ประกาศ ผ บ ญชาการตำรวจแห งชาต ตาม พรบ.จราจร ม.๔๓ ทว

ราชการ รถทใี่ ชโ้ ฆษณาสนิ คา้ หรอื มหรสพดงั กลา่ ว ในวรรคหนึ่ง ถ้าเข้าขบวนแห่ที่รับอนุญาตแล้ว และในการอนญุ าตนน้ั ไดร้ ะบรุ ถทว่ี า่ นไี้ วด้ ว้ ยแลว้ รถน้นั ไม่จำ� ตอ้ งได้รบั อนุญาต (ฝ่าฝืนมาตรา ๑๓๓ มีโทษปรับไม่เกิน ๕๐๐ บาท ตามมาตรา ๑๔๘)

มาตรา ๑๓๔36 ห้ามมิให้ผู้ใดแข่งรถใน ทาง เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจาก หวั หน้าเจ้าพนักงานจราจร* หา้ มมใิ ห้ผู้ใดจัด สนบั สนนุ หรอื สง่ เสรมิ ให้มีการแข่งรถในทาง เว้นแต่จะได้รับอนุญาต เปน็ หนังสอื จากหวั หนา้ เจ้าพนักงานจราจร*

36 มาตรา ๑๓๔ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั จิ ราจรทาง บก (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๕

1๑5๕0๐ พระราชบญั ญตั ิจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ลา่ สดุ )

(ฝา่ ฝนื มาตรา ๑๓๔ มโี ทษจำ� คกุ ไมเ่ กนิ ๓ เดอื น หรือปรับต้งั แต่ ๒,๐๐๐ – ๑๐,๐๐๐ บาท หรอื ทงั้ จำ� ทง้ั ปรบั และใหศ้ าลสง่ั พกั ใชใ้ บอนญุ าต ขบั ขข่ี องผนู้ นั้ มกี ำ� หนดไมน่ อ้ ยกวา่ ๑ เดอื น หรอื เพิกถอนใบอนุญาตขับข่ี ตามมาตรา ๑๖๐ ทว ิ ไมส่ ามารถเปรียบเทยี บปรับได)้

พระราชบญั ญัตจิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ล่าสุด) ๑1๕5๑1

ลักษณะ ๑๘ อ�ำนาจของเจ้าพนกั งานจราจร*

มาตรา ๑๓๕ เพอ่ื ความปลอดภยั หรอื ความสะดวกในการจราจร หัวหน้าเจ้าพนักงาน จราจร*มอี �ำนาจกำ� หนดใหบ้ รเิ วณหรอื พ้ืนท่ีใดท่ี เจ้าของที่ดินได้เปิดให้ประชาชนใช้ในการจราจร เป็นทางตามพระราชบญั ญตั ิน้ี

มาตรา ๑๓๖ ให้ผู้บัญชาการต�ำรวจ แหง่ ชาตมิ อี ำ� นาจแตง่ ตง้ั ผซู้ ง่ึ มคี ณุ สมบตั ติ ามทจ่ี ะ ก�ำหนดและผ่านการอบรมตามหลักสูตรอาสา จราจร เพื่อให้ท�ำหน้าท่ีช่วยเหลือการปฏิบัติ หนา้ ที่ของเจ้าพนกั งานจราจร* คุณสมบัติของผู้ท่ีจะได้รับการอบรม รายละเอยี ดเกย่ี วกบั การฝกึ อบรมหลกั สตู รอาสา จราจร และหน้าที่ของอาสาจราจร ตลอดจน

1๑5๕2๒ พระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับล่าสุด)

เคร่ืองแบบ เคร่ืองหมาย ให้เป็นไปตามท่ี ผูบ้ ัญชาการตำ� รวจแหง่ ชาติกำ� หนด

มาตรา ๑๓๗ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทที่ ไี่ ด้ รับมอบหมายของอาสาจราจรตามพระราช บัญญัติน้ี ให้อาสาจราจรเป็นเจ้าพนักงานตาม ประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา ๑๓๘ ในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉิน หรืออุบัติเหตุเกิดขึ้น ท�ำให้ไม่ปลอดภัย หรือไม่ สะดวกในการจราจรในอาณาบรเิ วณใด หวั หนา้ เจ้าพนักงานจราจร*หรือเจ้าพนักงานจราจร*มี อ�ำนาจด�ำเนินการได้ตามท่ีเห็นสมควรและ จ�ำเป็นเก่ียวกับการจราจรในอาณาบริเวณนั้น เพื่อให้เกิดความปลอดภัยหรือความสะดวกใน การจราจรดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) หา้ มรถทกุ ชนดิ หรอื บางชนดิ หรอื คน

พระราชบญั ญตั ิจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับลา่ สดุ ) ๑1๕5๓3

เดนิ เท้าเดินในทางสายใดหรอื เฉพาะทางตอนใด (๒) ห้ามหยุดหรือจอดรถในทางสายใด หรือเฉพาะทางตอนใด (๓) ห้ามเลี้ยวรถ กลับรถ หรอื ถอยหลงั รถ ในทางสายใดหรือเฉพาะทางตอนใด (๔) ก�ำหนดทางสายใดหรือเฉพาะทาง ตอนใดให้รถเดนิ ได้ทางเดยี ว ทง้ั น้ี ช่ัวระยะเวลาเทา่ ทีจ่ �ำเปน็ (ฝ่าฝืนมาตรา ๑๓๘ มีโทษปรับไม่เกิน ๑,๐๐๐ บาท ตามมาตรา ๑๕๔(๑) )

มาตรา ๑๓๙ ในทางสายใดหรอื เฉพาะ ทางตอนใดทห่ี วั หนา้ เจา้ พนกั งานจราจร*เหน็ วา่ ถา้ ไดอ้ อกประกาศขอ้ บงั คบั หรอื ระเบยี บเกยี่ วกบั การ จราจรแลว้ จะเปน็ การปลอดภยั และสะดวกในการ จราจร ให้หัวหน้าเจ้าพนักงานจราจร*มีอ�ำนาจ ออกประกาศขอ้ บงั คบั หรอื ระเบยี บดงั ตอ่ ไปนี้

1๑5๕4๔ พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับลา่ สุด)

(๑) หา้ มรถทุกชนดิ หรือบางชนดิ เดิน (๒) ห้ามหยุดหรอื จอด (๓) หา้ มเลย้ี วรถ กลบั รถ หรอื ถอยหลงั รถ (๔) กำ� หนดใหร้ ถเดนิ ไดท้ างเดยี ว (๕) ก�ำหนดระยะเวลาจอดรถในทาง แคบหรอื ทค่ี บั ขนั (๖) กำ� หนดอตั ราความเรว็ ของรถในทาง ภายในอตั ราทกี่ �ำหนดในกฎกระทรวง (๗) กำ� หนดชอ่ งหรอื แนวทางเดนิ รถขนึ้ และลอ่ ง (๘) กำ� หนดทางเดนิ รถทางเอกและทาง เดินรถทางโท (๙) กำ� หนดการจอดรถหรอื ทจี่ อดพกั รถ (๑๐) ก�ำหนดระเบียบการใช้ทางหรือ ช่องเดินรถสำ� หรบั รถบางประเภท (๑๑) กำ� หนดระเบยี บเกย่ี วกบั การใชร้ ถ โรงเรียน

พระราชบญั ญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับลา่ สุด) ๑1๕5๕5

(๑๒) ก�ำหนดระเบียบเกี่ยวกับการ บรรทกุ คนโดยสารสำ� หรบั รถจักรยาน (๑๓) ควบคุมขบวนแห่หรือการชุมนุม สาธารณะ (๑๔) ควบคุมหรือห้ามเล้ียวรถในทาง ร่วมทางแยก (๑๕) ขดี เสน้ หรอื ทำ� เครอ่ื งหมายจราจร บนผิวทาง หรือติดตั้งสัญญาณจราจร หรือ เคร่ืองหมายจราจร (๑๖) กำ� หนดระยะทางตอนใดใหข้ บั รถ ล�้ำเข้าไปในเส้นกึ่งกลางของทางท่ีหัวหน้า เจ้าพนกั งานจราจร*ก�ำหนดไวไ้ ด้ (๑๗) กำ� หนดระเบยี บเกยี่ วกบั การจอด รถท่ชี �ำรดุ หักพัง ตลอดจนรถทซี่ ่อมแซมในทาง (๑๘) ก�ำหนดระเบียบการข้ามทางของ คนเดนิ เท้าบนทางท่ไี ม่มีทางข้าม (๑๙) ก�ำหนดการใช้โคมไฟ

๑15๕6๖ พระราชบัญญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ล่าสุด)

(๒๐) ก�ำหนดการใช้เสียงสัญญาณ (๒๑) ก�ำหนดระเบียบการอนุญาตและ การใช้รถท่ีมีล้อหรือส่วนที่สัมผัสกับผิวทางไม่ใช่ ยาง (ฝ่าฝืนมาตรา ๑๓๙ มโี ทษปรับครั้งละไม่ เกนิ ๑,๐๐๐ บาท ตามมาตรา ๑๕๔(๒) )

มาตรา ๑๔๐37 เ มื่ อ ป ร า ก ฏ แ ก ่ เจ้าพนักงานจราจร ไม่ว่าพบด้วยตนเอง หรือ โดยการใช้เครื่องอุปกรณ์ หรือโดยวิธีการอื่นใด วา่ ผขู้ บั ขผ่ี ใู้ ดฝา่ ฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามบทบญั ญตั ิ แห่งพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอ่ืนอัน เก่ียวกับรถหรือการใช้ทาง ท่ีเป็นความผิดที่มี โทษปรบั สถานเดยี ว หรอื มโี ทษจำ� คกุ ไมเ่ กนิ หนง่ึ

37 มาตรา ๑๔๐ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั จิ ราจรทาง บก (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

พระราชบญั ญัตจิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ลา่ สุด) ๑1๕5๗7

เดือนและมีโทษปรับ เจ้าพนักงานจราจรจะว่า กล่าวตักเตือนหรือออกใบสั่งให้ผู้ขับข่ีผู้น้ันช�ำระ ค่าปรับตามที่เปรียบเทียบก็ได้ ในกรณเี จา้ พนกั งานจราจรทอี่ อกใบสง่ั ไม่ พบตัวผขู้ ับข่ี ใหต้ ิด ผูก หรือแสดงใบส่งั ไวท้ ี่รถท่ี ผขู้ บั ข่สี ามารถเหน็ ได้งา่ ย หากไม่สามารถติด ผกู หรือแสดงใบสั่งไว้ท่ีรถได้ไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้ส่ง ใบสงั่ พรอ้ มดว้ ยพยานหลกั ฐานโดยทางไปรษณยี ์ ลงทะเบยี นตอบรบั ไปยงั ภมู ลิ ำ� เนาของเจา้ ของรถ หรือผู้ครอบครองรถเพื่อให้ช�ำระค่าปรับภายใน ระยะเวลาท่ีก�ำหนดในใบสั่งน้ัน ท้ังน้ี ตาม ระเบียบท่ีผบู้ ัญชาการต�ำรวจแห่งชาตกิ �ำหนด ให้น�ำความในวรรคสองมาใช้บังคับกับ กรณที เี่ จา้ พนกั งานจราจรพบการกระทำ� ความผดิ ตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่นอัน เกี่ยวกับรถหรือการใช้ทาง แต่ไม่อาจทราบตัวผู้ ขับขี่ด้วยโดยอนุโลม

๑15๕8๘ พระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับลา่ สุด)

เกณฑ์การก�ำหนดจ�ำนวนค่าปรับตามท่ี เปรยี บเทยี บและแบบของใบสงั่ ตามวรรคหนง่ึ ให้ เปน็ ไปตามทผ่ี บู้ ญั ชาการตำ� รวจแหง่ ชาตปิ ระกาศ ก�ำหนด

หมายเหตุ: มาตรา ๑๔๐ มกี ารแกไ้ ขเพ่มิ เติมหลกั การจากกฎหมายเดิม ดงั น้ี ๑) กำ� หนดใหเ้ จา้ พนกั งานจราจรสามารถ ออกใบส่ังได้เมื่อพบด้วยตนเอง หรือโดยการใช้ อุปกรณ์ หรอื โดยวิธกี ารอ่ืนใด ซงึ่ คำ� ว่า โดยวิธี การอ่นื ใด เปน็ ข้อความที่เพิม่ เติมเข้ามา เพ่ือให้ เจา้ พนกั งานจราจรสามารถออกใบสง่ั ไดน้ อกจาก การพบความผิดซึ่งหน้ากับการใช้อุปกรณ์ ตรวจจับ ตัวอย่างเช่น กรณีพบการกระท�ำผิด ผา่ นสอ่ื อาจสามารถออกใบสง่ั ได้ เพราะเปน็ การ พบโดยวธิ กี ารอน่ื ใด วา่ มกี ารฝา่ ฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ิ ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติน้ีหรือตาม

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับล่าสดุ ) ๑1๕5๙9

กฎหมายอน่ื อันเก่ยี วกับรถหรือการใชท้ าง ๒) ก�ำหนดความผิดที่จะมีการออก ใบสั่งให้ชัดเจนข้ึน ได้แก่ บรรดาความผิดท่ีมี โทษปรับสถานเดียว หรือมีโทษจ�ำคุกไม่เกิน หนึ่งเดือนและมีโทษปรับ ตามกฎหมายจราจร ห รื อ ก ฎ ห ม า ย เ กี่ ย ว กั บ ร ถ แ ล ะ ก า ร ใ ช ้ ท า ง เจา้ พนกั งานจราจรสามารถออกใบสง่ั ได้ (หรอื จะ วา่ กลา่ วตักเตือนกไ็ ด)้ ๓) ยกเลิกอ�ำนาจของเจ้าพนักงาน จราจรในการเรยี กเกบ็ ใบอนญุ าตขบั ขขี่ องผขู้ บั ขี่ ในขณะทมี่ กี ารออกใบส่งั ๔) ยกเลิกหลักการเรื่องใบรับแทนใบ อนญุ าตขบั ขี่ นอกจากนั้น มาตรานี้ ได้บญั ญตั ขิ ้นั ตอน ของการออกใบสั่งกรณีไม่พบตัวผู้ขับขี่ ให้เป็น ล�ำดับและมคี วามชดั เจนขนึ้ โดยบัญญตั ิแยกข้นั ตอนการออกใบสง่ั กรณไี มพ่ บตวั ผขู้ บั ขมี่ าเปน็ อกี

๑16๖0๐ พระราชบญั ญตั ิจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ลา่ สุด)

หน่ึงวรรคตา่ งหาก รวมท้งั การออกใบส่ังกรณีท่ี ไมอ่ าจทราบตวั ผู้กระท�ำผิดดว้ ย นอกจากน้ัน ยังให้อ�ำนาจผู้บัญชาการ ตำ� รวจแหง่ ชาติ ออกเกณฑก์ ารกำ� หนดจำ� นวนคา่ ปรับตามที่เปรียบเทียบเพื่อให้เป็นมาตรฐาน กลางไวด้ ว้ ย มาตรา ๑๔๐/๑38 เม่ือเจ้าพนักงาน จราจรได้ติด ผูก หรือแสดงใบสั่งไว้ท่ีรถหรือส่ง ใบส่ังทางไปรษณีย์ตามมาตรา ๑๔๐ วรรคสอง และวรรคสาม แล้ว ให้ถือว่าเจ้าของรถหรือ ผูค้ รอบครองรถได้รบั ใบส่ังเม่ือพน้ กำ� หนดสบิ ห้า วันนับแต่วันที่ได้ติด ผูก หรือแสดงใบส่ังไว้ท่ีรถ หรือส่งใบสั่งทางไปรษณีย์ดังกล่าว เว้นแต่จะมี

38 มาตรา ๑๔๐/๑ เพ่ิมโดยพระราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

พระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับลา่ สุด) ๑1๖6๑1

การพิสูจน์ได้ว่าไม่มีการได้รับหรือได้รับหลังจาก วันน้ัน เม่ือเจ้าของรถหรือผู้ครอบครองรถได้รับ ใบสั่งดังกล่าวแล้ว ให้สันนิษฐานว่าเจ้าของรถ หรือผู้ครอบครองรถน้ันเป็นผู้กระท�ำความผิด ตามทรี่ ะบใุ นใบสง่ั เวน้ แตเ่ จา้ ของรถหรอื ผคู้ รอบ ครองรถจะได้แจ้งต่อพนักงานสอบสวนภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับใบส่ังว่าผู้อื่นเป็น ผขู้ บั ขี่ และผู้น้นั ยอมรับว่าตนเปน็ ผ้ขู ับขี่ หรือใน กรณีที่ไม่มีผู้ใดยอมรับว่าเป็นผู้ขับข่ี เจ้าของรถ หรือผู้ครอบครองรถซ่ึงไม่ใช่นิติบุคคลจะต้อง แสดงหลักฐานให้พนักงานสอบสวนเชื่อได้ว่า ตนเองมไิ ด้เปน็ ผูข้ ับข่นี ้นั หมายเหตุ: มาตรา ๑๔๐/๑ เป็นการ บญั ญตั แิ ยกรายละเอียดของมาตรา ๑๔๐ วรรค ห้า ของกฎหมายเดิมซ่ึงเป็นเร่ืองบทสันนิษฐาน ของเจ้าของรถหรือผู้ครอบครองรถท่ีได้รับใบส่ัง

1๑6๖2๒ พระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ลา่ สดุ )

(ซง่ึ เปน็ หลกั การเดมิ ทมี่ อี ยแู่ ลว้ ) มาบญั ญตั ไิ วเ้ ปน็ มาตราใหม่ รวมท้ังบัญญัติรายละเอียดเพิ่มเติม ในกรณที เ่ี จา้ ของรถหรอื ผคู้ รอบครองรถ ตอ้ งการ พิสูจน์ว่าไม่ได้เป็นผู้ขับข่ีที่กระท�ำผิดตามใบสั่ง นั้น ต่อพนักงานสอบสวน โดยก�ำหนดเงื่อนไข และระยะเวลาไวด้ ้วย สาเหตทุ ต่ี อ้ งกำ� หนดบทสนั นษิ ฐาน เพราะ การออกใบส่งั ในปจั จุบนั ด�ำเนินการโดยใชร้ ะบบ เทคโนโลยีมากข้ึน เช่น ใบส่ังตรวจจับความเร็ว ซง่ึ จะจบั ภาพรถทก่ี ระทำ� ผดิ แตจ่ ะทราบแคเ่ พยี ง ว่ารถคันใด (ทะเบียนหมายเลขใด) ทีก่ ระทำ� ผิด แต่ไม่สามารถระบุได้ว่าผู้ขับขี่ในขณะนั้นคือผู้ใด และเน่ืองจากรถเป็นทรัพย์อย่างหนึ่ง และเป็น ยานพาหนะที่มีระบบทะเบียนสาธารณะ การมี รถในครอบครอง (ผ่านหลักฐานทางทะเบียน) วิญญูชนโดยท่ัวไปย่อมเห็นได้ว่า บุคคลท่ีมีชื่อ เปน็ เจา้ ของหรอื ผคู้ รอบครองรถทางทะเบยี นนน้ั

พระราชบัญญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับลา่ สุด) ๑1๖6๓3

ยอ่ มเปน็ บคุ คลผใู้ ช้รถน่ันเอง (ผมู้ ีช่อื เป็นเจา้ ของ ทรพั ย์ ยอ่ มเป็นผูใ้ ชท้ รัพยน์ น้ั ) ดงั นนั้ กฎหมาย จึงสันนิษฐานว่า ผู้มีช่ือเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบ ครองรถทางทะเบียนจึงเป็นผู้ขับข่ีรถในขณะที่ ตรวจพบการกระทำ� ผดิ แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามมาตรา นเี้ ปน็ เพยี งบทสนั นษิ ฐาน ไมใ่ ชก่ ารกำ� หนดความ ผดิ เดด็ ขาด ดงั น้ัน หากบุคคลทม่ี ชี ื่อเป็นเจา้ ของ หรอื ผคู้ รอบครองรถทางทะเบยี น เหน็ วา่ ตนไมไ่ ด้ เปน็ ผขู้ บั ขที่ ก่ี ระทำ� ผดิ ยอ่ มเปน็ หนา้ ทข่ี องบคุ คล น้ันทีจ่ ะต้องมาแจง้ ต่อพนักงานสอบสวนวา่ ใคร คือผู้ขับขี่ท่ีได้กระท�ำผิดตามใบส่ัง และผู้ขับขี่ท่ี ถูกแจ้งชื่อน้ันจะต้องรับด้วยว่าเป็นผู้ขับข่ีที่ กระท�ำผิดจริง เจ้าของหรือผู้ครอบครองรถทาง ทะเบยี นจงึ จะพน้ จากขอ้ สนั นษิ ฐาน เวน้ แตเ่ ปน็ กรณที เ่ี จา้ ของหรอื ผคู้ รอบครองรถไมร่ วู้ า่ ใครเปน็ ผู้ขบั ข่จี รงิ ๆ กรณีเชน่ นี้ ก็ต้องแสดงหลักฐานให้ พนกั งานสอบสวนเชอื่ ไดว้ า่ ตนเองมไิ ดเ้ ปน็ ผขู้ บั ข่ี

๑16๖4๔ พระราชบัญญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับล่าสุด)

นน้ั จงึ จะพ้นจากข้อสันนษิ ฐาน (เช่น รถเพิ่งหาย ไป ต้องแสดงหลักฐานว่าได้แจ้งความรถหายไว้ แลว้ เปน็ ต้น) มาตรา ๑๔๐/๑ นี้ ใช้บังคับกรณีท่ี เจ้าของรถหรือผู้ครอบครองรถเป็นบุคคล ธรรมดา ไมใ่ ช่นติ ิบคุ คล หากเป็นกรณที ีเ่ จา้ ของ รถและผู้ครอบครองรถเป็นนิติบุคคล จะต้องใช้ มาตรา ๑๖๐ จตั วา ในการดำ� เนนิ การแทน มาตรา ๑๔๐/๒39 ในกรณที เี่ จา้ พนกั งาน จราจรไดว้ า่ กลา่ วตกั เตอื นหรอื ออกใบสงั่ ใหผ้ ขู้ บั ข่ี ผู้ใดตามมาตรา ๑๔๐ แล้ว หากเจ้าพนักงาน จราจรเห็นว่าผู้ขับข่ีผู้น้ันอยู่ในสภาพท่ีหากให้ ขับรถต่อไปอาจเป็นอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย

39 มาตรา ๑๔๐/๒ เพ่ิมโดยพระราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบบั ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

พระราชบญั ญตั ิจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ลา่ สุด) ๑1๖6๕5

หรือทรัพย์สินของตนเองหรือผู้อ่ืน ให้ เจ้าพนักงานจราจรมีอ�ำนาจยึดใบอนุญาตขับข่ี ของผขู้ บั ขดี่ งั กลา่ ว หรอื บนั ทกึ การยดึ ใบอนญุ าต ขับข่ีด้วยวิธีการทางข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ระงับการใช้รถเป็นการชั่วคราวเพื่อมิให้ผู้นั้น ขบั รถ และใหเ้ จา้ พนกั งานจราจรคนื ใบอนญุ าตขบั ข่ี หรอื ยกเลกิ การบนั ทกึ การยดึ ใบอนญุ าตขบั ขดี่ ว้ ย วิธีการทางข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ หรือยอมให้ ผู้ขับขี่ขับรถได้เมื่อผู้ขับขี่น้ันอยู่ในสภาพท่ี สามารถขับรถต่อไปได้หรือเมื่อเจ้าพนักงาน จราจรแน่ใจว่าผู้ขับข่ีจะไม่ขับรถในขณะท่ีอยู่ใน สภาพดงั กลา่ ว ท้ังน้ี ตามระเบียบที่ผู้บญั ชาการ ต�ำรวจแห่งชาติและอธิบดีกรมการขนส่งทางบก ร่วมกันก�ำหนด (ขัดค�ำส่ังเจ้าพนักงานจราจรซ่ึงสั่งตาม มาตรา ๑๔๐/๒ มีโทษปรบั ครง้ั ละไมเ่ กิน ๕๐๐ บาท ตามมาตรา ๑๕๐ )

๑16๖6๖ พระราชบญั ญตั ิจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับลา่ สุด)

หมายเหตุ: มาตรา ๑๔๐/๒ เป็นการ บญั ญตั หิ ลกั การใหม ่ โดยเจตนารมณข์ องมาตรา น้ี มีท่ีมาจากข้อเท็จจริงในทางปฏิบัติของเจ้า พนกั งานจราจรทเ่ี มอ่ื พบการกระทำ� ผดิ ทส่ี ามารถ เปรียบเทียบปรับได้ตามกฎหมายจราจร เช่น ความผิดกรณีผู้ขับข่ีจักรยานยนต์ไม่สวมหมวก นิรภัย เมื่อเจ้าพนักงานจราจรได้พบการกระท�ำ ผิดและออกใบสั่งแก่ผู้ขับขี่น้ันแล้ว ผู้ขับข่ียังคง สามารถขับขี่ต่อไปได้ทั้งที่ยังคงไม่สวมหมวก นริ ภยั นัน้ เพราะตามกฎหมายเดมิ ให้อ�ำนาจเจา้ พนักงานจราจรเพียงแค่ออกใบส่ังเม่ือพบการ กระทำ� ผดิ ดงั กลา่ วเทา่ นนั้ ไมม่ อี ำ� นาจดำ� เนนิ การ อย่างอ่ืนใดกบั ผ้ขู ับขี่ดงั กลา่ วได้อกี ผู้ร่างกฎหมายจึงเห็นว่า เจ้าพนักงาน จราจร ซ่งึ เปน็ ผมู้ หี น้าทห่ี ลกั ในการควบคุมวินัย จราจรของผขู้ บั ขค่ี วรจะตอ้ งมอี ำ� นาจดำ� เนนิ การ กับผู้ขับข่ีที่มีสภาพการขับข่ีที่ไม่ปลอดภัย เพื่อ

พระราชบญั ญตั ิจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ลา่ สดุ ) ๑1๖6๗7

คมุ้ ครองความปลอดภยั ของตวั ผขู้ บั ขนี่ นั้ เองหรอื ของผู้อ่ืน อันอาจจะเกิดจากสภาพการขับข่ีของ ผู้ขบั ขนี่ นั้ ได้ ไมว่ ่าจะเป็นความปลอดภยั ตอ่ ชวี ิต รา่ งกาย หรือทรพั ยส์ นิ จึงไดก้ ำ� หนดหลกั การใน มาตรานี้เพมิ่ เตมิ โดยมมี าตรการ ไดแ้ ก่ การยดึ ใบอนุญาตขับข่ีเป็นการช่ัวคราว การบันทึกการ ยึ ด ใ บ อ นุ ญ า ต ขั บ ขี่ ด ้ ว ย วิ ธี ก า ร ท า ง ข ้ อ มู ล อิเล็กทรอนิกส์เป็นการช่ัวคราว หรือ การระงับ การใช้รถเป็นการชั่วคราว ซ่ึงท้ังสามมาตรการ ดงั กลา่ ว กเ็ พอื่ ไมใ่ หผ้ ขู้ บั ขท่ี มี่ สี ภาพการขบั ขท่ี ไี่ ม่ ปลอดภยั นน้ั ขบั รถตอ่ ไป แตผ่ ขู้ บั ขจ่ี ะตอ้ งดำ� เนนิ การให้สภาพที่ไม่ปลอดภัยนั้นหมดไปเสียก่อน จงึ จะขับรถต่อไปได้ เชน่ จากตวั อย่างกรณีผู้ขบั ขี่ จักรยานยนต์ไม่สวมหมวกนิรภัยข้างต้น ผู้ขับข่ี นัน้ จะตอ้ งหาหมวกนริ ภัยมาสวมใส่ จงึ จะขบั รถ ต่อไป และในกรณีท่ีถูกยึดใบอนุญาตขับข่ีไว้ เจา้ พนกั งานจราจรกจ็ ะคนื ใบอนญุ าตขบั ขใ่ี หก้ บั ผ้นู น้ั

1๑6๖8๘ พระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ล่าสดุ )

อยา่ งไรกต็ าม บทบญั ญตั ขิ องมาตรานเ้ี ปน็ บทบัญญัติกฎหมายที่มีการจ�ำกัดสิทธิเสรีภาพ ผู้ร่างกฎหมายจึงก�ำหนดให้ผู้บัญชาการต�ำรวจ แห่งชาติ และอธิบดีกรมการขนส่งทางบก รว่ มกนั ออกระเบยี บเพอ่ื กำ� หนดลกั ษณะของการ ขับขี่ท่ีมีสภาพไม่ปลอดภัยท่ีเจ้าพนักงานจราจร จะสามารถใช้วิธีการบังคับตามมาตราน้ีได้ รวมทั้งรายละเอียดข้ันตอนของการด�ำเนินการ ตามมาตรานไ้ี ว้ชดั เจนต่อไป *** อนึ่ง การยดึ ใบอนญุ าตขับขช่ี ัว่ คราว ตามมาตรานี้ ไม่ใช่การเรียกเก็บใบอนุญาตขับขี่ ตาม ๑๔๐ ของพระราชบัญญัติจราจรทางบก ฉบับเดมิ แตอ่ ยา่ งใด เพราะไม่ใช่การเรยี กเกบ็ ไว้ เพ่ือเป็นพยานหลักฐานการเปรียบเทียบปรับ ตามกฎหมายเดมิ แต่เปน็ การยึดชั่วคราว โดยมี วัตถุประสงค์เพ่ือไม่ให้ผู้ขับข่ีน้ันขับรถต่อไป จนกวา่ ผขู้ บั ขจ่ี ะแกไ้ ขสภาพความไมป่ ลอดภยั ใน การขบั ขขี่ องตนให้หมดไปเสียก่อน ***

พระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับล่าสดุ ) ๑1๖6๙9

มาตรา ๑๔๐/๓40 ใ น ก ร ณี ท่ี เ จ ้ า พนักงานจราจรพบว่าผู้ขับข่ีผู้ใดเป็นผู้ขาด คณุ สมบตั หิ รอื มลี กั ษณะตอ้ งหา้ มในการไดร้ บั ใบ อนุญาตขับข่ี ให้เจ้าพนักงานจราจรมีอ�ำนาจยึด ใบอนุญาตขับขี่ หรือบันทึกการยึดใบอนุญาต ขับขี่ด้วยวิธีการทางข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของ ผู้ขับขี่ผู้นั้น โดยแจ้งการส่ังยึดใบอนุญาตขับขี่ พรอ้ มดว้ ยเหตผุ ลในการสง่ั ยดึ ใบอนญุ าตขบั ขใ่ี ห้ ผู้ขับข่ีดังกล่าวทราบ พร้อมทั้งมอบหลักฐาน การสั่งยึดใบอนุญาตขับข่ีนั้นให้แก่ผู้ขับข่ีไว้เป็น หลักฐาน ในกรณีท่ีเจ้าพนักงานจราจรยึดใบ อนุญาตขับข่ีตามวรรคหน่ึง ให้จัดท�ำบันทึกการ ยดึ ใบอนญุ าตขบั ข่ี และใหส้ ง่ บนั ทกึ นนั้ พรอ้ มดว้ ย ใบอนุญาตขับขี่ของบุคคลดังกล่าว ไปยังนาย

40 มาตรา ๑๔๐/๓ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

๑17๗0๐ พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ลา่ สุด)

ทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์หรือ กฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก เพ่ือให้นาย ทะเบียนด�ำเนนิ การตามกฎหมายตอ่ ไป (ขัดค�ำส่ังเจ้าพนักงานจราจรซึ่งส่ังตาม มาตรา ๑๔๐/๓ วรรคหนึ่ง มโี ทษปรับคร้ังละไม่ เกนิ ๕๐๐ บาท ตามมาตรา ๑๕๐ )

หมายเหตุ: มาตรา ๑๔๐/๓ เป็นการ บญั ญตั หิ ลกั การใหม่ เจตนารมณข์ องมาตรานี้ มา จากแนวความคิดที่ว่าคุณสมบัติของผู้ขับข่ีท่ีได้ รับใบอนุญาตขับขี่อาจเปลี่ยนแปลงในช่วง ระหว่างระยะเวลาที่ได้รับใบอนุญาตขับขี่แต่ละ ประเภทนน้ั ๆ คอื กรมการขนสง่ ทางบก เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบในการออกใบอนญุ าตขบั ขใ่ี หก้ บั ผขู้ บั ขที่ ่ี มีคุณสมบัติและผา่ นการทดสอบตามหลกั เกณฑ์ ทก่ี ำ� หนด ซงึ่ เมอื่ ผนู้ น้ั ไดร้ บั ใบอนญุ าตขบั ขไ่ี ปแลว้ จะมกี ำ� หนดว่าใบอนุญาตขับข่ีน้นั ๆจะมีอายุ (ใช้

พระราชบญั ญตั ิจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ล่าสุด) ๑1๗7๑1

การได้) ก่ีปี ซ่ึงในช่วงระยะเวลาดังกล่าว หาก ผขู้ บั ขม่ี คี ณุ สมบตั ทิ เี่ ปลย่ี นแปลงไป (มขี อ้ เทจ็ จรงิ ที่ท�ำให้ผู้ขับข่ีขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้อง หา้ มในการไดร้ ับใบอนญุ าตขบั ข่)ี กรมการขนส่ง ทางบกจะไม่มีโอกาสได้ตรวจสอบหรือพบการ เปลย่ี นแปลงนนั้ ได้ แตจ่ ะเปน็ เจา้ พนกั งานจราจร ซ่ึงเป็นผู้บังคับใช้กฎหมายจราจรทางบก ที่จะมี โอกาสตรวจพบเจอผขู้ บั ขใี่ นลกั ษณะนไ้ี ดม้ ากกวา่ ผู้ร่างกฎหมายจึงเห็นว่าควรก�ำหนดอ�ำนาจและ มาตรการในการด�ำเนินการกับผู้ขับขี่ที่ได้รับใบ อนุญาตขับข่ี แต่ต่อมากลับขาดคุณสมบัติหรือ มีลักษณะต้องห้ามในการได้รับใบอนุญาตขับข่ี เอาไวใ้ หช้ ดั เจน โดยการกำ� หนดมาตรการในการ ยึดใบอนุญาตขับข่ีแล้วให้เจ้าพนักงานจราจรส่ง ข้อมูลไปให้กรมการขนส่งทางบกพิจารณาตาม อ�ำนาจหนา้ ที่ตอ่ ไป ตวั อยา่ งกรณนี ี้ เชน่ ผมู้ ใี บอนญุ าตขบั ขร่ี ถ

๑17๗2๒ พระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ล่าสุด)

สาธารณะ ต้องไม่เปน็ ผู้ติดสรุ าหรือยาเสพติดให้ โทษ แตห่ ากตอ่ มาหลงั จากไดร้ บั ใบอนญุ าตขบั ขี่ ไปแล้ว มีพฤติการณ์ท่ีกลายเป็นผู้ติดสุราหรือ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ เมอื่ เจา้ พนกั งานจราจรตรวจพบ กส็ ามารถใชอ้ ำ� นาจยดึ ใบอนญุ าตขบั ขต่ี ามมาตรา นี้ แลว้ สง่ เรอ่ื งใหก้ รมการขนสง่ ทางบกดำ� เนนิ การ กบั ผไู้ ดร้ บั ใบอนญุ าตขบั ขรี่ ายนนั้ ๆ ตอ่ ไป

มาตรา ๑๔๑41 เม่ือผู้ขับข่ี เจ้าของรถ หรอื ผคู้ รอบครองรถไดร้ บั ใบสง่ั ตามมาตรา ๑๔๐ แล้ว ให้ช�ำระค่าปรับภายในเวลาที่ก�ำหนดไว้ใน ใบสงั่ ด้วยวิธีการอยา่ งหนึ่งอย่างใด ดังตอ่ ไปนี้ (๑) ชำ� ระคา่ ปรบั โดยการสง่ ธนาณตั หิ รอื การสง่ ตวั๋ แลกเงนิ ของธนาคารโดยทางไปรษณยี ล์ ง ทะเบยี นสงั่ จา่ ยใหแ้ กผ่ บู้ ญั ชาการตำ� รวจแหง่ ชาติ

41 มาตรา ๑๔๑ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั จิ ราจรทาง บก (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

พระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ล่าสดุ ) ๑1๗7๓3

พร้อมด้วยส�ำเนาใบส่ังไปยังสถานที่ท่ีระบุไว้ใน ใบสง่ั หรอื โดยวธิ กี ารธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ บตั รเครดติ หรอื วธิ กี ารอนื่ โดยผา่ นธนาคารหรอื หนว่ ยบรกิ ารรบั ชำ� ระเงนิ ตามจำ� นวนทรี่ ะบไุ วใ้ นใบสง่ั ทง้ั น้ี ตามระเบยี บทผ่ี ู้บัญชาการตำ� รวจแหง่ ชาติ กำ� หนด (๒) ชำ� ระคา่ ปรบั ทส่ี ถานตี ำ� รวจ โดยชำ� ระ ตามจ�ำนวนท่ีก�ำหนดไว้ในใบส่ังหรือตามจ�ำนวน ที่พนักงานสอบสวนเปรียบเทียบ และในกรณีน้ี ให้พนักงานสอบสวนทุกท้องที่มีเขตอ�ำนาจใน การเปรยี บเทยี บปรับไดท้ ัว่ ราชอาณาจักร เมอ่ื ผไู้ ดร้ บั ใบสง่ั ไดช้ ำ� ระคา่ ปรบั ครบถว้ น ถกู ต้องแล้ว ใหค้ ดีเป็นอันเลิกกัน (ฝา่ ฝืนมาตรา ๑๔๑ โดยไม่มีเหตสุ มควร มีโทษปรับไม่เกิน ๑,๐๐๐ บาท ตามมาตรา ๑๕๕)

๑17๗4๔ พระราชบัญญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ลา่ สดุ )

หมายเหต:ุ มาตรา ๑๔๑ เปน็ การแก้ไข เพม่ิ เตมิ หลกั การในมาตรา ๑๔๑ เดมิ เรอ่ื งวธิ กี าร ช�ำระค่าปรับตามใบส่ัง โดยบัญญัติรูปแบบการ ช�ำระค่าปรบั ไว้ดงั นี้ ๑ ช�ำระค่าปรับโดยวิธีอื่นที่ไม่ใช่ช�ำระ คา่ ปรบั ตอ่ พนกั งานสอบสวนโดยตรง ไมว่ า่ จะชำ� ระ โดยใช้ธนาณัติหรือต๋ัวแลกเงินผ่านทางไปรษณีย ์ หรอื โดยวธิ กี ารอเิ ลก็ ทรอนกิ สร์ ปู แบบตา่ งๆ ๒ ช�ำระค่าปรับต่อพนักงานสอบสวน โดยตรง ซ่ึงแก้ไขหลักการท่ีส�ำคัญในเรื่องน้ีคือ ผู้ได้รับใบสั่งสามารถช�ำระค่าปรับต่อพนักงาน สอบสวนไดท้ กุ ทอ้ งท่ี ทกุ สถานตี ำ� รวจ อนั เปน็ การ บัญญัติยกเว้นหลักเกณฑ์เร่ืองอ�ำนาจสอบสวน ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา ซง่ึ ปกตแิ ลว้ การกระทำ� ความผดิ ตามใบสง่ั นน้ั เกดิ ขน้ึ ในท้องท่ีใด เป็นอ�ำนาจของพนักงานสอบสวน แหง่ ทอ้ งทนี่ นั้ ทจ่ี ะเปรยี บเทยี บปรบั แตเ่ นอื่ งจาก

พระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ลา่ สุด) ๑1๗7๕5

แนวคิดเรื่องใบส่ังและค่าปรับตามกฎหมาย จราจรมีแนวโน้มที่จะพัฒนาแยกต่างหากจาก กระบวนการสอบสวนเปรียบเทียบปรับตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ท้ังน้ี เพื่อเป็นการอ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชน และความสะดวกในกลไกการบรหิ ารจดั การของ รัฐ ประกอบกับกฎหมายปัจจุบัน ได้ก�ำหนดให้ สามารถช�ำระค่าปรับผ่านวิธีการอิเล็กทรอนิกส์ ได้แล้วอันสอดคล้องกับบริบทและสภาพสังคม ผู้ร่างกฎหมายจึงเห็นว่ากรณีที่จะช�ำระค่าปรับ ตามใบสั่งนั้นต่อพนักงานสอบสวน ก็ควรท่ีจะ ช�ำระค่าปรับได้ต่อพนักงานสอบสวนทุกท้องที่ ทุกสถานี ไม่จ�ำเป็นต้องไปช�ำระกับพนักงาน สอบสวนแห่งท้องท่ีท่ีออกใบส่ังเหมือนกับ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา แต่ อย่างใด อันเป็นการบัญญัติให้มีกระบวนการใน การเปรยี บเทยี บปรบั ของพนกั งานสอบสวนตาม กฎหมายจราจรทางบกไวเ้ ป็นเฉพาะ

๑17๗6๖ พระราชบญั ญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ลา่ สดุ )

อนึ่ง กรณีช�ำระค่าปรับต่อพนักงาน สอบสวน มขี ้อสงั เกตว่า กฎหมายบัญญัตเิ ฉพาะ การชำ� ระค่าปรับวา่ พนักงานสอบสวนทุกท้องท่ี มีเขตอ�ำนาจในการเปรียบเทียบปรับได้ท่ัวราช อาณาจกั ร แตไ่ มไ่ ดบ้ ัญญัติถ้อยค�ำวา่ “ว่ากล่าว ตักเตอื น” ตามมาตรา ๑๔๕ ไวใ้ นมาตรานดี้ ้วย ย่อมแปลเจตนารมณ์ได้ว่า หากผู้ได้รับใบส่ัง ประสงคจ์ ะใหม้ กี ารวา่ กลา่ วตกั เตอื น (ไมต่ อ้ งเสยี ค่าปรับแต่ใช้อ�ำนาจของเจ้าพนักงานในการว่า กลา่ วตกั เตอื นเพอื่ ใหค้ วามผดิ นนั้ ยตุ )ิ กรณนี ผ้ี ไู้ ด้ รับใบส่ังจะต้องไปพบกับพนักงานสอบสวน แห่งท้องท่ีทอ่ี อกใบสงั่ น้นั

พระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ล่าสุด) ๑1๗7๗7

มาตรา ๑๔๑/๑42 ในกรณที ผี่ ขู้ บั ขห่ี รอื เจ้าของรถซ่ึงได้รับใบส่ังไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๔๑ ให้เจ้าพนักงานจราจร*และนายทะเบียน ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยรถยนตห์ รอื กฎหมายวา่ ดว้ ย การขนส่งทางบกมหี นา้ ทีแ่ ละอ�ำนาจ ดงั ต่อไปน้ี (๑) ให้ให้เจ้าพนักงานจราจร*ต�ำแหน่ง ตั้งแต่สารวัตรขึ้นไปมีหนังสือแจ้งการไม่ปฏิบัติ ตามใบสงั่ และจำ� นวนคา่ ปรบั ทคี่ า้ งชำ� ระใหผ้ ขู้ บั ข่ี หรอื เจา้ ของรถทราบภายในสบิ หา้ วนั นบั แตว่ นั ท่ี ครบกำ� หนดชำ� ระคา่ ปรบั ตามทรี่ ะบใุ นใบสง่ั และ ใหผ้ ขู้ บั ขหี่ รอื เจา้ ของรถทำ� การชำ� ระคา่ ปรบั ทคี่ า้ ง ช�ำระด้วยวิธีการอย่างใดอย่างหน่ึง ตามมาตรา ๑๔๑ ภายในสบิ หา้ วันนับแตว่ นั ทีไ่ ดร้ บั แจ้ง การแจง้ ตามวรรคหนงึ่ ใหท้ ำ� เปน็ หนังสือ

42 มาตรา ๑๔๑/๑ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยคำ� สงั่ หวั หนา้ คณะรกั ษา ความสงบแห่งชาติที่ ๑๔/๒๕๖๐ เรื่อง มาตรการเพิ่ม ประสทิ ธภิ าพการบงั คบั ใชก้ ฎหมายวา่ ดว้ ยการจราจรทางบก

๑17๗8๘ พระราชบญั ญตั ิจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ลา่ สดุ )

สง่ ทางไปรษณยี ล์ งทะเบยี นตอบรบั ใหผ้ ขู้ บั ขห่ี รอื เจ้าของรถ แล้วแต่กรณี ณ ภูมิล�ำเนาของผู้นั้น ทั้งน้ี ตามแบบท่ีผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติ ก�ำหนดและให้ถือว่าผู้ขับขี่หรือเจ้าของรถได้รับ แจ้งเมื่อพน้ ก�ำหนดสิบหา้ วนั นบั แตว่ นั ทสี่ ่ง (๒) ในกรณีที่ผู้ขับขี่หรือเจ้าของรถคัน ใดไม่ช�ำระค่าปรับตาม (๑) ให้ด�ำเนินการ ดงั ต่อไปนี้ (ก) ให้เจ้าพนักงานจราจร*แจ้ง จ�ำนวนค่าปรับที่ค้างช�ำระพร้อมหลักฐานตาม (๑) ไปยงั นายทะเบยี น และใหน้ ายทะเบยี นตรวจ สอบข้อมูลและแจ้งให้ผู้มาติดต่อขอช�ำระภาษี ประจ�ำปีส�ำหรับรถคันนั้นทราบ เพื่อไปช�ำระ ค่าปรับที่ค้างช�ำระภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ ได้รับแจ้ง ถ้าผู้มาติดต่อขอช�ำระภาษีประจ�ำปี เปน็ เพยี งตวั แทนเจา้ ของรถ ใหผ้ มู้ าตดิ ตอ่ แจง้ ให้ เจา้ ของรถทราบเพอ่ื ไปชำ� ระคา่ ปรบั ภายในระยะ

พระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับลา่ สุด) ๑1๗7๙9

เวลาดังกล่าว ในการนี้ ใหน้ ายทะเบียนรบั ช�ำระ ภาษีประจ�ำปีส�ำหรับรถคันนั้นไว้โดยออกหลัก ฐานชวั่ คราวแทนการออกเครอื่ งหมายแสดงการ เสียภาษีประจ�ำปีให้เจ้าของรถหรือตัวแทน เจา้ ของรถแทน หลกั ฐานชวั่ คราวตามวรรคหนงึ่ ให้ ใช้แทนเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีประจ�ำปี โดยให้มีอายุสามสิบวันนับแต่วันที่นายทะเบียน ไดอ้ อกให้ (ข) ในกรณีท่ีเจ้าของรถได้ช�ำระ ค่าปรับท่ีค้างช�ำระครบถ้วนภายในระยะเวลา ตามท่ีก�ำหนดใน (ก) ให้เจ้าของรถหรือตัวแทน เจ้าของรถน�ำหลักฐานแสดงการช�ำระค่าปรับท่ี ได้รับจากเจ้าพนักงานจราจร*มาแสดงต่อ นายทะเบียนเพ่ือให้ออกเครื่องหมายแสดงการ เสยี ภาษปี ระจำ� ปสี ำ� หรบั รถคันนัน้

๑18๘0๐ พระราชบัญญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ลา่ สุด)

(ค) ในกรณีที่เจ้าของรถหรือ ตัวแทนเจ้าของรถท่ีได้รับหนังสือแจ้งตาม (ก) ประสงคจ์ ะชำ� ระคา่ ปรบั ในวนั ทม่ี าตดิ ตอ่ ขอชำ� ระ ภาษีประจ�ำปี ให้นายทะเบียนมีอ�ำนาจรับช�ำระ ค่าปรับตามจ�ำนวนท่ีค้างช�ำระแทนได้ โดยให้ นายทะเบยี นรบั ชำ� ระภาษปี ระจำ� ปสี ำ� หรบั รถคนั นั้นและออกเคร่ืองหมายแสดงการเสียภาษี ประจำ� ปีใหเ้ จา้ ของรถหรอื ตวั แทนเจ้าของรถ (ง) ในกรณที เี่ จา้ ของรถไมช่ ำ� ระคา่ ปรับท่ีค้างช�ำระหรือช�ำระไม่ครบถ้วนภายใน ระยะเวลาท่ีก�ำหนดใน (ก) ให้เจ้าพนักงาน จ ร า จ ร * แ จ ้ ง น า ย ท ะ เ บี ย น ใ ห ้ ง ด ก า ร อ อ ก เครื่องหมายแสดงการเสียภาษีประจ�ำปีส�ำหรับ รถคันนั้น และแจ้งให้พนักงานสอบสวนด�ำเนิน การตามหน้าที่และอำ� นาจต่อไป ในกรณีที่ผู้ขับข่ีหรือเจ้าของรถ ผู้ใดเห็นว่า ตนมิได้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม

พระราชบัญญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ล่าสุด) ๑1๘8๑1

บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมาย อื่นอันเกี่ยวกับรถนั้น ให้ท�ำหนังสือโต้แย้งข้อ กล่าวหานั้นภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับ แจ้งจากนายทะเบียนตาม (ก) ส่งไปยังสถานที่ที่ ระบุไว้ในใบสั่งหรือสถานท่ีท่ีผู้บัญชาการต�ำรวจ แหง่ ชาตกิ ำ� หนดโดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ท้ังนี้ การท�ำหนังสือโต้แย้งให้ใช้วิธีส่งทาง ไปรษณีย์ตอบรับหรือส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ จะก�ำหนดวิธีการอ่ืนใดด้วยก็ได้ เม่ือเจ้าพนักงานจราจร*หรือหัวหน้า เจ้าพนักงานจราจร*ได้รับหนังสือโต้แย้งตาม วรรคสองหากเจ้าพนักงานจราจร*หรือหัวหน้า เจ้าพนักงานจราจร*ยังคงยืนยันและเห็นสมควร ดำ� เนนิ คดตี อ่ ผขู้ บั ขหี่ รอื เจา้ ของรถผนู้ นั้ ใหส้ ง่ เรอื่ ง ไปยังพนักงานสอบสวนเพื่อด�ำเนินการฟ้องต่อ ศาลต่อไป แล้วแจ้งผลให้ผู้ขับข่ีหรือเจ้าของรถ ทราบ

๑18๘2๒ พระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับลา่ สุด)

เมอื่ ไดม้ กี ารชำ� ระคา่ ปรบั ครบถว้ นถกู ตอ้ ง แล้ว ให้คดีเป็นอันเลิกกัน และในกรณีที่มีการ เรยี กเกบ็ ใบอนญุ าตขบั ขไี่ ว้ ใหผ้ ขู้ บั ขนี่ ำ� หลกั ฐาน การชำ� ระคา่ ปรบั ไปขอรบั ใบอนญุ าตขบั ขค่ี นื จาก เจา้ พนกั งานจราจร*ผเู้ รยี กเกบ็ ทงั้ นี้ ในระหวา่ ง ทยี่ งั ไมไ่ ดร้ บั ใบอนญุ าตขบั ขค่ี นื ใหถ้ อื วา่ หลกั ฐาน แสดงการช�ำระค่าปรับเป็นใบแทนใบอนุญาต ขับขม่ี กี ำ� หนดสิบวันนับแตว่ นั ทช่ี ำ� ระค่าปรบั การรบั ชำ� ระและการนำ� สง่ เงนิ คา่ ปรบั ให้ เปน็ ไปตามหลกั เกณฑท์ ส่ี ำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ และกรมการขนส่งทางบกกำ� หนด เงินท่ีได้รับตามวรรคหน่ึง (๒) (ก) ให้ อธิบดีกรมการขนส่งทางบกหรือผู้ที่ได้รับมอบ หมายหักไว้เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บหรือค่า ใช้จ่ายในการด�ำเนินงานในอัตราร้อยละห้าของ จำ� นวนเงนิ ทไ่ี ดร้ บั โดยใหน้ ำ� ไปใชจ้ า่ ยไดเ้ ชน่ เดยี ว กบั เงนิ งบประมาณตามระเบยี บทอี่ ธบิ ดกี รมการ

พระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับล่าสุด) ๑1๘8๓3

ขนส่งทางบกก�ำหนดส่วนเงินท่ีเหลือให้น�ำส่ง ส�ำนกั งานต�ำรวจแห่งชาติ การด�ำเนินการใด ๆ ของเจ้าพนักงาน จราจร*และนายทะเบียนตามมาตราน้ี สามารถ ใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือวิธีการอื่นใด ตามท่ีส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติและกรมการ ขนสง่ ทางบกกำ� หนด

มาตรา ๑๔๒43 หัวหน้าเจ้าพนักงาน จราจร*หรือเจ้าพนักงานจราจร*มีอ�ำนาจสั่งให้ ผู้ขบั ขหี่ ยุดรถในเม่อื (๑) รถน้ันมีสภาพไม่ถูกต้องตามท่ี บญั ญัติไวใ้ นมาตรา ๖ (๒) เหน็ วา่ ผขู้ บั ขห่ี รอื บคุ คลใดในรถนน้ั

43 มาตรา ๑๔๒ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั จิ ราจรทาง บก (ฉบบั ท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๕๗

1๑8๘4๔ พระราชบญั ญตั ิจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับล่าสดุ )

ได้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งพระ ราชบญั ญัตนิ ้ีหรอื กฎหมายอนั เก่ียวกบั รถนั้น ๆ ในกรณที มี่ พี ฤตกิ ารณอ์ นั ควรเชอื่ วา่ ผขู้ บั ขี่ ฝ่าฝืนมาตรา ๔๓ (๑) หรือ (๒) ให้หัวหน้าเจ้า พนักงานจราจร* พนักงานสอบสวน หรือ เจ้าพนักงานจราจร*ส่ังให้มีการทดสอบผู้ขับขี่ ดังกล่าวว่าหย่อนความสามารถในอันที่จะขับ หรอื เมาสุราหรอื ของเมาอย่างอ่นื หรือไม่ ในกรณีท่ีผู้ขับข่ีตามวรรคสองไม่ยอมให้ ทดสอบ ให้หัวหน้าเจ้าพนักงานจราจร* พนักงานสอบสวน หรือเจ้าพนักงานจราจร*มี อ�ำนาจกักตัวผู้น้ันไว้ด�ำเนินการทดสอบได้ ภายในระยะเวลาเท่าที่จ�ำเป็นแห่งกรณีเพ่ือ ให้การทดสอบเสร็จส้ินไปโดยเร็ว หากผู้น้ันยอม ให้ทดสอบและผลการทดสอบปรากฏว่าไม่ได้ ฝ่าฝืนมาตรา ๔๓ (๑) หรือ (๒) ก็ให้ปล่อยตัวไป ทันที

พระราชบญั ญตั ิจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับล่าสุด) ๑1๘8๕5

ในกรณที มี่ พี ฤตกิ ารณอ์ นั ควรเชอื่ วา่ ผขู้ บั ขี่ ขับรถในขณะเมาสรุ าหรอื ของเมาอย่างอื่น หาก ผู้น้ันยังไม่ยอมให้ทดสอบตามวรรคสามโดยไม่มี เหตอุ นั สมควร ใหส้ นั นษิ ฐานไวก้ อ่ นวา่ ผนู้ น้ั ฝา่ ฝนื มาตรา ๔๓ (๒) การทดสอบตามมาตราน้ีให้เป็นไปตาม หลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารทก่ี ำ� หนดในกฎกระทรวง (ฝ่าฝืนมาตรา ๑๔๒ วรรคหนึง่ วรรคสอง มีโทษปรับไม่เกิน ๑,๐๐๐ บาท ตามมาตรา ๑๕๔)

มาตรา ๑๔๒/๑44 เพอ่ื ประโยชนใ์ นการ ควบคมุ ความประพฤตขิ องผไู้ ดร้ บั ใบอนญุ าตขบั ขี่ ให้เกิดความปลอดภัยในการจราจร ในกรณีท่ี

44 มาตรา ๑๔๒/๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบบั ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑18๘6๖ พระราชบัญญตั ิจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับลา่ สุด)

ผขู้ บั ขผ่ี ใู้ ดกระทำ� ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี หรือตามกฎหมายอื่นอันเก่ียวกับรถหรือการใช้ ทาง ให้ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติจัดให้มีระบบ การบันทึกคะแนนความประพฤติในการขับรถ ของผูไ้ ด้รบั ใบอนญุ าตขบั ขี่ ระบบการบนั ทกึ คะแนนความประพฤตใิ น การขบั รถตามวรรคหนง่ึ อยา่ งนอ้ ยตอ้ งประกอบ ดว้ ยการกำ� หนดคะแนน การตดั คะแนน และการ คืนคะแนน โดยวิธีด�ำเนินการดังกล่าวให้เป็นไป ตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขทผ่ี บู้ ญั ชาการ ต�ำรวจแห่งชาติและอธิบดีกรมการขนส่งทางบก รว่ มกนั กำ� หนดโดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ทง้ั นี้ ในการกำ� หนดคะแนนความประพฤตใิ นการ ขบั รถใหค้ ำ� นงึ ถงึ ประเภทของใบอนญุ าตขบั ข่ี และ เหตแุ หง่ การกระทำ� ความผดิ ดว้ ย ในกรณที ผ่ี ไู้ ดร้ บั ใบอนญุ าตขบั ขผ่ี ใู้ ดถกู ตดั คะแนนความประพฤติในการขับรถจนหมด

พระราชบัญญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับลา่ สดุ ) ๑1๘8๗7

คะแนนตามที่ก�ำหนดไว้ ให้ผู้บัญชาการต�ำรวจ แ ห ่ ง ช า ติ ห รื อ ผู ้ ซ่ึ ง ไ ด ้ รั บ ม อ บ ห ม า ย จ า ก ผบู้ ญั ชาการตำ� รวจแหง่ ชาตใิ นแตล่ ะทอ้ งทส่ี งั่ พกั ใช้ใบอนุญาตขับข่ีของผู้ได้รับใบอนุญาตขับขี่ ผู้น้ันคราวละเก้าสิบวัน ท้ังนี้ ตามระเบียบที่ ผู้บญั ชาการต�ำรวจแหง่ ชาติกำ� หนด

หมายเหตุ: มาตรา ๑๔๒/๑ เป็นการ บัญญัติแก้ไขหลักการเรื่องระบบการบันทึก คะแนนความประพฤติในการขับรถ จากมาตรา ๑๖๑ วรรคสองและวรรคสาม ตามกฎหมายเดมิ ให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับสภาพบริบท สังคม และสอดคล้องกับหลักกฎหมายเรื่องการ ออกใบสัง่ มาตรา ๑๖๑ วรรคสอง และวรรคสาม เดมิ บัญญตั ไิ ว้ว่า “ผู้สั่งยึดใบอนุญาตขับข่ีตามวรรคหนึ่ง

1๑8๘8๘ พระราชบญั ญตั ิจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับลา่ สุด)

อาจบันทึกการยึดและคะแนนไว้ด้านหลังใบ อนุญาตขับขี่ท่ีถูกยึด และด�ำเนินการอบรม ทดสอบผู้ขับขี่ที่กระท�ำผิดซ�้ำตั้งแต่สองครั้ง ภายในหนึ่งปี รวมท้ังส่ังพักใช้ใบอนุญาตขับขี่ท่ี เสยี คะแนนมากของผขู้ บั ขนี่ น้ั มกี ำ� หนดครงั้ ละไม่ เกินเกา้ สิบวนั การด�ำเนินการบันทึกคะแนน อบรม ทดสอบผู้ขับขี่ท่ีกระท�ำผิด และการพักใช้ใบ อนุญาตขบั ขี่ ให้เปน็ ไปตามทีผ่ บู้ ญั ชาการต�ำรวจ แหง่ ชาตกิ ำ� หนดโดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา” ซงึ่ หลกั กฎหมายเดมิ จะเหน็ ไดว้ า่ แมจ้ ะมี ระบบการบนั ทกึ คะแนนระบไุ วแ้ ลว้ กต็ าม แตก่ าร บนั ทกึ คะแนนจะทำ� ไดต้ อ่ เมอ่ื มกี ารยดึ ใบอนญุ าต ขบั ขไ่ี วเ้ ทา่ นนั้ และตอ้ งกระทำ� การบนั ทกึ คะแนน ไวท้ ด่ี า้ นหลงั ใบอนญุ าตขบั ขที่ ถ่ี กู ยดึ จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ ปัญหาในทางปฏบิ ัตวิ า่ ในการออกใบสง่ั เมื่อพบ รถท่ีกระท�ำผิด แต่ไม่พบตัวผู้ขับขี่ท่ีกระท�ำผิด

พระราชบัญญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับลา่ สุด) ๑1๘8๙9

ห รื อ ไ ม ่ อ า จ ท ร า บ ตั ว ผู ้ ขั บ ขี่ ที่ ก ร ะ ท� ำ ผิ ด เจ้าพนักงานจราจรสามารถที่จะส่งใบส่ังพร้อม ดว้ ยพยานหลกั ฐานโดยทางไปรษณยี ล์ งทะเบยี น ตอบรับไปยังภูมิล�ำเนาของเจ้าของรถหรือผู้ ครอบครองรถได้ (มาตรา ๑๔๐) และเจ้าของรถ หรือผู้ครอบครองรถน้ันถูกสันนิษฐานว่าเป็นผู้ กระท�ำผิด ซึ่งกรณีนี้ย่อมไม่อาจมีการยึดใบ อนญุ าตขับข่ี ดงั น้ัน หากผู้ทีไ่ ดร้ บั ใบสง่ั ไปชำ� ระ คา่ ปรับผ่านทางวธิ ีธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ผู้ กระท�ำผิดกรณีนี้ จะไม่ครอบคลุมการถูกบนั ทกึ คะแนน จึงท�ำให้ระบบการบันทึกคะแนนตาม มาตรา ๑๖๑ เดมิ ไมค่ รอบคลมุ ใชไ้ ดเ้ ปน็ การทวั่ ไป กบั ใบสงั่ ทกุ ประเภท จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งแกไ้ ขใหม่ โดย ใหก้ ารบนั ทกึ คะแนนใชไ้ ดท้ กุ กรณี ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ ง มกี ารยดึ ใบอนญุ าตขบั ขอี่ กี แตอ่ ยา่ งใด ประการถัดมา ถ้อยค�ำตามกฎหมายเดิม ทว่ี า่ “ตอ้ งกระทำ� การบนั ทกึ คะแนนไวท้ ด่ี า้ นหลงั

1๑9๙0๐ พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ลา่ สุด)

ใบอนญุ าตขบั ขที่ ถ่ี กู ยดึ ” กไ็ มส่ อดคลอ้ งกบั สภาพ สงั คมทพี่ ัฒนาไปสู่สังคมยุคดจิ ติ อล (ถ้อยคำ� เดมิ ถูกบัญญัติใน พ.ศ.๒๕๓๕ ซ่ึงยุคสมัยนั้นใบ อนุญาตขับข่ีเป็นเพียงบัตรกระดาษ) ซ่ึงใบ อนุญาตขับข่ีท่ีออกโดยกรมการขนส่งทางบกใน ปัจจุบันน้ี พัฒนาไปสู่ใบอนุญาตขับข่ีในรูปแบบ สมาร์ทการ์ด การจะบันทึกข้อมูลด้านหลังบัตร สมาร์ทการ์ด ย่อมไม่สามารถกระท�ำได้ในทาง ปฏิบัติ และใบอนุญาตขับขี่ยังมีการพัฒนาไปสู่ รปู แบบขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ กี ดว้ ย กฎหมายจงึ มคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งพฒั นาใหท้ นั กบั เทคโนโลยี จงึ ตอ้ งแกไ้ ขมาตรา ๑๖๑ เดมิ นน่ั เอง โดยหลกั การในมาตรา ๑๔๒/๑ ทบี่ ญั ญตั ิ ใหม่น้ี ก�ำหนดเง่ือนไขไว้ชัดเจนว่า ให้มีระบบ บันทึกคะแนนความประพฤติในการขับรถ และ จะตดั คะแนนเมอ่ื ไดก้ ระทำ� ผดิ ตามพระราชบญั ญตั ิ นห้ี รอื ตามกฎหมายอน่ื อนั เกย่ี วกบั รถหรอื การใช้

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับลา่ สดุ ) ๑1๙9๑1

ทาง โดยใช้เฉพาะกับผู้ท่ีได้รับใบอนุญาตขับขี่ เท่าน้ัน แต่ไม่ได้ก�ำหนดว่าจะต้องมีการยึดใบ อนุญาตขับข่ีเสียก่อนเหมือนอย่างกฎหมายเดิม ท้ังนี้ เพ่ือเปิดช่องให้ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ และกรมการขนส่งทางบก ด�ำเนินการเร่ืองการ บนั ทกึ คะแนนความประพฤตผิ า่ นรปู แบบวธิ กี าร ทางขอ้ มูลอเิ ล็กทรอนิกสไ์ ดน้ ัน่ เอง ส่วนเกณฑ์การก�ำหนดคะแนน การตัด คะแนน การคนื คะแนน (มหี ลกั การคนื คะแนนถกู ระบไุ วอ้ ยา่ งชดั เจนในกฎหมายดว้ ย) วธิ ดี ำ� เนนิ การ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่ ผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติและอธิบดีกรมการ ขนส่งทางบกร่วมกันก�ำหนดโดยประกาศใน ราชกจิ จานเุ บกษา (ตอ้ งมกี ารประกาศในราชกจิ จา นเุ บกษา เพอ่ื ใหป้ ระชาชนรบั ทราบเปน็ การทวั่ ไป) และเมอื่ ถกู ตดั คะแนนความประพฤตใิ นการขบั รถ จนหมด ผไู้ ดร้ บั ใบอนญุ าตขบั ขจี่ ะถกู สงั่ พกั ใชใ้ บ

1๑9๙2๒ พระราชบญั ญัตจิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับล่าสุด)

อนญุ าตขบั ขมี่ กี ำ� หนดคราวละ ๙๐ วนั อนงึ่ ระบบการบันทึกคะแนนความ ประพฤติ (demerit points system หรือ penalty points) เปน็ ระบบทน่ี านาประเทศใช้ บังคับส�ำหรับผู้ได้รับใบอนุญาตขับขี่เกือบทุก ประเทศ เป็นมาตรการทางปกครองอย่างหน่ึง ท่ีมาเสริม ก�ำกับดูแลความประพฤติในการขับข่ี ของผขู้ บั ข่ี นอกจากการถกู ปรบั เงนิ ตามกฎหมาย

มาตรา ๑๔๒/๒45 คำ� สงั่ พกั ใชใ้ บอนญุ าต ขับข่ีตามมาตรา ๑๔๒/๑ วรรคสาม ให้ท�ำเป็น หนงั สอื และใหแ้ จง้ คำ� สงั่ พกั ใชใ้ บอนญุ าตขบั ขแี่ ก่ ผไู้ ดร้ บั ใบอนญุ าตขบั ขที่ ราบ ตามหลกั เกณฑแ์ ละ วิธีการที่ผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติประกาศ ก�ำหนดในราชกจิ จานเุ บกษา

45 มาตรา ๑๔๒/๒ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

พระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ลา่ สดุ ) ๑1๙9๓3

เมอื่ ไดแ้ จง้ คำ� สง่ั พกั ใชใ้ บอนญุ าตขบั ขตี่ าม วรรคหนงึ่ แลว้ ใหแ้ จง้ นายทะเบยี นตามกฎหมาย วา่ ดว้ ยรถยนตห์ รอื กฎหมายวา่ ดว้ ยการขนสง่ ทาง บกทราบโดยเร็ว พร้อมทั้งบันทึกข้อมูลตาม ระเบียบท่กี �ำหนดไว้ในมาตรา ๔/๑ หมายเหตุ: มาตรา ๑๔๒/๒ เป็นการ บัญญัติกระบวนการขั้นตอนในเร่ืองของการท�ำ หนงั สอื และแจง้ คำ� สงั่ พกั ใชใ้ บอนญุ าตขบั ข ี่ และ ก�ำหนดให้มีการบันทึกข้อมูลตามระเบียบที่ ก�ำหนดไว้ในมาตรา ๔/๑ (ระบบฐานข้อมูล อเิ ลก็ ทรอนกิ สร์ ะหวา่ งสำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ และกรมการขนสง่ ทางบก)

๑19๙4๔ พระราชบัญญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ลา่ สดุ )

มาตรา ๑๔๒/๓46 ผู้ได้รับใบอนุญาต ขบั ขซี่ งึ่ ถกู ตดั คะแนนความประพฤตใิ นการขบั รถ หรือถูกส่ังพักใช้ใบอนุญาตขับขี่ตามมาตรา ๑๔๒/๑ วรรคสาม อาจเขา้ รับการอบรมความรู้ เกยี่ วกบั การขบั รถและวนิ ยั จราจรตามทกี่ รมการ ขนส่งทางบกกำ� หนดได้ ให้กรมการขนส่งทางบกจัดการอบรม ความรู้เกี่ยวกับการขับรถและวินัยจราจร ตาม หลกั สตู รทผี่ บู้ ญั ชาการตำ� รวจแหง่ ชาตแิ ละอธบิ ดี กรมการขนสง่ ทางบกรว่ มกันก�ำหนด การจดั ใหม้ กี ารอบรมความรเู้ กยี่ วกบั การ ขับรถและวินัยจราจรตามวรรคสอง กรมการ ขนส่งทางบกอาจมอบหมายให้โรงเรียนสอนขับ รถทก่ี รมการขนสง่ ทางบกรบั รองดำ� เนนิ การกไ็ ด้

46 มาตรา ๑๔๒/๓ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

พระราชบัญญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ล่าสุด) ๑1๙9๕5

ในการอบรมตามวรรคหน่ึง ให้ผู้เข้ารับ การอบรมเสียค่าใช้จ่ายตามท่ีอธิบดีกรมการ ขนสง่ ทางบกประกาศก�ำหนด มาตรา ๑๔๒/๔47 ใหผ้ ไู้ ดร้ บั ใบอนญุ าต ขบั ขซ่ี ง่ึ ผา่ นการอบรมตามมาตรา ๑๔๒/๓ มสี ทิ ธิ ไดร้ บั คนื คะแนนความประพฤตใิ นการขบั รถทถี่ กู ตัดไปอันเนื่องมาจากการกระท�ำความผิดตาม พระราชบัญญัตินี้โดยยื่นค�ำขอต่อหัวหน้าเจ้า พนักงานจราจร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขท่ีประกาศก�ำหนดตามมาตรา ๑๔๒/๑ วรรคสอง

47 มาตรา ๑๔๒/๔ เพ่ิมโดยพระราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑19๙6๖ พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับลา่ สดุ )

หมายเหต:ุ มาตรา ๑๔๒/๓ และ มาตรา ๑๔๒/๔ เป็นการบัญญัติกระบวนการในการ อบรมความรู้เก่ียวกับการขับรถและวินัยจราจร ส�ำหรับผู้ท่ีถูกตัดคะแนนหรือถูกสั่งพักใช้ใบ อนุญาตขับขี่ โดยเจตนารมณ์คือ ผู้ท่ีถูกตัด คะแนนจ�ำนวนหนง่ึ (แต่คะแนนยังไม่หมด) หรอื ผทู้ ถ่ี กู สงั่ พกั ใชใ้ บอนญุ าตขบั ข ี่ อาจขอเขา้ รบั การ อบรมดังกล่าวได้ โดยกฎหมายก�ำหนดให้ กรมการขนส่งทางบกเป็นคนจัดอบรม (หรือ อาจมอบหมายให้โรงเรียนสอนขับรถที่กรมการ ขนสง่ ทางบกรบั รองดำ� เนนิ การกไ็ ด)้ แตห่ ลกั สตู ร การอบรมใหก้ รมการขนสง่ ทางบกและสำ� นกั งาน ต�ำรวจแห่งชาติร่วมกันก�ำหนด โดยเป็นการ อบรมภาคสมคั รใจ (กฎหมายไมบ่ งั คบั ใหต้ อ้ งเขา้ รบั การอบรม) ดงั นนั้ ผเู้ ขา้ รบั การอบรมจงึ ตอ้ งเสยี ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมเอง ทั้งน้ี เมื่อผู้ท่ีถูกตัดคะแนนหรือผู้ท่ีถูกส่ัง

พระราชบัญญตั ิจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ลา่ สดุ ) ๑1๙9๗7

พักใช้ใบอนุญาตขับขี่ผ่านการอบรมตามมาตรา ๑๔๒/๓ กจ็ ะไดร้ บั คะแนนความประพฤตใิ นการ ขับรถคืนตามเกณฑ์ที่ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ และกรมการขนส่งทางบกก�ำหนด ตามมาตรา ๑๔๒/๔ มาตรา ๑๔๒/๕48 ในกรณที ผ่ี ไู้ ดร้ บั ใบ อนญุ าตขบั ขผ่ี ใู้ ดกระทำ� ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั ิ นหี้ รอื ตามกฎหมายอน่ื อนั เกยี่ วกบั รถหรอื การใช้ ทาง หากการกระท�ำความผดิ ดังกลา่ วมเี หตหุ รือ ก่อให้เกิดหรือน่าจะก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้าย แรงต่อสาธารณะ หรือมีลักษณะเป็นภัยแก่ ประชาชนอย่างร้ายแรง หรือมีพฤติการณ์หลบ หนีเมื่อตนเองก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคล หรือทรัพย์สินของผู้อื่น ให้ผู้บัญชาการต�ำรวจ

48 มาตรา ๑๔๒/๕ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑19๙8๘ พระราชบัญญตั ิจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบับล่าสุด)

แห่งชาติหรือผู้ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งไม่ต่�ำกว่า ผบู้ ญั ชาการหรอื เทยี บเทา่ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจาก ผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติมีอ�ำนาจส่ังพักใช้ใบ อนุญาตขับขี่ของผู้ได้รับใบอนุญาตขับขี่ผู้นั้นได้ ไม่เกินเกา้ สบิ วัน คำ� สงั่ พกั ใชใ้ บอนญุ าตขบั ขตี่ ามวรรคหนงึ่ ให้ท�ำเป็นหนังสือ และให้แจ้งค�ำส่ังพักใช้ใบ อนุญาตขับขี่แก่ผู้ได้รับใบอนุญาตขับข่ีทราบ พร้อมท้ังข้อหาในการกระท�ำความผิด ก�ำหนด เวลาเริ่มต้นและส้ินสุดการพักใช้ใบอนุญาตขับขี่ โดยแนบพยานหลักฐานท่ีเก่ียวข้องไปด้วย ตาม หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารทผ่ี บู้ ญั ชาการตำ� รวจแหง่ ชาติ ประกาศก�ำหนดในราชกิจจานุเบกษา พร้อมท้ัง บันทึกข้อมูลตามระเบียบที่ก�ำหนดไว้ในมาตรา ๔/๑

พระราชบญั ญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ฉบบั ล่าสดุ ) ๑1๙9๙9