กล มความร วมม อทางเศรษฐก จในภ ม ภาคเอเช ย-แปซ ฟ ก

รายงาน เร่ือง ความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจในเอเซีย-แปซิฟคิ (APEC)

จดั ทำโดย นายปุณณวิช เข็มกลัดทอง เลขท่ี 20 นางสาวชนมธ์ นศิ า อภิชยั พุทธวงศ์ เลขท่ี 26 นางสาวเทียนขวญั คดิ โสดา เลขที่ 27 นางสาวพิมพ์ลภัส วรรณทอง เลขท่ี 28 นางสาวชนัญธดิ า แสงพุ่ม เลขท่ี 39 นางสาวณิชา อดุ ม เลขท่ี 40 นางสาวพรนิภา เพมิ่ พูน เลขที่ 41 นางสาวมนสั นนั ท์ ศุภศรีสรรพ์ เลขท่ี 42

ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5/2

เสนอ คณุ ครอู นนั ต์ เวชวิรัตน์

รายงานน้เี ป็นส่วนหนง่ึ ของวิชาเศรษฐศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 โรงเรยี นบา้ นสวน (จน่ั อนุสรณ์) อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี

คำนำ

รายงานเล่มนี้จัดทำขึ้นเพือ่ เปน็ ส่วนหนึ่งของวิชาเศรษฐศาสตร์ เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่อง APEC หรือความรว่ มมือทางเศรษฐกิจในภมู ิภาคเอเชยี -แปซฟิ กิ และได้ศึกษาอย่างเขา้ ใจเพือ่ เปน็ ประโยชนก์ บั การเรยี น

คณะผู้จดั ทำหวังว่า รายงานเลม่ นี้จะเป็นประโยชน์กับผูอ้ ่านที่กำลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนำ หรอื ข้อผิดพลาดประการใด ผูจ้ ดั ทำขอน้อมรบั ไว้และขออภัยมา ณ ท่นี ี้ดว้ ย

คณะผู้จดั ทำ วนั ที่ 3 กันยายน 2565

สารบัญ

เร่อื ง หนา้ ความหมายของ APEC 1 ความเป็นมาและวัตถปุ ระสงค์ 2 3 ประโยชน์ของไทยในการเปน็ เจา้ ภาพเอเปค 4 5 ความรว่ มมือด้านการคลัง 6 7 ความร่วมมอื ดา้ นการเกษตร

ความรว่ มมือด้านสาธารณสขุ

บรรณานกุ รม

1

ความหมายของ APEC

ความหมายของ "APEC" "ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเซีย-แปซิฟิค" หรือ "เอเปค" (ASIA-PACIFIC Economic Cooperation: APEC) จัดตง้ั ขึ้นตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2532 เพื่อตอบสนองการพงึ่ พาอาศัยกันทางเศรษฐกจิ ที่ ขยายตัวมากขึ้นในหมู่ประเทศแถบเอเซีย-แปซิฟิค โดยเริ่มต้นจากกลุ่มประเทศที่อยู่ริมมหาสมุทรแปซฟิ ิค ไม่ก่ี ประเทศรวมตัวกนั อยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ (Informal Dialogue Group) จนกลายเป็นเวทหี ลกั ในการสง่ เสรมิ ความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจ และการค้าเสรีอย่างจริงจังในที่สุด ทั้งนี้ โดยไม่ยุ่งเกี่ยวกับการเมือง จุดมุ่งหมายหลักของ เอเปค คือ เสริมสร้างพลังทางเศรษฐกิจ ในภูมิภาคเอเซีย-แปซิฟิคให้ก้าวไปข้างหน้า และสร้างจิตสำนึก ที่จะ รวมกันเป็นรูปกลุ่มความร่วมมือขึ้น โดยจะไม่จัดตั้งเป็นรูปแบบองค์กรถาวร เหมือนกลุ่มประเทศอาเซียน หรือ สหภาพยุโรป สมาชิกเอเปคทั้งหมด ขณะนี้มีผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ รวมกันทั้งสิ้นกว่า 19,292 พันล้าน เหรียญสหรฐั (US$ billion) หรือ 47.5% ของการคา้ โลกในปี พ.ศ. 2544

ที่มา : กองประมงต่างประเทศ

2

ความเป็นมาและวตั ถุประสงค์

กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชียแปซิฟิก หรือ เอเปค เป็นการรวมตัวระหว่างเขตเศรษฐกิจใน ภูมภิ าคเอเชียแปซิฟิก เพอ่ื ส่งเสรมิ ความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศในภูมิภาค และเปน็ เวทีสำหรับการ แลกเปลี่ยนข้อคดิ เห็นเกี่ยวกบั ประเด็นทางเศรษฐกจิ ที่ประเทศสมาชิกสนใจการดำเนนิ งานยึดหลกั ฉันทามติ ความ เท่าเทียมกัน และผลประโยชน์ร่วมกนั ของประเทศสมาชิก โดยก่อต้งั ขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ณ กรุง แคนเบอรร์ า ประเทศออสเตรเลีย

ขณะนี้เอเปคมีสมาชิกรวม 21 เขตเศรษฐกิจ ได้แก่ ออสเตรเลีย แคนาดา ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จีน ฮ่องกง นวิ ซแี ลนด์ สหรฐั อเมริกา บรไู น อินโดนเี ซยี มาเลเซีย สงิ คโปร์ ฟิลิปปินส์ ไทย จนี ไทเป ชลิ ี เมก็ ซิโก ปาปัวนิวกินี เปรู รัสเซยี และเวยี ดนาม

วัตถุประสงค์ของความร่วมมือเอเปค เพื่อส่งเสริมระบบการค้าพหุภาคี สนับสนุนการขยายตัวทาง เศรษฐกิจของภูมิภาคและของโลก ดว้ ยการลดอุปสรรคและอำนวยความสะดวกทางด้านการคา้ การคา้ บริการ และ การลงทุนระหว่างประเทศสมาชิก โดยให้สอดคล้องกบั กฎเกณฑ์ขององค์กรการค้าโลก นอกจานี้ยังสง่ เสริมความ ร่วมมือทางด้านการเงินการคลงั ในการแกไ้ ขวกิ ฤตเศรษฐกจิ

ท่มี า : Smart sme columnist

3

ประโยชน์ของไทยในการเปน็ เจา้ ภาพเอเปค

การเป็นเจา้ ภาพเอเปคของไทยในครง้ั นี้เป็นโอกาสสำคญั ทไ่ี ทยจะส่งเสรมิ นโยบายและทศิ ทางการพัฒนาท่ี จะเปน็ ประโยชน์ต่อทัง้ ไทยและภูมิภาคเอเชียแปซฟิ กิ ในหลายมิติ โดยไทยจะไดป้ ระโยชน์จากการฟ้ืนฟเู ศรษฐกจิ ใน ยุคหลงั โควิด ๑๙ ให้เตบิ โตอย่างยงั่ ยนื ไดย้ กระดบั มาตรฐานทางเศรษฐกจิ ใหเ้ ปน็ สากล เสริมสร้างความสามารถใน การแข่งขันให้กับภาครัฐและภาคเอกชนผ่านการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์จากเขตเศรษฐกิจอื่น ๆ รวมถึงการถา่ ยทอดเทคโนโลยี นอกจากนี้ การเป็นเจ้าภาพ การประชุมของไทยท่ามกลางบรรยากาศการฟื้นตัว จากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดโควิด 19 ยงั เป็นการกระตุน้ เศรษฐกจิ ในประเทศ โดยเฉพาะภาคการเดินทางและ ท่องเทยี่ ว เปน็ การฟน้ื ฟูการเดินทางและทำธุรกจิ แบบพบหน้า และยังเป็นโอกาสใหไ้ ทยได้แสดงความพรอ้ มว่าไทย สามารถปรับตวั และอยู่ร่วมกับสถานการณ์โควิดได้โดย ยังสามารถขบั เคลื่อนเศรษฐกิจไปไดพ้ ร้อมกัน ประเด็นท่ี ไทยมงุ่ ผลกั ดนั ให้เปน็ รปู ธรรมและเป็นผลลัพธ์ในการเปน็ เจา้ ภาพการประชุมครั้งนี้ ไดแ้ ก่

(1) การสง่ เสรมิ การคา้ การลงทนุ เสรีและการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ในภูมภิ าค ทจี่ ะตอ้ งย่ังยืนและสมดุล และเปน็ ประโยชนต์ ่อทกุ ภาคสว่ น

(2) ส่งเสริมการเดินทางที่สะดวกและปลอดภัย ผ่านการจัดตั้งกลไก APEC Safe Passage Taskforce เพ่อื หารือแนวทางทส่ี ่งเสรมิ การเดนิ ทางที่สะดวกและปลอดภัย

(3) การส่งเสริมการเจรญิ เติบโตทีย่ ่งั ยนื และครอบคลมุ ในเอเปค ด้วยการจดั ทำเอกสารผลลัพธร์ ะดับผู้นำ เพอ่ื เร่งการพฒั นาตามแผนงานของเอเปคไปสกู่ ารเตบิ โตอยา่ งเข้มแข็ง ยืดหยุ่น ย่ังยืน ครอบคลุม และสมดุลในยุค หลัง โควดิ 19 ตามแนวคดิ BCG Economy

ที่มา : APEC 2022

4

ความร่วมมือดา้ นการคลงั

ไทยจะสง่ เสรมิ การเข้าถงึ แหล่งทนุ เพือ่ การพัฒนาทย่ี ่ังยืน (Sustainable Finance) เพ่ือให้ สอดรับกับการ ผลักดัน BCG Economy ซึ่งเป็นวาระ แห่งชาติ และภารกิจของรัฐบาลในการจัดหาแหล่งเงินทุนสำหรับทุกภาค ส่วน ใหส้ ามารถเขา้ ถงึ แหล่งเงินทุนไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและเพียงพอ โดยเฉพาะการจัดหาแหลง่ เงินทนุ ผา่ นตลาดทุน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศนอกจากน้ี ยังส่งเสริมการเป็นสังคมดิจิทัล (Digitalization for Digital Economy) เพื่อการพฒั นาทย่ี ่งั ยนื โดยนำเทคโนโลยีมาเปน็ เคร่อื งมอื สำคญั ในการดำเนินนโยบายในหลาย ๆ ด้าน โดยเฉพาะการดำเนนิ มาตรการตา่ ง ๆ ของภาครัฐ การเชอ่ื มโยงการชำระเงิน ในภาคการเงิน การระดมทุนและการ เข้าถึงแหล่งเงนิ ทุนของผู้ประกอบการในตลาดทุน เพื่อมุ่งสู่การเป็นสังคมเศรษฐกิจดิจิทัลร่วมกันในภูมิภาค ทั้งนี้ ไทยจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับปลัดกระทรวงการคลังและรองผู้ว่าการธนาคารกลางเอเปค ( APEC Finance and Central Bank Deputies’ Meeting: APEC FCBDM) ระหว่างวันที่ 16-17 มีนาคม 2565 การ ประชุมเจา้ หนา้ ทอ่ี าวุโสดา้ นการคลงั เอเปค (APEC Senior Finance Officials’ Meeting: APEC SFOM) ระหว่าง วนั ท่ี 23-24 มิถุนายน ๒๕๖๕ และการประชุมระดับรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการคลงั (APEC Finance Ministers’ Meeting: APEC FMM) ระหวา่ งวนั ที่ 19-21 ตุลาคม 2565

แถลงขา่ วกระทรวงการคลงั ท่ีมา : สำนกั งานเศรษฐกจิ การคลัง กระทรวงการคลงั

5

ความรว่ มมือด้านการเกษตร

ไทยจะผลักดนั แนวคิดเศรษฐกจิ BCG ควบคู่กับนโยบาย “3S” ได้แก่ Safety ความปลอดภัยของอาหาร Security ความมั่นคงของภาคการเกษตรและอาหาร และ Sustainability ความยั่งยืนของภาคการเกษตร เพื่อ สง่ เสรมิ ความมั่นคงอาหารในภูมภิ าคเอเปค นอกจากนี้ ไทยในฐานะประธานหุ้นส่วนเชงิ นโยบายความม่ันคงอาหาร เอเปค (APEC Policy Partnership on Food Security: PPFS) จะมีบทบาทสำคัญในการจัดทำแผนปฏิบัติการ ของแผนงานความมั่นคงอาหารเอเปคมุ่งสู่ปี ค.ศ. 2030 (APEC Food Security Roadmap Towards 2030 Implementation Plan) เพือ่ ให้เขตเศรษฐกจิ สมาชิกใชเ้ ป็นแนวทางในการดำเนินงานดา้ นความมั่นคงอาหาร ใน ภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิกร่วมกันต่อไป ทั้งนี้ ไทยจะเปน็ เจ้าภาพจัดการประชมุ รัฐมนตรคี วามม่ันคงอาหารเอเปค (APEC Ministerial Meeting on Food Security) ในช่วงการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโส เอเปค ครั้งที่ 3 ระหว่าง วันที่ 7 – 21 สิงหาคม 2565 โดยการประชุมดังกล่าวจะเป็นการพบกันของรัฐมนตรีที่รับผิดชอบด้านการเกษตร และอาหารของเขตเศรษฐกจิ เอเปค เพอ่ื หารือประเดน็ สำคัญในการเสรมิ สร้างความมนั่ คงอาหารในภูมิภาคอย่าง ย่งั ยืน

ทีม่ า : กรมวิชาการเกษตร

6

ความร่วมมือดา้ นสาธารณสขุ

ไทยเสนอให้หวั ข้อหลัก (Theme) ของการประชุมคณะทำงานด้านสขุ ภาพของเอเปค (APEC Health Working Group: HWG) ในปี 2565 คอื “Open to Partnership. Connect with the World. Balance Health and the Economy.” โดยจะมผี ลลัพธ์ทเ่ี ป็นรปู ธรรม ไดแ้ ก่ (1) ดา้ น Open to Partnership จะขยายการสรา้ งสมั พันธก์ ับองค์การระหว่างประเทศอนื่ ๆ เพ่อื พฒั นาความ รว่ มมอื ในประเด็นดา้ นการแพทย์ และสาธารณสุข (2) ดา้ น Connect with the World จะจัดทำเว็บไซต์รวบรวมข้อมลู เกย่ี วกบั ขอ้ จำกดั การเดนิ ทางขา้ มพรมแดนใน ภูมภิ าคเอเปคและหลกั ฐานการไดร้ บั วัคซนี และการพฒั นามาตรฐานการใช้งานรว่ มของระบบแสดงหลกั ฐานการ ไดร้ บั วคั ซนี โควดิ -19 (Interoperability of Vaccination Certificates) ระหวา่ งเขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค (3) ดา้ น Balance Health and Economy จะจัดทำแถลงการณร์ ว่ มของการประชมุ 12th High-Level Meeting on Health and the Economy ซงึ่ ไทยจะผลกั ดนั แนวคดิ เศรษฐกิจ BCG ควบคกู่ บั การส่งเสรมิ ประเดน็ การเพิม่ การลงทุนด้านความมน่ั คงทางสุขภาพ (health security) และการนำเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาใช้ทางการแพทยแ์ ละ สาธารณสุข (digital health) เพอ่ื ลดผลกระทบของภยั คุกคามทางสขุ ภาพตอ่ เศรษฐกจิ ท้งั นี้ ไทยจะเปน็ เจ้าภาพ จดั การประชุม 12th High-Level Meeting on Health and the Economy ในช่วงการประชุมเจ้าหน้าทอ่ี าวุโส เอเปค ครง้ั ท่ี 3 ในชว่ งเดอื นสิงหาคม 2565 โดยการประชมุ ดังกลา่ วจะเป็นการพบปะระหวา่ งเขตเศรษฐกจิ ภาค การศึกษา และภาคเอกชนทเ่ี กี่ยวข้อง เพอื่ หารือประเด็นสำคัญดา้ นการแพทย์และสาธารณสุข

ท่ีมา : กรุงเทพธุรกจิ

7

บรรณานุกรม

Guru. (2556). ความหมายของ APEC. สืบค้น 3 กันยายน 2565. จาก https://guru.sanook.com/4386/

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (ม.ป.ป.). ความเปน็ มาและวัตถปุ ระสงค์. สบื คน้ 3 กนั ยายน 2565. จาก https://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/

Apec 2022 Thailand. (2565). ประโยชน์ของไทยในการเป็นเจา้ ภาพเอเปค. สบื คน้ 3 กันยายน 2565. จาก https://www.apec2022.go.th/th/what-is-apec-th/

Praewpan Sirilurt. (2565). ความรว่ มมอื ดา้ นการคลัง. สบื ค้น 3 กันยายน 2565. จาก https://www.sdgmove.com/

Apec 2022 Thailand. (2565). ความร่วมมือดา้ นการเกษตร. สบื คน้ 3 กนั ยายน 2565. จาก https://www.apec2022.go.th/th/what-is-apec-th/

Apec 2022 Thailand. (2565). ความร่วมมือด้านสาธารณสขุ . สบื ค้น 3 กนั ยายน 2565. จาก https://www.apec2022.go.th/th/what-is-apec-th/

APEC มีความสำคัญทางเศรษฐกิจอย่างไร

APEC (Asia-Pacific Economic Cooperation) เป็นเวทีการประชุมความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ที่มีความสำคัญระดับโลก มีเป้าหมายหลักเพื่อส่งเสริมการเปิดเสรีการค้าการลงทุน ความร่วมมือในด้านมิติสังคมและการพัฒนาด้านอื่น ๆ ซึ่งในปี ค.ศ. 2022 นี้ ประเทศไทยได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมเอเปคตลอดทั้งปี รวม ...

ประชุมเอเปคครั้งที่เท่าไร 2565

ปิดฉากเป็นที่เรียบร้อยสำหรับการประชุมผู้นำเขตเศรษฐกิจเอเปก (APEC Economic Leaders' Meeting) หรือการประชุมเอเปก ครั้งที่ 28 ณ ประเทศไทย ซึ่งตลอดระยะเวลา 6 วัน คือระหว่างวันที่ 14 – 19 พฤศจิกายน 2565 ปรากฏความเคลื่อนไหวทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชนที่น่าสนใจมากมาย SDG News ฉบับนี้จึงคัดสรร 4 ประเด็น ...

APEC เป็นการรวมกลุ่มเศรษฐกิจลักษณะใด

ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชียแปซิฟิก หรือ เอเปค (Asia-Pacific Economic Cooperation : APEC) คือเวทีความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2532 โดยมีเป้าหมายหลักคือการส่งเสริมการเปิดเสรีการค้าการลงทุน รวมถึงความร่วมมือในด้านมิติสังคมและการพัฒนาเพื่อนำไปสู่การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ ...

APEC มีกี่เขตเศรษฐกิจ

ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก.