กรกฎาคม อ งกฤษ คนเท ยวเยอะ การบ นไทย ไฟลท เต ม

ึ � ื “...ในการทางานใด ๆ ก็ดี ย่อมต้องมีความผิดพลาด ความบกพร่องเกิดข้น เป็นเร่องธรรมดา. ั � ี ี หากความบกพร่องน้น นาไปสู่การเรียนรู้ท่จะแก้ไข ปรับปรุง ข้อผิดพลาดหรือข้อบกพร่องท่ผ่านมา ให้กลายเป็นบทเรียนแก่ตนเอง ผู้อื่น และส่วนรวม สิ่งนั้นจึงจะเรียกว่า เกิดการเรียนรู้ หรือเกิดบทเรียน. ท้งน้ ประสพการณ์ และสติปัญญา ตลอดจนความรู้ความสามารถ ท่จะนามาใช้เป็นเคร่องกากับตนเอง ื ี � ั � ี ั ี � ้ � ไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดหรือบกพร่องซาอีก อันจะอานวยให้บังเกิดผลในอนาคตท่เหมาะสมเหมาะควรน้น คือการบังเกิดขึ้นของความเจริญ และความเป็นมงคลอย่างแท้จริง. ...” พระราชดำารัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยในโอกาสขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๖๓ วันอังคาร ที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๒

นายกกรรมการราชนาวิกสภา

พลเรือโท เคารพ แหลมคม รองนายกกรรมการราชนาวิกสภา พลเรือตรี จิรพล ว่องวิทย์ กรรมการราชนาวิกสภา พลเรือตรี สุรสิงห์ ประไพพานิช พลเรือตรี บัญชา บัวรอด พลเรือตรี คณาชาติ พลายเพ็ชร์ พลเรือตรี อุทัย โสฬศ ๑๕ พลเรือตรี วราณัติ วรรธนผล ปกหน้� พลเรือตรี สรไกร สิริกรรณะ พลเรือตรี มนต์เดช พัวไพบูลย์ พลเรือตรี วิสาร บุญภิรมย์ พลเรือตรี สุนทร คำาคล้าย พลเรือตรี ดนัย สุวรรณหงส์ พลเรือตรี อนุพงษ์ ทะประสพ พลเรือตรี ประสาน ประสงค์สำาเร็จ

กรรมการและเลขานุการราชนาวิกสภา นาวาเอก สุพจน์์ สารภาพ

เหรัญญิกราชนาวิกสภา เรือเอก สุขกิจ พลัง ที่ปรึกษาราชนาวิกสภา ปกหลัง พลเรือโท สมัย ใจอินทร์ ู ี ื พลเรอโท วรพล ทองปรีชา ข้อคิดเห็นในบทคว�มท่นำ�ลงนิตยส�รน�วิกศ�สตร์เป็นของผ้เขียน มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบ�ยของหน่วยง�นใดของรัฐและมิได้ผูกพัน พลเรอโท มนตรี รอดวิเศษ ต่อท�งร�ชก�รแต่อย�งใด ได้นำ�เสนอไปต�มท่ผ้เขียนให้คว�มคิดเห็น ื ี ่ ู พลเรอโท อำานวย ทองรอด เท�น้น ก�รกล�วถึงคำ�ส่ง กฎ ระเบียบ เป็นเพียงข�วส�รเบ้องต้น ื ั ่ ่ ื ่ ั ื พลเรอโท กตัญญู ศรีตังนันท์ เพื่อประโยชน์แก่ก�รค้นคว้� บรรณาธิการ ปกหน้า เรือหลวงธนบุรี วันสดุดีวีรชนกองทัพเรือ นาวาเอก สุพจน์์ สารภาพ ปกหลัง เรือหลวงธนบุรี วันสดุดีวีรชนกองทัพเรือ ผู้ช่วยบรรณาธิการ พิมพ์ที่ บริษัท ธันว� 4 อ�ร์ต จำ�กัด นาวาเอกหญิง วรนันท์ สุริยกุล ณ อยุธยา เจ้าของ ร�ชน�วิกสภ� ประจำากองบรรณาธิการ นาวาเอก ก้องเกียรติ ทองอร่าม นาวาเอก ธาตรี ฟักศรีเมือง นาวาเอกหญิง แจ่มใส พันทวี นาวาโทหญิง ศรุดา พันธุ์ศรี นาวาโทหญิง อรณัฐ โพธิ์ตาด สำ�นักง�นร�ชน�วิกสภ� เรือเอก เกื้อกูล หาดแก้ว ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงศิริร�ช เขตบ�งกอกน้อย เรือเอกหญิง สุธิญา พูนเอียด กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทร. ๐ ๒๔๗๕ ๓๐๗๒ เรือโท อัศฐวรรศ ปั่นจั่น ๐ ๒๔๗๕ ๔๙๙๘ เรือโทหญิง อภิธันย์ แก่นเสน ส่งข้อมูล/ต้นฉบับได้ที่ [email protected] อ่�นบทคว�มเอกส�รอิเล็กทรอนิกส์ได้ที่ WWW.RTNI.ORG

สารบัญ

คลังความรู้ คู่ราชนาวี

ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ ประจำ เดือน มกราคม ๒๕๖๔

ลำ ดับเรื่อง ลำ ดับหน้า

บรรณ�ธิก�รแถลง.....................................................๐๖

เรื่องเล่�จ�กปก..........................................................๐๗

ภ�พเจ้�กรมอู่ทห�รเรือท่�นที่ ๑ ้ : ของลำ�ค่�ในปีที่ ๑๓๑ ของก�รสถ�ปน�.................๐๘ นาวาโทหญิง รศนา สมพงษ์ วันคล้�ยวันสถ�ปน�กองเรือฟริเกตที่ ๑

ครบรอบ ๖๘ ปี ........................................................๒๒ กองเรือฟริเกต ๑ ้ Marine Expeditionary Unit “ภ�พเจ้�กรมอู่ทห�รเรือท่�นที่ ๑ ของลำ�ค่�ในปีที่ ๑๓๑ ของก�รสถ�ปน�”

(MEU)........................๓๐ นาวาตรี วีรกมล สวนจันทร์

ล้อไม่ก�ง....................................................................๔๐ นาวาโท ชัชวาล ประสิทธิ์เวช

สร้�งเหล็กในคน..............................................................๔๕ “ Marine Expeditionary Unit (MEU)” ถ.ถุง

บอกผมที “แบบนี้ผิดหรือถูก”...................................๗๐

สำ�นวนช�วเรือ...........................................................๗๑

เรื่องเล่�ช�วเรือ..........................................................๗๓

ข่�วน�วีรอบโลก........................................................๗๔

ภ�พกิจกรรมกองทัพเรือ............................................๗๘ “ ล้อไม่ก�ง”

ใต้ร่มประดู่.................................................................๘๘

ก�รฌ�ปนกิจสงเคร�ะห์แห่งร�ชน�วี.........................๙๐

้ ม�ตร�นำ� เดือน มีน�คม ๒๕๖๔ เวล�ดวงอ�ทิตย์ - ดวงจันทร์ ขึ้น - ตก เดือน มีน�คม - เมษ�ยน ๒๕๖๔.................................๙๒

์ ื นาวิกศาสตร นิตยสารของกองทัพเรือ มีวัตถุประสงค เพ่อเผยแพร ่ ์ ื วิชาการและข่าวสารทหารเรือท้งในและนอกประเทศ ตลอดจนวิทยาการอ่น ๆ “สร้�งเหล็กในคน” ั ทั่วไป และเป็นสิ่งในการประชาสัมพันธ์ ของกองทัพเรือ

บรรณาธิการแถลง

นาวาเอก สุพจน์ สารภาพ

[email protected]

ขณะที่ผมกำ�ลังจรดป�กก�เพื่อเขียนบทบรรณ�ธิก�ร ในช่วงสถ�นก�รณ์ที่ต้อง stay at home หยุดเชื้อเพื่อช�ติ ภ�คสอง เสียงเพลง January ของวง Pilot ในยุค ๗๐ ก็ดังขึ้นม�พอดี (หล�ย ๆ คนคงชอบเสียงเพลงภ�ษ�อังกฤษ

ี ี ี ี แต่ไม่ค่อยชอบเสียงภ�ษ�อังกฤษท่ใช้ทดสอบ) แต่มันไม่ใช่เพลงท่เก่ยวกับเดือนแรกของป หรือเทศก�ลปีใหม ่ ่ ้ ื ึ ่ แต่เป็นช่อของหญิงส�วคนหน่ง ทำ�นองเพลงแนวสนุกสน�น เข�กับบรรย�ก�ศเทศก�ลปีใหม เน้อเพลงกล�วถึง ื หญิงส�วที่ชื่อ January คนที่กำ�ลังเบื่อโลกสุด ๆ เลยทำ�ให้พ่อหนุ่มเศร้�ไปกับเธอด้วยก็เลยลุกขึ้นม�ร้องเพลงปลุก ให้เธอสดใสกระชุมกระชวยขึ้นอีกครั้ง และผมก็ม�สะดุดตรงท่อนหนึ่งของเพลงที่ว่� “Time’s is flyer. Sunny day fly away. English summer are gone so long. Gotta go up , gotta grow up” ี ื ่ ่ ื ่ ึ ใช่ครับ เวล�มันผ�นไปรวดเร็วเหลือเกิน เหมือนเพ่อนสนิทท่ค่อย ๆ ห�งกันไปเม่อโตข้น เพร�ะต�งคน ิ ั ่ ็ ุ ่ ื ่ ื ั ี ่ ู ้ ่ ต�งมหน�ทแบบผใหญ ขณะเดยวกนคว�มฝนในวยเดกของเร�มนคอย ๆ เลอนห�ยไป เมอเร�เตบโต แตคณ ้ ี ่ ั ั ี ยังอย�กที่จะเป็น.............. (อะไรก็ได้ในสิ่งที่คุณอย�กเป็น) มันก็ยังไม่ส�ยอะไรทำ�นองนี้ บ�งคนอ�จจะบอกว่� มันย�กเหลือเกินที่จะบอกล�เรื่องร�วในวันว�น บ�งช่วงเวล�ของโลกใบนี้ เคยเกิดก�รเปลี่ยนแปลงชนิดรุนแรงฉับพลันท�งด้�นคว�มคิด วิถีชีวิต คว�มเชื่อ ศ�สน� ก�รเมือง ั ึ ั ท้งในระดับปัจเจกชนจนถึงระดับประเทศ ซ่งส่งผลต่อศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของผ้คนในภ�พรวมท่วโลก ู รวมถึงก�รพัฒน�ท�งด้�นเทคโนโลยีก�รเข้�ถึงสื่อต่�ง ๆ ง่�ยขึ้น สำ�หรับช่วงเวล�นี้ของเร� ก็มีก�รเปลี่ยนแปลงเล็ก ๆ กับก�รต้องดำ�รงชีวิตวิถีใหม่ new normal จงทำ�เถอะครับ เพื่อตัวท่�นเอง เพื่อครอบครัว และเพื่อประเทศช�ติ รัก................ษ�................ระ................ยะ................จะ................ปลอด................ภัย ห่�ง...................ไกล...................โควิด..................สวัสดีปีใหม่จ�กใจบรรณ�ธิก�รครับ ้ ถ�จริงจังกับโลกเกินไป จะต้องต�ยเพร�ะคว�มเศร� ้ ชีวิตไม่พอกับตัณห� เวล�ไม่พอกับคว�มต้องก�ร ที่พักครั้งสุดท้�ยของชีวิตคือ ป่�ช้� หลวงปู่ขาว อนาลโย

กองบรรณาธิการ

ปกหน้า - ปกหลัง : เรือหลวงธนบุรี วันสดุดีวีรชนกองทัพเรือ

ี � เดือนมกราคมของทุกปีมีวันสาคัญท่กองทัพเรือกาหนดให้เป็น “วันสดุดีวีรชนกองทัพเรือ”ตรงกับวันท ี ่ � ึ ื ี ่ ื ึ ึ � ี ่ � ๑๗ มกราคม ซงพวกเราทหารเรอสมควรราลกถงวรกรรมของบรรพชนทหารเรอททาการรบอย่างกล้าหาญ ุ ี ่ ื ี ู ั เดดเดยว ยอมพลชพในสมรภมรบต่าง ๆ เพอปกป้องเอกราชและอธปไตยของชาตให้มนคงสบมาจนทกวนน ้ ี ิ ื ็ ิ ิ ั ี ่ ่ ี ่ ื ึ ั ิ โดยเฉพาะการรบทางเรือคร้งสาคัญย่งคร้งหน่งในประวัติศาสตร์ของชาติไทย เม่อวันท ๑๗ มกราคม พ.ศ.๒๔๘๔ ั � � ้ ท่ทหารเรือไทยได้ทาการรบกับกองเรือของประเทศฝร่งเศสในสมรภูมิรบเหนือน่านนาบริเวณเกาะช้าง จังหวัดตราด � ั ี โดยกาลังฝ่ายเราประกอบด้วย เรือหลวงธนบุร เรือหลวงสงขลา และเรือหลวงชลบุร ภายใต้การนาของ ี ี � � ั ี � นาวาโท หลวงพร้อม วีระพันธุ์ ผู้บังคับการเรือหลวงธนบุร และทหารเรือทุกคนท่ประจาการอยู่ในเวลาน้น ี ์ ี ี ่ ได้เข้าทาการรบโดยไม่หวาดหว่นเพอสกดกนกองเรอข้าศกท่มเรอลาดตระเวนลามอตตปิเกต์เป็นเรอธง พร้อมเรออ่น ๆ ื ื ั ั ื ้ ื � ื ั ึ ื อีก ๖ ล�า ผลการรบฝ่ายเราต้องสูญเสียเรือรบทั้ง ๓ ล�า พร้อมด้วยชีวิตของก�าลังพลประจ�าเรือรวม ๓๖ นาย ซึ่ง ได้ต่อสู้ด้วยความทรหดอดทน สมศักด์ศร สมเกียรต นักรบไทย จนเป็นท่เกรงขามของศัตร เพราะแม้ว่าฝ่ายเรา ู ิ ิ ี ี จะเสียหายมากกว่า แต่ศัตรูก็ไม่ได้ด�าเนินการรบต่อ และได้ถอนก�าลังออกไปจากน่านน�้าอธิปไตยของไทย ภายหลังส้นสุดการรบ เรือหลวงธนบุรีได้รับความเสียหายจากกระสุนระเบิด ไฟไหม้เรือ นาเข้าเรือ และจมอยู่ท ี ่ ิ � ้ � � � บริเวณแหลมงอบ จังหวัดตราด ทางราชการทาการกู้เรือ และกระทรวงกลาโหมได้มีคาส่งปลดระวางประจาการ ั เรือหลวงธนบุรี เมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ.๒๔๘๔ เมื่อสงครามโลกครั้งที่ ๒ สิ้นสุดลง กองทัพเรือยังมีความประสงค์ที่จะซ่อมใช้งาน ในปี พ.ศ.๒๔๙๒ จึงได้เสนอ งบประมาณเพื่อซ่อมเรือ ไว้ในโครงการพัฒนากองทัพเรือระยะยาว (๕ ปี) โครงการฯ ชะงักลงไปภายหลังเหตุการณ์ ร้ายแรงเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๔๙๔ ต่อมาเมื่อเวลาผ่านไปตัวเรือเริ่มผุพัง หากซ่อมท�าให้ใช้การได้ ต้องเสียเงิน � � � � ค่าใช้จ่ายเป็นจานวนมาก จึงจาเป็นต้องรุจาหน่าย โดยนาส่วนของหอบังคับการและป้อมปืนเรือหลวงธนบุรีมาจัดสร้าง ี เป็นอนุสรณ์เตือนใจทหารเรือไทยและประชาชนชาวไทย ไว้ท่โรงเรียนนายเรือ จังหวัดสมุทรปราการ และเป็นสถานท ่ ี ประกอบพิธี “สดุดีวีรชนกองทัพเรือ” ใน “วันสดุดีวีรชนกองทัพเรือ” ๑๗ มกราคม ของทุกปี นาวิกศาสตร์ 7 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

้ ่ ่ ำ ภาพเจ้ากรมอู่ทหารเรือท่านที ๑ : ของขวัญลาค่าในปีที ๑๓๑ ของการสถาปนา คุณค่าที่อยู่เหนือข้อจำากัดของเวลาและสถานที่

นาวาโทหญิง รศนา สมพงษ ์

� ในสมัยที่เรายังเล็ก อ่านหนังสือไม่ได้กระทั่งยังพูด มากกว่าการเรียนรู้เร่อง คา ในเวลาต่อมา เร่องราว ื ื ี ั � ู ั ั ี ั ้ ี เป็นประโยคไม่ได้น้น การเรียนรู้แรกท่ทาให้เราเข้าใจ ของครอบครวก่อนท่จะมาเป็นตวเราในวนน มกจะถก ั ี ิ � ความหมายของคาต่าง ๆ ก่อนความสามารถสะกดตัวอักษร เช่อมโยงด้วยคาบอกเล่า แต่ส่งท่จะทาให้คาบอกเล่าน้น ั � � � ื ั ื � คือ การเช่อมโยงคาท่พ่อแม่เพียรสอนคาน้นกับภาพ ไม่ว่า มีชีวิตราวกับเป็นภาพยนตร์สักเรื่องที่ชวนติดตาม และ ี � ื ภาพท่เห็นน้นจะเป็นส่งแวดล้อมท่อยู่รอบตัว ส่งพิมพ์ เป็นจินตภาพให้จดจา จินตนาการร้อยเรียงเร่องราวของ ิ ั ี � ี ิ � ภาพเขียน หรือภาพถ่าย วงศ์ตระกูลฝังไว้ในความทรงจา ตลอดจนความประทับใจ นาวิกศาสตร์ 8 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

ที่สามารถเล่าต่อให้ลูกหลานได้ไม่รู้เบื่อ มักจะเป็นภาพ ไม่ต่างจากครอบครัว เหตุการณ์ส�าคัญ ๆ ของครอบครัว ค่อย ๆ ย้อนกลับไป ในสภาพแวดล้อมทางสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลง ื เช่น รูปตัวเราเม่อแรกเกิด รูปวันแต่งงานของพ่อแม่ อย่างรวดเร็วตามพลวัตของความรู้ และเทคโนโลย ี ี ึ รูปพ่อแม่ตอนเป็นเด็ก รูปปู่ย่าตายาย รูปท่านทั้งหลาย ในทุกมิติของชีวิตท่จะเกิดข้นในอนาคต “รากแก้ว” ตอนที่ยังหนุ่มสาว หรือไกลไปถึงรูปคุณทวด ของครอบครัวจะช่วยให้เรายืนหยัดอยู่ได้ และพร้อม ี ั มนุษย์ทุกคนล้วนมีรากเหง้า ท่มา อาจมีท้งความคล้าย เผชิญกับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีทิศทาง วัฒนธรรม ความต่าง แต่สิ่งที่เหมือนกันคือ ยิ่งเวลาในชีวิตผ่านไป องค์กรคือรากแก้ว คือความม่นคงแห่งตัวตนท่เป็นแกน ี ั ี � นานเท่าไหร่ เรื่องราวที่บอกเล่า “ความเป็นเรา” ก็ยิ่ง สาคัญให้เราพร้อมเสมอกับการเปล่ยนแปลงและความ มากมายขึ้นเท่านั้น และในอีกนัยหนึ่ง “ความเป็นเรา” ท้าทายใหม่ ึ ิ เป็นส่งสะท้อน “คุณค่าแห่งเรา” อย่างมิอาจแยกออกได้ ส่วนหน่งของการสร้าง และส่งต่อวัฒนธรรมองค์กร

บางภาพในเวลาต่อมาเมื่อเราโตขึ้น จึงอาจรวมความหมายไว้มากกว่า ๑ ค�า

ื � ี ั ื ื ฟันเฟืองเล็ก ๆ ท่หมุนขบขับเคล่อนให้เคร่องจักรทางานได้ต่อเน่องและราบร่นน้นล้วนมีความสาคัญ เฉกเช่น บุคลากรทุกระดับในองค์กร � ื ท่ต่างใช้เวลากว่า ๒,๐๐๐ ช่วโมงต่อปี หรือใช้เวลา ๑ ใน ๔ ของช่วงชีวิตการรับราชการท่เราต้องอยู่ร่วมกันในหน่วยงาน มีปฏิสัมพันธ์และปฏิบัติงาน ี ั ี ร่วมกันให้บรรลุวัตถุประสงค์ และส�าหรับหลายคนที่อาจใช้เวลามากกว่าช่วง ๑ ใน ๔ นั้นคิดถึงเรื่องของงานโดยมิอาจแยกขาดจากชีวิตทั่วไปได้ ่ ั ี � � ี ็ ึ ้ ั ื ิ อย่างชัดเจน จึงสามารถกล่าวได้ว่า ท่ทางาน หน่วยงาน เพ่อนร่วมงาน จงมความสาคญตอชวตเสมอนเปน “บานและครอบครว” ของเราด้วยเช่นกัน ี ื ู่ � ิ � จากท่มาอันหลากหลายเม่อก้าวเข้าส “ครอบครัวการทางาน” ส่งสาคัญอีกส่งท่สามารถยึดโยงบุคลากร หรือฟันเฟืองเล็ก ๆ ขององค์กรให้สอด ี ื ี ิ ื ี ประสานกันได้อย่างลึกซ้ง และเป็นพลังแท้จริงท่ขับเคล่อนจากภายในของแต่ละบุคคลสู่มวลรวม เป็นส่งท่ไม่อาจเห็นได้ชัดเจนเท่ากับโครงสร้างท้ง ั ิ ึ ี ึ ื ี ี ุ ด้านองค์วัตถ หรือโครงสร้างทางการบริหาร แต่กลับเป็นส่งท่สัมผัสได้ด้วยบรรยากาศแวดล้อมท่แทรกซึมเป็นหน่งในเน้อเดียวกับตัวตนของเรา และ ิ ี หล่อหลอมเราตลอดทุกวันคือ วัฒนธรรมองค์กร (Organization Culture) ท่คอยผลักดันแนวคิด และทิศทางให้กับองค์กรโดยผ่านทางกลไกของ ี ึ ั ั ี บุคลากรท่ได้ซึมซับรับวัฒนธรรมน้น วัฒนธรรมองค์กรยังมีความเก่ยวพันลึกซ้งกับความจงรักภักด ความผูกพันต่อองค์กร อีกท้งยังสืบสานและต่อยอด ี � � ี ไปยังรุ่นสู่รุ่น จากหัวใจสาคัญของวัฒนธรรมองค์กรคือ คุณค่าองค์กร (Core Value) ท่เกิดจากการส่งสมบ่มเพาะ คาส่งสอน คาแนะนา อันเก่ยวข้อง ั � ั � ี ิ กับหลักการทฤษฎ รวมไปถึงสภาพแวดล้อมในอดีต หรือบทเรียนทางประวัติศาสตร์ การทดลอง และการปฏิบัต ท่ประกอบไปด้วยความคิดริเร่มและ ี ี ิ ึ ิ ี ื สร้างสรรค์ พัฒนาเป็นหลักนิยม (Doctrine) ซ่งเป็นส่งท่เราเช่อและยอมรับ อันถือเป็นแก่นวิธีคิด อย่างไรก็ดีองค์กรย่อมประกอบไปด้วยหน่วยย่อย ่ ลงมาตามลาดบชน จนถงหนวยย่อยสดทายคอ ตวบคลากร การสรางคานิยมรวม (Share Values) ใหแกทกหนวยยอยจงถอเปนสงสาคญทจะสะทอน ึ � ็ ิ ่ ั ี ื ้ ่ ่ ุ ้ ั ้ ึ ุ ่ ้ ื ่ ั ่ ุ � ้ ั ่ ภาพของวัฒนธรรมองค์กร ซ่งเป็นส่งท่มีอิทธิพลต่อความคิด การตัดสินใจ การปฏิบัติของบุคลากรท่มีผลต่อการบริหาร พัฒนา หรือเปล่ยนแปลง ี ี ึ ี ิ องค์กร นอกเหนือไปจากกฎระเบียบท่ยึดถือปฏิบัติโดยท่วไป ี ั นาวิกศาสตร์ 9 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

ื เกิดจากการรับรู้เร่องราวประวัติศาสตร์ ความเป็นมา ของกรมอู่ทหารเรือ คณะผู้บังคับบัญชากรมอู่ทหารเรือ ึ ั ี ื ึ เม่อเกิดความเข้าใจว่าองค์กรเกิดข้นด้วยอุดมการณ์ จึงได้หารือกัน และมีส่งการท่ประชุมหน่วยข้นตรง ื ่ ี ั ั ั ี ่ ความต้งใจแบบใด ความมุ่งม่นภาคเพียรของบรรพบุรุษ กรมอู่ทหารเรือ คร้งท ๘/๒๕๖๓ เม่อวันท ๑๓ สิงหาคม ก่อนท่จะมีวันน้ต้องผ่านอะไรมาบ้าง ประวัติศาสตร์จึง พ.ศ.๒๕๖๓ “ให้กองจัดการ กรมอู่ทหารเรือ ดาเนินการ ี � ี � ั ไม่ใช่ส่งท่บันทึก หรือจารึกไว้เท่าน้น แต่เป็นกระบวนการ สืบค้นภาพถ่ายของเจ้ากรมอู่ทหารเรือ ลาดับท ๑ เพ่อนา ิ ี ่ ื ี � สาคญทจะทาให้เราสามารถเขาใจปัจจบัน และมองเหน มาติดต้ง ในห้องประชุม ๑ กองบังคับการ กรมอู่ทหารเรือ ุ � ั ่ ้ ี ็ ั � � จุดร่วมและตระหนักในความสาคัญของตนเองใน ท่าเรือจุกเสม็ด สัตหีบ ชลบุรี ให้เรียบร้อย” แนวทางการทางานได้อย่างแจ่มชัด ผลักดันให้เกิดความ � ึ ี กระตือรือร้นท่จะเป็นส่วนหน่งของความสาเร็จในทุก � ี ระดับขององค์กร อันเป็นรากฐานท่ดีของการสร้างสรรค์ อนาคตอย่างมีเป้าหมาย การขนย้ายข้าวของจากบ้าน ถ่นอาศัย มักทาให้เรา � ิ ได้พบสิ่งที่ขาดหาย ั ี � การย้ายท่ต้งกองบังคับการกรมอู่ทหารเรือ ทาให้ เราต้องปรับย้ายภาพอดีตเจ้ากรมอู่ทหารเรือ อันเป็น สัญลักษณ์ท่บอกเล่าเร่องราวความภาคภูมิใจในห้วงเวลา ี ื ื ู ู ื ต่าง ๆ ของ “อ่เรอหลวง” หรอ “กรมอ่ทหารเรือ” ี ิ ท่ประดับเรียงรายอยู่ภายใน “ห้องชุมพรเขตอุดมศักด์” กองบังคับการ กรมอู่ทหารเรือ ณ ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ไปยัง คณะบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับนาวาเอก พระสุนทรานุกิจปรีชา ู ่ ี ี � ท่ต้งใหม่ทาให้เราพบว่าส่งท่ขาดหายมาเป็นระยะเวลา (ทัด ทัสนารมย์) เจ้ากรมอ่ทหารเรือ ล�าดับท ๑ ได้เดินทางมาพบกัน ณ ้ ี ิ ั ่ ี โรงเรียนสายไหม (ทัสนารมย์อนุสรณ์) เม่อวันท ๘ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓ ท�าให ื ื ี ี นานกว่า ๑๓๐ ปี คือ ภาพของ พันเอก พระอรสุมพลาภิบาล เร่องราวของบรรพบุรุษท่เคารพรักจากทุกส่วนท่ต่างมีแง่มุมท่ขาดหายไป ี (ทัด) ผู้ดารงตาแหน่งเจ้ากรมอู่ทหารเรือ ลาดับท ๑ ได้ถูกน�ามาเชื่อมโยง และเกิดภาพที่ชัดเจนสมบูรณ์ขึ้นได้ในที่สุด ์ ์ � � ่ ี � (จากซ้ายไปขวา) คุณกฤษฎา ทัสนารมย (หลานทวด) คุณอภินันท ทัสนารมย ์ ิ ิ ู ู ที่ปรากฏอยู่เพียงนาม (หลานป่) นาวาเอก ไกรสิทธ วาสนสิทธ ผ้อ�านวยการกองจัดการ กองบังคับการ กรมอู่ทหารเรือ อาจารย์พัชรินทร์ เทพสาร ผู้อ�านวยการโรงเรียนสายไหม ด้วยความใส่ใจ และให้ความสาคัญกับเกียรติภูม ิ (ทัสนารมย์อนุสรณ์) � ่ ั ี ั ้ ่ ั ่ ิ กรมอทหารเรอ เปนหนวยงานทางเทคนคของกองทพเรอ ทมหนาทเกยวกบการซอม สราง ดดแปลง ทดสอบ วจยและพฒนา เกยวกับเรอ ื ่ ั ่ ี ็ ู ิ ื ้ ั ่ ี ่ ื ี ี ี ี ี อากาศยาน ยานรบ และอุปกรณ์การช่างท่เก่ยวข้อง การส่งก�าลังพัสดุสายช่าง ตลอดจนให้การฝึกและศึกษาวิชาท่เก่ยวข้อง ตามหลักฐานปรากฏ ี ู หมุดหมายแห่งการสถาปนากรมอ่ทหารเรือ เดิมคือ “อ่เรือใต้วัดระฆัง” ท่ต้งอย่บนเน้อท่ราว ๔๐ ไร ทางทิศใต้ของวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร ู ื ี ู ี ั ่ ื ั ต่อเน่องกับเขตพระนิเวศน์เดิมของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลท ๑ เม่อคร้งยังเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ื ี ่ เป็นอ่เรือท่ท�าหน้าท่สร้าง ซ่อมเรือมาต้งแต่ประเทศสยามมีก�าลังรบทางเรืออย่างเป็นทางการในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอย่หัว ี ู ั ู ี รัชกาลที่ ๔ ครั้นกาลต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เมื่อมีเรือกลไฟขนาดใหญ่ใช้ในราชการจ�านวนมากขึ้น จึงโปรดฯ ให้สร้างเป็นอู่ไม้ขนาดใหญ่ เสด็จพระราชด�าเนินประกอบพิธีเปิด “อู่เรือหลวง” เมื่อวันที่ ๙ มกราคม พ.ศ.๒๔๓๓ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาจาก “อู่เรือหลวง” สู่ “กรมอู่ทหารเรือ” ได้มีพัฒนาการทั้งด้านองค์วัตถุ องค์ความรู้ องค์บุคคล ในทุกมิติที่ท�าให้ เรือพร้อม ตลอดจนการสนับสนุนทางด้านเทคนิคสนองต่อยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางทะเลของกองทัพเรือมาอย่างต่อเนื่อง ใน พ.ศ.๒๕๖๓ ปีที่ ๑๓๐ ของกรมอู่ทหารเรือ นับเป็นห้วงเวลาของการเปลี่ยนแปลงตามยุทธศาสตร์ กรมอู่ทหารเรือได้ย้ายกองบังคับการ ู ์ ี ื ั ี ี จากท่ต้งเดิมของอ่เรือหลวงมายังพ้นท อ�าเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุร อย่างสมบูรณ์ภายใต้การบังคับบัญชาของ พลเรือโท วรวัฒน สุขชัย ่ เจ้ากรมอู่ทหารเรือ ล�าดับที่ ๕๓ นาวิกศาสตร์ 10 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

การเติมเต็ม “รากแก้วกรมอู่ทหารเรือ” ด้วยการ จากเว็บไซต์ “นามานุกรมวรรณคดีไทย” และได้ทราบว่า ์ ั ุ ตามหาภาพท่หายไปของ “ปฐมบรรพบุรุษแห่งอู่ ตระกูลของท่านได้รับพระราชทานนามสกล “ทสนารมย” ี ี ่ เรือหลวง : พันเอก พระอรสุมพลาภิบาล (ทัด)” จากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท ๖ ื จึงเริ่มต้นขึ้น จากเว็บไซต์ “พระราชวังพญาไท” และจากช่อสกุลน ้ ี ทีมงานกองจัดการฯ ได้รวบรวมข้อมูลเชิงประจักษ์ นาไปสู่การได้สัมผัสเร่องราวแห่งตัวตนของท่านเจ้ากรมอ ู่ ื � ู ั ่ ี ั ่ ื � ี ื ของร่องรอยทางประวติศาสตร์ของกรมอ่ทหารเรอ ทหารเรอ ลาดบท ๑ ทมีมากกว่าข้อมลเก่ยวกบ ู ี ั � ์ ิ ิ เร่มต้นจากหนังสือ ๑๐๐ ปี กรมอู่ทหารเรือ ยศ บรรดาศักด ราชทินนาม และตาแหน่งในกองทัพเรือ ท่ระบุไว้ว่า “ก่อนเปิดอู่เรือหลวงในปี พ.ศ.๒๔๓๓ ี กิจการฝ่ายอู่เรือ เรียกว่า กรมอู่เรือ มีนายพันเอก พระอรสุมพลาภิบาล (ทัด) เป็นผู้บังคับบัญชาฝ่ายอู่เรือ ี ในระยะน ขุนพรหมรักษา (กร หงสกุล) ได้มาช่วยดูแลการ ้ ี สร้างอู่ใหม่ และต่อมาก็ได้มาทาหน้าท่แทนพระอรสุม � � ึ พลาภิบาล ซ่งย้ายไปประจากรมกลางกรมทหารเรือ � ในตาแหน่ง “นายเวรใหญ่ทหารเรือ” ประกอบกับต้นแบบ ี ี การตามหาภาพท่หายไปของคุณคร พลเรือตร กรีฑา ู ้ ื ่ ิ ิ พรรธนะแพทย ทไดเขยนเรองไวในนตยสารนาวกศาสตร ์ ้ ี ่ ์ ี ื ่ ู ู ์ ู ิ ฉบับเดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๔๘ เร่อง “นาวาเอก วิลเลียม ร.ท.จรวิทย สุนทร ทีมงานกองจัดการ กรมอ่ทหารเรือ ผ้เชอมโยงข้อมลจาก ี ื ู ์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตย้อนส่การตามหาบุคคลในประวัติศาตร น�าเสนอวิธ ่ ี เทรล เจ้ากรมอู่ทหารเรือ คนท ๓” และฉบับเดือนมกราคม การสืบค้น จนท�าให้ทีมกรมอ่ทหารเรือได้มาพบกับทายาทของ นาวาเอก ู พ.ศ.๒๕๕๐ เรื่อง “นาวาโท อีวินซี เจ้ากรมอู่ทหารเรือ พระสุนทรานุกิจปรีชา (ทัด ทัสนารมย์) อดีตเจ้ากรมอู่ทหารเรือ ล�าดับที่ ๑ ั ็ คนท ๔” มาเปนแนวทางในการตามหาภาพของ พนเอก ่ ี พระอรสุมพลาภิบาล (ทัด) ประวัติศาสตร์ยังคงมีชีวิตอยู่เสมอ ตราบใดที่การ สืบค้นข้อมูล หลักฐานทางประวัติศาสตร์นามาสู่การ � ร่างภาพของเรื่องราวในอดีตให้ค่อย ๆ แจ่มชัด นับเป็น ี ี ี ี ความโชคดท่กองจัดการฯ เป็นหน่วยงานท่เช่ยวชาญ และเพียบพร้อมไปด้วยบุคลากรท่มีความสามารถ ี ด้านข้อมูลสารสนเทศ ความตระหนักรู้ในการใช้ ข้อได้เปรียบของข้อมูลจ�านวนมหาศาล จากจิ๊กซอว์ชิ้น � � เล็ก ๆ นามาสืบค้นจากคาสาคัญ “พระอรสุมพลาภิบาล คุณกฤษฎา ทัสนารมย์ (หลานทวด) ของ นาวาเอก พระสุนทรานุกิจปรีชา � (ทัด ทัสนารมย์) เจ้ากรมอู่ทหารเรือ ล�าดับที่ ๑ ผู้ได้เปิดโอกาสให้ทีมกรมอู่ ี (ทัด)” ได้พบว่าท่านเจ้ากรมอ ทหารเรือ ลาดับท ๑ มีผลงาน ทหารเรือ ได้ร่วมเดินทางย้อนอดีตรับฟังเร่องราวของคุณป่ทวดจากความ ู่ ่ � ื ู ั ิ ิ การประพนธ์โคลงเฉลมพระเกยรตยศพระเจ้าเอกทศ ทรงจ�าของคุณอาอภินันท์ ทัสนารมย์ (หลานปู่) ั ี พระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ ในกลอนจารึกแต่งประทีป จากค�าส�าคัญ “ทัสนารมย์” เชื่อมโยงไปสู่เฟซบุ๊ก ุ ี ็ ื ั ท่บางปะอิน และวชิรญาณสุภาษิต ต่อเน่องด้วย และเวบไซต์ของโรงเรยนสายไหม (ทสนารมย์อนสรณ์) ี ุ � � ข้อมูลสาคัญคือ ประวัติและเส้นทางการรับราชการ ทาให้ทีมกองจัดการฯ ทราบว่า นาวาเอก พระสนทรา นาวิกศาสตร์ 11 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

ื ึ ่ นุกิจปรีชา (ทัด ทัสนารมย์) (ซ่งเป็นนามสอดคล้อง ทัสนารมย์ (หลานทวด) เพอขอสัมภาษณ์รวบรวมข้อมูล ี ถูกต้องตามหลักฐานอ่นเก่ยวกับยศ และตาแหน่ง เพ่มเติม และขอความอนุเคราะห์ภาพถ่ายของเจ้ากรมอ ู่ � ิ ื ่ ั � ั ั ี ของท่านเจ้ากรมอู่ทหารเรือ ลาดับท ๑) และนาง ทหารเรอ ลาดบท ๑ ตามทได้รบมอบหมายในวนองคาร ั ่ � ื ี ี ่ ี ุ ิ สนทรานกจปรชา (สาย ทสนารมย์) เป็นผ้ก่อต้ง ที่ ๘ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓ เวลา ๑๐๐๐ ณ โรงเรียน ั ั ู ุ ื โรงเรียนสายไหม เพ่อเป็นอนุสรณ์ นางสาวสังวาลย์ สายไหม (ทัศนารมย์อนุสรณ์) ี ึ ั ั ุ ู้ ั ั ทัสนารมย์ (บุตรี) ได้สร้างรูปหล่อของท่านท้งสองข้น (หมายเหตจากผเขียน : หลงจากวนท่ ๘ กนยายน ั � และกรุงเทพมหานครได้อนุมัติให้นามาต้งไว้ ณ โรงเรียน พ.ศ.๒๕๖๓ ทางโรงเรียนสายไหมจึงได้ท�าการเปลี่ยน � สายไหม และจากการติดต่อไปยังโรงเรียนสายไหม คาว่า “ทัศนารมย์อนุสรณ์” จากอักษร “ศ” เป็น “ส” (ทัศนารมย์อนุสรณ์) ทาให้ได้พบกับคุณกฤษฎา ทัสนารมย์ ตามค�ายืนยันของคุณอภินันท์ ทัสนารมย์) � ์ ุ ู ์ ั ิ ั (หลานทวด) และคุณอภินันท์ ทัสนารมย์ (หลานปู่) ของ โดยทางทายาท คณอภนนท ทสนารมย (หลานป่) ี ิ นาวาเอก พระสุนทรานุกิจปรีชา (ทัด) (ต�าแหน่งสูงสุด ได้ให้ข้อมูลเพ่มเติมท่เป็นประโยชน์ จากเร่องเล่าของ ื ในชีวิตราชการของท่านเจ้ากรมอู่ทหารเรือ ล�าดับที่ ๑ ครอบครัวและความทรงจ�าของท่านไว้ว่า “คุณปู่ทัด หรือ นาวาเอก พระสุนทรานุกิจปรีชา เป็นบุตรของพระอรสุมพลาภิบาล (ร่น) เดิมบ้านอยู่ ื ั ื ั แถววดเครอวลยวรวหาร สมยหนมฉกรรจนนชอบว่ายนา ์ ์ ้ ั ่ ุ ั � ้ ิ ้ ในแม่นาเจ้าพระยา ว่ายนาเก่ง คล่องแคล่ว และได้รับ � � ้ ่ ุ ่ ็ ุ ราชการเปนทหาร ตอมาสมรสกบคณยาสาย (นามสกลเดม ิ ั นครานนท์) จึงย้ายไปอยู่แถวถนนพระอาทิตย์” ื ิ ื แม้เม่อคุณอภินันท์เกิด คุณปู่ทัดจะส้นแล้ว แต่เร่องราว ี ี เก่ยวกับคุณปู่ท่ได้รับฟังจากคุณพ่อเฉลิม ทัสนารมย์ (บุตรชายคนรอง) คุณอาหญิง สังวาลย์ ทัสนารมย์ ิ คุณอภินันท ทัสนารมย (หลานป่) ของ นาวาเอก พระสุนทรานุกิจปรีชา (บุตรสาวคนสุดท้อง) ตลอดจนข้าวของส่งต่าง ๆ ของคุณป ู่ ์ ์ ู (ทัด ทัสนารมย์) เจ้ากรมอู่ทหารเรือล�าดับที่ ๑ ที่คุณอภินันท์ได้พบเห็น สัมผัสด้วยตนเอง ณ บ้านถนน ความปล้มปีติในนาเสียงจากคาบอกเล่าของคุณ พระอาทิตย์ ตลอดจนประสบการณ์วัยเด็กที่ได้พบเห็น � ้ ื � อภินันท์ ทัสนารมย์ หลานปู่ของนาวาเอก พระสุนทรา คุ้นเคยกับเหล่าทหารเรือยังคงประทับอยู่ในความทรงจา � นุกิจปรีชา (ทัด) หรือ พันเอก พระอรสุมพลาภิบาล (ทัด) โดยเฉพาะความภาคภูมิใจท่คุณปู่เป็นนายทหารเรือ ี � ื ่ เมอครงดารงตาแหนงเปนเจากรมอทหารเรอ ลาดบท ๑ มียศถึงนาวาเอก อีกท้งเคยตามเสด็จพระบาทสมเด็จ � ั ้ ็ ่ ้ ั ู � ื ั ี ่ ่ ื ั ยังคงไม่จางหายไป พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท ๕ เม่อคร้งเสด็จ ่ ี ี ั ุ ึ ู ิ � ่ ู จากการท่ทีมงานกองจัดการฯ ได้สืบค้นและ ประพาสยโรป ยงทาให้ร้สกรก เคารพคุณป่ทดเป็น ั เช่อมโยงข้อมูลจนสามารถนัดหมายเข้าพบทายาทถึง ๒ รุ่น อย่างมาก ื คือ คุณอภินันท์ ทัสนารมย์ (หลานปู่) และคุณกฤษฎา “เดิมไม่ทราบเลยว่าคุณปู่ท่านเป็นเจ้ากรมอู่ทหารเรือคนแรก ทราบแต่เพียงบรรดาศักดิ์และยศทหารเรือ แต่ที่รู้แน่และเป็นที่ภาคภูมิใจของเรา คือ ท่านเป็น ี ิ ่ � ราชองครักษ์ของรัชกาลท ๕ และได้ตามเสด็จประพาสยุโรป......แล้วก็ทางด้านการต่อเรือการทาเรือ ผมว่าเป็นความภาคภูมิใจอย่างย่งเพราะเม่อรู้ว่าคุณปู่ ื ท่านได้เคยเป็นเจ้ากรมคนแรก ท่านคงได้วางรากฐานอะไรต่าง ๆ เพื่อพัฒนาในเรื่องการสร้างเรือ การซ่อมเรืออะไรต่าง ๆ เหล่านี้ ก็เป็นความภูมิใจอย่างหนึ่ง ภูมิใจอย่างยิ่งด้วย” นาวิกศาสตร์ 12 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

้ ี นมนต์พระมาสวด เลยงพระ เราจะมงานประจาปี ิ ี � ั อยู่เสมอคือ งานสารทไทย นอกจากน้เม่อชาวบ้านแถวน้น ื ี จะมีพิธีแต่งงาน พิธีบวช พิธีอะไร เราก็จะให้มาท�าพิธี ที่บ้านเราได้ ไม่เคยคิดค่าใช้จ่ายอะไร ชาวบ้านก็เลยรัก คุณปู่คุณย่ามากครับ”

้ � ภาพสเก็ตซ์ แม่นาเจ้าพระยามุมมองจากทางด้านทิศเหนือของพระบรม มหาราชวัง ประมาณปี ค.ศ.๑๘๙๖ คาดว่าเป็นเขตพื้นท่ต่อเน่องมายังท่า ี ื พระอาทิตย์ (ผู้เขียน) ไกลออกไปทางด้านฝั่งตะวันตกของแม่นาเป็น � ้ ิ ั ั พระปรางค์วดอรณราชวรารามราชวรมหาวหาร ปรากฏเหนปล่องควนท ่ ี ุ ็ ี ร้งไว้กับทุ่นเป็นแนวแบ่งเขตก่อนท่บริเวณฝั่งพระบรมมหาราชวังจะเป็นท ี ่ ั จอดทอดสมอ ในเวลาต่อมาภาพทิวทัศน์ลักษณะนี้ที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่ก็ ู จะเห็นเรือกลไฟมากมายมาแทน ภาพจาก http://www.thailaws.com/ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หัวทรงฉายร่วมกับพระเจ้าซาร ์ ั ์ ็ ่ ี ั ิ ี ่ ั download/thailand/veniceofeast.pdf นโคลสท ๒ และพระราชวงศโรมานอฟของรสเซย อยางเปนกนเองในคราว เสด็จประพาสยุโรป ร.ศ.๑๑๖ (พ.ศ.๒๔๔๐) ภาพจาก https://www.silpa- ตามเสด็จฯ ประพาสยุโรป พ.ศ.๒๔๔๐ mag.com/history/article_34538 � “บ้านที่ถนนพระอาทิตย์เป็นเรือนไม้สัก ใหญ่มาก “ทีน้ตอนคุณปู่ตามเสด็จฯ ไปยุโรป คุณปู่ได้ทา ี ใต้ถุนสูง ท่ใต้ถุนน้เป็นท่เก็บเรือซ่งดูแล้วน่าจะเป็นเรือ แหวนเป็นสัญลักษณ์ของคุณปู่ไม่เหมือนใคร แกะสลัก ี ึ ี ี � � ประจาตาแหน่งของคุณปู่ เพราะลาใหญ่พอสมควร ม ี ท่อังกฤษนะครับ หัวแหวนเป็นตัวอักษรคาว่า “ทัด” � � ี ้ ั ี ั ี ้ ่ ็ ็ ั ์ เก๋งเรือ และมีฝีแจวถึง ๔ คน ด้านหน้า ๒ ด้านหลัง มสญลกษณปมะเสงอยดานบน ตวแหวนนเปนทองแขง ี ู ็ ี ื ึ ๒ เม่อข้นจากท่าพระอาทิตย์จะมีรถลากเรือเข้าไปเก็บ สวยมากครับ วงไม่ใหญ่ สมัยก่อนน้หนังสือราชการท ่ ี ในบ้าน ประตูบ้านใหญ่มากเรือเข้าได้” ออกจากหัวหน้าหน่วยจะต้องมีสัญลักษณ์ของหัวหน้า ั ี ื ่ ั ั ้ ่ “เรือนใหญ่ท่เราเรียกกันว่า เรือนหอ มีหน้ามุข สวนราชการคนนน จะหยอดครงลงบนหนงสอ พอจวน ออกมา ตรงส่วนนี้กั้นเป็นห้องใหญ่มาก เราเรียกกันว่า จะแห้ง ก็จะเอาหัวแหวนนี่กดประทับลงบนครั่ง คุณปู่ ห้องพัสดุ เก็บของมากมาย มีข้าวของที่คุณปู่ซื้อมาจาก ใช้สัญลักษณ์บนแหวนนี้เป็นตราประทับ” ื ่ ื ุ ุ ยโรปเม่อคร้งตามเสด็จในหลวง รชกาลท ๕ ประพาสยโรป “แหวนวงน้ตกทอดกันมาเร่อยและผมเป็นคน ี ั ี ั ุ ่ ี ุ ี ี เมื่อปี พ.ศ.๒๔๔๐ เท่าที่เคยเห็นของต่าง ๆ นี้สวยงาม สดท้ายทได้มา แต่เสยดายท่มเหตให้แหวนได้หายไป ี แปลกตา ไปหาดูที่ไหนก็ไม่มีเหมือน เป็นต้นว่า กระจก ผมสั่งท�าใหม่ช่างคนไทยก็ท�าได้ไม่เหมือน” ื บานใหญ่ สูงจากพ้นเกือบจรดเพดานสวยมาก และม ี สายเลือดทหารเรือ กระจกบานเล็กคล้ายเป็นชุดเข้ากัน มีนาฬิกา ชุดรับแขก และเร่องราวต่าง ๆ ในความทรงจา ยังพาให้เราได้ � ื ชุดเคร่องเรือน ของใช้ต่าง ๆ ไม่รู้ขนมายังไงมากมาย จินตนาการเห็นภาพชีวิตของบรรพบุรุษทหารเรือ เม่อกว่า ื ื ื สมัยก่อนขนมาทางเรือ คุณปู่เป็นคนซ้อ คุณย่าเป็นคนจัด ๘๐ ปี ที่ผ่านมา สวยมากครับ แล้วบ้านเราเนี่ยมีหน้ามุขส�าหรับรับแขก “ผมมักจะคุยกับเพื่อนว่า ปู่ฉันนี่เป็นนาวาเอกนะ นาวิกศาสตร์ 13 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

ผมถึงรักทหารเรือมาต้งแต่น้น คือ มันคล้าย ๆ เป็น นี่เห็นแล้วแบบโอ้โห สวยครับ” ั ั ี ี สายเลือดว่าทหารเรือนี่เป็นสิ่งที่เราชอบ เรารัก” นอกจากน้ทางครอบครัวทัสนารมย์ ยังมีท่ดินใน “ตอนเด็ก ๆ สัก ๓ - ๔ ขวบ คุณพ่อผมท�าร้านค้า ละแวกกรมอู่ทหารเรือและปลูกบ้านให้เช่า คุณอภินันท์ � เหมือนร้านชาให้คุณยายของผมมาอยู่ และค้าขาย ได้มีโอกาสติดตามผู้ใหญ่ข้ามฟากจากฝั่งพระนครมายัง บ้านและร้านของเราอยู่ตรงข้ามกับท่าเรือพระอาทิตย์ ฝั่งธนบุรีบริเวณกรมอู่ทหารเรืออยู่บ่อยครั้ง ั ู ื ้ ้ ั ็ � ั ้ สมยก่อนเรอรบจอดอย่ในแม่นาเจ้าพระยาทงนัน “สมยก่อนจะไปกรมอู่ทหารเรือกลงเรือแจวจาก ึ เลยครับ เวลาทหารเรือข้นฝั่งส่วนใหญ่ก็มาข้นฝั่ง หน้าบ้าน ไปเข้าคลองเล็ก ๆ ตรงริมกาแพงกรมอู่ทหารเรือ � ึ พระนครเพราะเจริญกว่าทางฝั่งธน ก็จะมาข้นตรง แล้วขึ้นฝั่งที่สะพานไม้ที่ข้าง ๆ กรมอู่ แล้วก็เดินข้ามไป ึ ื ั ี � � ี ท่าพระอาทิตย์ ตรงท่บ้านเราเพ่อจะเดินไปบางลาภ ู บริเวณท่ดิน ท่กรมอู่ตรงน้นเป็นกาแพงสูงครับ มองไม่เห็น ี หรอไปสนามหลวง และบางคนกจะมาซอของทร้าน ข้างใน เป็นก�าแพงปูนสีเทา ๆ เก่า ๆ นะฮะ ด้านหน้า ้ ่ ื ี ื ็ ่ ั ็ ั กมกจะเจอผมนนงจุมป๊กห่อผ้าขนหน เพราะคณยาย กรมอู่ก็เป็นก�าแพงสูงทึบเช่นเดียวกันครับ” ู ุ ่ ุ ี ั ุ ้ ื อาบนาให้เสร็จก็ให้น่งเล่นอยู่กลางร้านบังเอิญผมจะ “สมยคณพ่อเฉลม อ่ทหารเรอมเนอทไม่มากนก ้ � ี ื ู ิ ั ่ ั ี ู ้ ั ิ ื ั � ี ่ ้ ั ้ ิ ิ ผิวขาวหน้าตาจ้มล้ม ทหารเรือก็มักจะพากันมาทายว่า จากแม่นาเข้ามา รวกรมอ่ทหารเรอจะตดกบทงทดน ิ ื ี เจ้าหนน่ผู้หญิงหรือผู้ชาย เป็นท่สนุกสนานท้งคุณยาย ของเราและมีของคนอ่นด้วย เม่อบริเวณกรมอู่ทหารเรือ ื ี ู ั และลูกน้องท่ขายของต่างก็สนิทสนมกับพวกเรือรบท ี ่ จะมีการเวนคืนพ้นท่เพ่อขยายท่ออกไปเพ่อให้มีพ้นท ี ่ ี ี ื ื ื ื ี ิ ึ ุ ี ้ ั ื ขนมาซ้อของ คุยกนสนก ไม่มเกเร หรือไม่มีอนตราย ซ่อมเรอได้มากขน คณพ่อได้มอบทดนส่วนหนงให้ ่ ุ ื ึ ี ่ ั ึ ้ อะไร” กรมอู่ทหารเรือ” � ั “เรือท่จอดประจาหน้าบ้าน แล้วก็อยู่นานเลย ออกไป “ตอนเด็ก ๆ ท่น่งเรือผ่านกรมอู่ทหารเรือ ก็ชอบมอง ี ี ี ี ้ ราชการแล้วพอกลับมาก็มาจอดท่ทุ่นน ทุ่นหน้าบ้านผม เข้าไปว่าเออวันน้มีเรือมาซ่อมนะ มีอะไรมาซ่อม และ ี ็ ื ี น่หล่ะ ช่อเรือหลวงพระร่วงนะครับ ระหว่างที่จอดอยู่ก ็ กชอบเรอรบมาตงแต่เดก ๆ แล้ว เพราะเกดมากไป ้ ็ ื ั ิ ็ ี จะมีเสียงสัญญาณแตร แตรปลุก แตรรับประทานอาหาร ท่ท่าเรือเราก็เห็นเรือรบของเราแล้ว แล้วเราภูมิใจว่า ี ิ แตรนอน เสียงตีระฆังบอกเวลา เหล่าน้จะคุ้นเคย ได้ซึมซับ คุณปู่เราเป็นทหารเรือ แต่ทราบเพียงบรรดาศักด์และ จากทหารเรือ และรักทหารเรือ อีกอย่างท่ชอบรองลงมา ี ก็คือ เคร่องแบบทหารเรือน่สวยมากครับ เนว่บล ู ี ี ื ้ ี � ่ อคอนกรต สาหรบการสราง – ซอมเรอแหงแรกของประเทศสยาม สราง ู ั ่ ื ้ ่ แล้วเสร็จในป พ.ศ.๒๔๕๙ ในภาพเป็นการเตรียมการซ่อมท�าเรือในอ่แห้ง ู ี ี เรือหลวงพระร่วงท่ท่าราชวรดิฐ ภาพจาก https://m.mgronline.com/ ซึ่งมีประตูกั้นพื้นที่ชั้นนอกและชั้นใน ท�าให้กรมอู่ทหารเรือสามารถบริหาร onlinesection/detail/9620000096545 งานซ่อม - สร้าง เรือรบของกองทัพเรือตอบสนองภารกิจได้หลากหลาย นาวิกศาสตร์ 14 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

ยศทหารเรือ ต�าแหน่งของท่านไม่ทราบจริง ๆ” เหลือเพียงภาพถ่ายในล็อกเกต ิ ื รอยย้ม ความสุข จากการปะติดปะต่อเร่องราวจาก ุ ิ ั ่ ู ์ ความทรงจา และประสบการณของคณอภนนท (หลานป) � ์ ทายาทรุ่นท่ใกล้ท่สุดของ นาวาเอก พระสุนทรานุกิจ ี ี ปรีชา (ทัด) เจ้ากรมอู่ทหารเรือ ล�าดับที่ ๑ ส่งผ่านมาถึง � ทีมงานกองจัดการฯ และพิพิธภัณฑ์อู่เรือหลวงฯ กาลังพล กรมอู่ทหารเรือรุ่นปัจจุบัน ท�าให้รู้สึกน้อมร�าลึกถึงและ ภาคภูมิใจตามไปด้วย แต่เป็นท่น่าเสียดาย ภาพถ่าย ี เอกสาร หลักฐานอื่น ๆ เกี่ยวกับท่านได้สูญหายไปกับ ี ่ ู ระเบิดสมัยสงครามโลก ครั้งที่ ๒ พ.ศ.๒๔๘๘ บรรยากาศการสัมภาษณ์เก็บข้อมูลของเจ้ากรมอ่ทหหารเรือ ล�าดับท ๑ จาก เรื่องเล่าและความทรงจ�าของคุณอภินันท์ ทัสนารมย์ (หลานปู่) ณ โรงเรียน ั ู ี “สงครามใกลจะเลกอยแลว ป พ.ศ.๒๔๘๘ ตอนนน สายไหม (ทัสนารมย์อนุสรณ์) เมื่อวันที่ ๘ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓ ้ ้ ิ ่ ้ ี � ๖ ทุ่มพอด ผมกับคุณอากาลังจะทาของท่จะใส่บาตร ี � วันรุ่งขึ้น คือ ท�าข้าวต้มมัด ต้มกันอยู่ถึง ๒ ยาม ก็เสียง หวอมา ก็ในบ้านทางด้านหลังบ้านจะทาเป็นร่องสวน � แล้วก็ปลูกต้นไม้อะไรต่าง ๆ เราท�าหลุมหลบภัยไว้” ิ “เดือนเมษายน พ.ศ.๒๔๘๘ เคร่องบินมาท้งลูกระเบิด ื ี ลงสถานีรถไฟบางกอกน้อย โรงพยาบาลศิริราชน่อยู่ � ี ี ่ ื ใกล้ ๆ กัน เคร่องบินลาท ๑ บินเต้ยเห็นชัดเจน แล้วก็ผ่านไป ็ ู � ็ ้ ่ แลวกพอลาท ๒ มเสยงลงตบ เปนลกระเบดอยหางจาก ู ิ ่ ้ ่ ี ี ุ ี ตรงท่เราหลบอยู่ในหลุมหลบภัย ๑๐ เมตร โชคดีบริเวณ ี ั ี ตัวบ้านกับสวนท่เป็นหลุมหลบภัยมีร้วก้น เพราะฉะน้น สถานีรถไฟธนบุร (บางกอกน้อย) ถูกท้งระเบิดจากเคร่องบิน B-24 และ ั ี ั ิ ื ลูกไฟอะไรต่าง ๆ ก็ติดร้ว ไม่ข้ามมาถึงเรา แต่ติดบ้านหมด” B-29 ในวันที่ ๔ และ ๕ มีนาคม พ.ศ.๒๔๘๘ รวมทั้งในวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ั ปีเดียวกัน ภาพจาก https://web.facebook.com/siriraj.museum/ ั “กจะเข้าไปดบไฟกนแต่ดบไม่ไหว เพราะวนนน posts/303887739776362/?_rdc=1&_rdr ้ ั ั ั ็ ั ึ ั ี จะมีเคร่องบินขับไล่ของอเมริกายิงกราดปืนกลท่ถนน ร้านค้าให้คุณยายผมอยู่น้น เราสร้างศาลาข้นมาและนิมนต์ ื ึ พระอาทิตย์ด้วย ที่สถานีรถไฟบางกอกน้อยด้วย เราก็ พระจากวัดชนะสงครามซ่งอยู่ติดกันมาเทศน์ทุกคืน ื ต้องหน ผมกับคุณอา ๒ คน ก็หอบกระเป๋าใบหน่ง ออกทาง เพ่อให้ชาวบ้านในถนนพระอาทิตย์ได้มาฟังธรรม รูปของ ี ึ ุ ุ ู ี ั ้ ่ ประตูหลังบ้าน หนีเข้าวัดชนะสงคราม ปล่อยบ้านท้ง คณป่คณย่านจะขยายใหญ่และตงอยู่ในศาลา ิ ึ � � ั ั ไวเลย รงขนเราไปอยตรงวดบวรฯ แลวกเดนกลบมาดูบ้าน พระเทศน์ ผมได้น�ารูปน้นมาทาล็อกเกต ทาข้นมา ่ ้ ึ ู่ ุ ้ ้ ิ ็ ั ี � ปรากฏว่าหาบ้านไม่เจอ เพราะมันเป็นดินไปหมด...” ด้วยความรักและเคารพคุณปู่มาก โดยได้ทารูปท่เป็น ื ื ี ื ี “ท่ศาลาพระเทศน์ ด้านหลังพ้นท่ท่คุณพ่อปลูก เคร่องแบบเต็มยศและมีเคร่องราชอิสริยาภรณ์ และ ี (หมายเหตุจากผู้เขียน : ถอดความจากการสัมภาษณ์คุณอภินันท์ ทัสนารมย์ ข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ท้งระเบิด เป็นห้วงเวลาในความทรงจา ิ � จากประสบการณ์ของผู้ให้สัมภาษณ์) นาวิกศาสตร์ 15 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

� ื ี ี ื รูปอันน้เป็นรูปถ่ายท่นามาขยาย และได้บันทึกว่า ว่า ท่านคงได้วางรากฐานอะไรต่าง ๆ เพ่อพัฒนาในเร่อง ึ ี นาวาเอก พระสุนทรานุกิจปรีชา (ทัด ทัสนารมย์) การสร้างเรือ การซ่อมเรืออะไรต่าง ๆ เหล่าน้ข้นมา ก็เป็น ต้นตระกูลทัสนารมย์ ส่วนต้นฉบับท่ขยายไว้บนศาลา ความภูมิใจอย่างหนึ่ง ภูมิใจอย่างยิ่งด้วย” ี พระเทศน์ได้หมดไปกับไฟสมัยสงคราม” ประวัติ นาวาเอก พระสุนทรานุกิจปรีชา นามเดิม ทัด เป็นบุตร พระอรสุมพลาภิบาล (รื่น) เกิด ปีมะเส็ง ็ พ.ศ. ๒๔๑๒ เปนหลวงชานาญนาวากล ปลดกรมอรสมพล � ุ ั พ.ศ. ๒๔๒๔ เป็นพระอรสุมพลาภิบาล เจ้ากรมอรสุมพล พ.ศ.๒๔๓๓ เป็นเจ้ากรมอู่ทหารเรือ ล�าดับที่ ๑ พ.ศ.๒๔๓๖ เป็นพระสุนทรานุกิจปรีชา นายเวรใหญ่ กรมทหารเรือ พ.ศ.๒๔๔๐ ตามเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสยุโรป ผลงาน / งานประพันธ์ ั ่ ี ่ ี ั ิ ิ ๑. โคลงเฉลมพระเกยรตยศพระเจ้าเอกทศ พระทนง สริยาสน์อมรินทร์ ใน กลอนจารกแต่งประทีปท ่ ี ึ ุ บางปะอิน ๒. วชิรญาณสุภาษิต เสียชีวิต ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๕๐ (ปีมะแม) นามสกุลพระราชทาน ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว เป็นลาดับท ๓๔๓๙ ว่า ทัศนารมย์ ่ � ี คุณอภินันท์ ทัสนารมย์ (หลานปู่) ทายาทของนาวาเอก พระสุนทรานุกิจ (Dasana^ramya) ให้แก่ นาย นาวาตร หลวงหาญหักริป ู ี ปรีชา (ทัด ทัสนารมย์) อดีตเจ้ากรมอู่ทหารเรือ ล�าดับที่ ๑ เล่าถึงภาพของ � ี ู ิ คุณป่ท่ตนได้น�ามาอัดใส่ไว้ในล็อกเกตด้วยความรักย่ง จึงท�าให้ยังมีภาพของ (ไลย) นายทหารเบ้ยบานาญ กระทรวงทหารเรือ ี ท่านให้ทหารเรือรุ่นหลังได้เห็นในวันนี้ ื ื บิดาช่อพระสุนทรานุกิจ (ทัด) ปู่ช่อพระอรสุมพลาภิบาล “นอกจากคุณปู่เราเป็นทหารเรือแล้ว อัธยาศัยของ (รื่น) ี ึ ี ี ทหารเรือท่สังเกตจากท่ข้นท่าเรือบ้านเราเน่ยมีอัธยาศัย ตามข้อมูลจากเว็บไซต์ “พระราชวังพญาไท” ั ั ิ ู ี ี มีมารยาทอะไรด ดีมากครับ เพราะฉะน้นรักทหารเรือมา สันนษฐานว่า นายนาวาตร หลวงหาญหกริป (ไลย) น่าจะเป็น ึ ตั้งแต่เด็ก ๆ อยากเป็นทหารเรือแต่ก็ไม่ได้เป็น บุตรชายคนหน่ง เป็นผู้ขอพระราชทานนามสกุลในสมัย ์ แต่น่มาภูมิใจมากข้น เม่อได้มารู้ว่าท่านได้เป็น รชกาลท ๖ (แตทงคณอภนนท และคณกฤษฎา ทายาท ุ ั ่ ี ่ ี ื ึ ั ุ ิ ั ้ เจ้ากรมอู่ทหารเรือคนแรกน้ก็ย่งภูมิใจมาก และย่งภูมิใจ ไม่เคยทราบเรองราวของ นาวาตร หลวงหาญหกรป ู ั ิ ี ื ่ ี ิ ิ จริง ๆ ยังดีใจพร้อมกับหลานชาย (คุณกฤษฎา ทัสนารมย์) (ไลย) มาก่อน และยืนยันว่าใช้นามสกุลว่า “ทัสนารมย์”) นาวิกศาสตร์ 16 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

จากการสัมภาษณ์คุณอภินันท์ ทัสนารมย์ (หลานปู่) ประเทศเล็ก ๆ นี้น่าสนใจ � ี ท่ทาให้เราได้ทราบถึงชีวิตส่วนตัวของท่านเจ้ากรมอู่ เรือของชาวตะวันตกท่สร้างด้วยเหล็ก และใช้ ี ่ ั ึ ิ ื � ทหารเรือ ลาดับท ๑ มากข้น ท้งด้านครอบครัว ถ่นท่อย ู่ เคร่องจักรแทนใบเรือ จึงแข็งแรงทนทาน แล่นได้เร็ว ไปได้ ี ี ี บทบาททางสังคมท่อยู่อาศัย และความผูกพันรู้จักคุ้นเคย ทุกทิศทาง และฤดูกาล ไม่เพียงแต่สามารถพาชาวตะวันตก ื � ั ระหว่างสมาชิกตระกูลทัสนารมย์กับทหารเรือและ พากันหล่งไหลสู่ตะวันออก เพ่อทาการค้าขายเจริญ ี ่ ื ั กรมอู่ทหารเรือ อีกท้งยังได้ทราบว่า นอกจากการ สมพนธไมตร แต่บทเรียนเรองสงครามฝิ่นในจน และ ั ี ั รับราชการในกรมทหารเรือ จนได้เล่อนยศเป็นนาวาเอก การเสียเอกราชของพม่า ผลักดันให้สยามในสมัยของ ื แล้ว ท่านยังได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยให้มีโอกาส พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ เริ่ม ตามเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จริงจังกับการเตรียมกาลังทางเรือให้พร้อมรับมือกับ � เมื่อครั้งเสด็จประพาสยุโรปในปี พ.ศ.๒๔๔๐ อีกด้วย ภัยคุกคามทางทะเล โดยทรงเกณฑ์ขุนนาง และเจ้าภาษ ี ื ่ � เพ่อให้ได้รู้จักท่านเจ้ากรมอู่ทหารเรือ ลาดับท ๑ ใน นายอากรให้ช่วยกันต่อเรือขึ้นใหม่จ�านวนมากถึง ๒๐๐ ี ฐานะปฐมบรรพบรุษแห่งอู่เรือหลวง ท่ชาวกรมอู่ทหารเรือ ล�าเศษ ุ ี ี ่ � ี ได้สืบสานต่อจากท่านมายาวนานถึง ๑๓๑ ปี ในวันท ๙ ในจานวนน้น มีเรือกาปั่นขนาดใหญ่ท่ต่อแบบ ั � มกราคม พ.ศ.๒๕๖๔ นี้ ให้มากขึ้น โดยได้น�าข้อมูลการ ตะวันตกจ�านวน ๑๔ ล�า ซึ่งอ�านวยการสร้างโดยเจ้าฟ้า ี ั สัมภาษณ์มาพิจารณาเปรียบเทียบกับข้อมูลท่ทีมงาน กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ (พระอิสริยยศขณะน้นของ ื กองจัดการฯ ได้สืบค้นพบประวัติเบ้องต้น จากคาส�าคัญ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว) และหลวง � ิ ์ ิ ิ ์ ั “พระอรสุมพลาภิบาล (ทัด)” ท�าให้ผู้เขียนได้ร้อยเรียง นายสิทธ หรือ หลวงสิทธ (บรรดาศักด์ขณะน้นของ � ึ ิ ิ และพบส่งน่าสนใจเพ่มมากข้น จากการนับย้อนลาดับ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)) ู ั ุ ์ ้ ้ เหตการณจากขอมลของหวงเวลาในการรบพระราชทาน ใช้เป็นเรือลาดตระเวนตามชายฝั่งของไทย บรรดาศักด์และยศทางทหาร ปีนักษัตรท่เกิดอันปรากฏ เป็นท่น่าสังเกตว่า แม้ในเวลาน้นสยามจะยังไม่แยก ิ ั ี ี บนแหวนตราสัญลักษณ์ประจาตัว คือ ปีมะเส็ง และตรวจ ส่วนราชการทหารเป็นกองทัพบก กองทัพเรืออย่าง � ั ื สอบกับข้อมูลปฏิทิน ๑๐๐ ปี การค้นคว้าเปรียบเทียบ ชัดเจน แต่เม่อมีเรือแล้วกระท่งสร้างเรือเองได้แล้ว � ี � เก่ยวกับบรรดาศักด์ด้วยคาสาคัญ “หลวงชานาญนาวากล” จานวนมากมายกว่า ๒๐๐ ลา จาต้องสามารถซ่อม ิ � � � � ั ท่ปรากฏรายละเอียดคุณลักษณะของบุคคลท่ประกอบ บารงรกษา ให้มความพร้อมอย่เสมอ นบเป็นบทบาท ี ู ั ุ ี ี � เป็นเค้าโครงให้เราได้เห็นเส้นทางด้านชีวิตราชการ เก่ยวข้องในด้านการรักษาอธิปไตยทางทะเลอย่าง ี ของท่าน มิอาจแยกขาด ภัยทางทะเลที่มาพร้อมกับการค้า พระอรสุมพลาภิบาล ผู้อภิบาล (เรือ) ก�าลังไอน�้า แม้ผืนแผ่นดินบนโลกจะแยกจากกันเป็นทวีปแต่ พ.ศ. ๒๓๙๔ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ื ทุกทวีปยังคงถูกเช่อมโยงเข้าหากันด้วยผืนทะเล ดินแดน เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ กิจการทหารเรือเริ่มแบ่งออกมา ื ึ สุวรรณภูมิแม้จะเป็นพ้นท่เล็ก ๆ อันห่างไกลจากทวีป ชัดเจน และแบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ทหารเรือวังหน้า ข้นอย ู่ ี ่ ี ู ุ ิ ยโรป แต่ความอดมสมบรณ์ทหลากหลายของแผ่นดน ในบังคับบัญชาของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า ุ นี้ และจุดยุทธศาสตร์ที่ตั้ง ที่ติดต่อทางทะเลถึง ๒ ด้าน เจ้าอยู่หัว มีหน่วยในสังกัด ได้แก่ กรมเรือกลไฟ กรมอาสา ู ฝั่งตะวันออกจากทะเลจีนใต้ส่มหาสมุทรแปซิฟิก และ จาม และกองทะเล (บางทีเรียก กองกะลาสี) และทหารเรือ ฝั่งตะวันตกจากทะเลอันดามันสู่มหาสมุทรอินเดีย ทาให้ วังหลวง (หรือทหารมะรีนสาหรับเรือรบ) ข้นอยู่ในบังคับ � ึ � นาวิกศาสตร์ 17 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

บัญชาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง จากข้อมูลด้านพัฒนาการของกิจการทหารเรือ ี ั ้ ุ ั ี บนนาค) สมหพระกลาโหม มหน่วยในสงกด ได้แก่ ในส่วนน ประกอบกับข้อมูลท่ปรากฏหลักฐานว่า ี ุ ี ั กรมเรือกลไฟ กรมอาสามอญ กรมอาสาจาม ท้งน้บริเวณ นาวาเอก พระสุนทรานุกิจปรีชา (ทัด) เกิดปีมะเส็ง เป็น ื ี แม่นาเจ้าพระยามีอู่เรือท่สามารถสร้าง และซ่อมเรือ บตรของพระอรสุมพลาภิบาล (ร่น) โดยปรากฏปีท ี ่ ้ � ุ ิ ั กลไฟของทางราชการ ๓ อู่ด้วยกัน คือ รับพระราชทานบรรดาศกด เป็นหลวงช�านาญนาวากล ์ อู่เรือใต้วัดระฆัง เป็นอู่เรือหลวง (ปัจจุบันคือ อู่ ปลัดกรมอรสุมพล เมื่อ พ.ศ.๒๔๑๒ และเป็นพระอรสุม ทหารเรือธนบุรี กรมอู่ทหารเรือ) พลาภิบาล เจ้ากรมอรสุมพล พ.ศ. ๒๔๒๔ จาก Timeline ึ ื � อู่เรือวังหน้า สร้างข้นเพ่อซ่อมสร้างเรือรบและเรือ อัตชีวประวัติและเปรียบเทียบกับลาดับพัฒนาการ ี ี ื � ี พระท่น่งของวังหน้า ต้งอยู่บริเวณโรงทหารเรือวังหน้า การจัดหน่วยราชการท่เก่ยวข้องกับกาลังทางเรือ ช่อ ั ั (ปัจจุบันคือ บริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) และที่ตั้งของหน่วยราชการที่สามารถอนุมานได้ว่า � ื อู่เรือบ้านสมเด็จ อยู่ในความอานวยการของสมเด็จ พระอรมสุมพลาภิบาล (ร่น) บิดาของนาวาเอก ุ ี � เจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ ต้งอยู่บริเวณหน้าวัด พระสนทรานกจปรชา (ทด) ซงมถนพานกอย่บรเวณ ึ ั ั ู ี ุ ิ ิ ิ ่ ่ ั อนงคาราม ถนนสมเด็จเจ้าพระยา คลองสาน วัดเครือวัลย์วรวิหาร น่าจะเป็นข้าราชการทหารในสังกัด ึ ึ พ.ศ.๒๔๐๘ ในขณะนั้นกิจการฝ่ายทหารเรือ กรมเรือกลไฟ ซ่งปรากฏเป็นหน่วยหน่งในสังกัดของท้ง ั ทหารเรือวังหน้า และทหารเรือวังหลวง ส่วนพื้นที่อู่เรือ ั ท้ง ๓ แห่ง ในเขตพ้นท่ท่สะดวกต่อการสนับสนุนทหารเรือ ี ี ื ั ท้ง ๒ ส่วนราชการ ในบริเวณ ๒ ฝั่งแม่นาเจ้าพระยา ้ � โดยอู่เรือใต้วัดระฆัง ฝั่งตรงข้ามท่าราชวรดิฐ ซึ่งปรากฏ ี ี ั ข้อมูลว่าเป็นอู่ท่ใช้สร้าง เรือพระท่น่งสยามอรสุมพล (อรสุม=ไอนา พล=กาลัง) เรือกลไฟลาแรกท่คนไทย � � ี ้ � ต่อขึ้นใช้ได้เอง ล�าเรือเป็นไม้ ส่วนเครื่องจักรสั่งซื้อจาก อังกฤษ แล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๓๙๘ และต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๐๘ ปรากฏช่อเรียกทหารเรือ ื วังหลวงอีกช่อหน่งว่า กรมอรสุมพล เป็นอู่เรือใต้ ึ ื ี ี วัดระฆัง เป็นอู่ท่อยู่ใกล้กับวัดเครือวัลย์วรวิหารท่สุด ื สามารถเป็นไปได้ว่า พระอรสุมพลาภิบาล (ร่น) เป็น นายทหารที่ปฏิบัติหน้าที่ อรสุม = ไอน�้า พล = ก�าลัง ปรากฏข้อมูลระบุถึงอ่เรือฝ่งตรงข้ามท่าราชวรดิฐ ในแผนท่ของชาว ี ั ู ต่างชาติ (ค.ศ.๑๘๙๓) ภาพจากอินเทอร์เน็ต อภิบาล = บ�ารุงรักษา ณ กรมอรสุมพล นั้น ทั้งนี้ ทัด บุตรชายของพระอรสุมพลาภิบาล (รื่น) ็ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ทหารเรือวังหน้า หรือทหารเรือ กได้เจริญรอยตามบิดาคือ การรับราชการเป็นทหาร ี ฝ่ายพระราชวังบวร ข้นตรงกับกรมพระราชวังบวรสถาน ณ กรมอรสุมพล ในช่วงสมัยรัชกาลท ๔ เป็นต้นมา ึ ่ ี ้ มงคล (กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ) และทหารเรือ ทงนปรากฏข้อมูลว่า ในปี พ.ศ.๒๔๑๒ ได้เป็นหลวง ั ้ วังหลวง หรือกรมอรสุมพล ข้นตรงกับสมเด็จเจ้าพระยา ชานาญนาวากล ปลัดกรมอรสุมพล ในช่วงต้นรัชสมัย � ึ บรมมหาศรีสุริยวงศ์ สมุหพระกลาโหม ของรัชกาลที่ ๕ นาวิกศาสตร์ 18 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

ิ บรรดาศักด “หลวง” เทียบช้นได้กับข้าราชการระดับ ์ ั ี ๕ – ๖ ทางทหารคือ ร้อยเอก – พันตร หรือ เรือเอก - นาวาตร ี ในปี พ.ศ.๒๔๑๒ อายุของหลวงช�านาญนาวากล (ทัด) ปลัดกรมอรสุมพล น่าจะอยู่ในช่วง ๒๕ - ๓๐ ปี แม้ ั ในสมัยน้นจะยังไม่มีโรงเรียนนายเรือ หรือการส่ง ข้าราชการไปเรียนหลักสูตรนายช่างกล ณ ต่างประเทศ แต่การรับราชการในกรมอรสุมพลจนถึงช่วงอาย ุ ดังกล่าว อีกท้งมีโอกาสได้รับการถ่ายทอดทักษะความร ู้ ั จากพระอรสุมพลาภิบาล (รื่น) ผู้เป็นบิดา ย่อมท�าให้มี

การสะสมประสบการณ์ องค์ความรู้ในการทางานมาจน � ั ี มีความเช่ยวชาญในด้านงานกล ท้งด้านงานสร้างและ งานซ่อมเรือสมดังราชทินนาม ึ อน่ง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ระหว่าง พ.ศ.๒๔๑๗ – พ.ศ.๒๔๓๑ ได้มีการออก เรือสยามอรสุมพล เรือกลไฟล�าแรกที่คนไทยต่อขึ้นใช้ได้เอง ต่อตัวเรือที่ “อู่ พระราชบัญญัติเก่ยวกับยศทหารตามอย่างตะวันตก ี ตรงข้ามท่าราชวรดิฐ” ซึ่ง ในเวลานั้นมีเพียงยศทหารบกเท่านั้น ในห้วงเวลา � ั ี ท้งน้ ได้ศึกษาเปรียบเทียบคุณลักษณะของผู้ท ี ่ น้น พ.ศ.๒๔๒๔ หลวงชานาญนาวากล (ทัด) ได้เป็น ั ได้รับพระราชทานราชทินนาม “ชานาญนาวากล” พระอรสุมพลาภิบาล เจ้ากรมอรสุมพล จึงมียศเป็น � ่ ี ั ี ท่ปรากฏมีหลักฐานบันทึกไว้จากตัวอย่างของ พันเอก จนกระท่งรัชกาลท ๕ ทรงโปรดให้สร้างอู่ไม้ นาวาเอก พระชานาญนาวากล ร.น. นามเดม ขนาดใหญ่บริเวณอู่เรือใต้วัดระฆังเดิม ให้สามารถรองรับ � ิ ึ � ี � ั เนียม วัชรเสถียร (พ.ศ.๒๔๓๓ - พ.ศ.๒๕๐๕) การซ่อมทาเรือหลวงท่มีจานวนมากข้น อีกท้งมีขนาด ึ � � ี ท่นามาศึกษาคุณลักษณะ กล่าวคือเป็นนักเรียน ของเรือใหญ่ข้นมาเป็นลาดับ โดยปรากฏในหนังสือ ทหารเรือของกระทรวงทหารเรือ ต่อมาได้รับการศึกษา ๑๐๐ ปี กรมอู่ทหารเรือ ระบุว่า “ก่อนเปิดอู่เรือหลวงใน ด้านวิชาการ และภาคปฏิบัติของช่างกลฝ่ายเรือ ปี พ.ศ.๒๔๓๓ กิจการฝ่ายอู่เรือ เรียกว่า กรมอู่เรือ มีนาย (Marine Engineering) ตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย พันเอก พระอรสุมพลาภิบาล (ทัด) เป็นผู้บังคับบัญชา ึ ั (มหาวิทยาลัยกลาสโกว์(Glasgow University) ฝ่ายอู่เรือ...” ซ่งในปีเดียวกันน้นได้มีการยกเลิกประกาศ ื ี ่ ั ั สหราชอาณาจกร) เมอสอบไล่ได้ประกาศนยบตร จัดการทหาร พ.ศ.๒๔๓๐ และได้มีการตราพระราชบัญญัต ิ ั ช้น C.P.E (Certificate of Proficiency) จัดให้มีกระทรวงยุทธนาธิการ (Ministry of War � ของมหาวิทยาลัยน้นแล้ว ได้ฝึกหัดทางาน Practical and Marine) แบ่งออกเป็น ๒ กรม คือ กรมทหารบก ั ี ื ั ่ Training ในฝ่ายช่างกล พร้อมกับมีการศึกษาเรียนรู้ และกรมทหารเรอ ในวนท ๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๓๓ ึ ี ด้านนาวาสถาปัตย์ (Naval Architect) ด้วย และปรากฏม “กรมอู่” เป็นหน่งในส่วนราชการในสังกัด ั ในเวลาน้นยังไม่มีพระราชบัญญัติเก่ยวกับยศทหาร กรมทหารเรือ ี หมายเหตุ : บุตรเพียงคนเดียวของนาวาเอก พระช�านาญนาวากล คือ คุณนันทา วัชรเสถียร ซึ่งต่อมาได้สมรสกับนายพล ศรีวรรธนะ นาวิกศาสตร์ 19 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

่ ในทะเลด้วยเรือขนาดใหญ่มมาตงแต่สมยรชกาลท ๓ ี ั ั ี ้ ั � ั พร้อมท้งความกระตือรือร้นในการพัฒนาในด้านกาลัง ี ั ี ่ ่ ทางเรอทีโดดเด่นในสมยรชกาลท ๔ โดยมพระบาท ื ั สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นหัวเรือใหญ่ และ ด้วยการท่สยามตระหนักในความสาคัญของการสร้าง ี � กาลังทางเรือเพ่อป้องกันประเทศในขณะท่องค์ความรู้ � ื ี ี หรือเทคโนโลยีในด้านน้ก็ยังมิอาจทัดเทียมประเทศ ู ุ ื ผ้ล่าจากทวีปยโรป แต่ผลงานการสร้างเรอ ตลอดจน การบารุงรักษาให้พร้อมรบในช่วงเวลาน้น สามารถฉาย ั � ึ ภาพอัตลักษณ์การทหารแบบพ่งพาตนเองอย่างเต็ม ึ � สรรพกาลังมาแต่อดีต ซ่งในส่วนของนาวาเอก พระอรสุม ั ั ู่ พลาภิบาล (ทัด) เจ้ากรมอ น้นนับได้ว่าท้งชีวิตส่วนตัวและ นาวาเอก พระสุนทรานุกิจปรีชา (ทัด ทัสนารมย์) อดีตเจ้ากรมอู่ทหารเรือ ล�าดับที่ ๑ ชีวิตรับราชการเติบโตมาในเส้นทางนี้อย่างแท้จริง และ ปฐมบรรพบุรุษแห่งอู่เรือหลวง น่าจะด้วยความเข้มแข็งทางปัญญา และทักษะทหารเรือ นับว่า นาวาเอก พระอรสุมพลาภิบาล (ทัด) เจ้ากรมอ ู่ เป็นท่ไว้วางใจของผู้บังคับบัญชา ในปี พ.ศ.๒๔๓๖ ท่าน ี ้ เป็นข้าราชการทหารท่มีความรู้ความสามารถ และ จงไดย้ายไปประจากรมกลาง กรมทหารเรือ ในตาแหนง � � ึ ่ ี ได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจากพระบาทสมเด็จ “นายเวรใหญ่ทหารเรือ” เป็น นาวาเอก พระสุนทรา พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในห้วงเวลาเปล่ยนผ่านท ี ่ นุกิจปรีชา (ทัด) และมากไปกว่าน้น เม่อพระบาทสมเด็จ ี ั ื สาคัญของการจัดกาลังทางทหาร ในยุคสมัยท่สยาม พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสยุโรปด้วย � � ี � ื ั ต้องเร่งระดมสรรพกาลังและความพร้อมให้เพียงพอกับ เหตุผลทางการทูตเพ่อความมั่นคงของประเทศสยามทนบ ี ่ � ี ่ ้ ่ ิ ิ ่ การปกปองอธปไตยของชาต โดยเฉพาะอยางยงสมยนน เป็นกุศโลบายสาคัญของรัชกาลท ๕ ดังน้นการคัดเลือก ้ ั ั ิ ั ั ี ภัยคุกคามทางทะเลจากประเทศตะวันตก ท่รุกคืบล่า ราชองครักษ์ หรือผู้ติดตามไปในพระราชกรณียกิจคร้งน ้ ี ื ี ี อาณานิคมประเทศเพ่อนบ้านรอบประเทศสยามอย่าง ย่อมทรงคัดเลือกผู้ท่มีความสามารถ และเป็นท่ไว้วาง ื ั ื ไม่มีว่างเว้น อีกท้งการสร้างกาลังพลทหารเรอโดยคนไทย พระราชหฤทัยได้ว่าเม่อกลับมาจากยุโรปคร้งน้นจะต้อง ั ั � โดยแท้ก็ยังไม่เกิดข้น มีแต่เพียงจ้างนายทหารจากยุโรป สามารถสร้างคุณูปการในด้านต่าง ๆ ให้แก่ประเทศ ึ มารับราชการ ซ่งมีข้อจากัดบางประการ เช่น นายทหาร สยามได้ต่อไป � ึ ้ ่ ู ื ี ท่จ้างมาส่วนใหญ่เป็นเพียงนายเรือสินค้า หรือนายทหาร การไดสบสาวเร่องราวจากแหลงข้อมลหลากหลาย ื กองหนุน จึงมีความสามารถเพียงเดินเรือได้ ไม่มีความร ู้ นามาร้อยเรียงให้เราได้พบกับตัวตนของ นาวาเอก � � ทางทหารพอในการนาฝึกซ้อมยุทธวิธีทางทะเล หรือ พระสุนทรานุกิจปรีชา (ทัด) เจ้ากรมอู่ทหารเรือ ล�าดับ ่ � ถ่ายทอดวิชาการทหารเรือให้ทหารไทยในด้านยุทธการ ท ๑ ทาให้เกิดความปล้มปีต และภาคภูมิใจเป็นอย่างย่ง ี ื ิ ิ ึ จึงยังไม่ม่นคงเพียงพอท่จะวางใจได้ โดยเฉพาะบทเรียน ว่าหน่งในปฐมบรรพบุรุษแห่งอู่เรือหลวง นับได้ว่าท่าน ี ั ิ � จากวิกฤตการณ์ รศ.๑๑๒ (พ.ศ.๒๔๓๖) เป็นจ๊กซอว์สาคัญช้นหน่งในห้วงเวลาท่ท้าทายอย่าง ึ ี ิ แต่งานด้านยุทธบริการ โดยเฉพาะด้านงานสร้าง ย่งของประเทศสยาม อีกท้งปัจจัยด้านทรัพยากรและ ิ ั ซ่อมเรือ ยงพอเห็นได้วาหมุดหมายแหงการเรมต้นก้าวไป สถานการณ์ในช่วงเวลาน้น เช่อเหลือเกินว่าท่านต้อง ่ ิ ื ั ่ ั ่ นาวิกศาสตร์ 20 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

ี ใช้สติปัญญา ความอดทน และพากเพยรเป็นอย่าง ่ มากทจะนากรมอ่ ตลอดจนกรมทหารเรอ ให้ผ่านพ้น ี ื ู � ั มาได้อย่างสง่างาม อีกท้งยังเป็นผู้สร้างต้นแบบและ ื ี ส่งต่อวัฒนธรรมองค์กร ท่ขับเคล่อนด้วยองค์ความรู้ ี การฝึกฝนทักษะให้เช่ยวชาญ มุ่งม่น และพากเพียรด้วย ั หัวใจของการพ่งพาตนเอง ท่สืบสานต่อยอดมาทุกยุค ี ึ � ทุกสมัย และคุณค่านี้จะยังคงอยู่เหนือข้อจากัดของเวลา และสถานที่ ครอบครัวโดยสายเลือด หรือครอบครัวในเส้นทาง ชีวิตการท�างาน มีส่วนที่พ้องกันอยู่คือ การเป็นผู้ส่งต่อ คุณค่าทั้งมิติทางรูปธรรมและนามธรรม ผ่านเรื่องราวที่ แสดงตัวตน ความเป็นเรา ความเป็นครอบครัวของเรา ั ี ึ อีกท้งในชีวิต ความเปล่ยนแปลงใด ๆ ล้วนเกิดข้นอยู่ เสมอเป็นเร่องธรรมดา และเป็นธรรมดาอีกเช่นกันท่เรา ี ื จะต้องเผชิญและก้าวผ่านส่งต่าง ๆ ด้วยความเพียร ด้วย ิ ิ � สรรพกาลังและเกียรติภูม และทุกร่องรอยความคิดและ การกระท�าล้วนจารึกไว้ จาก ๑๓๑ ปี ของอ่เรอหลวงในวนน้นสกรมอทหารเรอ ื ่ ื ู่ ู ู ั ั ี ในวันน้ แม้เวลา สถานท่ ความรู้ และเทคโนโลย ี ี จะเปลี่ยน แต่ความมุ่งมั่น พากเพียร เป็นที่ประจักษ์ ้ � ตลอดเส้นทาง ประวัติศาสตร์จะเป็นเคร่องยาเตือน ื ให้เราเผชิญความท้าทายใหม่อย่างไม่ไร้ทิศทาง ึ ี ี ิ ในขณะท่อนาคตรอคอยท่จะต่อยอดส่งท่เกิดข้นในวันน ี ้ ี อย่างไม่รู้จบสิ้น ภาพของอดีตเจ้ากรมอู่ทหารเรือท่เรียงราย ี ณ ห้องประชุม ๑ กองบังคับการ กรมอู่ทหารเรือ จึงเสมือน ี ตัวแทนของสายตาบรรพบุรุษท่เฝ้ามองปัจจุบันและ อนาคตของกรมอู่ทหารเรือไปพร้อมกับเราในวันน้เสมอ ี ภาพของ นาวาเอก พระสุนทรานุกิจปรีชา (ทัด) อดีตเจ้ากรมอู่ทหารเรือ ลาดับท ๑ ซ่งผู้บังคับบัญชา ึ ่ � ี พร้อมด้วยทีมงานกองจัดการฯ และส่วนต่าง ๆ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๗ แผ่นที่ ๔๒ วันที่ ๑๘ มกราคม รัตนโกสินทร์ศก ี ี � ๑๐๙ น่า ๓๗๒ - ๓๗๓ เรื่อง “การเปิดอู่เรือหลวง” มีเนื้อหาที่แสดงให้เห็น ท่เก่ยวข้องได้ให้ความสาคัญ และพากเพียรค้นหาจนพบ ถึงแนวทางการคัดเลือกก�าลังพลไว้ว่า “...เจ้าพนักงานทุกต�าแหน่ง ก็เลือก จึงเป็นของขวัญวันสถาปนากรมอู่ทหารเรือ ครบรอบปี ้ ี ู ี ี ้ ู เอาแต่ผ้ท่มีความร พอท่จะกระท�าหน้าท่ของตนให้เจริญได ท่สุดจนพลทหาร ี ก็ช�านาญในการเรือขึ้นเปนอันมาก...” ที่ ๑๓๑ ที่เต็มเปี่ยมไปด้วยคุณค่าและความหมาย นาวิกศาสตร์ 21 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

ี วันคล้ายวันสถาปนากองเรือฟริเกตท่ ๑

ครบรอบ ๖๘ ปี

กองเรือฟริเกตที่ ๑

� ั � “เป็นกองเรือท่มีความพร้อมรบ ชานาญการยุทธ์ทางทะเล ด้วยการเตรียมกาลังช้นเลิศ” ี ี ่ ื ี ประเทศไทย มีอาณาเขตจรดทะเลความยาว เปล่ยนช่อเป็น กองเรือฟริเกตท ๑ ตามการปรับโครงสร้าง ่ ี � ตลอดแนวชายฝั่ง ๑,๕๐๐ ไมล์ทะเล ซึ่งเป็นแหล่งรวม กาลังรบของกระทรวงกลาโหม เม่อวันท ๑๑ มีนาคม ื ี ของทรัพยากรธรรมชาติท่มีความอุดมสมบูรณ์ อันได้แก่ พ.ศ.๒๕๓๕ ดังนั้น กองเรือฟริเกตที่ ๑ จึงได้ยึดถือเอา ิ ี ึ ั ี ่ ส่งมีชีวิตในทะเล ก๊าซธรรมชาต นอกจากน้ทะเลยังเป็น วันท ๑ มกราคมของทุกปี ซ่งเป็นวันคล้ายวันก่อต้ง ิ � � เส้นทางคมนาคมท่สาคัญของประเทศ จึงมีความสาคัญ กองเรือปราบเรือดานา เป็น วันคล้ายวันสถาปนา � ้ ี � ั ย่งต่อผลประโยชน์ของชาต กองทัพเรือจึงได้รับมอบหมาย กองเรือฟริเกตท ๑ สืบมา ท้งน้กองทัพเรือได้อนุมัต ิ ิ ี ิ ่ ี ภารกิจอันส�าคัญจากรัฐบาล ในการคุ้มครองและรักษา งบประมาณในการก่อสร้างตึกกองบัญชาการกองเรือ ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ให้ความปลอดภัยต่อ ฟริเกตที่ ๑ หลังใหม่ขึ้น บริเวณพื้นที่ท่าเรือแหลมเทียน ั เส้นทางคมนาคม รวมท้งการป้องกันและปราบปราม การท่าเรือสัตหีบ ฐานทัพเรือสัตหีบ สามารถเข้าใช้ การกระท�าผิดกฎหมายต่าง ๆ ตลอดจนการช่วยเหลือ ราชการในปี พ.ศ.๒๕๕๘ ซ่งปัจจุบันนับเป็นปีท ๖๘ ึ ี ่ ผ้ประสบภยทางทะเล ซงภารกิจต่าง ๆ เหล่าน ้ ี ของการสถาปนากองเรือฟริเกตท ๑ โดยในปีนี้ได้ ี ู ึ ั ่ ่ กองเรือฟริเกตท ๑ นับเป็นหน่วยงานหน่งท่มีบทบาท ก�าหนดจัดงานวันคล้ายวันสถาปนากองเรือฟริเกตที่ ๑ ี ี ่ ึ ส�าคัญ ในวันพฤหัสบดีที่ ๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๔ กองเรือฟริเกตที่ ๑ เป็นหน่วยขึ้นตรงของกองเรือ � ี ประวัติความเป็นมา ยุทธการ มีหน้าท่ในการจัดเตรียมกาลังรบต่อต้าน ิ ้ � ี ื กองเรือปราบเรือดานา ได้ก่อต้งข้นเม่อวันท ๑ ภัยคุกคามท้ง ๓ มิต อันได้แก่ การป้องกันภัยผิวนา ่ ึ ้ � ั � ั ี ้ มกราคม พ.ศ.๒๔๙๖ โดยม นาวาเอกจรูญ เฉลิมเตียรณ การป้องกันภัยใต้นา และการป้องกันภัยทางอากาศ � ี � ิ (ยศในขณะน้น) ดารงตาแหน่ง ผู้บังคับการกองเรือ ปัจจุบันม พลเรือตร สมบัต นาราวิโรจน์ เป็น ผู้บัญชาการ ี ั � � ่ ปราบเรือด�าน�้า เป็นท่านแรก และต่อมาได้รับอนุมัติให้ กองเรือฟริเกตท ๑ มีกาลังรบหลักประกอบด้วย ี นาวิกศาสตร์ 22 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

ี เรือฟริเกต เรือคอร์เวต และเรือตรวจการณ์ปราบ ๒. กองร้อยกองบัญชาการ มีหน้าท่สนับสนุน เรือด�าน�้า ซึ่งมีระบบอาวุธและอุปกรณ์อ�านวยการรบที่ ทางธุรการ การรักษาความปลอดภัย และการบริการ ั ทันสมัย มีความคงทนทะเล สามารถออกปฏิบัติภารกิจ ท่วไปให้แก่กองบัญชาการ โดยมีหน่วยในการบังคับบัญชา � ในทะเลได้เป็นระยะเวลานาน โดยมีคาขวัญของกองเรือ ๓ หน่วย ได้แก่ กองบังคับการกองร้อย หมวดบริการ ฟริเกตที่ ๑ ว่า “ค้นหา ไล่ล่า ท�าลาย” และหมวดป้องกัน � � ๓. มีเรือในสังกัด จานวน ๑๐ ลา แบ่งออกเป็น วิสัยทัศน์และพันธกิจ ๓ หมวดเรือ ได้แก่ ี ี ่ ี กองเรือฟริเกตท ๑ จะเป็นกองเรือท่ม “ความ ๓.๑ หมวดเรือที่ ๑ ประกอบด้วย เรือหลวง � พร้อมรบ ชานาญการยุทธ์ทางทะเล ด้วยการเตรียม มกุฎราชกุมาร เรือหลวงตาปี เรือหลวงคีรีรัฐ เรือหลวง ก�าลังชั้นเลิศ” โดยมีการด�าเนินการดังนี้ รัตนโกสินทร์ และเรือหลวงสุโขทัย � ั ๑. พัฒนาขีดความสามารถกาลังรบท้งด้าน ุ ี องค์บุคคล องค์วัตถ และองค์ยุทธวิธ ให้ทันสมัย มีความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจ ๒. ด�าเนินการจัดการความรู้ (KM : Knowledge ุ Management) เก่ยวกับองค์วัตถ และองค์ยุทธวิธ ี ี ื � ต่าง ๆ เพ่อถ่ายทอดเป็นองค์ความรู้ให้กับกาลังพลท ี ่ ย้ายบรรจุเข้ามาปฏิบัติงานในกองเรือฟริเกตที่ ๑ ๓. เตรียมพร้อมจัดเรือปฏิบัติราชการและการฝึก ต่าง ๆ อาท หมู่เรือรักษาการณ์ถวายความปลอดภัย ิ ้ � ทางนา (มรก.ถปน.) ปฏิบัติราชการในทัพเรือภาค ปฏิบัต ิ ราชการหมู่เรือเฉพาะกิจบรรเทาสาธารณภัย จัดเรือร่วม การฝึกต่าง ๆ ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศ เรือหลวงมกุฏราชกุมาร รวมทั้ง การสนับสนุนการฝึกให้กับหน่วยต่าง ๆ

การจัดหน่วยของ กองเรือฟริเกตที่ ๑

กองเรือฟริเกตที่ ๑ จัดหน่วยราชการออกเป็น ๕ หน่วยงาน ดังนี้ � ๑. กองบัญชาการ มีหน้าท่กาหนดนโยบาย ี วางแผน ประสานงาน ก�ากับการปฏิบัติงานของหน่วย ตามที่ได้รับมอบหมาย ประกอบด้วย ๑ กอง ๗ แผนก ได้แก่ กองช่าง แผนกธุรการ แผนกกาลังพล แผนก � ื ่ � ุ ยทธการและข่าว แผนกส่งกาลงบารง แผนกสอสาร ุ � ั และเทคโนโลยีสารสนเทศ แผนกพลาธิการ และ แผนกการเงิน เรือหลวงตาปี นาวิกศาสตร์ 23 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

เรือหลวงคีรีรัฐ เรือหลวงรัตนโกสินทร์

เรือหลวงสุโขทัย ๓.๒ หมวดเรือที่ ๒ ประกอบด้วย เรือหลวงปิ่นเกล้า และเรือหลวงภูมิพลอดุลยเดช

เรือหลวงปิ่นเกล้า เรือหลวงภูมิพลอดุลยเดช

นาวิกศาสตร์ 24 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

๓.๓ หมวดเรือที่ ๓ ประกอบด้วย เรือหลวงค�ารณสินธุ เรือหลวงทยานชล และเรือหลวงล่องลม

เรือหลวงคำารณสินธุ เรือหลวงทยานชล

เรือหลวงล่องลม

ี ื � ้ � การปฏิบัติงานที่ส�าคัญ ค้านามันเถ่อน การกระทาผิดเก่ยวกับยาเสพติด ๑. จัดเรือปฏิบัติราชการในหมู่เรือรักษาการณ์ การปฏิบัติการร่วมกับประเทศเพ่อนบ้านท่มีอาณาเขต ี ื ้ � ั ถวายความปลอดภัยทางน�้า (มรก.ถปน.) ในการถวาย น่านนาติดกัน รวมท้งการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ความปลอดภัยแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ณ เรือนรับรอง ทางทะเล ี ท่ประทับ ค่ายมหาสุรสิงหนาท เรือนรับรองท่ประทับ ๓. จัดเรือเข้าปฏิบัติราชการในหมู่เรือเฉพาะกิจ ี ิ ิ ิ � หน่วยบญชาการนาวกโยธน (น.๑) ตาหนกพมานมาศ บรรเทาสาธารณภัยทางทะเล กองทัพเรือ โดยมีภารกิจ ั ั ั ุ ั ่ ี ้ ตลอดจนพนทตาง ๆ ในจงหวดระยอง และจงหวดชลบร ี สนับสนุนการบรรเทาสาธารณภัย ให้กับศูนย์บรรเทา ื ่ ั ั ๒. จัดเรือปฏิบัติราชการในทัพเรือภาคท ๑ สาธารณภัยกองทัพเรือ และศูนย์บรรเทาสาธารณภัย ี ่ ทัพเรือภาคที่ ๒ และทัพเรือภาคที่ ๓ ตามแผนการจัด พื้นที่ต่าง ๆ ของกองทัพเรือ เพื่อให้ผู้ประสบภัยรอดพ้น กาลงของกองเรือยทธการ โดยมภารกจการป้องกัน อันตราย บรรเทาความเสียหายและความเดือดร้อน ิ � ี ุ ั � การกระทาผิดกฎหมายทางทะเล ได้แก่ การลักลอบ ต่อชีวิตและทรัพย์สินจากสาธารณภัยที่เกิดขึ้น นาวิกศาสตร์ 25 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

๔. การฝึกต่าง ๆ ี ี ึ - การฝึกองค์บุคคลและยุทธวิธ กองเรือ ปฏิบัติภารกิจตามท่ได้รับมอบหมาย ซ่งในการฝึก ่ ี ฟริเกตท ๑ เพ่อเตรยมความพร้อมขององค์บุคคล องค์บุคคลและยุทธวิธีกองเรือ กองบิน และหน่วย ี ื � � ี องค์วัตถ และองค์ยุทธวิธ โดยมุ่งเน้นการเตรียมกาลัง สงครามพิเศษทางเรือ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ุ � ั ให้มีขีดความสามารถในการปฏิบัติการท้ง ๓ มิต ิ ได้ดาเนินการฝึกในลกษณะของการบูรณาการ การฝึก ั ้ โดยเฉพาะในด้านการปราบเรือดานา ให้พร้อมท่จะ ร่วมกันกับกองเรืออื่น ๆ และกองบิน � � ี

ภาพการฝึกองค์บุคคลและยุทธวิธี กองเรือฟริเกตที่ ๑ ประจำาปี งป.๖๔

นาวิกศาสตร์ 26 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

- การฝึกร่วมกับมิตรประเทศ เช่น การฝึกผสม การด�าเนินการอื่น ๆ KAKADU การฝึกผสม AUSTHAI การฝึกผสม SEA ๑. ด้านกิจการพลเรือน จัดเรือให้หน่วยงาน ื ี ั � GARUDA การจัดกาลังเข้าร่วมการฝึกร่วมผสม COBRA ราชการ เอกชน และประชาชนท่วไปเย่ยมชม เพ่อ ี ็ ั ั ์ GOLD และการฝึกผสม CARAT การจัดเรือเข้าร่วมงาน เปนการประชาสมพนธขดความสามารถ ภารกจ หนาท ี ่ ้ ิ แสดงนิทรรศการทางเรือ IMDEX ASIA และการจัดเรือ ของหน่วย และภาพลักษณ์โดยรวมของกองทัพเรือ เข้าร่วมการฝึก PASSEX กับกองทัพเรือต่างประเทศ ในโอกาสต่าง ๆ เช่น กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ กิจกรรม ที่เข้าเยี่ยมเมืองท่าประเทศไทย ปฏิบัติการจิตวิทยาในพื้นที่ลาดตระเวน

ภาพการฝึกผสมต่าง ๆ

- การจัดเรือสนับสนุนการฝึกหัดศึกษาของ ๒. ด้านสวัสดิการ กองการฝึก กองเรือยุทธการ และหน่วยต่าง ๆ ใน - การมอบทุนการศึกษาให้แก่บุตรข้าราชการ กองทัพเรือ เช่น การจัดเรือสนับสนุนการฝึกภาคปฏิบัต ิ ในสังกัด เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่าย ในทะเลของนักเรียนนายเรือ สนับสนุนการฝึกภาคทะเล - ให้การบารุงขวัญข้าราชการตามมาตรการ � นักเรียนจ่า โรงเรียนชุมพลทหารเรือ กรมยุทธศึกษา การช่วยเหลือ และการบารุงขวัญโดยผู้บัญชาการ � ทหารเรือ การจัดเรือ และวิทยากรสนับสนุนการศึกษา กองเรือฟริเกตท ๑ หรือผู้แทน ตรวจเยี่ยมครอบครัว ่ ี ดูงาน ของนักเรียนหลักสูตรต่าง ๆ ของกองการฝึก ของข้าราชการ กองเรือยุทธการ

นาวิกศาสตร์ 27 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

ภาพการเยี่ยมชมเรือใน กฟก.๑

� - ส่งเสริมด้านสวัสดิการและการบริการ ครองชีพ การส่งเสริมการเรียนรู้การดาเนินการตามแนว ี � ื � กาลังพล เพ่อสร้างขวัญกาลังใจและคุณภาพชีวิตท่ด ี ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการอบรมความรู้ด้านการ เช่น ด้านการแพทย์ การติดตามด้านการรักษาพยาบาล ประกอบอาชีพเสริม โดยได้เชิญวิทยากรจากหน่วยงาน - ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมให้ ภาครัฐและภาคเอกชนเข้ามาด�าเนินการอบรม ึ ้ ี ั � ี กาลงพลมีคุณภาพชีวิตท่ดขน การลดค่าใช้จ่ายในการ นาวิกศาสตร์ 28 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

ภาพกิจกรรมกองเรือสีขาว

๓. ด้านการป้องกันยาเสพติด ดาเนินการป้องกัน ให้กองเรือมีความพร้อมรบ ชานาญการยุทธ์ทางทะเล � � � ี และปราบปรามยาเสพตดในหน่วยงาน โดยกาหนด ตามวิสัยทัศน์ของกองเรือฟริเกตท ๑ และมีความ ่ ิ ี ั โครงการเขตปลอดยาเสพติด ใช้ชื่อว่า “กองเรือสีขาว” ต้งใจท่จะปฏิบัติหน้าที่ในความรับผิดชอบให้เรียบร้อย ี ื กองเรือฟริเกตท ๑ เพ่อมุ่งสู่เป้าหมายตามนโยบาย อย่างเต็มกาลังความสามารถ ด้วยพลังสามัคค พลัง ่ � ี กองทัพเรือปลอดยาเสพติด โดยมีการด�าเนินการต่าง ๆ ราชนาว เพ่อให้ม่นใจได้ว่าจะสามารถปฏิบัติภารกิจ ี ั ื ี เช่น การอบรมให้ความรู้กาลังพลเก่ยวกับพิษภัยของ รักษาสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ การรักษา � ยาเสพตด การจัดแข่งขนกฬาต่อต้านยาเสพติด ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล และการช่วยเหลือ ิ ี ั ิ การรณรงค์โครงการ การเปิดช่องทางการแจ้งเบาะแส ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างย่ง � ยาเสพติด โดยให้กาลังพลมีส่วนร่วมในการดาเนินการ สอดคล้องกับนโยบายของผู้บัญชาการทหารเรือ ประจาปี � � อย่างเต็มที่ งบประมาณ ๒๕๖๔ ท่ยังคงเป็นการดารงจุดมุ่งหมาย ี � ในการนาพากองทัพเรือให้มุ่งสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ � ั บทส่งท้าย กองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๖๗ น่นก็คือ “เป็นหน่วยงาน � ี ี กองเรือฟริเกตท ๑ มีความแน่วแน่ท่จะเพ่มพูน ความม่นคงทางทะเลท่มีบทบาทนาในภูมิภาค และ ่ ิ ี ั และพัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบัติงานในทุกมิติ เป็นเลิศในการบริหารจัดการ” นาวิกศาสตร์ 29 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

Marine Expeditionary Unit (MEU)

นาวาตรี วีรกมล สวนจันทร์

ั ุ ี สวสดครบท่านผ้อ่านทกท่าน ในงบประมาณน ี ้ Task Force หรือ MAGTF) ที่มีขนาดเล็กที่สุด สามารถ ู ั ้ � ได้มีการพูดถึงการปรับหลักนิยมการยุทธสะเทินนา ตอบสนองภารกิจท่จะเกิดข้นจากสภาวะแวดล้อม ึ ี สะเทินบกกันในหลาย ๆ เวที เนื่องจากเป็นประเด็นที่ ต่าง ๆ ในปัจจุบันได้อย่างรวดเร็ว รวมถึงสามารถใช้เป็น � ผู้บังคับบัญชาได้ให้ความสาคัญในการพัฒนาหลักนิยม เคร่องมือในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ในด้านความม่นคง ั ื ื ั ี ื ี น้อย่างต่อเน่อง เพ่อให้ข้อมูลท่น่าจะเป็นประโยชน์ ของผู้บังคับบัญชาท้งในระดับยุทธศาสตร์ ยุทธการ และก�าลังเป็นที่สนใจของหลาย ๆ ท่าน บทความนี้จะ และยุทธวิธีได้เป็นอย่างดี เนื่องจากสามารถบูรณาการ ื � เป็นการนาเสนอเร่อง Marine Expeditionary Unit การใช้ก�าลังทางบก ก�าลังทางเรือ และก�าลังทางอากาศ � ึ หรือใช้คาย่อว่า MEU (อ่านออกเสียงว่า มิว) ซ่งน่า ได้อย่างสมบูรณ์ ิ จะเป็นช่อท่ได้ยินแล้วคุ้นหูเป็นอย่างย่งจากการฝึก การใช้หน่วย MEU ทางยุทธศาสตร์น้นสามารถ ื ี ั ั � ร่วมผสมต่าง ๆ ร่วมกับนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา เช่น รับคาส่ง หรือภารกิจจากประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ั การฝึกคอบบร้าโกลด์กะรัต ฯลฯ นั้น ผู้เข้าร่วมการฝึก ได้โดยตรง ส่วนการใช้งานในระดับยุทธการและยุทธวิธีน้น st ส่วนมากจะมาจากหน่วย 31 MEU ที่มีฐานปฏิบัติการ จะรับคาส่ง หรือภารกิจจากผู้บัญชาการรบในภูมิภาค ั � อยู่ที่เมืองโอกินาวา ประเทศญี่ปุ่น หรือ Geographic Combatant Commanders (GCC) � ้ � MEU เป็นการจัดกาลังแบบกองกาลังเฉพาะกิจ การปรับเปล่ยนหลักนิยมจากการยุทธสะเทินนา � ี ื อากาศ-พ้นดินนาวิกโยธิน (Marine Air Ground สะเทินบกของนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา ไปเป็น ภาพการฝึกร่วมผสม Cobra Gold

นาวิกศาสตร์ 30 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

ั Expeditionary Operations น้น เป็นผลให้ต้องม ี ภารกิจ ึ ื ี การเปล่ยนช่อหน่วยยกพลข้นบกเดิมจาก Marine MEU สามารถปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ได้ดังนี้ Amphibious Unit หรือ MAU ไปเป็น Marine - การยุทธสะเทินน�้าสะเทินบก ื � Expeditionary Unit หรือ MEU ในปี ค.ศ.๑๙๘๘ - การแสดงกาลังทางทหาร เพ่อกดดันให้ปฏิบัต ิ ั ั ี � ี � จากการเปล่ยนแปลงคร้งน้น้น ทาให้ MEU สามารถ ตามมต หรือสนธิสัญญาต่าง ๆ เช่น การหยุดยิง กาหนด ิ เพ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติการยุทธสะเทินนา ให้มีการเลือกตั้ง ฯลฯ ้ ิ � สะเทินบกมากขึ้น ดังนี้ - ยึด หรือควบคุมสถานที่ส�าคัญต่าง ๆ เช่น ท่าเรือ � ี - สามารถใช้ MEU เป็นกาลังส่วนหน้าท่จะ สนามบิน แหล่งทรัพยากรต่าง ๆ รวมถึง ศูนย์กลาง ั ้ ิ ั ุ ื ิ ั ปฏบตการ หรอสนบสนนการปฏบติการทางทหารในดาน ทางการเมือง เพื่อเอื้อต่อการปฏิบัติในอนาคตต่อไป ิ ความมั่นคงต่าง ๆ ได้ - ปราบปราม หรือควบคุมจลาจล ่ ้ - มีความพรอมรบคอนข้างสูง สามารถปฏิบัติการ - คุ้มครองและปกป้องสถานทูตและประชาชน ั ทางทหารต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ภายใน ๖ ช่วโมง โดยเฉพาะประชาชนสหรัฐอเมริกา หลังจากรับภารกิจ - การบรรเทาสาธารณภัยและช่วยเหลือผู้ประสบภัย ่ ื - สามารถปฏิบัติการใช้กาลังเข้ายึดพ้นท (Forcible (Humanitarian Assistance and Disaster Relief ี � Entry Operations) ได้ไกลกว่าระยะขอบฟ้าในทะเล หรือ HADR) ท้งกลางวันและกลางคืน รวมถึงหรือแม้กระท่งสภาวะ - การอพยพประชาชนออกจากพ้นท่ขัดแย้ง ี ื ั ั ทัศนวิสัยที่ไม่ดีก็ตาม (Noncombatant Evacuation Operation หรือ NEO) - สามารถปฏิบัติการรบแบบร่วมผสมกับชาต ิ - การปฏิบัติการเพ่อสันติภาพ (Peacekeeping ื พันธมิตรต่าง ๆ ได้ เนื่องจากในวงรอบการปฏิบัติการนั้น Operations) ื จะมีการฝึกร่วมกับชาติพันธมิตรต่าง ๆ รอบ ๆ พ้นท ี ่ - การต่อต้านการก่อการร้าย ปฏิบัติการ ซ่งในปัจจุบันนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา - การกู้อากาศยาน และบุคคลทางยุทธวิธ (Tactical ึ ี ั ิ มีหน่วย MEU ท้งส้น ๗ หน่วย กระจายตามภูมิภาคต่าง ๆ Recovery of Aircraft and Personnel (TRAP))

ภาพการวางก�าลัง MEU ตามพื้นที่ต่าง ๆ

นาวิกศาสตร์ 31 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

- การตรวจค้นเรือ (Visit, board, search, and - ก�าลังรบทางอากาศ ฝูงบินผสมนาวิกโยธิน seizure (VBSS)) Composite Aircraft Squadron - การปฏิบัติการทางอากาศจากฐานบินบนเรือ - ส่วนส่งก�าลังบ�ารุง กองพันส่งก�าลังบ�ารุง - การจู่โจมจากเรือเล็ก (Small boat raid) Combat Logistics Battalion (CLB) - การปฏิบัติการพิเศษ (Special operations forces (SOF)) ส่วนบังคับบัญชา (ก�าลังพล ๑๖๙ นาย) ่ ี มีหน้าท ควบคุมบังคับบัญชา ให้การสนับสนุน ื โครงสร้างการจัดหน่วย การข่าวกรอง การส่อสาร และการสนับสนุนทางธุรการ ั Marine Expeditionary Unit (MEU) เป็นการ ท่วไปให้แก่ส่วนต่าง ๆ ร่วมถึงการวางแผนประสาน ี จัดแบบ MAGTF ขนาดเล็กท่สุด กาลังพลประมาณ ในการรบร่วมผสมต่าง ๆ ประกอบด้วยหน่วยต่าง ๆ ดังน ้ ี � � ๒,๒๐๐ คน วงรอบการส่งกาลง ๑๕ วน ระยะเวลา • ๑ หมวดลาดตระเวน ั ั พร้อมรับภารกิจ ๖ ชั่วโมง ผู้บังคับหน่วยชั้นยศพันเอก • ๑ ชุดติดต่อปืนเรืออากาศยาน (ANGLICO) ประกอบด้วยหน่วยตามส่วนต่าง ๆ ดังนี้ • ๑ ชุดถ่ายภาพทางอากาศ - ส่วนบังคับบัญชา • ๑ ชุดรวบรวมข่าวสาร กองบังคับการ MEU Headquarters • ๑ ชุดเรดาร์ภาคพื้น - ก�าลังรบภาคพื้นดิน กองพันผสมยกพลขึ้นบก • ๑ ชุดแผนที่ทางทหาร

Battalion Landing Team (BLT) • ๑ ตอนวิทยุสื่อสาร

โครงสร้างการจัดหน่วย Marine Expeditionary Unit (MEU)

นาวิกศาสตร์ 32 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

• ๑ ตอนสื่อสาร รถถัง M1A1 Abrams ๔ คัน • ๑ ชุดปฏิบัติการข่าวสาร • ๑ ชุดปฏิบัติการจิตวิทยา

ื ึ กาลังรบภาคพ้นดิน กองพันผสมยกพลข้นบก � � (Battalion Landing Team (BLT)) กาลังพล ๑,๒๐๐ นาย ประกอบด้วย • ๑ กองร้อยกองบังคับการและบริการ • ๓ กองร้อยปืนเล็ก

• ๑ กองร้อยอาวุธ • ๑ กองร้อยทหารปืนใหญ่ หรือ ๑ กองร้อย • พลประจ�ารถ ๔ นาย เครื่องยิงลูกระเบิดหนัก • ความเร็ว ๔๒ ไมล์ต่อชั่วโมง • ๑ หมวดรถสะเทินน�้าสะเทินบก • ระยะปฏิบัติการ ๒๗๕ ไมล์ • ๑ หมวดยานเกราะลาดตระเวน • อาวุธ ปืนใหญ่ขนาด ๑๒๐ มิลลิเมตร ปืนกล • ๑ หมวดรถถัง ๑๒.๗ มิลลิเมตร ๑ กระบอก ปืนกล ๗.๖๒ มิลลิเมตร • ๑ หมวดทหารช่าง ๒ กระบอก

• ๑ หมวดลาดตระเวน รถยานเกราะเบา Light armored vehicle (LAV) ๘ คัน อาวุธยุทโธปกรณ์และยานพาหนะที่ส�าคัญ มีดังนี้ รถสะเทินน�้าสะเทินบก (AAV) ๑๔ คัน

• บรรทุกก�าลังพล ๗ นาย (พลประจ�ารถ ๓ นาย • บรรทุกก�าลังพล ๒๔ นาย (พลประจ�ารถ ๓ นาย บรรทุกทหาร ๔ นาย) บรรทุกทหาร ๒๑ นาย) • ความเร็ว ๖๐ ไมล์ต่อชั่วโมง • ความเร็ว ๔๕ ไมล์ต่อชั่วโมง (๗ น็อตในทะเล) • ระยะปฏิบัติการ ๔๐๐ ไมล์ • ระยะปฏิบัติการ ๒๐๐ ไมล์ • อาวุธ ปืนกล ๒๕ มิลลิเมตร ๒ กระบอก ปืนกล

ั • อาวุธ ปืนกล ๑๒.๗ มิลลิเมตร ๑ กระบอก ๗.๖๒ มิลลิเมตร ๒ กระบอก หรือติดต้งจรวดต่อสู้รถถัง ื เคร่องยิงลูกระเบิด ๔๐ มิลลิเมตร ๑ กระบอก แบบโทว์

นาวิกศาสตร์ 33 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

้ ิ ู ื ั ิ ื ิ ิ รถบรรทุกทางยุทธวิธีขนาดกลาง Medium tactical หรอตดตงเคร่องยิงลกระเบดขนาด ๔๐ มลลเมตร vehicle (MTVR) ๓๐ คัน หรือจรวดต่อสู้รถถังแบบโทว์ รถยนต์บรรทุกขนาดเล็ก Internally transportable vehicle (ITV) ๖ คัน

� ้ • นาหนักบรรทุก ๗ ตันในถนนลูกรัง ๑๕ ตัน ในถนนคอนกรีต) • บรรทุกก�าลังพล ๒๕ นาย • ความเร็ว ๖๕ ไมล์ต่อชั่วโมง ื • ระยะปฏิบัติการ ๓๖๐ ไมล์ • สาหรับเคร่องยิงลูกระเบิดขนาด ๑๒๐ มิลลิเมตร � • อาวุธ ปืนกล ๑๒.๗ มิลลิเมตร ๑ กระบอก expeditionary fire support system (EFSS) หรือติดตั้งเครื่องยิงลูกระเบิดขนาด ๔๐ มิลลิเมตร • สามารถบรรทุกได้ด้วย MV-22/CH-53E • บรรทุกก�าลังพล ๔ นาย รถฮัมวี่ High-mobility multi-wheeled vehicle • ความเร็ว ๖๕ ไมล์ต่อชั่วโมง (HMMWV) ๑๐๕ คัน • ระยะปฏิบัติการ ๑๗๐ ไมล์ • อาวุธ ปืนกล ๑๒.๗ มิลลิเมตร ๑ กระบอก หรือติดตั้งเครื่องยิงลูกระเบิดขนาด ๔๐ มิลลิเมตร

กาลังรบทางอากาศ ฝูงบินผสมนาวิกโยธิน Composite � Aircraft Squadron ก�าลังพล ๔๑๗ นาย ี � มีหน้าท่ให้การสนับสนุนทางอากาศแก่กาลังรบ ิ ั ่ ุ � � ึ ั ้ ภาคพนดน และส่วนส่งกาลงบารง ซงสามารถปฏบต ิ ิ ื ภารกิจทางอากาศได้ดังนี้ ๑. การสนับสนุนทางอากาศเชิงรุก Offensive • บรรทุกก�าลังพล ๑๐ นาย Air Support • ความเร็ว ๗๐ ไมล์ต่อชั่วโมง ๒. สงครามต่อต้านทางอากาศ Anti – Air Warfare • ระยะปฏิบัติการ ๓๕๐ ไมล์ ๓. การสนับสนุนการโจมตี Assault Support • อาวุธ ปืนกล ๑๒.๗ มิลลิเมตร ๑ กระบอก ๔. สงครามอิเล็กทรอนิกส์ Electronic Warfare นาวิกศาสตร์ 34 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

� ๕. การลาดตระเวนทางอากาศ Air Reconnaissance • บรรทุกกาลังพลพร้อมอาวุธยุทโธปกรณ์ ๒๔ นาย � ี ๖. การควบคุมอากาศยานและอาวุธนาวิถ Control • รับน�้าหนักได้สูงสุด ๒๐,๐๐๐ ปอนด์ of Aircraft and Missile • ระยะปฏิบัติการ ๓๒๕ ไมล์ทะเล กาลังทางอากาศ ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังต่อไปน ้ ี • สามารถเติมเชื้อเพลิงทางอากาศได้ � • อากาศยานแบบ Medium tilt-rotor (Osprey (MV-22s) ๑๒ ล�า • เฮลิคอปเตอร์โจมตี Light attack helo AH-1Z Viper ๔ ล�า หรือ UH-1Y Super Huey ๓ ล�า • เครื่องบินโจมตี AV-8B ๖ ล�าหรือ F-35B ๖ ล�า

• เฮลิคอปเตอร์เอนกประสงค์ CH-53E Super Stallion ๔ ล�า ู • ๑ หมวดต่อส้อากาศยาน Low Altitude Air Defense (LAAD) • หมวดส่งกาลังบารุงทางอากาศ (ซ่อมบารุง CH-53E Super Stallion � � � � และส่งก�าลัง) • บรรทุกกาลังพลพร้อมอาวุธยุทโธปกรณ์ ๒๔ นาย • เครื่องบินเติมเชื้อเพลิง KC-130s ๒ ล�า • รับน�้าหนักได้สูงสุด ๓๖,๐๐๐ ปอนด์ • ส่วนสนับสนุนทางอากาศ • ระยะปฏิบัติการ ๒๒๕ ไมล์ทะเล • ส่วนควบคุมทางอากาศ • สามารถเติมเชื้อเพลิงทางอากาศได้

คุณลักษณะและขีดความสามารถของอากาศยาน ต่าง ๆ มีดังนี้

MV-22 Osprey

AH-1Z

• ใช้ในการสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิด (Close Air Support) • ความเร็วสูงสุด ๑๓๗ น็อต • ระยะปฏิบัติการ ๑๒๕ ไมล์ทะเล • สามารถเติมเชื้อเพลิงทางอากาศได้

นาวิกศาสตร์ 35 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

UH-1Y Super Huey AV-8B Harrier II

• ใช้ในภารกิจควบคุมบังคับบัญชา • ความเร็วสูงสุด ๕๘๕ น็อต • บรรทุกก�าลังพลพร้อมอาวุธยุทโธปกรณ์ ๘ นาย • ระยะปฏิบัติการ ๓๐๐ ไมล์

• ความเร็วสูงสุด ๑๔๗ น็อต • สามารถเติมเชื้อเพลิงทางอากาศได้ • ระยะปฏิบัติการ ๑๒๙ ไมล์ทะเล • สามารถลงจอดทางดิ่งได้ • สามารถเติมเชื้อเพลิงทางอากาศได้ • ภารกิจ CAS

F-35B Lightening II KC-130J

• ภารกิจ Close air support • เป็นอากาศยานส่งก�าลังเชื้อเพลิงทางอากาศ • ภารกิจต่อต้านทางอากาศเชิงรุก และเชิงรับ • ความเร็วสูงสุด ๓๒๐ น็อต Offensive and defensive counter air • ระยะปฏิบัติการ ๓,๓๔๕ ไมล์ทะเล • ภารกิจขัดขวางทางอากาศ Air interdiction

• ภารกิจสงครามอิเล็กทรอนิกส์ Electronic warfare • อากาศยานไร้คนขับขนาดเล็ก แบบ RQ-21 • ความเร็วสูงสุด ๑.๖ มัค small tactical unmanned aerial system • ระยะปฏิบัติการ ๕๐๐ ไมล์ (STUAS) ๕ ล�า • สามารถเติมเชื้อเพลิงทางอากาศได้ • ใช้ในการหาข่าว เฝ้าตรวจ และลาดตระเวน • สามารถลงจอดทางดิ่งได้ ทางอากาศ Intelligence, surveillance, and

นาวิกศาสตร์ 36 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

reconnaissance (ISR) • ๑ หมวดทหารช่าง

• ระยะปฏิบัติการจากเรือ หรือภาคพื้น ๕๐ ไมล์ • ๑ หมวดทหารสื่อสาร ทะเล หรือนาน ๑๐ ชั่วโมง • ๑ ชุดถอดท�าลายอมภัณฑ์ (EOD) • ความเร็วสูงสุด ๘๐ น็อต • ๑ หมวดส่งก�าลัง • ๑ หมวดสนับสนุนการยกพลขึ้นบก � � � � ส่วนส่งกาลังบารุง กองพันส่งกาลังบารุง Combat � ั Logistics Battalion (CLB) กาลงพล ๓๘๗ นาย ขีดความสามารถ ประกอบด้วยหน่วยต่าง ๆ ดังนี้ • ด�ารงการส่งก�าลังบ�ารุงได้ ๑๕ วัน • กองบังคับการ • การส่งก�าลังภาคพื้น � ุ � ื • ๑ หมวดขนส่ง • การซ่อมบารงอาวุธยุทโธปกรณ์ของกาลงรบภาคพ้น ั • ๑ หมวดสนับสนุน • การขนส่ง • ๑ หมวดสารวัตรทหาร • การช่างก่อสร้าง • ๑ หมวดซ่อมบ�ารุง • การรื้อถอน และซ่อมสิ่งปลูกสร้าง • ๑ หมวดพยาบาล • สนับสนุนแหล่งจ่ายไฟฟ้า

นาวิกศาสตร์ 37 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

• ผลิต และแจกจ่ายน�้าประปา มองภาระงานของกองพันผสมยกพลขึ้นบก Battalion • บริการทางการแพทย์ Landing Team แล้วมีความต้องการ ผู้ที่เข้าใจในหลัก � � ื � • การถอดทาลายอมภัณฑ์ Explosive ordnance การส่งกาลังบารุงอย่างถ่องแท้ เน่องจากต้องรับผิดชอบ disposal (EOD) ในการส่งก�าลังบ�ารุงให้กับหน่วยเทคนิคต่าง ๆ ที่จะมา • General services (postal, ammo) เป็นหน่วยในอัตราท่ค่อนข้างหลากหลาย ทาให้ต้อง � ี • การช่วยเหลือมนุษยธรรม Humanitarian วางแผนในการส่งก�าลังบ�ารุงให้หน่วยเทคนิคต่าง ๆ ซึ่ง assistance ค่อนข้างมีรายละเอียดมาก เช่น ปืนใหญ่ รถยานเกราะ ั • จัดต้งศูนย์ควบคุมผู้อพยพ (Evacuation control รถถัง ฯลฯ center) ในภารกิจการอพยพประชาชนออกจากพ้นท ่ ี ๓. การใช้รถสะเทินนาสายพานลาเลียงเป็นแค่ � ื ้ � ขัดแย้ง Noncombatant Evacuation Operations หนทางปฏิบัติหน่งในการปฏิบัติการยุทธสะเทินนา ้ � ึ (NEO) สะเทินบกเท่าน้น เน่องจากการมีอากาศยานท่หลากหลาย ี ั ื • ควบคุมพื้นที่ส่วนหลัง ในอัตรา รวมถึงปัจจุบันมีแนวทางในการเตรียมกาลังพล � ในการปฏิบัติของกองพันทหารราบท่จะใช้กองร้อย ี � หากวิเคราะห์เปรียบเทียบถึงการจัดกาลังใน MEU ในสังกัดปฏิบัติในภารกิจเฉพาะทาง เช่น ึ กับหน่วยยกพลข้นบกนาวิกโยธินของเราน้น มีส่งท ่ ี กองร้อยท Alfa รับภารกิจเป็นทหารราบยานเกราะ ิ ี ่ ั แตกต่างกันในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ Mechanize Infantry ี ั ิ ๑. นาวกโยธินสหรฐอเมริกา มอากาศยานบรรจ ุ กองร้อย Bravo รับภารกิจเป็นกองร้อยโจมต ี อยู่ในโครงสร้างที่หลากหลาย นักบินรวมถึงเจ้าหน้าที่ โฉบฉวย Small Boat ื ทางเทคนิคต่าง ๆ เป็นทหารนาวิกโยธิน ท�าให้สะดวก กองร้อย Charlie รับภารกิจกองร้อยยุทธเคล่อนท ่ ี ในการปฏิบัติภารกิจทางทหารต่าง ๆ ร่วมกัน จนท�าให้ ทางอากาศ Air Assault ื สามารถพัฒนาหลักนิยมในการรบระหว่างอากาศ-พ้นดิน กองร้อยอาวุธ สนับสนุนการจัดอาวุธ สนับสนุน ได้หลากหลายรูปแบบ เช่น การสนับสนุนทางอากาศ ในอัตราให้ในแต่ละภารกิจ เชิงรุก Offensive Air Support สงครามต่อต้าน ๔. หน่วย MEU สามารถปฏิบัติภารกิจได้ค่อนข้าง ทางอากาศ Anti - Air Warfare การสนับสนุนการโจมตี หลากหลาย รวมถึงเป็นการจัดท่หน่วยเหนือมีการ ี � Assault Support ฯลฯ ให้ลาดับความเร่งด่วน (Priority) ในเร่องต่าง ๆ ื � ๒. นาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา มีการจัดการส่งก�าลัง เป็นอันดับแรก เช่น การบรรจุกาลังพล อาวุธยุทโธปกรณ์ บารุง และการข่าวเป็นเหล่าเทคนิคมีแนวทางรับราชการ ต่าง ๆ รวมถึงมีวงรอบในการออกปฏิบัติราชการที่ต้อง � ตามสายงานอย่างชัดเจนคล้าย ๆ กับเหล่าสื่อสารของ ผ่านการฝึก และการประเมินต่าง ๆ ก่อน ท�าให้เมื่อมี ั ึ ั นาวิกโยธินกองทัพเรือไทย ซ่งเป็นประโยชน์ในการ ฝึกร่วมกันกับประเทศต่าง ๆ ในแต่ละคร้งน้น จะสังเกต ปฏิบัติงานร่วมกันเป็นอย่างมาก ยกตัวอย่างเช่น เห็นว่ามีความพร้อมรบค่อนข้างสูง ในประเด็นน ้ ี � ี � เหล่าส่งกาลังบารุงก็จะมีท้งส่วนท่กระจายอยู่ในหน่วย อาจมองได้ในเชิงยุทธศาสตร์การแสดงกาลัง (Show of ั � ึ � � ทหารทุกหน่วย ทาหน้าท่ในการส่งกาลังบารุงโดยตรง force) รูปแบบหน่ง ในมุมกลับเราก็ควรให้เน้นความ ี � ั � ี ให้แต่ละหน่วย รวมถงมการจดหน่วยส่งกาลงบารงท ี ่ สาคัญกับการฝึกร่วมกับประเทศต่าง ๆ ด้วยเช่นกัน ึ � ุ ั � � ทาหน้าท่สนับสนุนโดยส่วนรวมอีกด้วย นอกจากน้หาก เพื่อภาพลักษณ์และความน่าเชื่อถือที่ดี ี ี นาวิกศาสตร์ 38 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

ก�าลังพลหน่วย LAAD พร้อมอาวุธต่อสู้อากาศยาน Stinger แบบน�าพาด้วยบุคคล

� ั � ๕. แม้ว่าจะมีโครงสร้างการจัดหน่วย MEU ตามตารา กาลังรบทางอากาศ (Air Combat Element) ท้งน ี ้ ื � หรือหลักนิยมแล้ว แต่ในทางปฏิบัติจริงในปัจจุบันมีการ มีจุดประสงค์เพ่อให้ผู้บัญชาการส่วนกาลังรบทางอากาศ ี ปรับเปล่ยนโครงสร้างภายใน MEU อยู่ตลอดเวลา ได้สามารถวางแผนการป้องกันภัยทางอากาศท้งแบบ ั ื ่ ี � ี ื ี � เพ่อให้เหมาะสมกับภารกิจท่อาจแตกต่างกันไปใน พ้นท และแบบเฉพาะตาบลท่ต้งสาคัญ ๆ ได้อย่าง ั แต่ละภูมิประเทศ แต่ยังคงเป็นการจัดส่วนต่าง ๆ ครบ บูรณาการ ตามการจัดแบบ MAGTF ส่งเหล่าน้คือตัวอย่างท่ทาให้เห็นถึงการประยุกต์ ี ี � ิ ั ๖. ขนาดของหน่วย MEU น้น หากจะกล่าวว่าเป็น ใช้หน่วยให้สามารถปฏบตตามภารกจทหลากหลาย ิ ี ิ ่ ิ ั ี หน่วยระดับกรมก็น่าจะกล่าวได้ เน่องจากประกอบด้วย ภายใต้ทรัพยากรท่สมบูรณ์ หากเราไม่สามารถมีทรัพยากร ื ๒ กองพัน คือ กองพันผสมยกพลขึ้นบก และกองพัน ได้แบบนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา เราก็ควรคิดหาหนทาง ่ ่ ิ ี � ั ี ั ั ส่งกาลัง นอกจากน้ยังมีอีก ๑ ฝูงบนผสมในอตราอีกด้วย ทน่าจะเหมาะสมกบกาลงทเราม ภารกจทเราคาดว่า ิ ี � ่ ี ี ิ ี ี � ในภารกิจท่มีการปะทะ หรือต้องใช้กาลังทางทหารจะให้ จะต้องปฏิบัต รวมถึงภัยคุกคามต่าง ๆ ท่คาดว่าเรา กองพันผสมยกพลขนบกเปนผรบผิดชอบหลก ส่วนภารกจ จะต้องเผชิญ ้ ิ ั ั ึ ็ ู้ บรรเทาสาธารณภัย หรืองานช่วยเหลือประชาชนต่าง ๆ จะให้กองพันส่งก�าลังเป็นผู้รับผิดชอบหลัก เอกสารอ้างอิง ๗. การป้องกันภัยทางอากาศให้แก่ที่ตั้งภาคพื้นที่ 1) MCO 3120.13, Policy for Marine Expeditionary Unit � สาคัญต่าง ๆ ใช้หน่วยหมวดต่อสู้อากาศยาน (Low (MEU) (29 October 2015)

  1. Amphibious Ready Group and Marine Expeditionary

ึ Altitude Air Defense หรือ LAAD) ซ่งอยู่ในส่วน Unit Overview, U.S. Marine Corps (2012) นาวิกศาสตร์ 39 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

นาวาโท ชัชวาล ประสิทธิ์เวช

้ ั ู ี ้ ื ิ ั วันที่ ๑๑ เป็นอีกวันหนึ่งในเดือนสิงหาคม พ.ศ. ของฝงในวนน “ภารกจบินรบศพขาราชการทหารเรอ” ี ๒๕๖๓ ที่อากาศสดชื่นในช่วงเช้าและฝนตกในช่วงบ่าย ณ จังหวัดนราธิวาส วันน้คงเป็นวันท่ดีวันหน่งเหมือน ึ ี ท้องฟ้าท่สดใสในช่วงเช้า สีฟ้าตัดความเขียวชอุ่มของ ในทุกวันของการปฏิบัติการบินท่ผ่าน ๆ มา ผมคิด ี ี ต้นไม้สะท้อนเงาในบ่อน�้าหน้าฝูงบิน ๑๐๒ กองบิน ๑ ภาพน้อง ๆ นักบิน และต้นหนต่างขมักเขม้นในการ ่ ื � ั ุ ี ่ ี � ิ ู ิ กองการบนทหารเรือ ผมเดินทางมาทางานในช่วงเช้า เตรยมข้อมลด้านการบนเพอให้พร้อมทสดสาหรบการ ด้วยรถยนต์ส่วนตัว ขณะเดินเข้าฝูงบินฯ เจ้าหน้าท ี ่ บินในทุกไฟลท์ ผมเห็นจนชินตา ื � ี กาลังกะตือรือร้นในการเตรียมเคร่องบินสาหรับภารกิจ เวลา ๐๙๐๐ เป็นเวลาท่เรานัดหมายในการ �

เครื่องบิน Fokker F27 MK200

นาวิกศาสตร์ 40 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

ื ี ไปพร้อมกันท่เคร่องบิน Fokker F27 MK200 และกางเช็คลิสต์พร้อมท่จะสตาร์ท น้องนักบินผู้ช่วย ี ่ ื ี ู ่ เครองบนทในอดีตมีขดความสามารถในการรบสงสุด ท�าการสตาร์ทเครื่อง เจ้าหน้าที่ภาคพื้นให้สัญญาณมือ ิ ี ่ ้ ั ื ี ี � ของกองการบินทหารเรือถือเป็นเข้ยวเล็บท่สาคัญ บ่งบอกว่าการสตาร์ทเครองยนต์ทงซ้ายและขวา ของกองทัพก็ว่าได้ เป็นปกต ผมและน้องนักบินผู้ช่วยทาเช็คลิสต์เพ่อให้ ิ � ื ี แต่ในปัจจุบันน้อายุของป Fokker ก็เกือบจะ ๔๐ ปี พร้อมส�าหรับการ taxi “พรุ่งนี้ก็วันแม่แล้ว ท�าภารกิจ ู่ � อยู่แล้วใคร ๆ ก็บอกว่าแก่แต่เก๋า... พูดไปพรางหัวเราะไป ให้สาเร็จแล้วกลับมาไหว้แม่ดีกว่า” ผมคิดในขณะท ่ ี ู ผมกับน้องนักบินรวมถึงต้นหนและเจ้าหน้าท ี ่ น้องนักบนผ้ช่วยทาการขบเคลอนเครองบินไปตงตัว ้ � ั ่ ื ั ื ่ ิ ิ ั ู ิ � ผ้ปฏบตการในอากาศเป็นประจา (ผอป.) ต่างตรวจ ที่หัวทางวิ่ง ๑๘ ื ึ ความเรียบร้อยของเคร่องบินซ่งก็ไม่มีส่งใดผิดปกต ิ “RTN 1202 ready for take off” ผมติดต่อกับ ิ ี ื ผมยกมือไหว้เสด็จเต่ยก่อนกระโดดข้นเคร่อง หอบังคับการบินของท่าอากาศยานอู่ตะเภาเพ่อขอ ึ ื

RTN 1202

นาวิกศาสตร์ 41 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

ี � ้ ื ิ ว่งข้นเม่อ take off และวางระดับท่ความสูง การกางและเก็บล้อซา รวมถึงการบินด้วยท่าทาง ึ ู ื ็ ตาม flight plan แล้ว ผมและน้องนักบินผู้ช่วย ต่าง ๆ เพ่อให้ล้อกางโดยสมบรณ์ แต่กไม่เป็นผล “หรือไฟ ึ ช่วยกันตรวจความเรียบร้อยของระบบต่าง ๆ ของ อาจจะเสียก็เป็นไปได้” ผมจงติดต่อหอบังคับการบิน เคร่องบินทุกอย่างเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ในระหว่าง เพื่อขอน�าเครื่องบิน low approach เพื่อให้หอบังคับ ื ี ทางเมฆเร่มก่อตัวตามท่การพยากรณ์อากาศได้ การบินตรวจสอบล้อหน้าว่ากางออกมาเยอะหรือไม่ ิ ื แจ้งเตือนไว้ เมฆเหล่าน้ด ๆ ไปก็คล้ายกับภาพวาด หลังผมเย็นวาบเม่อหอบังคับการบินบอกว่าไม่มีส่วนใด ู ี ี ึ ั ท่สวยงามชวนมอง ผมยกมือถือข้นมาถ่ายรูปเก็บไว้ ของล้อหน้ากางออกมาเลย ผมน่งคิดทบทวนการ ื ิ ู ี ่ � เมอเข้าส่ control zone ของสนามบนนราธิวาส ปฏิบัติต่าง ๆ ทุกขั้นตอน ทุกวิถีทางท่สามารถทาได้ � ื � ี ื ั ผมได้ติดต่อนราธิวาส approach เพ่อขอคาแนะนา รวมถึงการติดต่อกับทุกส่วนท่เก่ยวข้องท้งเคร่องแอร์ไลน์ ี ในการลงสนามบนนราธวาส ทกอย่างดเหมือนจะเรยบร้อยด ี ท่จะมาลงว่าช่วงเวลาไหนถ้าเราลงจอดฉุกเฉินจะ ุ ิ ิ ู ี ี ิ ี นราธิวาส approach ได้ให้ข้อมูลในการลงสนามบินมา กีดขวางเค้ารึเปล่า ผมรู้ในเวลาน้สติสัมปชัญญะเป็นส่งท ่ ี ี ี ี ่ ี ี ึ ี ี ี อย่างครบถ้วน อากาศท่สนามบินปลายทางไร้ซ่ง ดที่สุดท่ผมควรม น่คือหน้าท่ของผมทต้องพาทุกคนท่อย ่ ู � ื ี เมฆปกคลุม ทาให้ผมสามารถมองเห็นสนามบินได้ บนเคร่องน้กลับไปพบหน้าลูกเมียของพวกเค้าให้ได้ ึ ี ี ิ ั ั ต้งแต่ไกล ๆ แต่ทันใดน้นเองส่งท่ไม่คาดคิดก็เกิดข้น ผมรู้สึกได้ในตอนน้เลยว่าความเครียดของผมน้น ั ึ � ่ ื ั ่ ิ ื ่ ้ ้ ื เม่อผมทาการกางล้อเพ่อเตรียมลงสนามตามข้นตอน เพมขนเรอย ๆ และผมจะรอชาตอไปไมได สภาพอากาศ ่ ้ ้ ่ ้ � ้ ไฟแจงเตือนสถานะวาลอหนากางไมสมบูรณเกิดติดขึ้น กาลังจะเข้ามา ลมท่ขวางสนามจะแรงข้น มันจะ ึ ์ ี ่ ี ี ิ อกไมกวนาทกอนถง runway “มนมวธแกไขอยู เราทาได” เพ่มความอันตรายในการลงสนาม ทางเลือกท่ดีท่สุด ี ่ ี ่ ิ ้ ี ึ ิ ่ ั ี ้ ่ ี � ผมต้งสติและบอกตัวเอง น้องนักบินผู้ช่วยก็พร้อม มีเพียงหน่งเดียว ผมตัดสินใจแจ้งหอบังคับการบิน ึ ั ปฏิบัติทันทีเมื่อผมสั่งการ ลงจอดฉุกเฉินท่สนามบินนราธิวาส สอบถามทางหอ ี ู่ Runway อยตรงหน้า ผมเรียก checklist พร้อมกับ ถึงทิศทางลม และสุดทางของ runway มีถนน หมู่บ้าน ื ั ปฏิบัติข้นตอนตาม abnormal procedure หรือชุมชนหรือไม่ เพ่อไม่ให้การลงฉุกเฉินในคร้งน ี ้ ั ื ี ื ี ี ั ู ไฟแจ้งเตอนสถานะยงคงแสดงอย่ ไม่มทท่าดบลง เป็นอันตรายกับคนอ่น ๆ ท่อยู่บนพ้น เม่อตัดสินใจ ื ั ื ี “miss approach” ผมแจ้งหอบังคับการบินนราธิวาส อย่างแน่วแน่ท่จะลงสนามโดยไม่มีล้อหน้า ผมได้ปรึกษา ื พร้อมกับน้องนักบินผู้ช่วยเตือนหัวเคร่องไต่ความสูง กับน้องนักบินผู้ช่วย ต้นหน และ ผอป. ว่าหากเกิด ๔๐๐๐ ฟุต ไปยังบริเวณพื้นที่ปลอดภัย ทุกคนตื่นเต้น เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่อันตราย ใครรับผิดชอบหน้าที่อะไร แต่น่ไม่ใช่คร้งแรกของการโชว์สถานะไฟแบบน ี ้ เพื่อไม่ให้เกิดความสับสน ั ี “มันคงเหมือนครั้งก่อน ๆ ที่ผ่านมา” ผมได้แต่คิดในใจ “ทุกคนน่งประจาท รัดเข็มขัดนิรภัยให้แน่น ี ั ่ � ผมและนักบินผู้ช่วยได้ปฏิบัติตามข้นตอนท่เหลือ เราจะทาการลงจอดโดยไม่มีล้อหน้า เม่อเคร่อง touch พ้น ั ื � ี ื ื ใน abnormal procedure ทั้งการบิน 2 G turn ** ขอให้ทุกคนเตรียมตัวออกจากเครื่องบินทางประตูหลัง นาวิกศาสตร์ 42 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

ทันทีที่วางหัวเครื่องบินลง บนพื้น runway เสียงท้องเครื่องครูดพื้นดังสนั่น

ื ื ื � โดย ผอป. อานวยความสะดวกออกไปให้เร็วท่สุด และรักษาระดับเพ่อไม่ให้หัวเคร่องตกกระแทกพ้น ี � ื ี � ี ่ ั � เท่าที่ทาได้” น่คือคาส่งสุดท้ายในขณะท runway น้องนักบินผู้ช่วยทาการดับเคร่องยนต์ ทุกคนเตรียม ี ื ี อยู่ตรงหน้า เราพร้อมแล้วท่จะลงสนาม ผมยกมือข้น รับแรงกระแทก ทันทีท่วางหัวเคร่องบินลงบนพ้น runway ึ ื ี ไหว้เสด็จเต่ยขอให้ผมมีสติปัญญา และความกล้าหาญ เสียงท้องเคร่องครูดพ้นดังสน่น การเสียดสีท่รุนแรงน ้ ี ื ั ื ี พาทกคนบนเครองนรอดไปให้ได้ “My control” ส่งผลให้เกิดประกายไฟ และควันข้นท่วมห้องนักบิน ี ้ ุ ึ ื ่ ื “You control” ผมรับช่วงต่อการบังคับเคร่องบินจาก จนมองไม่เห็น ผมได้แต่เหยียบเบรกสุดก�าลังและรักษา น้องนักบินผู้ช่วยเพื่อที่จะน�าเครื่องลงสนาม “๕๐ ฟุต” เครื่องไว้ไม่ให้ตก runway จนเครื่องหยุดนิ่ง ผอป. และ ื ื น้องนักบินขานความสูงเคร่อง เม่อล้อ main ท้งซ้าย ผู้โดยสารไม่รีรอต่างปฏิบัติตามท่ได้คุยกันไว้ก่อนหน้าน ้ ี ั ี ื และขวาแตะพ้นทุกอย่างยังคงปกต ผมดึงคันบังคับไว้ อย่างเคร่งครัด เสียงตะโกนทางด้านหลังเคร่องเรียก ิ ื นาวิกศาสตร์ 43 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

� ี ชื่อผมและน้องนักบินผู้ช่วยไม่มีใครเห็น เนื่องจากควัน รู้หน้าท่ของตนเอง และทามันอย่างสุดขีดความสามารถ ี ื ี เต็มเคร่องไปหมด และสีหน้ากังวลของทุกคนก็หายไป ผมดีใจท่เรารอดจากเหตุการณ์น้มาได้ ผมกลายเป็นฮีโร่ ิ ี ื เม่อผมจับมือน้องนักบินผู้ช่วยว่งฝ่ากลุ่มควันออกมา แต่เป็นฮีโร่ท่ผมไม่ได้อยากเป็น ความจริงในใจผม ี และกระโดดออกจากเคร่องทางประตูหลังก่อนท ่ ี แค่ต้องการเป็นนักบินท่ปฏิบัติภารกิจของกองทัพ ื เจ้าหน้าท่ดับเพลิงภาคพ้นจะเข้าสกัดก้นเปลวไฟไม่ให้ ให้สาเร็จลุล่วงบนเคร่องบินท่ผมไว้ใจได้ และไม่ต้อง ื ั � ี ี ื ้ ี ั ั ี ลุกลาม เราทุกคนรอดจากเหตุการณ์คร้งน้มาได้ ใช้ความสามารถสูงสุดขนาดน ถ้าคร้งหน้าโชคไม่ด ี ไม่ได้เป็นเพราะผมเพราะน้องนกบนผ้ช่วย หรอใคร อย่างครั้งนี้...... ื ั ิ ู ้ � ่ ่ ื ี ุ ้ ่ คนใดคนหนึงบนเครองลาน แตเรารอดมาไดเพราะทกคน

RTN 1202 ล้อไม่กาง

นาวิกศาสตร์ 44 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

สร้างเหล็กในคน

(ตอนที่ ๑)

ถ.ถุง

เหล็กในเรือ ลอยลำ� ยังชำ�รุด เหล็กในคน แข็งสุด ถ้�สร้�งได้

เรียนให้ลึก ฝึกให้แม่น แก่นศ�สตร์ชัย เร�นี้ไซร้ กล้�แกร่งได้ กว่�เหล็กเรือ

พลเรือเอก ส�ม�รถ จำ�ปีรัตน์

กล่าวน�า

ื ุ ั คน หรอทรพยากรมนษย์ (Human resource) อะไรให้นักเรียนจ่า (นรจ.) และข้าราชการรวมทั้งบุคคล ี ื � นับเป็นทรัพยากรสาคัญท่สุดของทุกประเทศและ ท่ผ่านเข้ามาใน รร.ชุมพลฯ ยศ.ทร. เห็นได้ง่าย เพ่อจะได้ ี � � ทุกองค์กรในยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - พ.ศ. พึงระลึกไว้ตลอดเวลา สามารถจดจานาไปปรับ หรือ ๒๕๘๐) ก�าหนดยุทธศาสตร์ไว้ ๖ ด้าน มีด้านที่เกี่ยวกับ ประยุกต์ใช้ในการรับราชการได้ ผู้เขียนจึงได้ค้นคว้า ิ ี คนโดยตรง คือ ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ส่งท่เป็นสัญลักษณ์ของโรงเรียนทหารต่าง ๆ หลายแห่ง ี ี ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ และในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ท่ดูแล้วมีความสะดุดตา เป็นสัญลักษณ์ท่สร้างไว้ของ ั ื ้ ี ั และสังคมแห่งชาต ฉบบท่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ - พ.ศ.๒๕๖๔) โรงเรียนนายร้อยเวสพอยท์ สหรฐอเมริกา คอ ปายระบบ ิ ยทธศาสตร์ท่ ๑ การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพ เกียรติศักดิ์ (ดูภาพที่ ๑ THE CADET HONOR CODE) ุ ี ทุนมนุษย์ ให้ความส�าคัญกับการวางรากฐานการพัฒนา เขียนข้อความไว้ว่า “A CADET WILL NOT LIE, CHEAT, � ึ ี คนให้มีความสมบูรณ์ เร่มต้งแต่กลุ่มเด็กปฐมวัยท่ต้อง STEAL, OR TOLERATE THOSE WHO DO.” ซ่งคาว่า ั ิ ั ั ู ่ ี ึ ่ ี ี ่ พัฒนาให้มีสุขภาพกายและใจท่ดี มีทักษะทางสมอง “Honor” เป็นหนงในค�ากล่าวทเป็นทร้จกกนดของ ี ี ี ื ทักษะการเรียนรู้ และทักษะชีวิตเพ่อให้เติบโตอย่างม ี พลเอก ดักกลาส แม็คอาเธอร์ ท่ได้กล่าวไว้ท่โรงเรียน ื ี ื ี ื คุณภาพ เก่ยวกับเร่องคน หรือทรัพยากรมนุษย์น้ เม่อ นายร้อยเวสพอยท์ เม่อวันท่ ๑๒ พฤษภาคม ค.ศ.๑๙๖๒ ี ั ี ี คร้งท่ผู้เขียนรับราชการอยู่ท่ โรงเรียนชุมพลทหารเรือ ดังนี้ “Duty, Honor, Country. Those three กรมยุทธศึกษาทหารเรือ (รร.ชุมพลฯ ยศ.ทร.) นาวาเอก hallowed words reverently dictate what � กาจร เจริญเกียรติ ผู้บังคับการ รร.ชุมพลฯ ยศ.ทร. you ought to be, what you can be, ในขณะน้น ได้มีดาริอย่างหน่งว่าจะสร้างสัญลักษณ์ what you will be.” ึ � ั นาวิกศาสตร์ 45 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

ภาพที่ ๑ THE CADET HONOR CODE ั ื จากน้นได้อ่านบทความเร่อง “สร้างคน” ของคุณคร ู growth stronger” ส�าหรับสถานที่ตั้งเป็นบริเวณลาน ี พลเรือเอก สามารถ จาปีรัตน์ ในหนังสือนาวิกศาสตร์ สวนสนามด้านหน้าเสาธงก็เหมาะสมดี เพราะเป็นท่ท ่ ี � ี ฉบับเดือนสิงหาคม - กันยายน พ.ศ.๒๕๕๕ รู้สึกมีความ นรจ. ข้าราชการ และประชาชนท่ผ่านไปผ่านมาเห็น ่ ั ่ ่ ประทับใจอยางยิ่ง โดยมีบทกวีที่กลาวไว้ท้ายบทความวา ได้ง่าย รวมท้งลานสวนสนามเป็นสถานท่ท่ นรจ. ี ี “เหล็กในเรือ ลอยล�า ยังช�ารุด ใช้บ่อยท่สุด เช่น ช่วงแถวตอนเช้า ออกกาลังกาย ี � เหล็กในคน แข็งสุด ถ้าสร้างได้ แถวรับธงข้นเวลา ๐๘๐๐ ฝึกวิชาทหารราบ ฝึกสวนสนาม ึ เรียนให้ลึก ฝึกให้แม่น แก่นศาสตร์ชัย ซ้อมแฟนซีดริล แถวรับธงลงของทุกวัน และแถวเวลา เรานี้ไซร้ กล้าแกร่งได้ กว่าเหล็กเรือ” ๑๙๐๐ เป็นต้น (ดูภาพที่ ๒ เหล็กในคนส�าคัญกว่าเหล็ก � ส�าหรับค�าว่า “เหล็กในคน ดีกว่า เหล็กในเรือ” คุณครู ในเรือ และแถวรับธงลงของ นรจ. ในวันงานเล้ยงประจาปี) ี ได้อธบายไว้ว่าเป็นคาทบรรพบุรุษทหารเรือได้กล่าวเป็น เม่อสร้างเสร็จแล้วก็ได้อธิบายให้ นรจ. และข้าราชการ � ื ิ ี ่ ื ี ้ � � � � ปริศนาคาคม เพ่อกาชับยาเตือนสติลูกหลานทหารเรือ ให้ทราบความหมายของคาน้มาโดยตลอด เพราะเหล็ก ี ของท่านด้วยความห่วงใย และมองการณ์ไกล (Visions) ในคนไม่ได้ใช้เวลาสร้างแค่วันหรือสองวัน แต่ท่ รร.ชุมพลฯ ในอนาคตว่า ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และ ยศ.ทร. ใช้เวลาสร้าง นรจ. ประมาณ ๒ ปี นักเรียนหลักสูตร ั ่ สภาพสังคมในยุคโลกาภิวัฒน์ อาจท�าให้ “เหล็ก” ในตัว ข้าราชการกลาโหมพลเรือนตากว่าช้นสัญญาบัตรประมาณ � ลูกหลานของท่านเกิดสึกกร่อนลงได้ แต่ตอนหลัง ๆ ๔๕ วัน หากเราสร้างเหล็กในคนให้ นรจ. และข้าราชการ คาว่า “เหล็กในคน ดีกว่า เหล็กในเรือ” กลายเป็น กลาโหมพลเรือนตากว่าช้นสัญญาบัตร ให้เป็นเหล็กเน้อด ี ั ื ่ � � ่ “เหล็กในคน สาคัญกว่า เหล็กในเรือ” แมคาวา “ดีกว่า” ได้แล้ว อีกประมาณ ๔๐ ปี ของชีวิตรับราชการ เหล็กในคน � � ้ ี จะเปล่ยนเป็นคาว่า “สาคัญกว่า” แต่ก็ยังแสดงให้เข้าใจ เหล่าน้ก็จะไม่เป็นสนิม หรือผุกร่อนไปก่อนเวลาอันควร � � ี � ี ได้ว่า เหล็กในคนดีกว่า (ส�าคัญกว่า) วัตถุหรือเครื่องมือ และเหล็กในคนเหล่าน้จะเป็นรากฐานท่สาคัญของ ี ิ ั ั ี ั รวมท้งเทคโนโลยีต่าง ๆ ดังน้นจึงตกลงใจว่าถ้าสร้าง กองทัพเรือ ในการปฏบัติภารกิจท่ได้รบมอบหมายให้ ั ั ั สัญญลักษณ์เป็นประโยคน้ก็น่าจะเหมาะสม รวมท้งคิดว่า ประสบความสาเรจอย่างวัฒนาถาวรตลอดไป ดงน้น จึงจะขอ ี ็ � ั ี ควรจะใส่ภาษาอังกฤษไว้ด้วย เพราะขณะน้นประเทศไทย ใช้บทความน้ถ่ายทอดประสบการณ์ในการสร้างเหล็ก � กาลังเข้าสู่ประชาคมอาเซียน จึงให้ครูแผนกภาษาของ ในคนที่เกิดขึ้นที่ รร.ชุมพลฯ ยศ.ทร. และประสบการณ์ ี � ้ รร.ชุมพลฯ ยศ.ทร. ช่วยเขยนคาแปลภาษาอังกฤษไว้ดวย จากการฝึกภาคทะเลของผู้เขียนในสมุดจดหมายเหต ุ � ื คือ “As time passes, A ship’s steel grow weaker, ประจาตัวนักเรียนนายเรือเพ่อให้เกิดประโยชน์กับคน but with time and training, a sailor’s steel รุ่นหลังต่อไป นาวิกศาสตร์ 46 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

ภาพที่ ๒ เหล็กในคนส�าคัญกว่าเหล็กในเรือและแถวรับธงลงของนักเรียนจ่าในวันงานเลี้ยงประจ�าปี

เหล็กในคน สิ่งแรกที่ผู้เขียนนึกถึงก็คือ คุณสมบัตินายทหารเรือไทย � ี ั � ี “เหล็ก” เป็นแร่ธาตุท่นามาใช้งานในชีวิตประจาวัน ๕ ประการ ตามท่ได้รับการส่งสอนมาโดยตลอดและ มากท่สุด และเป็นท่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย โดยท่วไป มักจะพบเห็นตามหนังสือ นิตยสาร วารสารต่าง ๆ ของ ี ี ั ั ี แล้วเหล็กจะแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ เหล็ก (Iron) ทหารเรือ รวมท้งมักติดไว้ตามสถานท่สาคัญท่พบเห็นได้ง่าย ี � และเหล็กกล้า (Steel) ซึ่งทั้งสองประเภทนี้มีคุณสมบัติ ทั้งนี้ค�าว่า “นายทหารเรือ” นั้น บางท่านอาจเข้าใจว่า ี ็ ท่ต่างกัน แต่ส่วนใหญ่มักจะเรียกเหมารวมกันว่า “เหลก” หมายถึงเฉพาะนายทหารสัญญาบัตร แต่ในความจริงแล้ว น่นเอง โดยเหล็กท่พบได้มากในธรรมชาติซ่งต้องใช้วิธ ี รวมถึงนายทหารประทวนด้วย โดยคุณสมบัตินายทหาร ั ี ึ ิ ถลุงออกมาก่อน เพ่อให้ได้เป็นแร่เหล็กบริสุทธ์ และ เรือไทย ๕ ประการ ได้แก่ ื � สามารถนามาใช้ประโยชน์ต่อไปได้ ส่วนเหล็กกล้า ๑. มีความรู้ ี เป็นโลหะผสมท่มีส่วนผสมระหว่าง เหล็ก ซิลิคอน ๑.๑ จะต้องขวนขวายหาความรู้ และฝึกฝนตนเอง แมงกานีส คาร์บอน และธาตุอื่น ๆ อีกเล็กน้อย ท�าให้มี อยู่เสมอ ั คุณสมบัติในการยืดหยุ่นสูง ท้งมีความทนทาน แข็งแรง และ ๑.๒ รู้จักถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้อื่น สามารถต้านทานต่อแรงกระแทก และภาวะทางธรรมชาต ิ ๑.๓ รู้จักใช้ความรู้ให้เป็นประโยชน์ ได้อย่างดีเยี่ยม ที่ส�าคัญคือ เหล็กกล้าไม่สามารถค้นพบ ๒. เป็นผู้น�าทางทหาร ื ได้ตามธรรมชาติเหมือนกับเหล็ก เน่องจากเป็นเหล็กท ี ่ ๒.๑ มีลักษณะท่าทางองอาจสมเป็นทหาร และ สร้างข้นมาโดยการประยุกต์ของมนุษย์ ดังน้นการสร้าง มีความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจ ั ึ ื เหล็กในคนจึงมีวัตถุประสงค์ หรือเจตนาเพ่อสร้างคน ๒.๒ มีระเบียบวินัย (หล่อหลอมคน) ให้มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับเหล็กกล้า ๒.๓ มีความส�านึกในหน้าที่ กล้าตัดสินใจ และ คือ ความแข็งแรง อดทน ยืดหยุ่นสูง สามารถรับมือ รับผิดชอบ ี ได้กับสภาวะแวดล้อมท่จะเกิดข้นหลังจากจบออกไป ๒.๔ มีมนุษย์สัมพันธ์ดี ึ ั รบราชการแล้วได้เป็นอย่างดี การสร้างเหล็กในคนท ี ่ ๒.๕ มีจิตใจแน่วแน่ ไม่ท้อถอย � เข้าใจได้ง่ายท่สุดสาหรับนักเรียนทหารก็คือ สร้างเหล็ก ๒.๖ มีความอดทนพากเพียร และกระตือรือร้น ี ี ี ในคนให้ร่างกาย และท่ยากท่สุดก็คือ การสร้างเหล็กในคน ๒.๗ มีความริเริ่ม ท่ใจ หรือจิตวิญญาณ แล้วเราจะสร้างเหล็กในคนได้อย่างไร ๒.๘ มีความเป็นธรรม ี นาวิกศาสตร์ 47 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔

๒.๙ มีไหวพริบ ทุกที่ ทุกเวลา เพราะผู้บังคับบัญชาทุกคนมีอ�านาจ และ

ิ ่ ี ๓. มีความซื่อสัตย์ และความจงรักภักดี หน้าทปกครองดูแลทุกข์สขของทหาร ท้งรับผดชอบใน ั ุ ั ์ ๔. เป็นสุภาพบุรุษ ความประพฤต การฝกสอน อบรม การลงทณฑ ตลอดจน ิ ึ ๔.๑ มีความเมตตา กรุณา เสียสละ ไม่อิจฉาริษยา ส่งการแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา นอกจากน้แล้วการประพฤต ิ ั ี ี ๔.๒ มีคุณธรรม และจริยธรรม ปฏิบัติตัวเป็นแบบอย่างท่ดีให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาก ็ ๔.๓ มีความสุภาพอ่อนโยน เป็นส่วนส�าคัญในการสร้างเหล็กในคนได้ อย่างไรก็ตาม ี ี ๔.๔ รู้จักกาลเทศะ แหล่งท่เหมาะสมท่สุดในสร้างเหล็กในคนก็คือสถาน ๕. มีความละเอียดรอบคอบไม่ประมาท ศึกษา เพราะเป็นที่มีพร้อมที่สุด ได้แก่ สถานที่ บุคลากร ื ซึ่งคุณสมบัตินายทหารเรือทั้ง ๕ ประการนี้ (๓ มี ๒ เป็น) (ผู้บังคับบัญชาและครู) แนวทาง (หลักสูตร) เคร่องมือ และ ั ื ี เม่อผู้เขียนเข้ารับราชการก็ได้เห็นว่ามีอยู่แล้ว ไม่ทราบว่า มีเวลาในการสร้างอย่างต่อเน่อง ท้งน้สถานศึกษาหลัก ื ้ ้ ่ ื ้ ่ ี � ็ ั ่ ้ ประกาศใชเมอใด และไดพยายามคนควากยงไมพบแหลง ท่เป็นแหล่งผลิตกาลังพลหลักของกองทัพเรือ ได้แก่ ี ึ ท่อ้างอิงได้ อีกอย่างหน่งท่นึกถึงในการสร้างเหล็กในคน โรงเรียนนายเรือ (รร.นร.) และโรงเรียนจ่าทหารเรือ ถ้า ี ี ก็คือ ค่านิยมหลักของกองทัพเรือ (Royal Thai Navy โรงเรียนเหล่าน้สามารถผลิตนักเรียนทหาร ได้แก่ นักเรียน ื ี Core Values) ท่ประกาศใช้เม่อวันท่ ๒๒ กันยายน นายเรือ (นนร.) และนักเรียนจ่าทหารเรือ (นรจ.) รวมทั้ง ี ั พ.ศ.๒๕๕๓ สมัยคุณครู พลเรือเอก ก�าธร พุ่มหิรัญ เป็น ข้าราชการกลาโหมพลเรือนช้นสัญญาบัตร (ฝึกอบรม ั ี ผู้บัญชาการทหารเรือ ได้กาหนดค่านิยมให้เป็นเอกลักษณ์ ท่ รร.นร.) และข้าราชการกลาโหมพลเรือนตากว่าช้น � � ่ เฉพาะของกองทัพเรือไว้ ๔ ประการ โดยใช้คาย่อว่า สัญญาบัตร (ฝึกอบรมท่ รร.ชุมพลฯ ยศ.ทร.) ให้เป็น ี � “SAIL” ซึ่งหมายถึง เหล็กกล้าท่ดีในระหว่างท่เข้ารับการศึกษา หรือฝึกอบรม ี ี ื ี ๑. ความเป็นชาวเรือ (Seamanship) ท่โรงเรียนได้แล้ว เม่อคนเหล่าน้สาเร็จการศึกษา หรือ � ี � ื ๒. ความซ่อสัตย์ และความจงรักภักดี (Allegiance) สาเร็จการฝึกอบรมออกมารับราชการแล้ว เขาก็จะเป็น ี ี ี ิ ๓. ความเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม และความเป็น เหลกกลาทดไปอกหลายสบป ถาเปนนกเรยนนายเรอกอก ี ั ื ี ็ ็ ี ้ ่ ็ ้ สุภาพบุรุษทหารเรือ (Integrity and Gentleman) ๓๓ - ๓๗ ปี และนักเรียนจ่าทหารเรือก็ประมาณ ๓๙ - ๔๐ ปี ๔. ความเป็นผู้น�า (Leadership) เข้าทานอง “ไม้อ่อนดัดง่าย ไม้แก่ดัดยาก” ก็ได้ ทั้งนี้ � ดังน้นหากทุกโรงเรียน และครูทุกคนสามารถสร้าง “การสร้างเหล็กในคนให้กับนักเรียนทหารเปรียบเหมือน ั เหล็กในคนให้นักเรียนทหารในทุกหลักสูตร โดยเฉพาะ การปลูกต้นไม้ หากต้องการต้นไม้มีล�าต้น และกิ่งก้าน ี ี ี หลักสูตรในโรงเรียนจ่าทหารเรือ และหลักสูตรในโรงเรียน ท่แข็งแรง มีใบดกหนาให้ร่มเงาท่ดี มีดอกท่สวยงาม ี � ิ � นายเรือ จะทาให้กองทัพเรือมีทรัพยากรบุคคลเป็น ออกผลดกให้รสชาติอร่อย ก็ต้องเร่มท่การบารุงดิน ี ี � ้ ื เหล็กกล้าท่มคุณสมบัตินายทหารเรือ ๕ ข้อ และค่านิยม เม่อปลูกแล้วก็ต้องรดน�า ใส่ปุ๋ย พรวนดิน บารุงราก � หลักของกองทัพเรือ ๔ ข้อ อย่างที่ตั้งไว้ได้อย่างแน่นอน ต้น ใบ และดูแลไม่ให้มีแมลง หรือศัตรูพืชมาทาลาย ตั้งแต่ตอนเริ่มปลูก ไม่ใช่ปลูกไปแล้วปล่อยปละละเลย การสร้างเหล็กในคนในหลักสูตรนักเรียนจ่าทหารเรือ ไม่สนใจ จนผ่านไปหลายปีต้นไม้ก็ไม่โตเท่าที่ควร มีใบ ั ี การสร้างเหล็กในคน? จะสร้างเหล็กในคนที่ไหน? และให้ผลบ้างเล็กน้อย ไม่เป็นอย่างท่ใจหวังน่นเอง” ็ ั ั � สร้างอย่างไร? สร้างเมื่อใด? และใครเป็นคนสร้าง? จาก สาหรบการสร้างเหลกในคนในหลกสูตรนกเรยนจ่าของ ี ั ั ี ี ื ประสบการณ์การรับราชการท่ผ่านมา ผู้บังคับบัญชาทุกคน โรงเรียนชุมพลทหารเรือ เม่อคร้ง นาวาเอก อะดุง พันธุ์เอ่ยม ทุกระดับ สามารถสร้างเหล็กในคนให้กับกาลังพลได้ มาด�ารงต�าแหน่ง ผู้บังคับการ รร.ชุมพลฯ ยศ.ทร. (เดือน � นาวิกศาสตร์ 48 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔