กล วยเป นผลไม ชน ดหน ง ม ส เหล อง

จดั ทำโดย นำยปฏิภำณ คำหมอ่ ม รหสั นกั ศึกษำ 6118013805015

สำขำวิชำคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ วิทยำลยั ชมุ ชนแพร่

งำนชำ่ งศิลป์ ทอ้ งถิ่น

❖ ชำ่ งเขียน ❖ ชำ่ งแกะ ❖ ช่ำงสลกั ❖ ชำ่ งป้ัน ❖ ผำ้ และส่งิ ถกั ทอ ❖ ชำ่ งศิลป์ ทอ้ งถิ่น

นิยำมช่ำงศิลป์

งานช่างศิลป์ ท้องถิ่น”มีความสาคัญท้ังในระดับชาติและระดับสากลสะท้อน ประวัติศาสตร์ ของแต่ละพ้ืนถ่ินและชมุ ชนอัตลักษณแ์ ละการแบ่งประเภทของช่างศิลป์ ทอ้ งถ่ินในแต่ละประเทศแตกต่างกันไป ขนึ้ อย่กู ับบริบททางภมู ิประเทศ สังคม ศาสนา ความเชอ่ื และประเพณีทอ้ งถิ่น

นยิ ามความหมายของ “ชา่ งศิลป์ ทอ้ งถ่ิน” ทส่ี ถาบันชา่ งศิลป์ ทอ้ งถ่ินกาหนดกรอบ การทางานนนั้ เป็ นความหมายซึ่งสงั เคราะหม์ าจากสาระสาคญั ของความเป็ น “ชา่ งศิลป์ ทอ้ งถ่ิน” ในทกุ ประเทศและยังตรงกับท่ีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวง วฒั นธรรม

นิยามว่า “งานช่างฝี มือด้ังเดิม” หนึ่งใน 6 สาขาของ “มรดกภมู ิปัญญาทาง วฒั นธรรมทจ่ี บั ตอ้ งไมไ่ ด”้ และตามประกาศคณะกรรมการส่งเสริมและรักษามรดกภมู ิ ปัญญาเร่ืองการกาหนดลักษณะของมรดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ.2560 ซึ่ง ออกตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษามรดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ.2559 ซึ่งรัฐบาลไทยไดต้ ราขน้ึ เม่ือเขา้ ร่วมเป็ นภาคี “อนสุ ัญญาว่าดว้ ยการสงวน รกั ษามรดกวฒั นธรรมทีจ่ บั ตอ้ งไมไ่ ด้ ค.ศ. 2003”ขององคก์ ารศึกษาวิทยาศาสตรแ์ ละ วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ในอันท่ีจะสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ ในการ บริหารจัดการมรดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรมของชมุ ชนใหด้ ารงอย่ตู ่อไป มิใหเ้ ส่ือม สญู ไป

❖ ช่ำงเขียน

เป็ นอาชพี ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การวาดเขยี น และระบายสีใหเ้ กิดเป็ นลวดลายหรือรปู ภาพ ไดอ้ ย่างงดงาม ซ่ึงในสมัยโบราณแต่ละทอ้ งถ่ินของเมืองไทยมีคาเรียกขานช่างเขียน แตกตา่ งกนั เชน่ ชา่ งแตม้ ชา่ งเขยี นสี ชา่ งเขยี นลายรดนา้ ในบรรดาชา่ งประเภทต่าง ๆ ช่างเขียนจัดไดว้ ่าเป็ นช่างท่ีมีความสาคัญท่ีสดุ เพราะการวาดเขียน และการเขียน ระบายสีเป็ นท่ยี อมรบั นบั ถือกนั วา่ เป็ นส่อื ทีม่ ศี ักยภาพสงู สดุ ในการถ่ายทอดความคิด

สรา้ งสรรคอ์ อกมาใหเ้ ป็ นรปู ธรรมท่ีชัดเจน อีกทงั้ ยงั สามารถใชเ้ ป็ นตน้ แบบในการนาไป สรา้ งสิ่งต่าง ๆ ไดต้ ามความประสงคห์ รือ เ ป็ น ต้น แ บ บ ไ ด้อ ย่ า ง ส ม บู ร ณ์ ง า น จิตรกรรมไทยแบบประเพณี ถือไดว้ ่าเป็ น มรดกชา่ งศิลป์ ไทยทม่ี ลี กั ษณะพิเศษท่ีแสดง เอกลกั ษณข์ องความเป็ นไทย

❖ งานจติ รกรรมฝาผนงั สมยั รตั นโกสินทร์ ❖ งานจิตรกรรมฝาผนงั วดั ไผข่ อนา้

วดั สวุ รรณาราม กรงุ เทพฯ จงั หวดั พิษณโุ ลก

❖ งานจิตรกรรมเขยี นสีในสมดุ ❖ งานจติ รกรรมฝาผนงั ขอ่ ย สมยั อยธุ ยา วดั ทองธรรมชาติ กรงุ เทพฯ

❖ งานจติ รกรรมฝาผนงั แบบลา้ นนา วดั ภมู นิ ทร์ จงั หวดั นา่ น

❖ ชำ่ งแกะ

เป็ นอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการใช้ เคร่ืองมือทาการแกะ แคะ ควัก ลงบน วัสดตุ ่างๆให้เกิดเป็ นลวดลาย หรือ รปู ภาพ งานของชา่ งแกะมักจะเป็ นงาน ขนาดเล็กที่ต้องใช้ฝี มือ และความ ละเอียดประณีตมาก วัสดทุ ี่สามารถ นามาแกะ อย่างเชน่ ไม้ งาชา้ ง หิน มนั เผอื ก ฟักทอง และ ผลไมช้ นดิ ตา่ ง ๆ

เพื่อเป็ นสื่อสาหรับการถ่ายทอดใน ดา้ น ความคิด ความเชื่อ ความงาม และความสามารถของชา่ งแกะ ในสมัย โบราณการแกะสลักไม้ เรียกว่า งาน จาหลกั ไม้

ปัจจบุ ันอาชีพช่างแกะ ไดป้ ระยกุ ตง์ านแกะสลักสรา้ งสรรค์งานออกมาในรปู แบบ ต่างๆ เชน่ การแกะสลกั ไมต้ กแต่งอาคารบา้ นเรือน การแกะสลักเครื่องใชใ้ นครัวเรือน การแกะสลกั เครื่องเฟอรน์ เิ จอร์ และเคร่ืองประดบั ตกแตง่ ตา่ ง ๆ

❖ การแกะสลกั ไมต้ กแตง่ อาคารบา้ นเรือน

❖ การแกะสลกั เครื่องเฟอรน์ เิ จอร์ และเครื่องประดบั ตกแตง่ ตา่ ง ๆ

❖ ชำ่ งสลกั

เป็ นอาชพี ท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การใชเ้ คร่ืองมือประเภทส่ิว ทาการเจาะหรือสลกั ลงบนวสั ดุ ประเภทไม้ หิน หนัง และกระดาษ ใหเ้ กิดเป็ นลวดลายและรปู ภาพต่าง ๆ ตาม ความคิด ความเชอ่ื ความงามและฝี มอื ใหป้ รากฏออกมาในรปู ลกั ษณะท่ีสวยงาม

ในสมยั ปัจจบุ ันอาชีพชา่ งสลกั ไดป้ ระยกุ ตง์ านสลกั ดว้ ยการสรา้ งสรรค์งานออกมา ในรปู แบบต่างๆ เช่น งานสลักหนังใหญ่วัดขนอน งานสลักกระดาษ หรืองานปรุ กระดาษปิ ดเป็ นลวดลายบนระใบฉตั รทองแผล่ วด พระเมรฐุ านเบญจา เคร่ืองจิตกาธาน เป็ นตน้

❖ งานสลกั ไมโ้ ขนเรือครฑุ เหินเห็จ

❖ งานสลกั ไมส้ ตั ภณั ฑว์ ดั พระแกว้ ดอนเตา้ จงั หวดั ลาปาง ❖ งานสลกั ไมบ้ านประตพู ระอโุ บสถวดั ระฆงั โฆสิตาราม กรงุ เทพฯ

❖ ช่ำงปั้น

เป็ นอาชพี ที่เก่ียวขอ้ งกบั งานป้ันสามารถนาเอาวัสดปุ ระเภทดิน ปูน ขผ้ี ้งึ และอื่นๆ นามาสรา้ งใหเ้ ป็ นรปู ทรงเป็ นภาพ และลวดลายใหเ้ กิดความงดงาม มีคณุ ค่าในทาง ทศั นศิลป์ และประโยชนใ์ ชส้ อย ในสมยั โบราณงานปูนป้ันเป็ นงานศิลปกรรมของช่างไทย ที่สาคัญอย่างหนึ่ง พบไดใ้ นงานปูนปั้นประดับศาสนสถานในลักษณะต่างๆ ท้ังท่ีเป็ น ลวดลาย รปู ภาพ และรปู ทรงประดับตกแต่งประกอบทางสถาปัตยกรรม การป้ันรปู เคารพ การป้ันพระพทุ ธรปู

ในสมัยปัจจบุ ันอาชีพช่างปั้นไดป้ ระยกุ ตง์ านป้ันสรา้ งสรรค์งานออกมาในรปู แบบ ต่างๆ เช่น การปั้นต๊กุ ตาชาววัง การปั้นกระปุกออกสิน การป้ันภาชนะดินเผาบา้ น เชียง ดินเผาด่านเกวียน การป้ันเครื่องมือ เคร่ืองใชใ้ นครัวเรือน และเคร่ืองประดับ ตกแตง่ ตา่ งๆ

❖ ลวดลายปูนป้ันทวี่ ดั ไลย จงั หวดั ลพบรุ ี ❖ ประติมากรรมรปู ยกั ษป์ ูนป้ัน

❖ การปั้นภาชนะเคร่ืองใชใ้ นครวั เรือน

❖ ผำ้ และสงิ่ ถกั ทอ

ผืนผา้ แพรพรรณอันเป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของแผ่นดินไทย นับเป็ นหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ท่ีแสดงใหเ้ ห็นถึงร่อยรอยประวัติความเป็ นมา วิถีชีวิต สังคม และ วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธ์ตุ ่างๆ ท่ีอาศัยอย่รู ่วมกันในสังคมท่ีมั่งคัง่ และอดุ ม สมบรู ณพ์ รอ้ มดว้ ยปัจจยั ส่ี ดว้ ยความร่มุ รวยทางภมู ปิ ัญญาเชงิ ชา่ งที่พรงั่ พรอ้ มภายใน สงั คมนเี้ อง เป็ นท่มี าของงานหตั ถศิลป์ “ผา้ ” และ “ส่ิงถักทอ” อนั งดงามและทรงคณุ ค่า ดว้ ยจิตวิญญาณ “ช่างศิลป์ ” ส่กู ารถ่ายทอดผา่ นภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรมท่ีมีมาแต่ บรรพชนเมื่ออดีตกาล ไดฝ้ ากไวซ้ ่ึงฝี ไมล้ ายมืออันเป็ นเคร่ืองเชิดชถู ึงความกตัญญู กตเวทอี ยา่ งดยี ่ิง

งานชา่ งศิลป์ ประเภทผา้ และสิ่งถัก ทอของไทย นอกจากจะเป็ นงาน หัตถกรรมท่ีมีความสาคัญต่อการ ดารงชีวิตแลว้ ยังเป็ นงานหัตถศิลป์ อันทรงคณุ ค่าทางศิลปะจิตวิญญาณ และความเช่ือ มีวิธีการสรา้ งสรรค์ที่ ซับซ้อนหลากหลาย ทั้งการคัดสรร เสน้ ใยจากธรรมชาติเพื่อนามาทาเป็ น เสน้ ดา้ ย และการทอใหเ้ กิดเป็ นผืนผา้ อันงดงาม ไดผ้ ่านการรังสรรค์ดว้ ย ฝี มืออันประณีตตามภูมิปั ญญาที่ เป็ นอัตลักษณข์ องแต่ละกล่มุ ชาติพันธ์ุ ซึ่งความละเอียดละออท่ีปรากฏอย่ใู น งานชา่ งศิลป์ ประเภทผา้ และส่ิงถักทอน้ี ไดส้ ะทอ้ นผ่านผืนผา้ ที่ถกู ถักทอขนึ้ มา ตามภมู ปิ ัญญา

รปู ท่ี 1 : “ภูมิปั ญญาการเตรียม เสน้ ดา้ ย” เพ่ือนาไปใชใ้ นการทอผา้ ของ ชาวเมืองนา่ น ในภาพจติ รกรรมฝาผนงั วัด ภมู นิ ทร์ อาเภอเมอื งนา่ น จงั หวดั นา่ น

ส ต รี นุ่ง “ ซ่ิ นป้ อ ง ” ก า ลั ง “ ป่ั น ฝ้ าย” ดว้ ย “เผียน” “ไน” หรือ “หลา” โด ยการนา “หางฝ้ าย” ท่ ีผ่านการ “พัน” หรือ “ก๊กิ ”

ปุยฝ้ ายที่ตีฟูแลว้ ใหก้ ลายเป็ นหลอด จากนั้นจึงนาหางฝ้ ายที่ไดม้ าดึงใหเ้ กิดเป็ น เสน้ ดา้ ยโดยอาศัยแรงปัน่ จาก “กงเผียน”

รปู ที่ 2 : “ภูมิปัญญาการทอผา้ ” ของ ชาวเมอื งนา่ น ในภาพจติ รกรรมฝาผนงั วัด ภมู นิ ทร์ อาเภอเมืองนา่ น จงั หวดั นา่ น

สตรีนุ่ง “ซ่ินป้ อง” ทอผา้ หรือ “ตา หูก” ดว้ ยก่ีทอผา้ แบบโบราณ เรียก “หูก” ซึ่งเป็ นก่ีไมข้ นาดใหญ่กึ่งถาวร ภายในกี่จะ ขึงดา้ ยเสน้ ยืนหรือ “เสน้ เครือ” จาก “ไม้ คาพัน” หรือ “ไมก้ าพัน” ผา่ นชดุ เคร่ืองทอ ทแี่ ขวนอย่บู น “ไมห้ าบหูก”

❖ ชำ่ งศิลป์ ทอ้ งถ่ิน

ยพุ นิ สายสาเภา

ผา้ และสงิ่ ถกั ทอ

ขอ้ มลู ตดิ ตอ่

ท่ีอยู่ : บา้ นเลขท่ี 268/5 หม่ทู ่ี 5 ตาบล ทุ่งโฮ้ง อาเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพ ร่ รหสั ไปรษณีย์ 54000

เบอรโ์ ทรศพั ท์ : 064-2969546

ประวตั ิกำรทำงำนชำ่ งศิลป์

จดุ เริ่มตน้ การทางานชา่ งศิลป์ : แต่เดิมก่อนจะผนั ตวั มาทางานหมอ้ หอ้ มเคยทางาน เกี่ยวกบั งานไม้ แปรรปู ไม้ ในการกอ่ สรา้ ง และ เมื่อปี พ.ศ. 2552 จึงเร่ิมศึกษาและเขา้ สู่ วงการของผา้ หมอ้ หอ้ มจนมาปี พ.ศ. 2554 จึงเริ่มเรียนรกู้ ารทอผา้ และมาจนถึงปัจจบุ ัน

ผลงานทภี่ าคภมู ิใจ/ผลงานชิน้ เอก : เชือ่ และศรัทธาในวิถีชวี ิตของชาวพวนดงั้ เดิมท่ี ในอดีตเทคโนโลยียังไม่กา้ วหนา้ เท่ากบั ปัจจบุ ัน แต่บรรพบรุ ษุ เราสามารถท่ีจะทอผา้ ได้ เป็ นผนื อย่างประณีตและสวยงามจากการศึกษาและเรียนรดู้ ว้ ยตวั เอง

แรงผลักดันที่ยังคงสืบสานงานช่างศิลป์ : บา้ นท่งุ โฮง้ ในปัจจบุ ันงานทอผา้ เริ่มสญู หายไปจานานมากเนื่องจากไม่มีผสู้ ืบสานงานทอผา้ ต่อจากบรรพบรุ ษุ จึงคิดว่าอยาก สานตอ่ และผลกั ดนั งานทอผา้ หมอ้ หอ้ มใหอ้ ยคู่ ่บู า้ นทงุ่ โฮง้ ตลอดไปถึงแมว้ ่าจะเหลอื อยแู่ ค่ แห่งเดียว แตศ่ นู ยก์ ารเรียนรแู้ หง่ นก้ี ็พรอ้ มท่ีจะใหค้ วามรู้ สนบั สนนุ ทกุ คนที่สนใจและรกั ที่จะรกั ษาวิถีชวี ิตไทยพวนของเราใหอ้ ยสู่ ืบตอ่ ไป

รางวัลที่เคยได้รับ : ได้รับรางวัล ‘ผญาดีศรีล้านนา’ โดยสานักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สาขาศิลปหัตถกรรมและวัฒนธรรม ที่ จงั หวดั เชยี งใหม่

กระบวนกำรในกำรสรำ้ งสรรคง์ ำนช่ำง

ขน้ั ตอนในการสรา้ งสรรคง์ าน ขน้ั ตอนแรกคิดแบบว่าจะทออะไร ต่อไปจึงเตรียมเสน้ ดา้ ยซ่ึงเสน้ ดา้ ยก็ตอ้ งเลือก

ใหถ้ กู กบั งานชน้ิ นนั้ ดว้ ย จากนน้ั เตรียมหมอ้ หอ้ มใหพ้ รอ้ มสาหรบั การยอ้ ม พอยอ้ มเสร็จ ตามท่เี รากาหนดแลว้ จึงนาดา้ ยทีไ่ ดม้ าทอเป็ นผลงานทีเ่ ราออกแบบไว้ การคดั เลอื กวสั ดุ

ถา้ ตอ้ งการจะทอผา้ ซ่ินควรเลือกใชเ้ สน้ ดา้ ยที่มีขนาดเล็ก แตถ่ า้ จะทอกางเกงหรือ เส้ือก็สามารถใชเ้ สน้ ดา้ ยที่มขี นาดหนาขน้ึ มาได้ ระยะเวลา/ชว่ งเวลา/เทศกาล

ระยะเวลาในการทางานในทกุ ๆ ครัง้ จะใชเ้ วลาทานานประมาณ 1 เดือน เพราะมี กรรมวิธีหลายข้นั ตอนตั้งแต่การเตรียมเสน้ ดา้ ย การยอ้ ม และนามาทอ มาตัดเย็บ เนอ่ื งจากผลงานทกุ ชนิ้ จะตอ้ งสรา้ งสรรคโ์ ดยวิธีธรรมชาตแิ บบดง้ั เดมิ ดงั นนั้ แลว้ จึงตอ้ ง ใชร้ ะยะเวลาพอสมควรท่ีจะทาผงลานในแตล่ ะครง้ั ออกมาสมบรู ณ์ ปัจจยั ความสาเร็จ

การทีเ่ ราสืบสานงานศิลป์ ตอ่ จากบรรพบรุ ษุ นบั ว่าเป็ นทนุ อย่างหนึ่งในชวี ิตและทนุ ตรงน้นั เราก็สามารถนามาต่อยอดใหเ้ กิดธรุ กิจไดเ้ พียงไม่ทอ้ และยึดมัน่ ในอดุ มการณ์ ของเราก็จะประสบความสาเร็จในส่ิงท่ีเราเลือกทาได้ ปัญหาและอปุ สรรค

ชา่ งทอผา้ หมอ้ หมอ้ ส่วนใหญ่เป็ นผสู้ งู อายุ ขาดแรงงานในการทอ และไม่มีผสู้ ืบ ทอดการทอผา้ ทาใหก้ ารผลิตผา้ หมอ้ หอ้ มจากกระบวนการทอลดนอ้ ยลง

ตวั อยำ่ งงำนชำ่ งศิลป์

❖ ช่ำงศิลป์ ทอ้ งถ่ิน

นภิ า ออ่ นนอ้ ม

ผา้ และส่งิ ถกั ทอ

ขอ้ มลู ตดิ ตอ่

ท่ีอยู่ : บา้ นเลขท่ี 43 หม่ทู ่ี 1 ตาบลทงุ่ โฮง้ อ า เ ภ อ เ มื อ ง แ พ ร่ จั ง ห วั ด แ พ ร่ รหสั ไปรษณีย์ 54000

เบอรโ์ ทรศพั ท์ : 062-3727996

ประวตั ิกำรทำงำนช่ำงศิลป์

จดุ เริ่มตน้ การทางานชา่ งศิลป์ : แรกเร่ิมจากการท่ีเรียนรแู้ ค่การยอ้ มผา้ หมอ้ หอ้ ม และการตัดเย็บบ้างจนได้มีหน่วยงานเขา้ มาให้ความรวู้ ิธีการผลิตผา้ หม้อ ห้อมท่ี หลากหลายมากขึน้ และสิ่งที่สนใจและนามาใชจ้ นถึงทกุ วันนี้คือการดน้ ผ้า และการวาด เพนท์บนผืนผา้ ซ่ึงจะทาบนกระเป๋ า ผา้ ปูที่นอน เบาะรองนัง่ เป็ นตน้ ซึ่งผลงานเหล่าน้ี สามารถเพ่ิมมลู ค่าและเป็ นท่ีนา่ สนใจกบั กลมุ่ ลกู คา้ มากขน้ึ อีกดว้ ย

ผลงานที่ภาคภมู ิใจ/ผลงานช้ินเอก : เช่ือว่าการที่เราไดส้ ืบสานงานหมอ้ หอ้ มมาแต่ เดิมเยาวชนบางกลมุ่ อาจสนใจรวมไปถึงการที่ไดไ้ ปถ่ายทอดใหค้ วามรกู้ ็อาจจะมีบางคน ที่อยากจะสบื สานตอ่ และเชอ่ื มาตลอดว่าผา้ หมอ้ หอ้ มจะไมม่ ีวนั หายไปจากบ้านเราตราบ ใดท่ียังมีลกู หลานคอยสานต่อถึงจะไม่มากแต่อย่างนอ้ ยก็มีคนที่สนใจและพรอ้ มจะ อนรุ กั ษผ์ า้ หมอ้ หอ้ มบา้ นเราใหอ้ ย่คู บู่ า้ นทงุ่ โฮง้ สบื ไป

แรงผลกั ดันท่ียังคงสืบสานงานช่างศิลป์ : เช่ือว่างานศิลปะเหล่าน้ีจะอย่คู ่กู ับตวั เรา เองไปจนสดุ เพราะว่างานศิลปะเราสามารถที่จะปรับประยกุ ตเ์ ขา้ กับอะไรไดอ้ ีกหลาย อย่าง เพราะศิลปะไม่มีวันตาย ตลอดจนศิลปะท่ีอย่บู นผืนผา้ หมอ้ หอ้ มของบ้านเรา นอกจากมีความสวยงามและนนั้ ยงั บ่งบอกความเป็ นเอกลกั ษณไ์ ดอ้ ีกดว้ ย

รางวัลที่เคยไดร้ ับ : ผลงานวาดรปู บนผืนผา้ ยังไดร้ ับรางวัลจากการประกวดของ สภาวฒั นธรรมจงั หวดั แพร่

กระบวนกำรในกำรสรำ้ งสรรคง์ ำนช่ำง

ขน้ั ตอนในการสรา้ งสรรคง์ าน มีการวางแพทเทิรน์ ก่อนที่จะตดั ออกมา หรือถา้ นาไปสอนก็จะสรา้ งแพทเทิรน์ ใหเ้ ขา

เรียบรอ้ ยพรอ้ มท่จี ะสอนการเย็บ จากนนั้ ก็นามาเย็บและดน้ ตามแบบที่เราคิดไว้ การดน้ ของทางวิสาหกจิ ของเราสว่ นใหญจ่ ะดน้ ทง้ั หมดเลยตามใจทเี่ ราคิด การคดั เลือกวสั ดุ

วสั ดตุ า่ งๆ ก็สามารถหาไดท้ วั่ ไปแตบ่ างส่ิงอาจจะขน้ึ อย่กู บั ความชอบของตวั เองเชน่ เร่ืองของสี เป็ นตน้ แตใ่ นดา้ นของการยอ้ มนนั้ ก็ใชห้ อ้ มเปี ยกที่เรามีอยู่และยอมเอง ตัด เย็บเองภายในกลมุ่ ของเรา ระยะเวลา/ชว่ งเวลา/เทศกาล

ระยะเวลาในการทาประมาณ 8 วนั และราคาก็จะขนึ้ อย่กู บั ขน้ั ตอนและการดน้ นนั่ เอง ปัจจยั ความสาเร็จ

การที่เรายังยึดมนั่ ในความดง้ั เดิมของผา้ หมอ้ หอ้ มน้กี ็อาจเป็ นส่ิงท่ีทาใหเ้ ราประสบ ความสาเร็จก็ไดเ้ พราะปัจจบุ ันคนส่วนใหญ่ก็หันมาอนรุ ักษธ์ รรมชาติมากย่ิงขน้ึ และผา้ หมอ้ หอ้ มเองก็ตอบโจทยก์ บั การใชช้ วี ิตของคนเหลา่ นน้ั และย่ิงไปกว่านน้ั เรายงั เพิ่มความ หลากหลายใหก้ บั ลกู คา้ อีกนบั ว่าจดุ ท่ีปรบั เปล่ียนแตส่ าเร็จไดด้ ที เี ดียว ปัญหาและอปุ สรรค

แรงงานมีไมม่ ากพอถา้ เกดิ ลกู คา้ ตอ้ งการจานวนมากอาจจะไมท่ นั หรือลา่ ชา้ ไปได้

ตวั อยำ่ งงำนชำ่ งศิลป์

❖ ช่ำงศิลป์ ทอ้ งถ่ิน

วิภา จกั รบตุ ร

ผา้ และสิ่งถกั ทอ

ขอ้ มลู ตดิ ตอ่

ที่อยู่ : บา้ นเลขท่ี 167 หม่ทู ่ี 5 ตาบลท่งุ โ ฮ้ง อ า เ ภ อ เ มื อ ง แ พ ร่ จัง ห วั ด แ พ ร่ รหสั ไปรษณีย์ 54000

เบอรโ์ ทรศัพท์ : 084-3738897

ประวตั ิกำรทำงำนช่ำงศิลป์

จดุ เร่ิมตน้ การทางานชา่ งศิลป์ : ตง้ั แตแ่ รกคือเริ่มจากการเรียนรผู้ า่ นทางครอบครวั ท้ังยาย และแม่ท่ีเคยปลกู ฝังไว้ เคยสอนไว้ ซึ่งพ้ืนฐานแต่เดิมท่ีไดร้ ับมาคือการเย็บผา้ สามารถสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ตนและครอบครัวได้ แตภ่ ายหลงั ไดม้ ีหน่วยงานต่างๆ ไดน้ า วิทยากรผมู้ คี วามรู้ เขา้ มาใหค้ วามรใู้ หก้ บั ชมุ ชนจึงไดเ้ ขา้ ร่วมเรียนรมู้ าตงั้ แตต่ อนนนั้ จน เกดิ ทกั ษะที่หลากหลายมากขนึ้ และไดร้ จู้ กั กบั ชาวบา้ นคนอื่นที่มีทกั ษะท่ีแตกต่างกนั ไปจึง ไดร้ วมกลมุ่ และกอ่ ตงั้ ขนึ้ มาเป็ นวิสาหกจิ แห่งน้ี

ผลงานที่ภาคภมู ิใจ/ผลงานชิ้นเอก : เชื่อว่าตน้ ทนุ ของเรามีอย่แู ลว้ บรรพบรุ ษุ เรา สรา้ งไวใ้ หม้ ากมายเราเพียงแค่สืบสานตอ่ ไปใหค้ วามเป็ นเอกลกั ษณข์ องบา้ นเราน้ีคงอยู่ ไมส่ ญู หายไปจากหมบู่ า้ นของเรา

แรงผลกั ดนั ท่ียงั คงสืบสานงานช่างศิลป์ :อยากสรา้ งรากฐานของผา้ หมอ้ หอ้ มใหม้ ี ความแขง็ แรงและปรบั ใชไ้ ดก้ บั ยคุ สมยั ในปัจจบุ นั เพอื่ ใหล้ กู หลานและคนร่นุ หลงั เขา้ ใจงา่ ย เรียนรไู้ ด้ ตลอดจนไดส้ บื ทอดตอ่ ไป

รางวัลท่ีเคยไดร้ ับ :จากผลงานของกล่มุ แม่บา้ นเกษตรกรหม่ทู ่ี 5 ตาบลท่งุ โฮง้ อาเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ ที่นาเสนอ ผา้ หมอ้ หอ้ มธรรมชาติ กระบวนการยอ้ ม ขน้ั ตอนการผลิตต่าง ๆ จนไดร้ ับรางวัลชนะเลิศจากการประกวดสถาบันเกษตรกร ดีเดน่ แหง่ ชาติ ประจาปี 2565 กลมุ่ แมบ่ า้ นเกษตรกร

กระบวนกำรในกำรสรำ้ งสรรคง์ ำนชำ่ ง

ขนั้ ตอนในการสรา้ งสรรคง์ าน ขนั้ ตอนในการทางานทกุ ๆ ครงั้ จะแบ่งหนา้ ทก่ี นั ภายในกล่มุ วิสาหกิจทงั้ เย็บ ซัก รีด

ตดั ยอ้ ม เป็ นตน้ ซึ่งสง่ ตอ่ กนั เป็ นทอดๆ ไป การคดั เลือกวสั ดุ

ส่ิงสาคญั ท่จี ะผลิตผา้ หมอ้ หอ้ มธรรมชาตนิ นั่ คือ หอ้ ม ซ่ึงทางกล่มุ วิสาหกิจเองก็ไดม้ ี การปลกู ไวเ้ พ่ือใชใ้ นการทาหอ้ มเปี ยกใชป้ ระกอบการยอ้ มหอ้ มอย่แู ลว้ แต่บางครงั้ เองถา้ เกิดผลผลิตไม่ทนั ท่ีจะใชท้ างกลมุ่ วิสาหกิจก็จะติดต่อกบั ทางบา้ นนาคหู า บา้ นแม่ลวั เพ่ือ นาหอ้ มมาใชบ้ า้ งเพราะแต่ก่อนที่จะปลกู เองก็ไดม้ ีการรับหอ้ มจาก บา้ นแม่ลัว บา้ นนา คหู าอยแู่ ลว้ ระยะเวลา/ชว่ งเวลา/เทศกาล

ระยะเวลาขนึ้ อย่กู บั ตวั ลกู คา้ ว่าตอ้ งการใชด้ ว่ นแค่ไหน และขนึ้ อย่กู ับสภาพอากาศใน ตอนนนั้ ดว้ ย โดยปกติแลว้ ลกู คา้ ของเราจะเป็ นลกู คา้ ทัว่ ไป ท้ังพนกั งานราชการ หรือ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทีส่ งั่ ผลิตในชว่ งเทศกาลตา่ ง ๆ เป็ นตน้ ปัญหาและอปุ สรรค

สว่ นมากจะอย่ทู ่ีกระบวนการยอ้ มเนอ่ื งจากขนั้ ตอนในการยอ้ มหลงั จากที่ทาการจ่มุ ผา้ ลงไปในหมอ้ ยอ้ มและนาไปซักแลว้ จะตอ้ งนาผา้ ไปตากซึ่งถา้ สภาพอากาศไม่มีแดด กระบวนการตอ่ ไปก็อาจจะชา้ ลงไปไดแ้ ละสที ่ไี ดไ้ มส่ วยเทา่ ทีค่ วร

ตวั อยำ่ งงำนชำ่ งศิลป์

❖ ชำ่ งศิลป์ ทอ้ งถิ่น

ประภาพรรณ ศรีตรยั

ชา่ งยอ้ มผา้ หมอ้ หอ้ ม

ขอ้ มลู ตดิ ตอ่

ท่ีอยู่ : บา้ นเลขท่ี 291 หม่ทู ่ี 5 ตาบลท่งุ โ ฮ้ง อ า เ ภ อ เ มื อ ง แ พ ร่ จัง ห วั ด แ พ ร่ รหสั ไปรษณีย์ 54000

เบอรโ์ ทรศพั ท์ : 089-8513048

ประวตั ิกำรทำงำนชำ่ งศิลป์

จดุ เริ่มตน้ การทางานชา่ งศิลป์ : การอนรุ ักษอ์ าชพี ที่เป็ นเอกลกั ษณ์ของจงั หวัดแพร่ และภมู ปิ ัญญาของบรรพบรุ ษุ

ผลงานที่ภาคภมู ิใจ/ผลงานชิ้นเอก : สรา้ งสรรค์ผลงานบนพื้นฐานของการใช้ ความรทู้ างวัฒนธรรมดา้ นการ ออกแบบแฟชนั่ การเพนท์ สกรีน การมดั ยอ้ ม และบา ติก โดยการนา “หอ้ ม เปี ยก” มาผสมผสานแนวคิดกบั ทรัพยากรธรรมชาติที่มีช่ือเสียง โด่งดงั ใน จงั หวัดแพร่ ซ่ึงไดน้ ามาเป็ นแนวคิดของการ ออกแบบเส้ือผา้ เครื่องแต่งกาย ใหท้ ันสมัยเป็ นการต่อยอดภมู ิปัญญาในการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ซึ่งแสดงออก ทาง วฒั นธรรมเชงิ เศรษฐกิจสรา้ งสรรคข์ องชมุ ชน

แรงผลักดันที่ยังคงสืบสานงานช่างศิลป์ : การทาผา้ หมอ้ หอ้ มแท้ เป็ นภมู ิปัญญา ทอ้ งถิ่นของบรรพบรุ ษุ ที่สืบทอดมาหลายชวั่ อายคุ น และเป็ นเอกลักษณ์ของจังหวัด แพร่ จนไดร้ ับการคัดเลือกเป็ นหม่บู า้ นท่องเที่ยว OTOP เชิงหัตถกรรม หมอ้ หอ้ ม เป็ น ผา้ พ้ืนเมอื ง ทท่ี าจากผา้ ฝ้ าย มสี นี า้ เงนิ เขม้ ไดจ้ ากการยอ้ มดว้ ย ตน้ หอ้ มทีใ่ หส้ ธี รรมชาติ สวยงาม โดยใชต้ น้ และใบหอ้ มมายอ้ ม ซ่ึงเป็ นการยอ้ มแบบดงั้ เดิม มีการทามาหลายชวั่ อายคุ น โดยการทาสืบทอดกนั มาตง้ั แตบ่ รรพบรุ ษุ จากร่นุ สรู่ ่นุ

รางวัลที่เคยไดร้ ับ :ครชู ่างศิลปหัตถกรรม ปี 2555 จากศนู ย์ส่งเสริมศิลปาชีพ ระหวา่ งประเทศ (องคก์ ารมหาชน)

กระบวนกำรในกำรสรำ้ งสรรคง์ ำนช่ำง

ขน้ั ตอนในการสรา้ งสรรคง์ าน สืบสานกระบวนการยอ้ มผา้ หมอ้ หอ้ ม และประยกุ ตเ์ ทคนิควิธีการสรา้ งลวดลาย

ใหก้ บั ผา้ หมอ้ หอ้ ม การคดั เลือกวสั ดุ

การใชห้ อ้ มเปี ยก ในการกอ่ หอ้ มยอ้ มสหี มอ้ หอ้ ม ระยะเวลา/ชว่ งเวลา/เทศกาล

ฤดกู าลมีผลการก่อหมอ้ ยอ้ ม สภาพอากาศมีผลต่อกอ่ หมอ้ ยอ้ มและการยอ้ มที่ตอ้ ง ผา้ หลงั การยอ้ มใหแ้ หง้ ปัจจยั ความสาเร็จ

ความภาคภมู ิใจในอาชพี ของบรรพบรุ ษุ ปัญหาและอปุ สรรค

วัสดใุ นการก่อหมอ้ ยอ้ มเป็ นวัสดจุ ากธรรมชาติ มีปัจจัยแทรกซอ้ นเกี่ยวกับสภาพ อากาศและคณุ ภาพของวัสดใุ นการกอ่ หมอ้ ยอ้ มท่ีมีคณุ ภาพที่แตกต่างกันในแต่ฤดกู าล อายขุ องวสั ดุ จดุ เดน่ และอตั ลกั ษณข์ องการสรา้ งสรรคช์ นิ้ งาน

การสรา้ งลวดลายมดั ยอ้ มผา้ หมอ้ หอ้ ม และการเพนทผ์ า้ หมอ้ หอ้ ม

ตวั อยำ่ งงำนชำ่ งศิลป์

❖ ชำ่ งศิลป์ ทอ้ งถิ่น

วฒุ ิไกร ผาทอง

ผา้ และสิง่ ถกั ทอ

ขอ้ มลู ตดิ ตอ่

ท่ีอยู่ : บา้ นเลขท่ี 160 หม่ทู ่ี 8 ถนนเลี่ยง เมือง 129 ตาบลนาจกั ร อาเภอเมืองแพร่ จงั หวดั แพร่ รหสั ไปรษณีย์ 54000

เบอรโ์ ทรศัพท์ : 081-9604502

ประวตั ิกำรทำงำนชำ่ งศิลป์

จดุ เริ่มตน้ การทางานชา่ งศิลป์ : แรงบันดาลใจแรกที่ขา้ พเจา้ อยากคา้ ขายหมอ้ หอ้ ม คือ คาขวัญจังหวัดแพร่ละการท่ีเห็นว่าจังหวัดแพร่ดจู ะไม่มีสินคา้ ของท่ีระลึกเป็ นของ ตัวเอง เป็ นประการที่ 2 อันหลังน้ีเม่ือขา้ พเจา้ ไดเ้ ป็ นอนกุ รรมการการท่องเท่ียวของ หอการคา้ จังหวัดแพร่ ที่คาดหวังไวต้ อนแรกก็เพียงเลือกซ้ือมาขายไป และไปยอ้ มตาม ช่างยอ้ มหมอ้ หอ้ มท่ีมีแต่ละหมู่บา้ นและส่งทอตามหม่บู า้ นที่มีช่างทอ การไดส้ ัมผัสกับ เรื่องสินค้าจากร้านต่างๆ สัมผัสกับคนย้อมคนทอ ในฐานะคนค้าขาย สัมผัส กับ ผปู้ ระกอบการดว้ ยกนั ทาใหเ้ ห็นวา่ ตอ้ งปรบั เป็ นสนิ คา้ ท่ีแตกตา่ งมากกว่าธรรมดาจึงจะ ดึงความสนใจของลกู คา้ ได้

ผลงานท่ีภาคภมู ิใจ/ผลงานชิ้นเอก : คิดอยากร้ือฟ้ื นภมู ิปัญญาแสนลา้ ค่าน้ีขน้ึ มา เพื่อใหผ้ คู้ นจดจาหอ้ มท่ีแทจ้ ริงไดอ้ ีกครั้ง และคนเมืองแพร่จะไดภ้ มู ิใจในมรดกสีนา้ เงิน ของจงั หวดั แพร่

แรงผลกั ดนั ทย่ี งั คงสืบสานงานชา่ งศิลป์ : ในปี 2544 ยกทีมไปขอดงู านที่สกลนคร ก็ไปไดเ้ คล็ดวิชามาจากอิสาน ผสมผสานกับวิชาทางทอ้ งถ่ินตัวเอง ท่ีเก็บเล็กผสมนอ้ ย จากผเู้ ฒา่ ผแู้ กห่ ลายคนทใี่ หฟ้ ัง

รางวัลที่เคยได้รับ : G I หมอ้ หอ้ ม (ส่ิงบ่งชี้ทางภมู ิศาสตร์ หรือ Geographical Indications) วา่ หอ้ มเป็ นพืชทอ้ งถิ่นประจาจงั หวดั กบั กรมทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา

กระบวนกำรในกำรสรำ้ งสรรคง์ ำนช่ำง

ขน้ั ตอนในการสรา้ งสรรคง์ าน เลือกที่จะยอ้ มหมอ้ หอ้ มดว้ ยกรรมวิธีธรรมชาติ 100 เปอร์เซ็นต์จริงๆ ต้ังแต่

ขน้ั ตอนการลา้ งเสน้ ฝ้ าย ไมย่ อมใชส้ ารเคมหี รือผงซกั ลา้ งแมแ้ ตน่ อ้ ย เธอเลือกใชน้ า้ หมกั จากผลไมร้ อบตวั แทน การคดั เลอื กวสั ดุ

การใชห้ อ้ มเปี ยก ในการกอ่ หอ้ มยอ้ มสหี มอ้ หอ้ ม และเสน้ ฝ้ าย ระยะเวลา/ชว่ งเวลา/เทศกาล

การยอ้ มผา้ หมอ้ หอ้ มดว้ ยวิธีแบบธรรมชาติ มีปัจจยั แทรกซอ้ มต่าง ๆ และการใช้ ห้อมเปี ยกที่วัสดหุ ลักในการก่อหมอ้ ย้อมในจังหวัดแพร่ ตอ้ งอาศัยตอ้ ง หอ้ มจาก ธรรมชาตแิ ละจะมมี ากนอ้ ยขนึ้ อยคู่ วามชน้ื และความสมบรู ณข์ องป่ าตน้ นา้ ปัจจยั ความสาเร็จ

ความภาคภมู ิใจในความเป็ นจงั หวัดแพร่ทีมีเอกลกั ษณ์ ดา้ นผา้ หมอ้ หอ้ ม และไดร้ ับ เชิญใหไ้ ปเวิรก์ ช็อปท่ีโตเกียว โอซากา้ สะหวันนะเขต ฟิ ลิปปิ นส์ ลาว หรือแมก้ ระทงั่ สอน ทตู สหรฐั อเมริกาประจาประเทศไทย ปัญหาและอปุ สรรค

ช่างทอผา้ หมอ้ หมอ้ ส่วนใหญ่เป็ นผสู้ งู อายุ และไม่มีผสู้ ืบทอดการทอผา้ ทาใหก้ าร ผลติ ผา้ หมอ้ หอ้ มจากกระบวนการทอมอื ลดนอ้ ยลง

ตวั อยำ่ งงำนชำ่ งศิลป์

❖ ชำ่ งศิลป์ ทอ้ งถิ่น

สว่าง สตี อ้ื

ผา้ และสงิ่ ถกั ทอ

ขอ้ มลู ตดิ ตอ่

ที่อยู่ : บา้ นเลขที่ 119 หมทู่ ี่ 5 ตาบลสวน เข่ือน อาเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ รหสั ไปรษณีย์ 54000

เบอรโ์ ทรศัพท์ : 096-9824460

ประวตั ิกำรทำงำนชำ่ งศิลป์

จดุ เริ่มตน้ การทางานชา่ งศิลป์ : แรกเริ่มนนั้ อาชีพท่ีทาคือเป็ นชาวไร่ ชาวสวน ปลกู ผกั ขายบา้ ง แตพ่ อวนั เวลาผา่ นไปมสี ถาบันการศึกษาเขา้ มาใหค้ วามรกู้ ารที่นาพืชในบา้ น เราไปทาเป็ นหอ้ มเปี ยกและไปจนถึงการยอ้ มจึงรสู้ กึ สนใจเพราะตน้ หอ้ มเองปกติก็มีอย่ใู น พ้ืนที่บา้ นนาคหู าของเราอย่แู ลว้ ดงั นน้ั เลยอยากที่จะดึงศักยภาพของพืชพรรณในบา้ น เรานมี้ าสรา้ งเป็ นรายไดใ้ หก้ บั ครอบครวั

ผลงานที่ภาคภมู ิใจ/ผลงานชิ้นเอก : หอ้ มเป็ นพืชท่ีอย่คู ่บู า้ นเรามาอย่างยาวนาน การท่ีเราสามารถต่อยอดจากสิ่งที่เรามีอย่แู ลว้ เพ่ิมมลู ค่ามากยิ่งข้ึนนบั ว่าเป็ นส่ิงท่ีดีละ ความจะอนรุ กั ษไ์ ว้

แรงผลักดันท่ียังคงสืบสานงานช่างศิลป์ : ต่อยอดผลผลิตในบา้ นเราสรา้ งเป็ น รายได้ และทาใหบ้ า้ นนาคหู าเป็ นทีร่ จู้ กั ในวงกวา้ งมากขนึ้

รางวัลที่เคยไดร้ ับ : หอ้ มเปี ยกของเราไดร้ ับการขนึ้ ทะเบียนสิ่งบ่งช้ีทางภมู ิศาสตร์ (G I) นับว่าเป็ นสิ่งท่ีภมู ิใจอย่างมากที่เราสามารถนาหอ้ มพืชในบา้ นเราท่ีมีมาอย่าง ยาวนานมาสรา้ งเป็ นผลติ ภณั ฑจ์ นไดร้ บั การขน้ึ ทะเบียนในครง้ั นนั้

กระบวนกำรในกำรสรำ้ งสรรคง์ ำนชำ่ ง

ขนั้ ตอนในการสรา้ งสรรคง์ าน นาลาตน้ และใบของหอ้ มมาแชน่ า้ ไวป้ ระมาณ 72 ชวั่ โมงใหเ้ นอ้ื หอ้ มเปื่ อย แลว้ นาไปตี

ผสมกบั ปูนแดง และปูนขาว ใหไ้ ดค้ วามขน้ ลกั ษณะคลา้ ยเนอ้ื โคลนสีเขม้ เรียกว่า “หอ้ มเปี ยก” การคดั เลอื กวสั ดุ

เลอื กใชห้ อ้ มทมี่ าจากกระบวนการปลกู ของคนในชมุ ชน ระยะเวลา/ชว่ งเวลา/เทศกาล

ขน้ึ อย่กู บั สภาพภมู ิอากาศในชว่ งนน้ั และการเก็บเก่ยี วใบหอ้ มของคนในกลมุ่ วิสาหกิจ ปัจจยั ความสาเร็จ

การอนรุ กั ษแ์ ละสง่ เสริมขนั้ ตอนการผลิตจากธรรมชาติ ปัญหาและอปุ สรรค

แรงงานในการผลิตมีไมม่ ากพอ

ตวั อยำ่ งงำนช่ำงศิลป์

❖ ชำ่ งศิลป์ ทอ้ งถิ่น

เหลือง ทองสขุ

ผา้ และสิ่งถกั ทอ

ขอ้ มลู ตดิ ตอ่

ที่อยู่ : บา้ นเลขที่ 277 หม่ทู ่ี 6 ตาบลท่งุ โ ฮ้ง อ า เ ภ อ เ มื อ ง แ พ ร่ จัง ห วั ด แ พ ร่ รหสั ไปรษณีย์ 54000

เบอรโ์ ทรศพั ท์ : 054-511977

ประวตั ิกำรทำงำนชำ่ งศิลป์

จดุ เริ่มตน้ การทางานชา่ งศิลป์ : าเหลืองไดร้ ับการถ่ายทอดการทาหมอ้ หอ้ มมาจาก พ่อกับแม่ในสมัยก่อน ร่นุ ป่ ูย่าตายายจะทา หมอ้ หอ้ มใชก้ ันภายในครัวเรื อน ต่อมา บ้านเมืองมีความเจริญร่งุ เรืองจึงมีการทาเพิ่มมากขึ้น ป้ าเหลืองจบการศึกษาช้ัน ประถมศึกษาปี ท่ี 4 แลว้ ไม่มีโอกาสไปเรียนต่อจึงมาชว่ ยพ่อแม่ทายอ้ มผ้า ต่อมาจึงยืด เป็ นอาชพี หลกั โดยการทาผา้ สีครามเป็ นหลกั จนถึงทกุ วันน้ี สีครามท่ีไดม้ าจากการปลกู ตน้ ครามเอง หากไมพ่ อใชก้ ็จะสงั่ ซ้ือเพิ่มเตมิ เนอ่ื งจากทีไ่ มไ่ ดน้ าตน้ หอ้ มมาใชเ้ พราะวา่ ตน้ หอ้ มปลกู ยากกว่าตน้ คราม จึงนยิ มยอ้ มสคี รามมากกว่า

ผลงานท่ีภาคภมู ิใจ/ผลงานชิ้นเอก : การทาผา้ หมอ้ หอ้ มไดร้ ับการสืบทอดมาจาก บรรพบรุ ษุ พ่อ-แม่ จากร่นุ สรู่ นุ่ และตอ้ งการรกั ษาไวซ้ ่ึงภมู ิปัญญาของการของการทา ผา้ หมอ้ หอ้ ม และมีหน่วยงานราชการเขา้ มาใหก้ ารสนบั สนนุ โดยมีนโยบายส่งเสริมให้ สวมใสเ่ สอ้ื หมอ้ หอ้ มในวนั ศกุ ร์

แรงผลกั ดนั ท่ยี งั คงสบื สานงานชา่ งศิลป์ : เพ่ือสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั สมาชกิ ในกลมุ่ ชว่ ย สง่ เสริมความสามคั คีกนั ในชมุ ชน และชว่ ยลดปัญหาการว่างงานของคนในชมุ ชนและสืบ สานอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมของบา้ นทงุ่ โฮง้ ตอ่ ไป

รางวัลท่ีเคยไดร้ ับ : ไดร้ ับการคัดสรรเป็ น ผลิตภัณฑ์ระดับส่ีดาว ประเภทผา้ เคร่ืองแต่งกายเสื้อหมอ้ ห้อมบาติกตามโครงการคัดสรรสดุ ยอดหน่ึงตาบล ห น่ึง ผลติ ภณั ฑ์ ปี พ.ศ. 2553

กระบวนกำรในกำรสรำ้ งสรรคง์ ำนชำ่ ง

ขน้ั ตอนในการสรา้ งสรรคง์ าน นาผา้ ทอและผา้ ดิบมาตัดตามรปู แบบ และขนาดท่ีตอ้ งการและนาไปแช่ในนา้ สะอาด

ทิ้งไวป้ ระมาณ 1-2 คืน แลว้ ลา้ งนา้ ใหส้ ะอาดนาผา้ มาผงึ่ ไวใ้ หห้ มาด ๆ เพ่ือใหเ้ นอ้ื ผา้ ดดู สียอ้ มอย่างทัว่ ถึง หลงั งจากการยอ้ มครั้งสดุ ทา้ ยแลว้ นาไปซัก-รีด และบรรจถุ งุ เพื่อ จาหนา่ ย การคดั เลือกวสั ดุ

การเลอื กซื้อผา้ ฝ้ าย ผา้ ดิบ จะสงั่ ซ้ือโดยประมาณการจากยอดสงั่ ซ้ือของลกู คา้ ส่วน เร่ืองของ หมอ้ ยอ้ มหอ้ มจะใชว้ ตั ถดุ ิบจากบา้ นหรือในชมุ ชน ระยะเวลา/ชว่ งเวลา/เทศกาล

ระยะเวลาขนึ้ อย่กู บั สภาพภมู ิอากาศเพราะการยอ้ มหอ้ มตอ้ งอาศัยแสงแดดในการ ตากผา้ หลงั จากการยอ้ มเสร็จแลว้ ปัจจยั ความสาเร็จ

การอนรุ ักษแ์ ละสรา้ งภาพจาในอดีตใหค้ งอย่มู าจนถึงปัจจบุ ัน เป็ นปัจจยั ท่ีทาใหเ้ กิด ความสาเร็จไดจ้ นเป็ นทร่ี จู้ กั กนั ในนามหมอ้ หอ้ มบา้ นป้ าเหลืองมาถึงทกุ วนั น้ี ปัญหาและอปุ สรรค

ดา้ นการส่งเสริมการขาย ลวดลายของผลิตภัณฑส์ ามารถลอกเลียนแบบไดง้ ่าย และดา้ นคแู่ ขง่ ซ่ึงมกี ารแขง่ ขนั สงู

ตวั อยำ่ งงำนช่ำงศิลป์

❖ ช่ำงศิลป์ ทอ้ งถ่ิน

จนั ทรเ์ พ็ญ คาเหลอื ง

ผา้ และสงิ่ ถกั ทอ

ขอ้ มลู ตดิ ตอ่

ท่ีอยู่ : บา้ นเลขท่ี 99/3 หม่ทู ี่ 7 บา้ นคา้ ง ใจ ตาบลแม่เก๋ิง อาเภอวังช้นิ จังหวัดแพร่ รหสั ไปรษณีย์ 54160

เบอรโ์ ทรศพั ท์ : 063-6827959

ประวตั ิกำรทำงำนชำ่ งศิลป์

จดุ เร่ิมตน้ การทางานชา่ งศิลป์ : ไดร้ บั การถ่ายทอดมาจากคณุ ยายซึ่งสอนใหป้ ักเส้ือ ดว้ ยเม็ดลกู เดือยและการเดินเสน้ ที่มีลวดลายเป็ นเอกลกั ษณข์ องชาติพันธ์ุกะเหรี่ยง ใน แถบอาเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ งานปักผา้ เป็ นทักษะพื้นฐานของสตรีชาวกะเหร่ียงท่ี จะตอ้ งฝึ กหดั ไวต้ ง้ั แตว่ ยั เด็ก เพื่อเป็ นการเตรียมพรอ้ มในการมคี รอบครัวในอนาคต เสอ้ื สาหรับผหู้ ญิงท่ีแต่งงานมีครอบครวั แลว้ เรียกว่า “เสื้อแชง้ บา้ ง” นิยมประดบั ดว้ ยเม็ด ลกู เดอื ยและการเดินเสน้ ท่มี ลี วดลายเป็ นเอกลกั ษณข์ องชาติพนั ธก์ุ ะเหรี่ยงในแถบอาเภอ วงั ชน้ิ จงั หวดั แพร่

ผลงานที่ภาคภมู ิใจ/ผลงานชิ้นเอก : ขยัน อดทน ใฝ่ หาความรเู้ พ่ิมเติม ควบคมุ คณุ ภาพของผลงาน รกั ษาและสืบทอดการปักผา้ กะเหร่ียงของบรรพบรุ ษุ ไวใ้ หค้ งอยู่ ทงั้ รปู แบบ ลวดลาย ความหมาย อยากเผยแพร่ตวั ตนและชาติพนั ธก์ุ ะเหรี่ยง สรา้ งความ ภาคภมู ิ แกพ่ นี่ อ้ งชาตพิ นั ธใ์ุ นชมุ ชน เสริมสรา้ งรายไดเ้ พ่ือครอบครวั จากงานปักผา้

แรงผลกั ดนั ท่ียงั คงสืบสานงานชา่ งศิลป์ :ใจรกั และอยากอนรุ ักษภ์ มู ิปัญญาของชาติ พนั ธ์ุ เป็ นอาชพี ที่สรา้ งรายไดแ้ กต่ นเองและชมุ ชน

ปัญหาและความทา้ ทายในการทางานช่างศิลป์ : ขาดงบประมาณสนับสนนุ ขาด แคลนวตั ถดุ ิบ การตลาด และการประชาสมั พนั ธ์

กระบวนกำรในกำรสรำ้ งสรรคง์ ำนช่ำง

ขนั้ ตอนในการสรา้ งสรรคง์ าน เย็บตวั เส้ือเสร็จใหเ้ รียบรอ้ ย แบบโบรารจะใชผ้ า้ หนา้ แคบสองชนิ้ มาเย็บประกอบกนั

ใชแ้ ถบผา้ สีแดงเย็บเป็ นแนวตรงชายเส้ือดา้ นล่าง รอบตวั เสื้อ ปักลกู เดือยเป็ นลายตาม แนวแถบผา้ สีแดง เม่ือปักลายจนครบตามท่ีร่างไวแ้ ลว้ นาเสน้ ดา้ ยมาเปี ยเป็ นเสน้ ยาว (เบิดแชง้ คไู ท่) นามาเย็บขอบตรงคอเส้ือและวงแขน เพื่อเสริมความแข็งแรงและเพ่ิม ความสวยงามแกต่ วั เสอื้ เส้อื แชง้ บา้ งของชาวกะเหรี่ยงบา้ นคา้ งใจก็เสร็จสมบรู ณพ์ รอ้ ม สวมใส่ การคดั เลือกวสั ดุ

คัดเลือกวัสดหุ ลกั คือ ลกู เดือย พันธเ์ุ ม็ดยาว ท่ีปลกู เองในชมุ ชน เก็บและนามาตาก ใหแ้ หง้ คดั แยกขนาดตามความตอ้ งการ ระยะเวลา/ชว่ งเวลา/เทศกาล

เส้ือแชง้ บา้ ง 1 ตัวใชเ้ วลาตัเย็บและปักจนเสร็จสมบูรณ์ใชเ้ วลาประมาณ 1-2 อาทิตยต์ ามความถนดั ของชา่ งฝี มือแตล่ ะคน ปัจจยั ความสาเร็จ

ความขยนั หมนั่ เพียร ฝึ กฝนผมี อื จนชานาญ ปัญหาและอปุ สรรค

วสั ดุ เชน่ ลกู เดอื ย ท่ีอาจไมม่ ปี ริมาณหรือคณุ ภาพตามตอ้ งการ ในแตล่ ะชว่ งเวลา

ตวั อยำ่ งงำนช่ำงศิลป์

❖ ช่ำงศิลป์ ทอ้ งถิ่น

วนั แสนอมุ้

เครื่องจกั รสาน

ขอ้ มลู ตดิ ตอ่

ท่ีอยู่ : บา้ นเลขท่ี 90/1 หม่ทู ี่ 3 บา้ นนา แหลม ตาบลท่งุ กวาว อาเภอเมืองแพร่ จงั หวดั แพร่ รหสั ไปรษณีย์ 544000

เบอรโ์ ทรศพั ท์ : 089-2623417

ประวตั ิกำรทำงำนช่ำงศิลป์

จดุ เร่ิมตน้ การทางานช่างศิลป์ : นางวัน แสนอมุ้ เกิดและเติบโตมาในหมู่บา้ นนา แหลม อาเภอเมือง จงั หวัดแพร่ เป็ นหม่บู า้ นจกั สานกบุ ลอนมาตง้ั แตอ่ ดีต สามารถสาน กบุ ลอนไดต้ ั้งแต่เด็ก เรียนรแู้ ละฝึ กหัดสานการสานกบุ ลอนจากมารดาและยายทวด ตง้ั แต่วัยเด็ก โดยเริ่มหัด สานแบบงา่ ย ๆ จนเริ่มมีความชานาญ และสานจาหน่ายเป็ น รายไดเ้ สริมของครอบครัวมาโดยตลอด ต่อมาการใชก้ บุ ลอนลดความนิยมลงไปจาก สงั คมเมอื งแพร่ จึงไดเ้ ริ่มฟื้ นฟู สืบสานและเผยแพร่ ใหก้ บั ชมุ ชนและบคุ คลที่สนใจตงั้ แต่ เรียนรแู้ ละฝึ กหดั สานการสานกบุ ลอนจากมารดาและยายทวดตงั้ แตว่ ยั เด็ก โดยเร่ิมหัด สานแบบงา่ ย ๆ จนเริ่มมคี วามชานาญ ตง้ั แต่ ปี พ.ศ.2559 เป็ นตน้ มา

ผลงานท่ีภาคภมู ิใจ/ผลงานช้ินเอก : ตอ้ งฝึ กฝนทักษะ รักษาคณุ ภาพของชิ้นงาน คงไวซ้ ึ่งความประณีตและสวยงาม และยอมรบั การเปลย่ี นแปลง

แรงผลกั ดนั ที่ยังคงสืบสานงานชา่ งศิลป์ : ตอ้ งการใหก้ บุ ลอน อตั ลักษณเ์ มืองแพร่ เป็ นที่ยอมรับ รจู้ ักในวงกวา้ ง อยากสืบสานการสานกบุ ลอน มรดกภมู ิปัญญาของ ทอ้ งถิ่นเมืองแพร่ใหค้ งอยู่ อีกท้ัง เป็ นรายไดเ้ สริมของครอบครัว พอเล้ียงตนเองและ ครอบครวั ได้

หลกั คิด ความเชอ่ื คตใิ นการทางานชา่ งศิลป์ : ตอ้ งฝึ กฝนทกั ษะ รกั ษาคณุ ภาพของ ชนิ้ งาน คงไวซ้ ่ึงความประณีตและสวยงาม และยอมรบั การเปลีย่ นแปลง

ประวตั ิควำมเป็ นมำของงำนชำ่ งศิลป์

จดุ ประสงคห์ รือแนวคิดทอ่ี ย่เู บ้ืองหลงั ของสรา้ งงาน “กบุ ” ในภาษาลา้ นนาหมายถึงงอบ ซึ่งชาวลา้ นนาในอดีตใชส้ วมกันแดดกันฝนใน

ชวี ิตประจาวนั กบุ ทาจากไมไ้ ผท่ จ่ี กั ใหเ้ ป็ นเสน้ ตอก สานใหเ้ ป็ นวงกลมแลว้ กรดุ ว้ ยใบลาน แหง้ มีส่วนท่ีเรียกว่า “หมง” หรือ “หย่อง” เพ่ือยึดครอบกับศีรษะ กบุ ลอนเมืองแพร่มี รปู แบบที่สวยงามเป็ นเอกลกั ษณแ์ ตกต่างจากกบุ ของจงั หวดั อื่น ๆ ส่วนยอดของกบุ มี โครงสรา้ งลดหลนั่ เป็ น 2 ชน้ั มีลกั ษณะเป็ นลอน จงึ เป็ นที่มาของชอ่ื “กบุ ลอน”

หมบู่ า้ นนาแหลมเป็ นแหลง่ ผลิตกบุ ลอนสง่ จาหนา่ ยทวั่ ไปภายในจงั หวดั แพร่ เป็ นงาน หัตถศิลป์ ท่ีชาวบา้ นทาเป็ นอาชีพเสริมหลังว่างจากการทาการเกษตรท่ีเป็ นอาชีพหลัก เมื่อกาลเวลาเปล่ียนไปความนิยมใชก้ บุ ลอนลดลง ส่งผลใหค้ นในหมบู่ า้ นละท้ิงการสาน กบุ ลอนไปทากิจกรรมอย่างอื่น หรือผลิตรปู แบบงา่ ยๆ จึงทาใหก้ บุ ลอนท่ีทาออกมามี คณุ ภาพและความสวยงามดอ้ ยกว่าในอดีตมาก แต่ดว้ ยใจรักและหวงแหนภมู ิปัญญา ทอ้ งถ่ิน นางวัน แสนอมุ้ เป็ นชาวบา้ นที่เหลือเพียงไม่ก่ีคนในชมุ ชนท่ียังคงสืบทอดการ สานกบุ ลอนแบบดงั้ เดิมไว้ พฒั นาการของงานจากอดีตถึงปัจจบุ ัน

กบุ ลอนในปัจจบุ ัน มีพัฒนาการทั้งดา้ นทักษะการสานท่ีประณีตมากข้ึน และมีการ ประยกุ ตก์ บุ ลอนเป็ นผลติ ภณั ฑใ์ หม่ เชน่ โคมไฟกบุ ลอน กบุ ลอนปิ่ นปักผม เป็ นตน้

ตวั อยำ่ งงำนช่ำงศิลป์