กรณ ไม ม เง นสะสมจะขอล ำเง นท นสำรองต องทำอย างไร

¤‹ÙÁ×Í

¡ÒúÃËÔ ÒçҹἹ áÅЧº»ÃÐÁÒ³

โรงเรียนบา นทา มะขาม

สํานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

1

วิสัยทัศน พนั ธกจิ เปาหมาย อตั ลักษณ และเอกลักษณข องสถานศึกษา

วิสัยทัศนโรงเรยี น (VISION) พัฒนาการเรยี นรู คคู ุณธรรม นอ มนำวถิ ีพอเพยี ง

พันธกจิ โรงเรยี นบานทามะขาม 1. พัฒนากระบวนการเรยี นรูโดยเนน ผูเรียนเปน สำคัญใหเกิดความรู และทักษะ กระบวนการตามมาตรฐานการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 2. สงเสริมและพัฒนาผเู รยี นใหมีคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม นอมนำ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏบิ ัติ 3. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชพี 4. สงเสรมิ การดำรงชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 5. พฒั นาสภาพแวดลอมใหเอ้ือตอ การเรียนรู ใหมีความรน รื่น สวยงาม สะอาด และ ปลอดภัย มแี หลง เรียนรภู ายในโรงเรยี นอยา งหลากหลาย

เปา ประสงคโ รงเรยี นบา นทามะขาม 1. ดานนักเรยี น มคี วามรคู วบคูคณุ ธรรม รักษาคานิยมท่ีดีงามและเอกลกั ษณไทย มคี วามภาคภูมใิ จในความ เปนไทย สามารถนอ มหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาประยุกตใ ชในชวี ติ ประจำวนั 2. ดานครู เปนครูมืออาชีพ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู เนนผูเรียนเปนสำคัญ และมีวิถี ชีวิต ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3. ดานผูบรหิ าร เปนผูนำการเปลี่ยนแปลง ใหโรงเรียนมีการบริหารจัดการที่ดี และมีประสิทธิภาพ เพื่อ ประโยชนสูงสดุ แกน กั เรยี น โดยอาศัยการมีสวนรวมจากทกุ ฝาย 4. ดา นโรงเรียน สดสวยดว ยภมู ิทัศน ธรรมชาติสะอาดตา มีแหลง เรยี นรอู ยางหลากหลาย 5. ดานผปู กครองและชุมชน

ผปู กครองใหก ารยอมรับ มคี วามภาคภูมใิ จในการมสี ว นรวมในการจดั การศกึ ษา

2

สีประจำโรงเรียน เหลอื ง-เขยี ว เอกลักษณ ภูมิทศั นงามตา สวนปา งามเดน รมเย็นธรรมชาติ มารยาทออนนอม พรอมจติ อาสา รกั ษาส่ิงแวดลอม อัตลักษณ

สมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานทามะขาม (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2562) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุงใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดังน้ี 1. ความสามารถในการสือ่ สาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการ ใชภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสารและประสบการณอันจะเปน ประโยชนตอการพฒั นาตนเองและสังคม รวมทงั้ การเจรจาตอ รอง เพื่อขจัดและลดปญหาความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและ ความถูกตอ ง ตลอดจนการเลือกใชวธิ กี ารสือ่ สาร ทมี่ ปี ระสิทธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบท่ีมีตอตนเอง และสังคม 2. ความสามารถในการคดิ เปนความสามารถในการคดิ วเิ คราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนำไปสูการสรางองคความรู หรือสารสนเทศเพื่อการตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั ตนเองและสงั คมไดอยางเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่ เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจ ความสัมพันธและการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมา ใชในการปองกันและแกไ ขปญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ตอ ตนเอง สังคมและสง่ิ แวดลอ ม 4. ความสามารถในการใชท ักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตาง ๆ ไปใช ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทำงานและการอยู รวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความ ขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจ ักหลกี เลีย่ งพฤติกรรมไมพ ึงประสงคที่สง ผลกระทบตอ ตนเองและผูอน่ื

3

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยี ดานตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการ เรียนรู การสอ่ื สาร การทำงาน การแกป ญหาอยางสรางสรรค ถูกตอ ง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

คุณลักษณะอันพึงประสงค หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา นโปง (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๒) ตามหลกั สูตร แกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ มุงพัฒนาผูเรียนใหม ีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพอ่ื ใหสามารถอยรู ว มกบั ผูอื่นในสงั คมไดอยา งมคี วามสุข ในฐานะเปน พลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รกั ชาติ ศาสน กษัตรยิ  2. ซื่อสัตยสุจรติ 3. มีวินยั 4. ใฝเ รยี นรู 5. อยอู ยา งพอเพียง 6. มงุ มน่ั ในการทำงาน 7. รักความเปนไทย 8. มจี ติ สาธารณะ

การบริหารงานแผนและงบประมาณ

การบริหารและการจัดการศึกษาของโรงเรียนนิติบุคคล มีวัตถุประสงคเพื่อใหโรงเรียนจัด การศกึ ษาอยางเปน อสิ ระคลองตัว สามารถบรหิ ารการจัดการศึกษาไดส ะดวด รวดเรว็ มีประสิทธิภาพ และมีความรบั ผิดชอบ

โรงเรียนนิติบุคคล นอกจากมีอำนาจหนาที่ตามวัตถุประสงคขางตนแลวยังมีอำนาจหนาท่ี ตามที่กฎระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการบริหารจัดการและขอบเขตการปฏิบัติหนาที่ของ โรงเรียนขั้นพื้นฐานท่ีเปนนิติบุคคลสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ 2546 ลงวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2546

กฎหมายการศึกษาแหงชาติ และกฎหมายระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ จึง กำหนดใหโ รงเรียนนิตบิ คุ คลมีอำนาจหนา ที่ ดงั นี้

1. ใหผูอำนวยการโรงเรียนเปนผูแทนนิติบุคคลในกิจการทั่วไปของโรงเรียนที่เกี่ยวกับ บุคคลภายนอก

4

2. ใหโรงเรียนมีอำนาจปกครอง ดูแล บำรุง รักษา ใชและจัดหาผลประโยชนจาก ทรัพยสนิ ทีม่ ีผูบริจาคให เวนแตก ารจำหนายอสงั หารมิ ทรัพยท่มี ีผูบริจาคใหโ รงเรียน ตอ งไดรับความ เหน็ ชอบจากคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐานของโรงเรียน

3. ใหโรงเรียนจดทะเบียนลิขสิทธ์ิหรือดำเนินการทางทะเบียนทรัพยสนิ ตาง ๆ ที่มีผูอุทิศให หรอื โครงการซือ้ แลกเปล่ยี นจากรายไดข องสถานศกึ ษาใหเปนกรรมสทิ ธิ์ของสถานศึกษา

4. กรณีโรงเรียนดำเนินคณดีเปนผูฟองรองหรือถูกฟองรอง ผูบริหารจะตองดำเนินคดีแทน สถานศึกษาหรือถูกฟองรวมกับสถานศึกษา ถาถูกฟองโดยมิไดอยูในการปฏิบัติราชการ ในกรอบ อำนาจผูบริหารตอ งรับผิดชอบเปน การเฉพาะตัว

5. โรงเรยี นจัดทำงบดุลประจำปและรายงานสาธารณะทุกสิน้ ปงบประมาณ

งบประมาณทสี่ ถานศึกษานำมาใชจาย แนวคิด การบริหารงานงบประมาณของสถานศึกษามุงเนนความเปนอิสระ ในการบริหารจัดการมี ความคลองตัว โปรงใส ตรวจสอบได ยึดหลักการบริหารมุงเนนผลสัมฤทธิ์และบริหารงบประมาณ แบบมุงเนนผลงาน ใหมีการจัดหาผลประโยชนจากทรัพยสินของสถานศึกษา รวมทั้งจัดหารายไดจ าก บรกิ ารมาใชบริหารจดั การเพ่อื ประโยชนท างการศกึ ษา สง ผลใหเกิดคุณภาพที่ดีข้นึ ตอ ผูเรยี น

วัตถุประสงค เพื่อใหสถานศึกษาบริหารงานดานงบประมาณมีความเปนอิสระ คลองตัว โปรงใส ตรวจสอบได

  1. เพ่ือใหไดผลผลิต ผลลัพธเปน ไปตามขอตกลงการใหบริการ
  2. เพื่อใหสถานศกึ ษาสามารถบริหารจดั การทรัพยากรที่ไดอยา งเพียงพอและประสิทธิภาพ

ขอบขายภารกิจ กฎหมาย ระเบยี บ และเอกสารท่ีเก่ยี วขอ ง 1. พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และท่แี กไขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 2) 2. พระราชบญั ญตั บิ รหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546 3. ระเบียบวา ดว ยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2545 4. หลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

5

5. แนวทางการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาและสถานศึกษาตาม กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑและวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550

รายจา ยตามงบประมาณ จำแนกออกเปน 2 ลกั ษณะ 1. รายจายของสว นราชการและรฐั วิสาหกิจ - งบบุคลากร - งบดำเนนิ งาน - งบลงทุน - งบเงินอุดหนุน - งบรา ยจายอื่น งบบุคลากร หมายถึง รายจายที่กำหนดใหจายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ไดแก รายจายที่จายในลกั ษณะเงินเดือน คาจางประจำ คา จา งชว่ั คราว และคา ตอบแทนพนักงานราชการ รวมถงึ ราจจา ยที่กำหนดใหจ ายจากงบรายจา ยอ่ืนใดในลักษณะราจจายดังกลา งบดำเนินงาน หมายถึง รายจายที่กำหนดใหจายเพื่อการบริหารงานประจำ ไดแก รายจาย ท่จี า ยใน ลักษณะคาตอบแทน คาใชสอย คาวัสดุ และคาสาธารณูปโภครวมถึงรายจายที่กำหนดให จา ยจากงบรายจา ยอ่นื ใดในลกั ษณะรายจา ยดงั กลาว งบลงทุน หมายถึง รายจายที่กำหนดใหจายเพื่อการลงทุน ไดแก รายจายที่จายในลักษณะ คาครุภัณฑ คาที่ดินและสิ่งกอสราง รวมถึงรายจายที่กำหนดใหจายจากงบรายจายอื่นใดในลักษณะ รายจา ยดงั กลา ว งบดำเนินงาน หมายถึง รายจายที่กำหนดใหจ ายเพื่อการบริหารงานประจำ ไดแก รายจาย ท่จี ายใน ลักษณะคาตอบแทน คาใชสอย คาวัสดุ และคาสาธารณูปโภครวมถึงรายจายที่กำหนดให จายจากงบรายจา ยอ่ืนใดในลักษณะรายจายดงั กลา ว งบลงทนุ หมายถึง รายจายทก่ี ำหนใหจายเพ่ือการลงทุน ไดแก รายจา ยทจ่ี า ยในลักษณะคา ครุภัณฑ คาที่ดินและสิ่งกอนสราง รวมถึงรายจายที่กำหนดใหจายจากงบรายจายอื่นใดในลักษณะ รายจายดงั กลา ว

6

งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจายที่กำหนดใหจายเปนคาบำรุงหรือเพื่อชวยเหลือสนับสนุน

งานของหนวยงานอสิ ระตามรัฐธรรมนูญหรือหนวยงานของรัฐ ซง่ึ มิใชสวนกลางตาม พ.ร.บ. ระเบียบ

บริหารราชการแผนดิน หนวยงานในกำกับของรัฐ องคการมหาชน รัฐวิสาหกิจ องคกรปกครองสวน

ทองถิ่น รวมถึงเงนิ อุดหนุน งบพระมหากษตั ริย เงนิ อุดหนนุ ศาสนา

งบรายจายอื่น หมายถึง รายจายที่ไมเขาลักษณะประเภทงบรายจายใดงบรายจายหน่ึง

หรือรายจายทีส่ ำนักงานงบประมาณกำหนดใหใชจายในงบรายจายน้ี เชน เงนิ ราชการลับ เงินคาปรับ

ท่ีจายคืนใหแ กผูขายหรอื ผรู ับจา ง ฯลฯ

อตั ราเงนิ อุดหนุนรายหัวนักเรยี นตอปการศึกษา

ระดับกอนประถมศกึ ษา 1,700 บาท

ระดับประถมศกึ ษา 1,900 บาท

ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน 3,500 บาท

ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 3,800 บาท

การจัดสรรเงนิ อดุ หนุนรายหวั นกั เรยี น แบง การใชต ามสัดสวน

ดา นวิชาการ : ดานบรหิ ารท่วั ไป : สำรองจายท้งั 2 ดานคอื

1. ดานวชิ าการ ใหส ัดสว นไมน อยกวารอ ยละ 60 นำไปใชไดในเรอ่ื ง

  1. จัดหาวสั ดุและครภุ ณั ฑท ี่จำเปนตอ การเรยี นการสอน
  1. ซอ มแซมวสั ดอุ ปุ กรณ
  1. การพัฒนาบุคลาการดานการสอน เชน สงครูเขาอบรมสัมมนา คาจางชัว่ คราวของครู

ปฏิบัตกิ ารสอน คาสอนพเิ ศษ

2. ดานบรหิ ารทว่ั ไป ใหสัดสว นไมเ กนิ รอ ยละ 30 นำไปใชไดใ นเรื่อง

  1. คาวัสดุ ครภุ ณั ฑแ ละคาที่ดิน สิ่งกอสรา ง คา จา งชั่วคราวท่ไี มใ ชปฏิบัตกิ ารสอน

คาตอบแทนคาใชสอย

  1. สำรองจายนอกเหนือดานวิชาการและดานบริหารทั่วไป ใหสัดสวนไมเกินรอยละ

20 นำไปใชใ นเร่อื งงานตามนโยบาย

เงนิ อุดหนนุ ปจ จยั พ้ืนฐานสำหรบั นกั เรยี นยากจน 1. เปนเงินที่จัดสรรใหแกสถานศึกษาที่มีนักเรยี นยากจน เพื่อจัดหาปจจัยพื้นฐานที่จำเปน ตอการดำรงชีวิตและเพิ่มโอกาศทางการศึกษา เปนการชวยเหลือนักเรียนนที่ยากจน ชั้นป.1 ถึง ม.3

7

ใหมโี อกาสไดร บั การศกึ ษาในระดบั ที่สงู ขนึ้ (ยกเวนสถานศกึ ษาสงั กดั สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ) 2. นักเรียนยากจน หมายถงึ นกั เรียนที่ผปู กครองมรี ายไดต อ ครัวเรือน ไมเกิน 40,000 บาท แนวการใช ใหใชในลักษณะ ถัวจาย ในรายการตอ ไปนี้

  1. คาหนังสอื และอปุ กรณการเรียน (ยมื ใช)
  2. คา เส้อื ผา และวสั ดเุ ครื่องแตงกายนักเรียน (แจกจาย)
  3. คา อาหารกลางวัน (วตั ถุดบิ จางเหมา เงนิ สด)
  4. คาพาหนะในการเดนิ ทาง (เงินสด จา งเหมา) 3. กรณีจายเปน เงนิ สด โรงเรียนแตง ต้งั กรรมการ 3 คน รว มกนั จายเงินโดยใชใ บสำคญั รับ

เงินเปน หลกั ฐาน 4. ระดับประถมศึกษา คนละ 1,000 บาท/ป 5. ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน คนละ 3,000 บาท/ป 6. รายจา ยงบกลาง

  1. เงนิ สวัสดกิ ารคา รักษาพยาบาล/การศึกษาบตุ ร/เงนิ ชว ยเหลือบุตร
  2. เงินเบย้ี หวัดบำเหนจ็ บำนาญ
  3. เงนิ สำรอง เงินสมทบ และเงนิ ชดเชยขาราชการ
  4. เงนิ สมทบของลกู จางประจำ 2. รายจา ยงบกลาง รายจายทต่ี ั้งไวเพอ่ื จัดสรรใหสวนราชการและรัฐวสิ าหกิจโดยท่วั ไปใชจ า ยตามรายการ

ดังตอไปน้ี

  1. “เงินเบยี้ หวัดบำเหนจ็ บำนาญ” หมายความวา รายจา ยทต่ี ัง้ ไวเพอ่ื จายเปน เงนิ บำนาญ

ขาราชการ เงินบำเหน็จลูกจางประจำ เงินทำขวัญขาราชการและลูกจาง เงินทดแทนขาราชการ วสิ ามญั เงินคา ทดแทนสำหรบั ผูไดร ับอนั ตรายในการรักษาความมน่ั คงของประเทศ

  1. เงินชวยพิเศษขาราชการบำนาญเสียชีวิต เงินสงเคราะหผูประสบภัยเนื่องจากการ ชวยเหลือขาราชการ การปฏิบัติงานของชาติหรือการปฏิบัติตามหนาที่มนุษยธรรม และเงินชวยคา ครองชพี ผรู ับเบีย้ หวัดบำนาญ
  1. “เงินชวยเหลือขาราชการ ลูกจาง และพนักงานของรัฐ” หมายความวา รายจายที่ตั้งไว เพอื่ จา ยเปนเงินสวสั ดิการชวยเหลอื ในดา นตา ง ๆ ใหแ กข า ราชการ ลูกจา ง และพนกั งานของรัฐ ไดแก เงนิ ชว ยเหลอื การศึกษาของบตุ ร เงินชว ยเหลอื บุตร และเงนิ พิเศษในการณีตายในระหวา งรบั ราชการ

8

  1. “เงนิ เลื่อนข้ันเล่ือนอนั ดับเงนิ เดือนและเงนิ ปรบั วฒุ ิขาราชการ” หมายความ วารายจาย ที่ตั้งไวเพื่อจายเปนเงินเลื่อนขั้นเลื่อนอันดับเงินเดือนขาราชการประจำป เงินเลื่อนขั้นเลื่อนอันดับ เงินเดือนขาราชการที่ไดรับเลื่อนระดับ และหรือแตงตั้งใหดำรงตำแหนงระหวางปและเงินปรับวุฒิ ขาราชการ
  1. “เงินสำรอง เงินสมทบ และเงนิ ชดเชยของขา ราชการ” หมายความวา รายจายที่ตั้งไว เพอ่ื จา ยเปนเงินสำรอง เงินสมทบ และเงินชดเชยท่ีรฐั บาลนำสง เขา กองทุนบำเหน็จบำนาญขาราชการ
  1. “เงินสมทบของลูกจางประจำ” หมายความวา รายจายที่ตั้งไวเพื่อจายเปนเงินสมทบที่ รฐั บาลนำสง เขา กองทนุ สำรองเล้ียงชพี ลูกจา งประจำ
  1. “คาใชจายเกี่ยวกับการเสด็จพระราชดำเนินและตอนรับประมุขตางประเทศ หมายความวา รายจายที่ตั้งไวเพื่อเปนคาใชจายสนับสนุนพระราชภารกิจในการเสดจ็ พระราชดำเนิน ภายในประเทศ และหรือตางประเทศ และคาใชจายในการตอนรับประมุขตางประเทศที่มายาเยือน ประเทศไทย
  1. “เงินสำรองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเปน” หมายความวา รายจายที่ต้ังสำรองไวเพ่ือ จดั สรรเปน คา ใชจายในกรณฉี ุกเฉนิ หรือจำเปน
  1. “คาใชจายในการดำเนนิ การรักษาความม่นั คงของประเทศ” หมายความวา รายจา ยที่ตั้ง ไวเ พื่อเปน คา ใชจายในการดำเนนิ งานรักษาความมน่ั คงของประเทศ
  1. “เงินราชการลับในการรักษาความมั่นคงของประเทศ” หมายความวา รายจายที่ตั้งไว เพอื่ เบกิ จา ยเปนเงนิ ราชการลบั ในการดำเนินงานเพอ่ื รักษาความมัน่ คงของประเทศ
  1. “คาใชจายตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” หมายความวา รายจายที่ตั้งไว เพอ่ื เปน คาใชจ าในการดำเนนิ งานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
  1. “คา ใชจ า ยในการรำษาพยาบาลขา ราชการ ลูกจา ง และพนกั งานของรฐั ” หมายความ วารายจายที่ตั้งไวเปนคาใชจายในการชวยเหลือคารักษาพยาบาลขาราชการ ลูกจางประจำ และ พนกั งานของรัฐ

เงินนอกงบประมาณ 1. เงินรายไดสถานศึกษา 2. เงนิ ภาษหี ัก ณ ทีจ่ าย 3. เงินลูกเสือ เนตรนารี 4. เงนิ ยุวกาชาด

9

5. เงนิ ประกนั สัญญา 6. เงินบริจาคทมี่ วี ตั ถุประสงค

เงินรายไดสถานศกึ ษา หมายถงึ เงนิ รายไดตามมาตรา 59 แหง พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ซึง่ เกิดจาก

1. ผลประโยชนจ ากทรัพยส นิ ท่เี ปน ราชพสั ดุ 2. คาบริการและคา ธรรมเนยี ม ท่ีไมขัดหรือแยงนโยบาย วตั ถุประสงคและภารกจิ หลัก ของสถานศกึ ษา 3. เบยี้ ปรบั จากการผดิ สัญญาลาศึกษาตอและเบ้ยี ปรบั การผิดสัญญาซ้อื ทรัพยสินหรือจา ง ทำของจากเงนิ งบประมาณ 4. คา ขายแบบรปู รายการ เงนิ อดุ หนุน อปท. รวมเงนิ อาหารกลางวัน 5. คา ขายทรัพยส ินที่ไดมาจากเงินงบประมาณ

งานพัสดุ

“การพัสดุ” หมายความวา การจัดทำเอง การซื้อ การจาง การจางที่ปรึกษา การจาง ออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปล่ียน การเชา การควบคุม การจำหนาย และการดำเนินการ อื่น ๆ ทีก่ ำหนดไวในระเบยี บนี้

“พัสดุ” หมายความวา วัสดุ ครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง ที่กำหนดไวใ นหนงั สือ การ จำแนกประเภทรายจายตามงบประมาณของสำนักงบประมาณ หรือการจำแนกประเภทรายจาย ตามสัญญาเงนิ กูจ ากตางประเทศ

“การซื้อ” หมายความวา การซื้อพัสุทุกชนิดทั้งที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการท่ี เกย่ี วเนอ่ื งอน่ื ๆ แตไ มรวมถงึ การจดั หาพัสดุในลักษณะการจาง

“การจาง” ใหห มายความรวมถึง การจา งทำของและการับขนตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย และการจางเหมาบริการ แตไมรวมถึงการจางลูกจางของสวนราชการตามระเบียบของ กระทรวงการคลงั การับขนในการเดนิ ทางไปราชการตามกฎหมายวา ดวยคาใชจ ายในการเดินทางไป ราชการ การจางที่ปรึกษ การจางออกแบบและควบคุมงาน และการจางแรงงานตามประมวล กฎหมายแพง และพาณชิ ย

ขอบขา ยภารกจิ

10

1. กฎหมาย ระเบยี บ และเอกสารท่ีเกี่ยวขอ ง 2. ระเบยี บสำนกั นายกรัฐมนตรีวาดวยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และแกไขเพ่ิมเติม 3. ระเบียบสำนกั นายกรัฐมนตรีวาดว ยการพัสดดุ วยวธิ ีการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2549 4. แนวทางการปฏิบตั ิตามระเบยี บสำนักนายกรฐั มนตรี วาดว ยการพัสดุดวยวธิ ีการทาง อเิ ล็กทรอนิกส 2549

หนา ทีแ่ ละความรับผดิ ชอบ 1. จัดวางระบบและปฏิบัติงานเกี่ยวกับจัดหา การซื้อ การจาง การเก็บรักษา และการ เบิกพสั ดุ การควบคมุ และการจำหนา ยพัสดใุ หเปนไปตามระเบียบทเ่ี ก่ียวขอ ง 2. ควบคมุ การเบกิ จา ยเงินตามประเภทเงิน ใหเปนไปตามแผนปฏบิ ัติราชการรายป 3. จัดทำทะเบยี นที่ดนิ และส่งิ กอสรางทุกประเภทของสถานศกึ ษา 4. ประสานงานและวางแผนในการใชพื้นที่ของสถานศึกษา ใหเปนไปตามแผนพัฒนา การศกึ ษา 5. กำหนดหลักเกณฑวิธีการและดำเนินการเกี่ยวกับการจัดหาประโยชนที่ราชพัสดุการใช และการขอใชอาคารสถานที่ของสถานศึกษาใหเปนไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของควบคุมดู ปรับปรุง ซอมแซม บำรุงรักษาครุภัณฑ ใหอยูในสภาพเรียบรอยตอการใชงานและพัฒนาอาคาร สถานที่ การอนุรักษพลังงาน การรักษาสภาพแวดลอม และระบบสาธารณูปโภคของสถานศึกษาให เปนระเบียบและสวยงาม 6. จัดเวรยามดูแลอาคารสถานท่ขี องสถานศึกษาใหปลอดภัยจากโจรภัย อคั คภี ยั และภยั อนื่ ๆ 7. จัดวางระบบและควบคมุ การใชย านพาหนะ การเบิกจา ยนำ้ มันเชอ้ื เพลิงการบำรุงรักษา และการพัสดุตาง ๆ ท่ีเกี่ยวกับยานพาหนะของสถานศึกษาใหเ ปนไปตามระเบียบทเี่ กีย่ วขอ ง 8. ใหคำแนะนำ ช้ีแจง และอำนวยความสะดวกแกบุคลากรในสถานศึกษาเกย่ี วกับงานใน หนาท่ี 9. เกบ็ รักษาเอกสารและหลักฐานตาง ๆ ไวเพอ่ื การตรวจสอบและดำเนินการทำลาย เอกสารตามระเบียบทีเ่ ก่ยี วของ 10. ประสานงานและใหความรวมมอื กับหนวยงานตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอก สถานศกึ ษา 11. เสนอโครงการและรายงานการปฏิบัตงิ านในหนา ที่ตามลำดบั ข้นั

11

12. ปฏบิ ัติอน่ื ตามที่ไดรับมอบหมาย

สวสั ดิการและสิทธิประโยชน 1. คาใชจา ยในการเดนิ ทางไปราชการ

  1. กฎหมายและระเบยี บทเ่ี ก่ียวขอ ง
  2. พระราชกฤษฎีกาคา ใชจ ายในการเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แกไขเพ่ิมเติม
  3. ระเบยี บกระทรวงการคลังวา ดว ยการเบิกคา ใชจายในการเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ. 2550 2. คาใชจ ายในการเดนิ ทางไปราชการ การอนมุ ัตเิ ดินทางไปราชการ ผูม ีอำนาจอนุมัตใิ หเดินทางไปราชการ อนุมตั ริ ะยะเวลาใน การเดินทางลว งหนา หรือระยะเวลาหลงั เสรจ็ ส้นิ การปฏิบตั ิราชการไดต ามความจำเปน
  4. การนับเวลาเดินทางไปราชการเพ่ือคำนวณเบยี้ เลีย้ ง กรณีพกั คา ง - ใหน บั 24 ช่ัวโมงเปน 1 วนั - ถา ไมถ ึง 24 ชัว่ โมงหรอื เกิน 24 ชั่วโมง และสว นทไ่ี มถึงหรอื เกนิ 24 ชว่ั โมง นบั ไดเกนิ 12 ช่วั โมง ใหถอื เปน 1 วนั
  5. การนบั เวลาเดินทางไปราชการเพ่ือคำนวณเบ้ียเล้ยี งเดินทาง กรณีไมพักคาง - หากนับไดไ มถ งึ 24 ชวั่ โมงและสวนที่ไมถงึ นับไดเ กิน 12 ช่ัวโมง ใหถอื เปน 1วัน - หากนบั ไดไมเกนิ 12 ชั่วโมง แตเ กนิ 6 ชัว่ โมงข้ึนไป ใหถอื เปน ครึ่งวนั
  6. การนบั เวลาเดินทางไปราชการเพ่ือคำนวณเบ้ียเล้ยี งเดินทาง - กรณลี ากจิ หรอื ลาพกั ผอนกอนปฏบิ ตั ิราชการ ใหนบั เวลาตง้ั แตเ ริ่มปฏิบัติราชการเปน ตน ไป - กรณลี ากจิ หรอื ลาพักผอนหลงั เสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการ ใหถ ือวาสทิ ธใิ นการเบิกจาย เบย้ี เล้ยี งเดินทางสนิ้ สดุ ลงเมื่อส้ินสดุ เวลาการปฏบิ ัติราชการ

หลกั เกณฑก ารเบิกคา เชา ท่พี ักในประเทศ

การเบิกคาพาหนะ 1. โดยปกตใิ หใชย านพาหนะประจำทางและใหเ บิกคาพาหนะโดยประหยัด

12

2. กรณีไมมียานพาหนะประจำทาง หรือมีแตตอ งการความรวดเรว็ เพอ่ื ประโยชนแกทาง ราชการ ใหใ ชย านพาหนะอื่นได แตต องชี้แจงเหตผุ ลและความจำเปนไวใ นหลักฐานขอเบกิ คาพาหนะ นนั้

3. ขาราชการระดบั 6 ขน้ึ ไป เบิกคาพาหนะรบั จางได ในกรณีตอไปน้ี

  1. การเดนิ ทางไป-กลบั ระหวา งสถานท่ีอยู ท่ีพัก หรอื สถานท่ีปฏบิ ัตริ าชการกบั สถานี ยานพาหนะประจำทาง หรอื สถานทจี่ ดั พาหนะทีใ่ ชเ ดนิ ทางภายในเขตจงั หวัดเดยี วกนั
  2. การเดนิ ทางไป-กลับ ระหวางสถานทอ่ี ยู ท่ีพกั กับสถานทีป่ ฏิบัตริ าชการภายในเขต จงั หวัดเดยี วกนั วนั ละไมเกนิ 2 เทย่ี ว
  3. การเดินทางไปราชการในเขตกรุงเทพมหานคร กรณีเปนการเดนิ ทางขามเขตจงั หวดั ใหเบิกตามอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด คือ ใหเบิกตามที่จา ยจรงิ ดงั นี้ - ระหวา งกรงุ เทพมหานครกบั เขตจงั หวดั ติดตอกรงุ เทพมหานคร ไมเกินเท่ียวละ 400 บาท เดนิ ทางขา มเขตจงั หวดั อ่ืนนอกเหนอื กรณดี ังกลาวขา งตน ไมเกนิ เที่ยวละ 300 บาท - ผไู มม ีสิทธิเบกิ ถาตองนำสัมภาระในการเดินทาง หรอื สิ่งของเครอื่ งใชของทางราชการไป ดว ย และเปน เหตุใหไ มส ะดวกทจ่ี ะเดินทางโดยยานพาหนะประจำทาง ใหเบิกคาพาหนะรบั จา งได (โดยแสดงเหตผุ ลและความจำเปนไวใ นรายงานเดินทาง) - การเดินทางลว งหนา หรอื ไมส ามารถกลับเมือ่ เสร็จส้ินการปฏิบตั ิราชการเพราะมเี หตุ สวนตัว (ลากิจ-ลาพักผอ นไว) ใหเบกิ คา พาหนะเทา ทจี่ ายจริงตามเสน ทางทไี่ ดรับคำสัง่ ใหเ ดินทางไป ราชการ กรณีมีการเดินทางนอกเสน ทางในระหวางการลาน้ัน ใหเ บิกคาพาหนะไดเ ทาที่จายจริงโดย ไมเ กนิ อัตราตามเสน ทางท่ไี ดร ับคำสงั่ ใหเดินทางไปราชการ - การใชย านพาหนะสว นตวั (ใหขออนญุ าตและไดร ับอนญุ าตแลว) ใหไ ดร บั เงนิ ชดเชย คือ รถยนตก โิ ลเมตรละ 4 บาท

คา ใชจ า ยในการฝก อบรม การฝกอบรม หมายถึง การอบรม ประชุม/สัมมนา (วชิ าการเชงิ ปฏิบัตกิ าร) บรรยายพเิ ศษ ฝกงาน ดูงาน การฝกอบรม ประกอบดวย 1. หลกั การและเหตุผล 2. โครงการ/หลักสตู ร 3. ระยะเวลาจัดท่ีแนนอน 4. เพอ่ื พัฒนาหรือเพม่ิ ประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ าน

13

คารกั ษาพยาบาล คารกั ษาพยาบาล หมายถงึ เงนิ ที่สถานพยาบาลเรียกเกบ็ ในการรักษาพยาบาลเพ่ือให รา งกายกลับสสู ภาวะปกติ (ไมใชเ ปนการปอ งกันหรอื เพื่อความสวยงาม) 1. ระเบียบและกฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ ง

  1. พระราชกฤษฎีกาเงินสวสั ดิการเกย่ี วกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ. 2523 และแกไข เพิม่ เติม (8 ฉบับ)
  1. ระเบียบกระทรวงการคลงั วาดว ยการเบกิ จา ยเงินสวสั ดิการเก่ยี วกับการรกั ษาพยาบาล พ.ศ. 2545

2. ผูทีม่ สี ทิ ธิรับเงนิ คารกั ษาพยาบาล คอื ผมู ีสิทธแิ ละบคุ คลในครอบครวั

  1. บิดา
  2. มารดา
  3. คูสมรสทีช่ อบดว ยกฎหมาย
  4. บตุ รท่ีชอบดว ยกฎหมาย ซง่ึ ยงั ไมบ รรลุนิติภาวะ หรือบรรลุนติ ิภาวะแลว แตเปน คนไร

ความสามารถ หรือเสมอื นคนไรความสามารถ (ศาลสั่ง) ไมรวมบุตรบญุ ธรรมหรอื บุตรซึ่งไดย กเปนบุตร บุญธรรมบุคคลอื่นแลว

3. ผมู สี ทิ ธิ หมายถงึ ขาราชการ ลกู จางประจำ ผรู บั เบี้ยหวัดบำนาญ และลกู จางชาว ตา งประเทศซึง่ ไดรบั คาจางจากเงนิ งบประมาณ

คารักษาพยาบาล แบงเปน 2 ประเภท 1. ประเภทไขนอก หมายถงึ เขารับการรักษาในสถานพยาบาลของทางราชการโดยไมได นอนพักรักษาตวั นำใบเสร็จรับเงนิ มาเบิกจาย ไมเ กนิ 1 ป นบั จากวันทจี่ า ยเงนิ 2. ประเภทไขใน หมายถึง เขารับการรักษาในสถานพยาบาลของเอกชน หรือ สถานพยาบาลของทางราชการ สถานพยาบาลเอกชน ใชใบเสร็จรับเงินนำมาเบิกจายเงิน พรอมให แพทยรับรอง “หากผูปวยมิไดเจารับการรักษาพยาบาลในทันทีทันใดอาจเปนอันตรายถึงชีวิต” และ สถานพยาบาลทางราชการ ใชหนังสือรบั รองสิทธิ กรณียงั ไมไ ดเ บกิ จายตรง

การศกึ ษาบตุ ร

14

คาการศึกษาของบตุ ร หมายความวา เงนิ บำรงุ การศึกษา หรือเงินคา เลาเรยี น หรือเงินอื่นใด ทสี่ ถานศึกษาเรยี กเก็บและรัฐออกใหเปนสวสั ดกิ ารกับขาราชการผูมีสทิ ธิ

1. ระเบยี บและกฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ ง

  1. พระราชราชกฤษฎีกาเงนิ สวสั ดิการเก่ยี วกบั การศกึ ษาของบตุ ร พ.ศ. 2523
  2. ระเบยี บกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจา ยเงนิ สวัสดิการเกยี่ วกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. 2547
  3. หนังสือเวยี นกรมบัญชีกลาง กค 0422.3/ว161 ลงวนั ท่ี 13 พฤษภาคม 2552 เรอ่ื ง ประเภทและอตั ราเงินบำรุงการศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ และคาเลาเรยี นในสถานศกึ ษา ของเอกชนและกรมบัญชกี ลาง ที่ กค 0422.3/ว 226 ลงวันท่ี 30 มถิ ุนายน 2552 เรื่องการเบกิ เงิน สวสั ดิการเกย่ี วกบั การศกึ ษาของบตุ ร 2. ผทู ี่มสี ทิ ธริ บั เงินคาการศกึ ษาของบุตร
  4. บตุ รชอบโดยกฎหมายอายุไมเกนิ 25 ปบ ริบูรณ ในวนั ท่ี 1 พฤษภาคมของทุกป ไมรวม บตุ รบุญธรรม หรอื บุตรซงึ่ ไดย กใหเ ปน บุตรบุญธรรมคนอ่ืนแลว
  5. ใชสทิ ธิเบกิ ได 3 คน เวน แตบ ตุ รคนท่ี เปนฝาแฝดสามารถนำมาเบิกได 4 คน
  6. เบกิ เงนิ สวสั ดิการเกย่ี วกับศึกษาบุตรภายใน 1 ป นบั ต้ังแตวนั เปด ภาคเรยี นของแตล ะ ภาค จำนวนเงนิ ท่ีเบกิ ได 1. ระดบั อนุบาลหรือเทียบเทา เบิกไดป ล ะไมเ กนิ 4,650 บาท 2. ระดบั ประถมศึกษาหรือเทียบเทา เบิกไดป ล ะไมเ กนิ 3,200 บาท 3. ระดับมัธยมศึกษาตอนตน/มัธยมศึกษาตอนปลาย/หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) หรือเทยี บเทา เบกิ ไดปล ะไมเกิน 3,900 บาท 4. ระดบั อนปุ ริญญาหรอื เทียบเทา เบกิ ไดป ล ะไมเ กิน 11,000 บาท

คาเชา บาน 1. ระเบยี บและกฎหมายทเี่ ก่ียวขอ ง

  1. พระราชกฤษฎกี าคาเชาชา นขาราชการ พ.ศ. 2550
  2. ระเบียบกระทรวงการคลังวา ดว ยการเบกิ จา ยเงินคา เชาบา น พ.ศ. 2549 2. สทิ ธิการเบิกเงนิ คาเชา บาน
  3. ไดร บั คำสั่งใหเ ดนิ ทางไปประจำสำนกั งานใหมในตางทองที่ เวน แต

15

- ทางราชการไดจ ัดท่ีพักอาศัยใหอยูแลว - มเี คหสถานเปน ของตนเองหรอื คูสมรส - ไดร บั คำส่ังใหเดนิ ทางไปประจำสำนักงานใหมในตางทองที่ตามคำรองขอของตนเอง

  1. ขาราชการผูไดร บั คำส่งั ใหเ ดินทางไปประจำสำนักงานในทองทีท่ ี่รับราชการคร้ังแรก หรอื ทองทีท่ ่ีกลบั เขารับราชการใหม ใหมีสทิ ธไิ ดรบั เงินคาเชาบา น (พระราชกฤษฎีกาเชาบาน 2550 (ฉบับที่ 2) มาตรา 7)
  2. ขาราชการมีสทิ ธิไดร ับเงินคา เชา บา นต้ังแตวันทเี่ ชา อยูจริง แตไมกอ นวันทรี่ ายงานตัว เพือ่ เขารบั หนา ที่ (พระราชกฤษฎกี าคา เชา บา น 2547 มาตรา 14)
  3. ขาราชการซึ่งมีสิทธิไดรับเงินคาเชาบานไดเชาซื้อหรือผอนชำระเงินกูเพ่ือชำระราคา บานที่คางชำระอยูในทองที่ที่ไปประจำสำนักงานใหม มีสิทธินำหลักฐานการชำระคาเชาซื้อหรือคา ผอนชำระเงินกฯู มาเบกิ ได (พระราชกฤษฎกี าคาเชาบาน 2547 มาตรา 17)

กองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขาราชการ (กบข.) กฎหมายทเี่ ก่ียวของ

  1. พ.ร.บ.กองทนุ บำเหน็จบำนาญขา ราชการ พ.ศ. 2539 มาตรา 3 ในพระราชบัญญตั ิน้ี (สวนทเ่ี ก่ยี วขอ ง) บำนาญ หมายความวา เงนิ ทจี่ ายใหแกสมาชิกเปน รายเดือนเมื่อสมาชิกภาพของ

สมาชิกสิ้นสุดลง บำเหนจ็ ตกทอด หมายความวา เงนิ ท่จี ายใหแกส มาชิก โดยจายใหครงั้ เดยี วเม่ือ

สมาชกิ ภาพของสมาชิกสนิ้ สุดลง บำเหนจ็ ตกทอด หมายความวา เงนิ ท่ีจายใหแกทายาทโดยจา ยใหคร้งั เดียวในกรณี

ทีส่ มาชิกหรอื ผรู บั บำนาญถงึ แกค วามตาย

  1. พ.ร.บ.กองทนุ บำเหน็จบำนาญขา ราชการ (ฉบบั ที่ 2 ) พ.ศ. 2542

ขาราชการทุกประเภท (ยกเวนราชการทางการเมือง) มสี ทิ ธิสมคั รเปนสมาชิก กบข. ไดแก ขาราชการครู

ขาราชการใหม ไดแก ผูซึ่งเขารับราชการหรือโอนมาเปนราชการตั้งแตวันที่ 27 มีนาคม 2540 เปนตน จะตองเปนสมาชิก กบข. และสะสมเงินเขากองทุน สมาชิกที่จายสะสมเขากองทุนใน อัตรารอยละ 3 ของเงินเดือนเปนประจำทุกเดือน รัฐบาลจะจายเงินสมทบใหกับสมาชิกในอัตรารอย

16

ละ 3 ของเงินเดือนเปนประจำทุกเดือนเชนเดียวกัน และจะนำเงินดังกลาวไปลงทุนหาผลประโยชน เพ่อื จายใหก ับสมาชิกเมอื่ กอกจากราชการ

ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการสงเสริมสวสั ดิการและสวัสดิภาพครแู ละบุคลากร ทางการศึกษาวา ดว ยการฌาปนกิจสงเคราะหเพอื่ นครูและบคุ ลากรทางการศึกษา (ช.พ.ค.)

ในระเบียบน้ี ช.พ.ค. หมายความวา การฌาปนกิจสงเคราะหช ว ยเพ่อื นครแู ละบุคลากร ทางการศกึ ษาการจดั ต้ัง ช.พ.ค. มีความมุง หมายเพ่ือเปนการกุศลและมีวัตถปุ ระสงคใหสมาชิกไดทำ การสงเคราะหซ ง่ึ กันและกันในการจัดการศพและสงเคราะหครอบครัวของสมาชิก ช.พ.ค. ทีถ่ ึงแก กรรมหลกั เกณฑและวธิ ีการจายเงนิ คา จดั การศพและเงนิ สงเคราะหค รอบครวั ใหเปนไปตามที่ คณะกรรมการ ช.พ.ค. กำหนด

ครอบครวั ของสมาชิก ช.พ.ค หมายถงึ บุคคลตามลำดบั ดังนี้ 1. คูสมรสทชี่ อบดว ยกฎหมาย บุตรทีช่ อบดว ยกฎหมาย บุตรบญุ ธรรม บุตรนอกสมรสท่ี บดิ ารับรองแลว และบิดามารดาของสมาชกิ ช.พ.ค. 2. ผูอยูใ นอปุ การะอยา งบุตรของสมาชกิ ช.พ.ค. 3. ผูอปุ การะสมาชกิ ช.พ.ค. ผูมสี ิทธิไดร บั การสงเคราะหตามวรรคหนึ่งยงั มีชวี ติ อยู หรอื มีผรู บั มรดกยังไมข าดสายแลว แต กรณีในลำดับหนึ่ง ๆ บคุ คลทีอ่ ยใู นลำดับถดั ไปไมม ีสทิ ธิไดรับเงินสงเคราะหครอบครัวระเบยี บน้ี การสงเคราะหครอบครัวของสมาชิก ช.พ.ค. สำหรับบุตรใหพ ิจารณาใหบุตรสมาชิก ช.พ.ค. ไดร ับความชวยเหลอื เปนเงินทนุ สำหรับการศกึ ษาเลา เรยี นเปน ลำดบั แรก สมาชิก ช.พ.ค. ตองระบบุ ุคคลใดบุคคลหนงึ่ หรือหลายคน เปนผูมีสทิ ธิรับเงินสงเคราะห สมาชิก ช.พ.ค. มหี นาทด่ี งั ตอไปนี้ 1. ตอ งปฏิบัตติ ามระเบียบน้ี 2. สงเงินสงเคราะหร ายศพ เมอ่ื สมาชิก ช.พ.ค. อ่ืนถึงแกกรรมศพละหนง่ึ บาทภายใต เงอื่ นไขดังตอไปน้ี 3. สมาชกิ ช.พ.ค. ทเ่ี ปนขา ราชการประจำ ขาราชการบำนาญและผูท ่มี เี งินเดือนหรือรายได รายเดอื น ตอ งยินยอมใหเจาหนาท่ีผจู า ยเงินเดือนหรือเงนิ บำนาญเปนผหู ักเงนิ เพอ่ื ชำระเงินสงเคราะห รายศพ ณ ท่ีจายตามประกาศรายชื่อสมาชิก ช.พ.ค. ทถี่ งึ แกกรรม

คำจำกัดความ

17

แผนการปฏบิ ัตงิ าน และแผนการใชจ ายงบประมาณ หมายถงึ แผนแสดงรายละเอียดการ ปฏิบัติงาน และแสดงรายละเอียดการใชจา ยงบประมาณรายจา ยตามแผนการปฏิบัติงานของโรงเรียน บานทา มะขามในรอบปงบประมาณ

การใชจ ายงบประมาณ หมายถงึ การใชจายงบประมาณรายจายของโรงเรียนบาน ทา มะขาม เพ่อื ดำเนนิ ตามแผนการปฏบิ ตั ิงานในรอบป

การจัดสรรงบประมาณ หมายถึง การจัดสรรงบประมาณรายจายตามพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจายประจำป หรือพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจา ยเพ่ิมเติม ใหสว นราชการใชจาย หรือกอหนี้ผูกพัน ทั้งนี้ อาจดำเนินการโดยใชการอนุมัติเงินประจำงวดหรือโดยวิธีการอื่นใดตามท่ี สำนักงบประมาณกำหนด

เปาหมายยุทธศาสตร หมายถึง ผลสัมฤทธิ์ที่การใชจายงบประมาณตองการจะใหเกิดตอ นกั เรียน บคุ ลากรโรงเรียนบานทามะขาม

แผนการปฏิบัติงาน หมายถึง แผนการปฏิบัติงานของโรงเรียนบานทามะขาม ในรอบ ปง บประมาณ

แผนการใชจายงบประมาณ หมายถึง แผนแสดงรายละเอียดการใชจายงบประมาณ รายจายสำหรบั โรงเรียนบานทา มะขาม เพือ่ ดำเนินงานตามแผนการปฏบิ ตั งิ านในรอบปง บประมาณ

โครงการ หมายถงึ โครงการท่ีกำหนดข้นึ เพ่ือใชจายเงินเปน ไปตามในระหวา งปงบประมาณ งบรายจาย หมายถึง กลุมวัตถุประสงคของรายจายที่กำหนดใหจายตามหลักการจำแนก ประเภทรายจายตามงบประมาณ

จำแนกงบรายจายตามหลกั จำแนกประเภทงบประมาณตามงบรายจา ย ดงั นี้ งบบุคลากร หมายถึง รายจายที่กำหนดใหจายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ไดแก รายจายในลักษณะเงนิ เดือน คาจางประจำ คาจางชั่วคราว และคาตอบแทนพนักงานราชการ รวมถึง รายจายทกี่ ำหนดใหจา ยจากงบรายจายอน่ื ในลักษณะดงั กลาว งบดำเนินงาน หมายถงึ รายจา ยทก่ี ำหนดใหจายเพ่ือการบริหารงานประจำ ไดแกรายจายที่ จายในลกั ษณะคา ตอบแทน คา ใชสอย คา วัสดุ คา สาธารณูปโภค งบลงทุน หมายถึง รายจายที่กำหนดใหจายเพื่อการลงทุน ไดแก รายจายในลักษณะ คา ครุภัณฑ คาท่ดี ิน และสงิ่ กอ สราง งบเงินอดุ หนนุ หมายถงึ รายจายทก่ี ำหนดใหจายเปนคา บำรุง หรือเพื่อชว ยเหลือสนับสนุน การดำเนินงานของหนวยงานองคกรตามรัฐธรรมนูญ หรือหนวยงานของรัฐซึ่งมิใชสวนราชการ

18

สวนกลางตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน หนวยงานในกำกับของรัฐองคการ มหาชน รัฐวิสาหกิจ องคกรปกครองสวนทองถิ่น สภาตำบล องคการระหวางประเทศบิติบุคคล เอกชนหรือกิจการอันเปนสาธารณประโยชน รวมถึง เงินอุดหนุนงบพระมหากษัตรยิ  เงินอุดหนุนการ ศาสนา และรายจายท่สี ำนักงบประมาณกำหนดใหจ ายในงบรายจายนี้

งบรายจายอื่น หมายถึง รายจายที่ไมเขาลักษณะประเภทงบรายจายใดงบรายจายหนึ่ง หรอื รายจายทีส่ ำนกั งบประมาณกำหนดใหใ ชจ า ยในงบรายจายน้ี เชน

1. เงนิ ราชการลบั 2. เงินคาปรบั ท่ีจายคืนใหแกผ ูขายหรือผูร บั จาง 3. คา จางทปี่ รึกษาเพ่ือศึกษา วิจัย ประเมนิ ผล หรือพัฒนาระบบตางๆซ่ึงมิใชเพ่ือการจัดหา หรอื ปรับปรงุ ครภุ ัณฑท ดี่ ินหรือสง่ิ กอสรา ง 4. คา ใชจ า ยในการเดินทางไปราชการตา งประเทศชวั่ คราว 5. คา ใชจายสำหรับหนว ยงานองคกรตามรัฐธรรมนูญ (สว นราชการ) 6. คา ใชจ า ยเพื่อชำระหนเี้ งินกู 7. คา ใชจายสำหรบั กองทุน หรือเงินทุนหมนุ เวียน

งานบริหารแผนและงบประมาณ

ขอบขายงานการบรหิ ารงบประมาณ มีดงั นี้ 1. การจัดทำแผนงบประมาณและคำขอตั้งงบประมาณเพื่อเสนอตอเลขาธิการ คณะกรรมการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

  1. จัดทำขอมูลสารสนเทศทางการเงินของสถานศึกษา ไดแก แผนชั้นเรียน ขอมูลครู นักเรียน และสิ่งอำนวยความสะดวกของสถานศึกษา โดยความรวมมือของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา
  1. จดั ทำกรอบงบประมาณรายจา ยลวงหนา และแผนงบประมาณ
  2. เสนอแผนงบประมาณขอความเห็นชอบตอคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานเพ่ือ ใชเ ปนคำขอตั้งงบประมาณตอ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา

2. การจัดทำแผนปฏิบัติการใชจายเงิน ตามที่ไดรับจัดสรรงบประมาณจากสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานโดยตรง

  1. จัดทำแผนปฏบิ ตั ิการประจำปและแผนการใชจ ายงบประมาณภายใตค วามรวมมือของ สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

19

  1. ขอความเห็นชอบแผนปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณตอคณะกรรมการ สถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

3. การอนุมัติการใชจายงบประมาณท่ีไดร บั จัดสรร ผูอำนวยการสถานศึกษาอนุมัติการใชจายงบประมาณตามงาน/โครงการที่กำหนดไวใน แผนปฏบิ ตั ิการประจำป และแผนการใชจ ายเงินภายใตค วามรว มมือของสำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา

4. การขอโอนและการขอเปลย่ี นแปลงงบประมาณ

  1. ตรวจสอบรายละเอียดรายการงบประมาณที่จำเปนตองขอโอนหรือเปลี่ยนแปลง

เชนเดียวกับสถานศึกษาประเภทที่ 1 เสนอความเห็นชอบคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน แลว เสนอขอโอนหรือเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณตอสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อดำเนินการ ตอ ไป

5. การรายงานผลการเบิกจา ยงบประมาณ

  1. รายงานผลการดำเนินงาน ผลการใชจ ายเงินงบประมาณประจำป ไปยังสำนักงานเขต

พืน้ ท่ีการศึกษา 6. การตรวจสอบ ติดตามและรายงานการใชงบประมาณ

  1. จัดการใหมกี ารตรวจสอบและติดตามให กลุม ฝายงานในสถานศึกษา รายงานผลการ

ปฏิบัติงานและผลการใชจายงบประมาณ เพื่อจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใชจาย งบประมาณตามแบบท่ีสำนกั งบประมาณกำหนด และจัดสง ไปยงั สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาทกุ ไตรมาส ภายในระยะเวลาท่สี ำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษากำหนด

  1. จดั ทำรายงานประจำปท ี่แสดงถงึ ความสำเร็จในการปฏิบตั ิงาน และจดั สงใหสำนักงาน เขตพ้นื ที่การศึกษาภายในระยะเวลาทส่ี ำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษากำหนด

7. การตรวจสอบ ติดตามและรายงานการใชผลผลติ จากงบประมาณ

  1. ประเมนิ คุณภาพการปฏิบตั ิงานตามท่ไี ดร บั มอบหมาย
  2. วางแผนประเมินประสิทธภิ าพ และประสทิ ธิผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา
  3. วิเคราะหและประเมินความมีประสิทธิภาพ ประหยัด และความคุมคาในการใช

ทรัพยากรของหนว ยงานในสถานศึกษา 8. การระดมทรพั ยากรและการลงทนุ เพื่อการศึกษา

  1. วางแผน รณรงค สงเสริมการระดมทุนการศึกษาและทุนเพื่อการพัฒนาการศึกษาให

ดำเนินงานไดอยางมีประสทิ ธิภาพและเกดิ ประสิทธิผล คมุ คา และมคี วามโปรงใส

20

  1. จัดทำขอมูลสารสนเทศ และระบบการรับจายทุนการศึกษาและเพื่อการพัฒนา การศึกษาใหด ำเนินงานไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพและเกดิ ประสิทธิผล คุม คา และมีความโปรง ใส
  1. สรปุ รายงาน เผยแพร และเชิดชูเกียรตผิ ูส นบั สนุนทนุ การศกึ ษาและทนุ เพือ่ การพัฒนา สถานศึกษา โดยความชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

9. การบรหิ ารจดั การทรัพยากรเพ่ือการศึกษา

  1. จัดทำรายการทรัพยากรเพื่อเปนสารสนเทศไดแกแหลงเรียนรูภายในสถานศึกษา

แหลงเรียนรูในทองถิ่นทั้งที่เปนแหลงเรียนรูธรรมชาติและภูมิปญญาทองถิน่ แหลงเรียนรูทีเ่ ปนสถาน ประกอบการ เพื่อการรับรูของบุคลากรในสถานศึกษา นักเรียนและบุคคลทั่วไปจำไดเกิดการใช ทรพั ยากรรว มกนั ในการจัดการศึกษา

  1. วางระบบหรือกำหนดแนวปฏบิ ัติการใชทรัพยากรรวมกันกับบุคคล หนวยงานรัฐบาล และเอกชนเพอ่ื ใหเกดิ ประโยชนสูงสุด
  1. กระตุนใหบุคคลในสถานศกึ ษารวมใชท รัพยากรภายในและภายนอก รวมทั้งใหบริการ การใชท รัพยากรภายในเพอ่ื ประโยชนตอ การเรียนรูและสง เสรมิ การศึกษาในชมุ ชน
  1. ประสานความรวมมือกับผูรับผิดชอบแหลงทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรที่มนุษย สรางทรพั ยากรบคุ คลทีม่ ศี กั ยภาพใหก ารสนบั สนนุ การจดั การศึกษา
  1. ดำเนินการเชิดชูเกียรติบุคคลและหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ที่สนับสนุนการใช ทรพั ยากรรว มกนั เพื่อการศึกษาของสถานศกึ ษา

10. การวางแผนพสั ดุ

  1. การวางแผนพัสดุลวงหนา 3 ป ใหดำเนินการตามกระบวนการของการวางแผน

งบประมาณ

  1. การจัดทำแผนการจดั หาพัสดุใหฝ ายท่ที ำหนา ทจ่ี ัดซ้ือจดั จา งเปนผดู ำเนนิ การ โดยให

ฝายที่ตองการใชพัสดุ จัดทำรายละเอียดพัสดุที่ตองการ คือรายละเอียดเกี่ยวกับปริมาณ ราคา คุณลักษณะเฉพาะ หรือแบบรูปรายการและระยะเวลาที่ตองการนี้ตองเปนไปตามแผนปฏิบัติการ ประจำป (แผนปฏิบัติงาน) และตามที่ระบุไวในเอกสารประกอบพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย ประจำป สงใหฝ า ยที่ทำหนา ที่จัดซ้อื จัดจา งเพอื่ จดั ทำแผนการจัดหาพสั ดุ

  1. ฝายที่จัดทำแผนการจัดหาพัสดุทำการรวบรวมขอมูลรายละเอียดจากฝายที่ตองการ ใชพ สั ดโุ ดยมกี ารสอบทานกบั แผนปฏิบตั งิ านและเอกสารประกอบพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจาย ประจำป และความเหมาะสมของวิธีการจัดหาวา ควรเปนการซื้อ การเชาหรือการจัดทำเองแลวจำนำ ขอมูลทสี่ อบทานแลวมาจัดทำแผนการจดั หาพสั ดใุ นภาพรวมของสถานศกึ ษา

11. การกำหนดแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะของครภุ ัณฑหรอื สิ่งกอ สรางท่ีใช เงินงบประมาณเพอ่ื สนองตอ เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

21

  1. กำหนดแบบรปู รายการหรอื คุณลักษณะเฉพาะเพอื่ ประกอบการขอตั้งงบประมาณ สง ใหส ำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา
  1. กรณีที่เปนการจัดหาจากเงินนอกงบประมาณใหกำหนดแบบรูปรายการหรือคุณ ลักษณะเฉพาะไดโดยใหพิจารณาจากแบบมาตรฐานกอนหากไมเหมาะสมก็ใหกำหนดตามความ ตอ งการโดยยึดหลักความโปรง ใส เปนธรรมและเปน ประโยชนก ับทางราชการ

12. การจดั หาพัสดุ

  1. การจดั หาพสั ดุถือปฏิบัติตามระเบยี บวา ดวยการพสั ดุของสวนราชการและคำสั่งมอบ

อำนาจของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

  1. การจัดทำพัสดุถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาวาดวยการใหสถานศึกษารับ

จดั ทำรับบรกิ าร 13. การควบคมุ ดูแล บำรงุ รกั ษาและจำหนา ยพัสดุ

  1. จัดทำทะเบียนคุมทรัพยสินและบัญชีวัสดุไมวาจะไดมาดวยการจัดหาหรือการรับ

บรจิ าค

  1. ควบคุมพัสดใุ หอ ยใู นสภาพพรอ มการใชงาน
  2. ตรวจสอบพัสดุประจำป และใหมีการจำหนายพัสดุที่ชำรุด เสื่อมสภาพหรือไมใชใน

ราชการอกี ตอไป

  1. พัสดุที่เปนที่ดินหรือสิ่งกอสราง กรณีที่ไดมาดวยเงินงบประมาณใหดำเนินการขึ้น

ทะเบยี นเปนราชพสั ดุ กรณที ไ่ี ดมาจากการรับบรจิ าคหรอื จากเงินรายไดสถานศกึ ษาใหข นึ้ ทะเบียนเปน กรรมสทิ ธิ์ของสถานศกึ ษา

14. การรับเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการจายเงิน

  1. การปฏิบัติเกี่ยวกับการรับเงิน และการจายเงินใหปฏิบัติตามระเบียบที่

กระทรวงการคลงั กำหนดคอื ระเบียบการเกบ็ รกั ษาเงนิ และการนำเงนิ สง คลงั ในหนาที่ของอำเภอ พ.ศ. 2520 โดยสถานศึกษาสามารถกำหนดวิธีปฏิบัติเพิ่มเติมไดตามความเหมาะสมแตตองไมขัดหรอื แยง กับระเบียบดังกลาว

  1. การปฏิบัติเกี่ยวกับการเก็บรักษาเงินใหปฏิบัติตามระเบียบที่กระทรวงการคลัง กำหนด คอื ระเบยี บการเกบ็ รกั ษาเงนิ และการนำเงนิ สง คลังในสว นของราชการ พ.ศ. 2520 โดยอนโุ ลม

15. การนำเงินสง คลัง

  1. การนำเงนิ สงคลังใหน ำสงตอ สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาภายในระยะเวลาที่กำหนด

ไวตามระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินสงคลังในหนา ที่ของอำเภอ พ.ศ. 2520 หากนำสงเปน เงินสดใหต ั้งคณะกรรมการนำสง เงินดวย

16. การจัดทำบัญชีการเงิน

22

ผรู บั ผดิ ชอบ นางสาวณัชชา ทรพั ยประเสรฐิ หนาท่ีรบั ผดิ ชอบปฏบิ ตั งิ านดงั นี้

  1. ใหจัดทำบัญชีการเงินตามระบบที่เคยจัดทำอยูเดิม คือ ตามระบบที่กำหนดไวในคูมือ การบญั ชีหนวยงานยอ ย พ.ศ. 2515 หรอื ตามระบบการควบคมุ การเงินของหนวยงานยอย พ.ศ. 2544 แลว แตกรณี 17. การจดั ทำรายงานทางการเงินและงบการเงนิ
  1. จัดทำรายงานตามท่ีกำหนดในคูมือการบญั ชีสำหรับหนวยงานยอย พ.ศ. 2515 หรือ ตามระบบการควบคมุ การเงินของหนว ยงานยอยพ.ศ. 2515 แลวแตกรณี
  1. จัดทำรายงานการรับจายเงินรายไดสถานศึกษา ตามที่สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด คือ ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานวาดวย หลักเกณฑ อัตราและวิธีการนำเงินรายไดสถานศึกษาไปจายเปนคาใชจายในการจัดการศึกษาของ สถานศกึ ษาที่เปนนิตบิ ุคคลรายไดส ถานศึกษาไปจายเปนคาใชจายในการจัดการของสถานศึกษาท่ีเปน นิตบิ คุ คลในสังกดั เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา

18. การจดั ทำและจัดหาแบบพมิ พบ ญั ชี ทะเบยี นและรายงาน

  1. แบบพิมพบัญชี ทะเบียนและแบบรายงานใหจัดทำตามแบบที่กำหนดในคูมือการ

บัญชีสำหรับหนวยงานยอย พ.ศ. 2515 หรือตามระบบการควบคุมการเงินของหนวยงานยอย พ.ศ. 2544

19. งานธนาคารโรงเรยี น

  1. สง เสริมใหเหน็ คณุ คาของการประหยดั การออมและเหน็ ความสำคัญของระบบ

บรกิ ารของธนาคาร–การเงนิ

  1. ประสานงานกับธนาคารการเกษตรเพ่ือสหกรณการเกษตร อ.สวนผงึ้
  2. ใหบริการรับฝาก - ถอนเงนิ ใหก ับนกั เรียน ครูและบุคลากรโรงเรียนบา น

ทามะขาม

  1. จัดทำบัญชเี งินฝากเปนรายบุคคล
  2. จดั ทำโครงการเพื่อสงเสรมิ ใหนกั เรยี น ครแู ละบคุ ลากรโรงเรยี นบา นทามะขามมาเปด

บัญชีและเพิ่มเงนิ ฝาก จดั หาของขวญั เพือ่ มอบใหสมาชกิ เปนรายเดือน/ป เพ่ือเปน กำลงั ใจ

  1. นเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนนิ งานและจัดทำแบบสอบถามความพึง

พอใจของผเู ก่ยี วของ

  1. จัดทำสรปุ รายงานผลการดำเนนิ งานเปนรูปเลมและนำเสนอฝา ยบริหารตามลำดับเพ่ือ

รบั ทราบขอ มลู ทกุ ส้ินปการศึกษา

23

งานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน มีหนาท่ีรับผิดชอบในขอบขายตอ ไปนี้ 1. รวบรวมประมวลวิเคราะหแ ละสังเคราะหข อมลู ทใ่ี ชใ นการประชมุ คณะกรรมการ สถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 2. สนบั สนุนขอ มลู รับทราบหรอื ดำเนินการตามมติทป่ี ระชมุ ของคณะกรรมการสถานศึกษา ขนั้ พื้นฐาน 3. ดำเนนิ งานดา นธรุ การในการจัดประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน 4. จัดทำรายงานการประชมุ และแจง มตทิ ป่ี ระชุมใหผ ูทเ่ี ก่ียวของเพือ่ ทราบดำเนินการหรือ ถอื ปฏิบัตแิ ลวแตกรณี 5. ประสานการดำเนนิ งานตามมติการประชุมในเร่ืองการอนุมัติ อนุญาต สงั่ การ เรงรัด การ ดำเนินการและรายงานผลการดำเนินการใหคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน 6. ปฏบิ ัติหนาท่อี ื่น ๆ ตามท่ีไดรบั มอบหมาย

¤ÙÁ‹ Í×

¡ÒúÃÔËÒçҹἹ áÅЧº»ÃÐÁÒ³

โรงเรยี นบา นทา มะขาม

สํานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1 สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ