู าพวตั ถทุ อ้ งฟา้ แลว้ ยงั สามารถ รบั ภาพดวงอาทิตยข์ นาดเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลาง 250 มม. ใหป้ รากฏบนจอไดอ้ ีกดว้ ย สว่ นสาคญั ของกลอ้ งโทรทรรศน์ 1. เลนสห์ นา้ กลอ้ ง มหี นา้ ที่รบั ภาพดวงดาวหรอื วตั ถทุ อ้ งฟา้ อื่น และรวมแสง ใหป้ รากฏเป็นภาพของวตั ถนุ นั้ ที่จดุ โฟกสั 2. อายพีส ทาหนา้ ที่ขยายภาพซงึ่ ปรากฏที่จดุ โฟกสั ใหป้ รากฏเห็นภาพดวงดาว หรือวตั ถทุ อ้ งฟา้ ท่ีทาการตรวจมขี นาดโตขนึ้ ตามกาลงั ขยายของอายพีสนน้ั ๆ ประโยชนข์ องกลอ้ งโทรทรรศน์ 1. เพือ่ รวมแสงวตั ถทุ อ้ งฟา้ ใหป้ รากฏภาพที่จดุ โฟกสั และขยายภาพใหโ้ ตขนึ้ เพ่ือทาการวดั หรอื ถา่ ยภาพ 2. เพื่อรวมแสงของวตั ถทุ อ้ งฟา้ แลว้ ปอ้ นเขา้ สเู่ คร่ืองตรวจแสงสวา่ ง เครอื่ งแยกสขี องแสง ฯลฯ 3. เพอ่ื หาวตั ถทุ อ้ งฟา้ ในทิศทางที่ตอ้ งการ

กลอ้ งโทรทรรศนเ์ ป็นเคร่อื งมอื ท่ีนกั ดาราศาสตรใ์ ชค้ น้ ควา้ หาส่ิงท่ีอยใู่ นอวกาศ ไกลออกไป วตั ถทุ อ้ งฟา้ ที่ไมอ่ าจมองเห็นดว้ ยตาเปลา่ เพราะแสงจางกลอ้ งโทรทรรศน์ สามารถทาใหเ้ ห็นภาพวตั ถทุ อ้ งฟา้ ปรากฏไดช้ ดั เจน

- วิชา นักดาราศาสตร์ - 26 คมู่ อื การสอบวิชาพิเศษลกู เสอื เนตรนารี สามญั รุน่ ใหญ่ สว่ นประกอบต่าง ๆ ของกลอ้ งโทรทรรศนต์ ามภาพ 1. ฐานรูปสามเหลี่ยม 2. เสาตง้ั รูปสี่เหลี่ยม 3. ปลอกรดั สว่ นบนของเสารูปส่ีเหล่ยี ม 4. นา้ หนกั ถ่วง 5. มอเตอรไ์ ฟฟา้ 6. เกลยี วหมนุ ปิด – เปิดหนา้ กลอ้ ง 7. ชดุ อายฟีซสาหรบั ดดู วงอาทิตย์ 8. เลนสห์ นา้ กลอ้ ง 9. ลากลอ้ ง 10. เกลยี วท่อนลา่ ง 11. กลอ้ งนาหาภาพ 12. สว่ นกลางกลอ้ ง 13. จอรบั ภาพ 14. ชดุ อายพซิ ดดู าว 15. แผงสวิตซบ์ งั คบั กลอ้ ง - วิชา นกั ดาราศาสตร์ -

สานกั การลกู เสอื ยวุ กาชาดและกิจการนกั เรยี น 27 ทอ้ งฟา้ จาลองกรุงเทพ (Bangkok′s Planetarium) ทอ้ งฟา้ จาลองกรุงเทพ ตง้ั อยทู่ ่ี ตาบลบา้ นกลว้ ย (ติดกบั สถานีขนสง่ ผโู้ ดยสาร กรุงเทพฯ เอกมยั ) ถนนสขุ มุ วิท คลองเตย จงั หวดั กรุงเทพ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร (รชั กาลท่ี ๙) เสด็จพระราชดาเนิน มาประกอบพธิ ีเปิดอาคารทอ้ งฟา้ จาลองกรุงเทพ เม่ือวนั องั คารที่ 18 สิงหาคม 2507 “ทอ้ งฟา้ จาลอง” (Planetarium) หมายถงึ ทอ้ งฟา้ ท่ีมนษุ ยป์ ระดิษฐ์ขนึ้ เพื่อแสดงปรากฏต่าง ๆ ในทอ้ งฟา้ ดว้ ยเคร่อื งฉายดาว และอปุ กรณอ์ ื่น ๆ โดยเลยี น แบบธรรมชาติ

เครือ่ งฉายดาวของทอ้ งฟา้ จาลองกรุงเทพ เป็นอปุ กรณท์ ่ีสาคญั ที่สดุ ในทอ้ งฟา้ จาลอง โดยใชเ้ คร่อื งฉายภาพระบบครสิ ตี้

ซง่ึ เป็นโปรเจคเตอรท์ ด่ี ีที่สดุ มีความสวา่ งสงู และมเี ลนสฉ์ ายภาพที่กวา้ งมากย่งิ ขนึ้ ปรบั ระบบควบคมุ โดยใชซ้ อฟแวร์ ดิจิสตาร5์ ซ่ึงมคี วามคมชดั สงู ระดบั 4K ส ามารถ ฉายดาวและภาพยนตรไ์ ด้ ถือไดว้ า่ เป็นเทคโนโลยที ่ีใหมท่ ี่สดุ ในประเทศไทย เคร่อื งฉายดาว เป็นหอ้ งวงกลมขนาดใหญ่ ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 20.60 เมตร หลงั คาเป็นรูปโดม สงู 13 เมตร เพดานเป็นแผ่นอะลมู ิเนียมพรุน ทาสีขาวเพ่ือรบั แสง ที่ฉายออกจากเคร่ืองฉายดาว ปรากฎเป็นดวงดาวบนทอ้ งฟา้ จาลอง คลา้ ยกบั ดวงดาว

ในทอ้ งฟา้ จริง ความจุ 370 ท่ีน่งั ตรงกลางหอ้ งตง้ั เคร่อื งฉายดาวระบบเลนส์ ของ Carl Zeiss ของบริษัทคารล์ ไซซ์ ประเทศเยอรมนี - วิชา นักดาราศาสตร์ - 28 คมู่ ือการสอบวิชาพิเศษลกู เสือ เนตรนารี สามญั รุน่ ใหญ่ เครื่องฉายดาว นบั เป็นประดิษฐ์กรรมทางวิทยาศาสตร์ ท่ีมีระบบการทางาน ซบั ซอ้ น ประกอบดว้ ยระบบเคร่ืองกล ระบบไฟฟา้ และระบบแสงท่ีประณีต ฉายภาพ วตั ถทุ อ้ งฟา้ และปรากฏการณห์ ลายชนิดเลยี นแบบธรรมชาติ สามารถปรบั เครอื่ ง ขนึ้ ลงเพือ่ แสดงดวงดาวในทอ้ งฟา้ ของประเทศใดก็ไดต้ ามวนั และเวลาที่ตอ้ งการ ทง้ั ดวงดาวในอดตี ปัจจบุ นั และอนาคต และยงั เป็นเคร่ืองฉายดาวขนาดใหญ่เครือ่ ง แรก ในยา่ นเอเชียอาคเนยด์ ว้ ย

ความรูเ้ กี่ยวกบั กิจกรรมของมนษุ ยใ์ นอวกาศ ดาวเทียมและการท่ีมนษุ ยส์ ามารถขนึ้ ไปถึงดวงจนั ทร์ การสารวจอวกาศของสหรฐั อเมริกา สหรฐั แบง่ การสารวจอวกาศเป็น 2 รายการใหญ่ ๆ - การบนิ อวกาศปราศจากผขู้ บั คมุ (Unmanned Space Flight) - การบนิ อวกาศมผี ขู้ บั คมุ (Manned Space Flight) การบนิ อวกาศปราศจากผขู้ บั คมุ มงุ่ ปฏิบตั ิการคน้ ควา้ 4 ดา้ น คือ

1.1 วิทยาศาสตรอ์ วกาศ (Space Science) 1.2 คณุ ประโยชนด์ า้ นตา่ ง ๆ ของเทคโนโลยี (Applications of Space Technology) 1.3 คน้ ควา้ เพอื่ ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีอวกาศ (Research to Advance Space Technology) 1.4 การรว่ มมือระหวา่ งชาติในดา้ นอวกาศ (International Co-operation in Space) ปฏิบตั ิการเหลา่ นีใ้ ชด้ าวเทียม (Satellites) และยานอวกาศ (Space-craft) - วิชา นกั ดาราศาสตร์ - สานกั การลกู เสือ ยวุ กาชาดและกิจการนกั เรยี น 29 การสารวจดวงจนั ทร์ ใชย้ านอวกาศทง้ั ท่ีมีมนษุ ยข์ บั คมุ (โครงการอะพอลโล) และปราศจากมนษุ ยข์ บั คมุ มี 3 โครงการ 1. เรนเจอร์ (Ranger) สง่ ไปพงุ่ ชนดวงจนั ทรร์ วม 9 ลา ตง้ั แต่ปีพ.ศ. 2504-2505 ก่อนพงุ่ ชนไดส้ ง่ ภาพโทรทศั นก์ ลบั มาสโู่ ลกขณะอยหู่ า่ งพนื้ ผิวดวงจนั ทรต์ ง้ั แต่ระดบั 1 พนั กวา่ ไมล์ จนภาพสดุ ทา้ ยอยเู่ หนือพนื้ ผิวดวงจนั ทรไ์ มก่ ี่ไมลป์ ระสบความสาเรจ็ ตามเปา้ หมายเพียง 3 ลา คือ เรนเจอร์ 7, 8 และ 9 2. ลนู ารอ์ อบเิ ตอร์ (Lunor Orbiter) สง่ ขนึ้ ไปรวม 5 ลา ระหวา่ ง พ.ศ. 2509- 2510 โครงการนีใ้ หย้ านอวกาศ ไปวนถ่ายภาพรอบดวงจนั ทร์ ไมพ่ งุ่ ชนเหมอื นเรนเจอร์ 3. โครงการเซอเวเยอร์ (Surveyor) มงุ่ ลงไปลงจอดบนพนื้ ดวงจนั ทรอ์ ยา่ ง น่มุ นวล สง่ ขนึ้ ไปรวม 7 ลา ประสบความสาเรจ็ เพียง 5 ลา คือ 1, 3, 5, 6 และ 7 แต่ละลาสง่ ภาพมาเป็นหมน่ื ๆ ภาพ โครงการนีป้ พู นื้ ใหม้ นษุ ยน์ ายานไปลงพนื้ ดวง จนั ทร์

ไดส้ าเร็จอนั เป็นเกียรติประวตั ิของมนษุ ยชาติในโครงการอะพอลโลในเวลาถดั มา การบินอวกาศมผี ขู้ บั คมุ ยานอวกาศท่ีมมี นษุ ยข์ บั คมุ ขนึ้ ไปมี 6 โครงการ 1. โครงการเมอคิวรี (Mercury) 2. โครงการเจมินี (Gemini) 3. โครงการอะพอลโล (Apollo) 4. โครงการสกายแล็บ (Skylab) 5. โครงการอะพอลโล – โซยสู (Apollo – Soyuz) 6. โครงการยานขนสง่ อวกาศ (Space Shuttle)