การแบ งย คสม ยทางประว ต ศาสตร ไทย ม.4 prezi

รายการตรวจสอบและกลั่นกรอง การใช้แผนจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาสังคมพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21103 ระดับชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่1 จํานวน 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หน่วยกิต ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 25666 ความคิดเห็น ความคิดเห็น ................................................................................................... ................................................................................................... ................................................................................................... ...................................................................................................ลงชื่อ (นายธีระศักดิ์ยอดมณีย์) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ ................................................................................................... ................................................................................................... ................................................................................................... ...................................................................................................ลงชื่อ (นางสาวณัฐิญา คาโส) หัวหน้าฝ่ายวิชาการ .......................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐชยา ถนิมกาญจน์) (นางผกา สามารถ) รองผู้อํานวยการโรงเรียน ผู้อํานวยการโรงเรียนพนมศึกษา

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน วิชาประวัติศาสตร์ส21103 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ภาคเรียนที่1 เวลา 20 ชั่วโมง จํานวน 0.5 หน่วยกิต ศึกษาการใช้เวลา ช่วงเวลาและยุคสมัย ที่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทยความสําคัญของ เวลา และช่วงเวลาสําหรับการศึกษาประวัติศาสตร์ที่มาของศักราชที่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย วิธีการเทียบศักราชต่าง ๆ ตัวอย่างการเทียบศักราช ตัวอย่างการใช้ศักราชต่าง ๆ ที่ปรากฏในเอกสาร ประวัติศาสตร์ไทย ความสัมพันธ์ของอดีตที่มีต่อปัจจุบันและอนาคต ความหมายและความสําคัญของ ประวัติศาสตร์และวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มีความสําคัญเชื่อมโยงกันในฐานะที่เป็นพลโลกตัวอย่าง หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตรไ์ทยสมัยสุโขทัย ทั้งหลักฐานชั้นต้น และหลักฐานชั้นรอง นําวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ไปใช้ศึกษาเรื่องราวของประวัติศาสตร์ไทยสมัยสุโขทัยและเหตุการณ์สําคัญสมัยธนบุรีปัจจัยทางภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ และการเมือง สังคมและวัฒนธรรมที่มีผลต่อพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ตั้ง ความสําคัญและอิทธิพลของแหล่งอารยธรรม โบราณ ได้แก่แหล่งท่องเที่ยวหรือโบราณสถาน โบราณวัตถุในเขตธนบุรีแหล่งมาดกโลกในประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีต่อพัฒนาการของสังคมไทยในปัจจุบัน โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการกลุ่ม กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีความรักชาติศาสน์กษัตริย์ภูมิใจในความเป็นไทย มีความ ซื่อสัตย์สุจริต ใฝ่เรียนรู้มุ่งมั่นในการทํางาน รหัสตัวชี้วัด ส4.1 ม1/1 , ม1/2 , ม1/3 ส 4.2 ม1/1, ม1/2 รวม 5 ตัวชี้วัด

โครงสร้างรายวิชา วิชาประวัติศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่1 ลําดับ ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสําคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ําหนัก คะแนน 1 เวลาและการแบ่ง ยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์ส 4.1 ม.1/1 ม.1/2 เวลา ช่วงเวลา และการเทียบศักราชตาม ระบบต่างๆ มีความสําคัญต่อ การศึกษาประวัติศาสตร์ทําให้เห็น ความสัมพันธ์และความสําคัญของอดีตที่มีต่อปัจจุบันและอนาคต 6 2 วิธีการทางประวัติศาสตร์ส 4.1 ม.1/3 การนําวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และประวัติศาสตร์สุโขทัย จะทําให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 7 3 สมัยก่อนสุโขทัย ในดินแดนไทย ส 4.3 ม.1/1 การศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย จะทําให้เราเข้าใจพัฒนาการจาก ชุมชนโบราณมาสู่รัฐโบราณ ก่อนที่จะสถาปนาเป็นอาณาจักรสุโขทัย และการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาของ อาณาจักรโบราณในดินแดนไทย 7

โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 หน่วยการเรียนรู้แผนการจัด การเรียนรู้วิธีสอน/กระบวนการ จัดการเรียนรู้ ทักษะการคิด เวลา (ชั่วโมง) หน่วยการเรียนรู้ที่1 เวลาและการแบ่ง ยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์1.ความสําคัญของ เวลาและช่วงเวลา - วิธีสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้(Inquiry Method : 5E) 1. ทักษะการสํารวจค้นหา 2. ทักษะการวิเคราะห์3. ทักษะการสรุปลง ความเห็น 4. ทักษะการสร้างความรู้ 1 2.การแบ่งยุคสมัย ทางประวัติศาสตร์- วิธีสอนแบบกระบวนการ กลุ่ม สัมพันธ์1. ทักษะการสํารวจค้นหา 2. ทักษะการวิเคราะห์3. ทักษะการสรุปลง ความเห็น 1 3.ตัวอย่างการใช้เวลา ช่วงเวลา ยุคสมัย และศักราชใน หลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ - วิธีสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง 1. ทักษะการสํารวจค้นหา 2. ทักษะการวิเคราะห์3. ทักษะการสรุปลง ความเห็น 4. ทักษะการสร้างความรู้ 1 4. ที่มาของศักราช - วิธีสอนแบบกระบวนการ กลุ่ม สัมพันธ์1. ทักษะการสํารวจค้นหา 2. ทักษะการวิเคราะห์3. ทักษะการสร้างความรู้1 5.การเปรียบเทียบ ศักราชแบบต่างๆ - วิธีสอนตามรูปแบบโมเดล ซิปปา (CIPPA Model) 1. ทักษะการสํารวจค้นหา 2. ทักษะการวิเคราะห์3. ทักษะการสรุปลง ความเห็น 4. ทักษะการสร้างความรู้ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่2 วิธีการทาง ประวัติศาสตร์1.ความหมายและ ความสําคัญของ ประวัติศาสตร์ - วิธีสอนแบบกระบวนการ กลุ่ม สัมพันธ์1. ทักษะการสํารวจค้นหา 2. ทักษะการวิเคราะห์3. ทักษะการให้คําจํากัด ความ 2 2.วิธีการทาง ประวัติศาสตร์- วิธีสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้(Inquiry Method : 5E) 1. ทักษะการสํารวจค้นหา 2. ทักษะการวิเคราะห์3. ทักษะการให้คําจํากัด ความ 1 3. หลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ไทย - วิธีสอนโดยการจัดการ เรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิค คู่คิดสี่สหาย 1. ทักษะการสํารวจค้นหา 2. ทักษะการวิเคราะห์3. ทักษะการสร้างความรู้1

แผนการจดัการเรียนรู้วิธีสอน/กระบวนการ จดัการเรียนรู้ทกัษะการคิด เวลา (ชวั่ โมง) 4.การศึกษาประวัต-ิศาสตร์ท้องถิ่น - วิธีสอนโดยใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์1. ทักษะการสํารวจค้นหา 2. ทักษะการวิเคราะห์3. ทักษะการตั้งสมมติฐาน 4. ทักษะการสร้างความรู้1 5. เหตุการณ์สําคัญ ในสมัยสุโขทัย - วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ 1. ทักษะการสํารวจค้นหา 2. ทักษะการวิเคราะห์3. ทักษะการตั้งสมมติฐาน 4. ทักษะการสร้างความรู้2 หน่วยการเรียนรู้ที่3 สมัยก่อนสุโขทัย ในดินแดนไทย 1. เรื่องราวสมัยก่อน ประวัติศาสตร์ในดินแดนไทย - วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) 1. ทักษะการสํารวจค้นหา 2. ทักษะการวิเคราะห์3. ทักษะการตีความ 4. ทักษะการสรุปลง ความเห็น 1 2. พัฒนาการของชุมชน โบราณในภาคต่างๆ ของไทย - วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิค การต่อเรื่องราว (Jigsaw) 1. ทักษะการสํารวจค้นหา 2. ทักษะการวิเคราะห์3. ทักษะการสรุปลง ความเห็น 1 3.การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนประเทศ ไทย - วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิค คู่คิดสี่สหาย 1. ทักษะการสํารวจค้นหา 2. ทักษะการวิเคราะห์3. ทักษะการตีความ 1 4. พัฒนาการจากชุมชน มาสู่รัฐโบราณ - วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) 1. ทักษะการสํารวจค้นหา 2. ทักษะการวิเคราะห์3. ทักษะการตีความ 4. ทักษะการสรุปลงความเห็น1 5. รัฐโบราณและรัฐไทย ในดินแดนไทย - วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) 1. ทักษะการสํารวจค้นหา 2. ทักษะการวิเคราะห์3. ทักษะการตีความ 4. ทักษะการสรุปลงความเห็น 2 6. การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาของ อาณาจักรโบราณ ก่อนสมัยสุโขทัย - วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม สัมพันธ์1. ทักษะการสํารวจค้นหา 2. ทักษะการวิเคราะห์3. ทักษะการสรุปลงความเห็น1

แบบทดสอบก่อนเรียน- หลังเรียน ชุดที่1 คําชี้แจง: ให้นักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกต้อง แล้วทําเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคําตอบ 1. ข้อใดเป็นสิ่งที่จําเป็นในการศึกษาประวัติศาสตร์ก. รู้เวลาหรือช่วงเวลาที่เกิดเหตุการณ์นั้น ข. มีหลักฐานชั้นต้นให้ค้นคว้ามากเพียงพอ ค. เป็นเหตุการณ์ที่เกิดในสมัยประวัติศาสตร์ง. ยังไม่เคยมีใครศึกษาเหตุการณ์นั้นมาก่อน 2. ทุกข้อเป็นความสัมพันธ์ของเวลาหรือ ช่วงเวลาที่มีต่อประวัติศาสตรย์กเว้นข้อใด ก. บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่างๆ เกิดมานานแล้วเท่าใด ข. บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่างๆ เกิดขึ้นและสิ้นสุดเมื่อใด ค. บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ใดเกิดก่อนหลังเมื่อเปรียบเทียบกัน ง. บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ใดเป็นจริงเหตุการณ์ใดเป็นเท็จ 3. ข้อความใดต่อไปนี้ไม่อาจระบุเวลาทางประวัติศาตร์ได้ก. กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว ข. ก่อนสงครามเวียดนามยุติลง ค. แรกตั้งกรุงละโว้เป็นราชธานีง. สมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง 4. ศักราชใดต่อไปนี้ที่มีอายุยาวนานที่สุด ก. มหาศักราช ข. คริสต์ศักราข ค. พุทธศักราช ง. ฮิจเราะห์ศักราช 5. เพราะอะไรเราจึงควรรู้จักวิธีการเทียบ ศักราช ก. ช่วยป้องกันมิให้ตีความหลักฐานผิด ข. จะได้ใช้เอกสารที่มีศักราชต่างกันได้ค. เพื่อประหยัดเวลาในการตีความ หลักฐาน ง. จะได้ใช้เอกสารที่เป็นของชนชาติอื่นได้6.“ ข้าพเจ้ามีความเต็มใจที่จะสละอํานาจอันเป็นของข้าพเจ้าอยู่แต่เดิม ให้แก่ราษฎร โดยทั่วไป แต่ข้าพเจ้าไม่ยอม ยก อํานาจทั้งหลายของข้าพเจ้าให้แก่ผู้ใด คณะใดโดยเฉพาะ เพื่อใช้อํานาจนั้นโดย สิทธิ์ขาดและโดยไม่ฟังเสียง อันแท้จริง ของประชาราษฎร...”วันที่2 มีนาคม พ.ศ. 2477 เวลา 13 นาฬิกา 45 นาทีข้อความข้างต้นนี้เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในรัตนโกสินทร์ศกที่เท่าใด ก. ร.ศ. 150 ข. ร.ศ. 157 ค. ร.ศ. 160 ง. ร.ศ. 167 7.“ ประวัติศาสตร์สมัยใหม่เริ่มต้นขึ้นหลังจากที่กรุงคอนสแตนติโนเปิลแตก ในปีพ.ศ.1966 ”พ.ศ. 1966 สามารถเทียบได้ตรงกับคริสต์ศักราชใด ก. คริสต์ศักราช 1423 ข. คริสต์ศักราช 1234 ค. คริสต์ศักราช 1699 ง. คริสต์ศักราช 2509 8. ในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย เรา ควรกําหนดศักราชในการศึกษาเป็นอะไร เพื่อสะดวกแก่การทําความ เข้าใจ ของผู้อื่น ก. มหาศักราช เพราะเป็นศักราชที่ใช้มาแต่ครั้งสุโขทัย ข. จุลศักราช เพราะสามารถเทียบเป็นศักราชอื่นได้ง่าย ค. พุทธศักราช เพราะผู้คนสมัยปัจจุบันนิยมใช้ศักราชนี้ง. คริสต์ศักราช เพราะถือเป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์สากล

9. หลักฐานในข้อใดที่มิได้นํามาใช้ในการแบ่งยุคสมัยของประวัติศาสตร์สากล ก. เทคโนโลยีที่ทําเครื่องมือเครื่องใช้ข.เหตุการณ์สําคัญที่เกิดกับมนุษยชาติค. มีหลักฐานบ่งบอกถึงการใช้ตัวอักษร ง. การประกอบพิธีกรรมด้านลัทธิความเชื่อ 10. เรื่องราวสมัยก่อนประวัติศาสตร์แรกเริ่มสุดเราจะค้นพบหลักฐานตามข้อใด ก. ใช้สีแดงวาดภาพไว้ตามฝาผนังถ้ํา ข. นําหินมากะเทาะทําเป็นขวานหิน ค. รู้จักนํากระดูกสัตว์มาทําครื่องประดับ ง. การประดิษฐ์เครื่องดนตรีประเภทกลอง 11. ในการศึกษาประวัติศาสตร์ควรเริ่มต้นที่ขั้นตอนใดเป็นลําดับแรก ก. สํารวจตนเองว่าต้องการทราบเรื่องราวใด ข. ค้นคว้าหาหลักฐานแล้วตั้งประเด็นคําถาม ค. ตรวจดูว่ามีใครศึกษาเรื่องใดมาก่อนแล้วบ้าง ง. สอบถามผู้รู้ว่าอยากให้เราศึกษาประเด็นอะไร 12. วิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนใดที่ผู้ศึกษาจะต้องใส่ใจมากเป็นพิเศษ ก. การกําหนดหัวเรื่อง ข. การรวบรวมหลักฐาน ค. การวิเคราะห์หลักฐาน ง. การเรียบเรียงนําเสนอข้อมูล 13. ข้อใดถือเป็นหลักฐานชั้นต้นทางประวัติศาสตร์ก. ผลสํารวจของนักโบราณคดีข. พิพิธภัณฑ์ทางประวัติศาสตร์ค. คําแปลศิลาจารึกที่อยู่ในเว็บไซด์ง. คําให้การของผู้ที่อยู่ในการชุมนุม 14.“ดังนั้น พอจะสรุปได้ว่า ช่วงปีครองราชย์ของพ่อขุนรามคําแหงมหาราช จึงควรที่จะใช้ช่วงปีพ.ศ. 1822 – 1841 เนื่องจากมีข้อมูลมารองรับข้อสันนิษฐานที่สมเหตุผลมากกว่า ”ข้อความนี้ถือเป็นขั้นตอนใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์ก. การประเมินคุณค่าของหลักฐาน ข. การเรียบเรียงนําเสนอข้อมูล ค. การวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูล ง. การกําหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา 15. วัตถุประสงค์ของการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาประวัติศาสตร์คืออะไร ก. ให้ตระหนักในความพากเพียรของบรรพบุรุษไทย ข. เห็นคุณค่าและความสําคัญของวิชาประวัติศาสตร์ค. ได้รับทราบเรื่องราวที่เป็นจริงมีหลักฐานมายืนยัน ง. พื่อฝึกให้เรียนรู้แล้วนําไปใช้กับ การศึกษาวิชาอื่น 16. พื้นที่แถบดินแดนไทยในสมัยโบราณถูกเรียกขานว่าสุวรรณภูมิเพราะเหตุใด ก. เป็นแหล่งผลิตทองคําที่มีคุณภาพ ข. ผู้คนใช้เหรียญทองคําในการซื้อขาย ค. เรียกตามชื่ออาณาจักรที่มีความยิ่งใหญ่ง. เป็นดินแดนที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์

17. วิถีการดํารงชีวิตของมนุษย์ยุคหินเก่ามีลักษณะสอดคล้องกับข้อใด ก. เก็บของป่า ล่าสัตว์อยู่อาศัยตามเพิงผา ข. เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์อยู่ตามที่ราบริมน้ํา ค. จับปลา เลี้ยงสัตว์เร่ร่อนไปตามทุ่งกว้าง ง. ทําหัตถกรรม ค้าขาย ตั้งบ้านเรือนเป็นกลุ่ม 18. ในทางประวัติศาสตร์พัฒนาการด้านใดของมนุษย์ที่มีความสําคัญยิ่งต่อการสร้างสมและสืบทอด ทางวัฒนธรรม ก. รู้จักใช้ภาษาพูดเพื่อสื่อสาร ข. การนําดินมาทําเครื่องปั้นดินเผา ค. ทําการเพาะปลูกและตั้งบ้านเรือน ง. อยู่รวมกันเป็นกลุ่มมีหัวหน้าปกครอง 19. ชุมชนที่มีลักษณะตามข้อใด จะมีแนวโน้มพัฒนาไปเป็นเมืองหรืออาณาจักรโบราณได้รวดเร็ว ก. ปิดกั้นไม่ให้บุคคลภายนอกเข้ามาเยือน ข. มีจํานวนประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ค. ผู้คนเคยอยู่อาศัยติดต่อมาตั้งแต่ครั้งยุคหิน ง. เป็นศูนย์กลางการเดินทางและการค้า 20. อะไรเป็นปัจจัยสําคัญที่สุดที่ทําให้ชุมชนหลายแห่งในสุวรรณภูมิมีความ เจริญรุ่งเรืองและพัฒนา ไปเป็นรัฐโบราณ ก. ได้รับอิทธิพลจากอารยธรรมอินเดีย ข. ค้นพบวิธีนําเหล็กมาหลอมใช้แทนสําริด ค. การนําระบบการปกครองแบบชนเผ่ามาใช้ง. รู้จักวิธีใช้เรือเป็นพาหนะในการติดต่อ ขนส่ง เฉลย: 1. ก 11. ก 2. ง 12. ค 3. ก 13. ง 4. ง 14. ข 5. ข 15. ค 6. ข 16. ง 7. ก 17. ก 8. ค 18. ค 9. ง 19. ง 10. ข 20. ก

แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล 1. ชื่อ – สกุล……………………….…………..อาย…ุ….ปีชื่อผู้ปกครอง……………………..…………................................ 2. ผลการเรียนในปีการศึกษาที่ผ่านมา ระดับชั้น ……….……….เกรดเฉลี่ย…………………….………....................... 3. ข้อมูลด้านสุขภาพ น้ําหนัก ……….….กก. ส่วนสูง……….……ซม. โรคประจําตัว……………….…..................... 4. ปัจจุบันอาศัยอยู่กับ ………………บ้านเลขที่………หมู่ที่..…..ถนน……….……..ซอย…………..…............................ตําบล………………อําเภอ…………………จังหวัด…………….รหัสไปรษณีย์……….โทร…………................................ 5. ผลการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลวิชา………...…………..ชั้น………………ปีการศึกษา……………..........................ที่รายการวิเคราะห์ผู้เรียน ผลการประเมินวิเคราะห์ผู้เรียน ดี ปานกลาง ปรับปรุง การปรับปรุงแก้ไข 1 ความรู้ความสามารถและ ประสบการณ์(1) ความรู้พื้นฐานของวิชา……………. (2) ความสามารถในการอ่าน (3) ความสนใจและสมาธิในการเรียนรู้….. ….. ….. ……………… ……………… ……………… ……………… ……………… ……………… 2 ความพร้อมด้านสติปัญญา (1) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์(2) ความมีเหตุผล (3) ความสามารถในการเรียนรู้….. ….. ….. ……………… ……………… ……………… ……………… ……………… ……………… 3 ความพร้อมด้านพฤติกรรม (1) การแสดงออก (2) การควบคุมอารมณ์(3) ความมุ่งมั่น อดทน ขยันหมั่นเพียร (4) ความรับผิดชอบ ….. ….. ….. ….. ……………… ……………… ……………… ……………… ……………… ……………… ……………… ………………

ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของคร…ู………………………………………………………………………………………...................... ……………………………………………………………………………………………………………………………….................................ลงชื่อ (นายพลนิวัฒน์ โรจน์วิเชียรรัตน์) ครูผู้สอน 4 ความพร้อมด้านร่างกาย (1) ด้านสุขภาพร่างกายสมบูรณ์(2) การเจริญเติบโตสมวัย (3) ความสมบูรณ์ทางด้านสุขภาพจิต ….. ….. ….. ……………… ……………… ……………… ……………… ……………… ……………… 5 ความพร้อมด้านสังคม (1) การปรับตัวเข้ากับผู้อื่น (2) การช่วยเหลือ เสียสละ แบ่งปัน (3) การเคารพครูกติกา และมีระเบียบ….. ….. ….. ……………… ……………… ……………… ……………… ……………… ………………

สรุปการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคล วิชาประวัติศาสตร์รหัสวิชา ส 21103 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2566 (ชั้น ม.1/1) ที่ชื่อ-สกุล เก่ง ปานกลาง อ่อน/ปรับปรุง หมายเหต1 เด็กชายเกรียงศักดิ์ทิพย์พิมล 2 เด็กชายคณพัชญ์มากแก้ว 3 เด็กชายจักริน ซุยจินา 4 เด็กชายดิชพงศ์หีตจินดา 5 เด็กชายธนพล ประหารภาพ 6 เด็กชายธนพล ศรัทธาสุข 7 เด็กชายธนวัฒน์พุ่มด้วง 8 เด็กชายธีระภัทร ล่าสกุล 9 เด็กชายนราวิชญ์พิพัฒน์ 10 เด็กชายปุณยวีร์วิเศษสมบัติ 11 เด็กชายผไทเทพ ประถิ่น 12 เด็กชายพงศ์เทพ ชุมชุ่ม 13 เด็กชายรภีภัทร ขําช่วย 14 เด็กชายวทัญญูรัตนชัย 15 เด็กชายวรวัตร วัชนะ 16 เด็กชายสิรภพ บุญทองเนียม 17 เด็กชายอธิวัฒน์โกหนด 18 เด็กชายอนุชิต อัสสาภัย 19 เด็กชายอัครชัย ช่วยผล 20 เด็กหญิงกนกวรรณ จรูญ 21 เด็กหญิงกลมวรรณ เซ่งอิ่ม 22 เด็กหญิงกันยภัค ทองทา

ลงชื่อ (นายพลนิวัฒน์ โรจน์วิเชียรรัตน์) ครูผู้สอน ที่ชื่อ-สกุล เก่ง ปานกลาง อ่อน/ปรับปรุง หมายเหตุ23 เด็กหญิงจริญา คีรีเพ็ชร 24 เด็กหญิงญาณิศา แก้วปลอด 25 เด็กหญิงณัฐธิดา ศรีรักษา 26 เด็กหญิงนรินทิพย์มิสมร 27 เด็กหญิงนันทิกานต์จันทรศรี 28 เด็กหญิงบุษกร กองกุล 29 เด็กหญิงปาริฉัตร กิ่งเเก้ว 30 เด็กหญิงปิยดา มาดงพอง 31 เด็กหญิงภรณ์ทิพย์พลนาจร 32 เด็กหญิงรัตนาภรณ์ศรีทัพ 33 เด็กหญิงศันศนีย์ชูศิริ 34 เด็กหญิงเสาวณีย์ชูนิล 35 เด็กหญิงอรกานต์สงทอง

สรุปการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคล วิชาประวัติศาสตร์รหัสวิชา ส 21103 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2566 (ชั้น ม.1/2) ที่ชื่อ-สกุล เก่ง ปานกลาง อ่อน/ปรับปรุง หมายเหต1 เด็กชายกมลเทพ จันทบุตร 2 เด็กชายเขตโสภณ ปานจีน 3 เด็กชายชิษณุพงศ์ปิ่นเพชร 4 เด็กชายฐิติวัฒน์สวนแก้ว 5 เด็กชายธนโชติศรชนะ 6 เด็กชายธนพนน์แก้วกันทะ 7 เด็กชายธนวัฒน์พรหมแก้ว 8 เด็กชายธีกานต์พูลเงิน 9 เด็กชายธีรภัทร วิชัยดิษฐ 10 เด็กชายบอล 11 เด็กชายพลรัฐศักดิ์ทองจันทร์ 12 เด็กชายวสุพล สุปันตี 13 เด็กชายศิริโชค เหมือนขาว 14 เด็กชายสิทธิพร อําลอย 15 เด็กชายสุทธิพงศ์ทิพย์พิมล 16 เด็กชายสุทธิพจน์หลวงปลอด 17 เด็กชายอนุเทพ ศรีเทพ 18 เด็กชายอรรถพร จันทรรัตน์ 19 เด็กหญิงกรณิกา เเสนภูมี 20 เด็กหญิงกัณธิชา เส้งเซ่ง 21 เด็กหญิงฐานิดา วิเชียร 22 เด็กหญิงณัฐฏณิชา สวัสดีเมือง

ลงชื่อ (นายพลนิวัฒน์ โรจน์วิเชียรรัตน์) ครูผู้สอน ที่ชื่อ-สกุล เก่ง ปานกลาง อ่อน/ปรับปรุง หมายเหตุ23 เด็กหญิงนฤมล ชํานาญเพชร 24 เด็กหญิงปอปภัทร ยืนยง 25 เด็กหญิงปัณฑิตา เหล่าบุญกล่อม 26 เด็กหญิงปานตะวัน คงเนียม 27 เด็กหญิงพชิรา ทองสัมฤทธิ์ 28 เด็กหญิงศรีกานดา ศชนะ 29 เด็กหญิงศิริวรรณ สุริยา 30 เด็กหญิงสุชานนท์จันทร์คง 31 เด็กหญิงสุภัสสรา สวนแก้ว 32 เด็กหญิงสุมินตรา ชูเพชร 33 เด็กหญิงสุวารีภูวะกง 34 เด็กหญิงอติกานต์ท่าชี 35 เด็กหญิงอรปรียา พานเพ็ง

สรุปการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคล วิชาประวัติศาสตร์รหัสวิชา ส 21103 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2566 (ชั้น ม.1/3) ที่ชื่อ-สกุล เก่ง ปานกลาง อ่อน/ปรับปรุง หมายเหต1 เด็กชายกันตพงศ์แซ่ลิ้ม 2 เด็กชายกิตติกร เขียดสง 3 เด็กชายกิตติมศักดิ์ชูศรี 4 เด็กชายธนภัทร จํานงค์จิตร 5 เด็กชายธนัทเทพ ศิริชัย 6 เด็กชายธามธาวิน ศรัทธาสุข 7 เด็กชายธีรเทพ แก้ววัดปริง 8 เด็กชายพรพิพัฒน์รักกะเปา 9 เด็กชายพลกริช รัตนะ 10 เด็กชายภูมิรพีเรืองอ่อน 11 เด็กชายภูวไนย ทิพย์มณเฑียร 12 เด็กชายรัฐภูมินวลละออง 13 เด็กชายวรยศ พิมพิลา 14 เด็กชายสันฐิติสุรินราช 15 เด็กชายสุตนันท์พวงประดิษฐ์ 16 เด็กชายสุวรรณรัตน์พิษครุฑ 17 เด็กชายอภิสิทธิ์อินทรพานิช 18 เด็กชายอัมรินทร์ทองขําดี 19 เด็กหญิงณัฏฐณิชา ปานแก้ว 20 เด็กหญิงณัฐณิชา เกตุแทน 21 เด็กหญิงณัฐธิดา สัมพันธ์ 22 เด็กหญิงณัฐธิดา สุวรรณเสน

ลงชื่อ (นายพลนิวัฒน์ โรจน์วิเชียรรัตน์) ครูผู้สอน ที่ชื่อ-สกุล เก่ง ปานกลาง อ่อน/ปรับปรุง หมายเหตุ23 เด็กหญิงธันยนิษญ์วรรณะ 24 เด็กหญิงธิดารัตน์พินโน 25 เด็กหญิงนภสร พุ่มแย้ม 26 เด็กหญิงนภัสสร ช่วยบํารุง 27 เด็กหญิงบัณฑิตา มากชุม 28 เด็กหญิงประกายดาว อนันต์ 29 เด็กหญิงรัชฎาพร แสงชู 30 เด็กหญิงรุ่งไพลิน รักถิ่นเดิม 31 เด็กหญิงสมฤดีรักสีทอง 32 เด็กหญิงสลิลเกตน์คําเกิด 33 เด็กหญิงสุดารัตน์สีพิพิท 34 เด็กหญิงสุพิชญา สมศรี 35 เด็กหญิงอรนภา เหมมะนี

สรุปการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคล วิชาประวัติศาสตร์รหัสวิชา ส 21103 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2566 (ชั้น ม.1/4) ที่ชื่อ-สกุล เก่ง ปานกลาง อ่อน/ปรับปรุง หมายเหต1 เด็กชายกฤตกร เอ่งฉ้วน 2 เด็กชายกฤษฎา สโมสร 3 เด็กชายกิตติทุมรัตน์ 4 เด็กชายกิตติทัต สินสาคร 5 เด็กชายกิตติพงศ์ศรีกรด 6 เด็กชายเกรียงไกร วัชรศิริ 7 เด็กชายคธายุทธ หนูยก 8 เด็กชายชนกันต์จิตรภิรมย์ 9 เด็กชายณัฐนันธ์รักษ์มาศ 10 เด็กชายนพดล พินิจอักษร 11 เด็กชายพงศธร ดํามุณี 12 เด็กชายพัสกร นาคทอง 13 เด็กชายโมลี 14 เด็กชายสิทธการย์สุขเจริญ 15 เด็กชายอิทธิกร สุขอ่อน 16 เด็กหญิงกชพร สมนิล 17 เด็กหญิงกฤษติกานต์พรมมนตรี 18 เด็กหญิงกัญพัชญ์บุญลึก 19 เด็กหญิงกันต์กมล ทิมบํารุง 20 เด็กหญิงเกศรา ยวนกะเปา 21 เด็กหญิงคุณัญญา สุวรรณ์สอาด 22 เด็กหญิงจันทราภรณ์ตรีรินทร์

ลงชื่อ (นายพลนิวัฒน์ โรจน์วิเชียรรัตน์) ครูผู้สอน ที่ชื่อ-สกุล เก่ง ปานกลาง อ่อน/ปรับปรุง หมายเหตุ23 เด็กหญิงจิราวรรณ ชุมประเสริฐ 24 เด็กหญิงณภัชชา บัวหนุน 25 เด็กหญิงธมนวรรณ คําวอน 26 เด็กหญิงธัญรัตน์คุณสนอง 27 เด็กหญิงนันท์นภัส ชุ่มอักษร 28 เด็กหญิงนันท์นภัส ชูชาติ 29 เด็กหญิงพรพนา ท่าชี 30 เด็กหญิงพวงมณีขาวจิตต์ 31 เด็กหญิงพัชรมณฑ์เกตุขาว 32 เด็กหญิงพัณณิตา วราชัย 33 เด็กหญิงรุ่งนภา นาวีวงค์ 34 เด็กหญิงรุจิราภรณ์พูนจันทร์ 35 เด็กหญิงวรัทยา บุญชุม 36 เด็กหญิงวิชราภรณ์ศรีนาค 37 เด็กหญิงศิริศิลป์ชัยธรรม 38 เด็กหญิงศุภัทชานันร์เพชรช่วย 39 เด็กหญิงสุฑาทิพย์สุขศรี 40 เด็กหญิงอธิชนัน เภรี

สรุปการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคล วิชาประวัติศาสตร์รหัสวิชา ส 21103 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2566 (ชั้น ม.1/5) ที่ชื่อ-สกุล เก่ง ปานกลาง อ่อน/ปรับปรุง หมายเหต1 เด็กชายจิรกิตติ์นวลขาว 2 เด็กชายเจนณรงค์ไกรสิทธิ์ 3 เด็กชายชิษณุพงษ์บริสุทธิ์ 4 เด็กชายณัฐนนท์ศรีสวัสดิ์ 5 เด็กชายณัฐวุฒิคมขํา 6 เด็กชายธนดล ชูทรัพย์ 7 เด็กชายธนาวุฒิบุญชูวงค์ 8 เด็กชายบุญฤทธิ์ฤทธิกัน 9 เด็กชายศรรวริศ นพรัตน์ 10 เด็กหญิงกรกนก วิเชียรวงศ์ 11 เด็กหญิงกันยากร ช่วยบํารุง 12 เด็กหญิงจุฑามาศ ถึงเจริญ 13 เด็กหญิงชญาดา รักมาศ 14 เด็กหญิงชลธิชา เพ็ชรคงทอง 15 เด็กหญิงฐิติมา ทองสัมฤทธิ์ 16 เด็กหญิงณัชชา รัตนบุรี 17 เด็กหญิงณัฐชา สมคลองสก 18 เด็กหญิงณัฐธิกานต์พรประสิทธิ์ 19 เด็กหญิงณัฐธิดา สุขแก้ว 20 เด็กหญิงธนัญชนก ชูนิล 21 เด็กหญิงบุญยาพร คชเวช 22 เด็กหญิงปณิดา ธัญญชัยศิษฏ์

ลงชื่อ (นายพลนิวัฒน์ โรจน์วิเชียรรัตน์) ครูผู้สอน 23 เด็กหญิงปพิชญา ฤทธิกุล 24 เด็กหญิงปัญฐิตา สิทธิแดง 25 เด็กหญิงพิชญาภา แสงบ้านยาง 26 เด็กหญิงเพชรไพลิน ลิคูณ 27 เด็กหญิงภัทราวดีสมคลองศก 28 เด็กหญิงรุ่งไพลิน ศรีรักษา 29 เด็กหญิงวราภรณ์สิทธิเเดง 30 เด็กหญิงสุภษร โสดา 31 เด็กหญิงโสฐิดา นวลละออง 32 เด็กหญิงอาภัสรา สิทธิเชนทร์

แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 หน่วยการเรียนรู้ที่1 เวลาและการแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์เวลาเรียน 6 ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระพื้นฐาน วิชาประวัติศาสตร์1 รหัสวิชา 21103 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2566เรื่อง ความสําคัญของเวลา ช่วงเวลา การนับเวลา เวลา 1 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายพลนิวัฒน์ โรจน์วิเชียรรัตน์1. มาตรฐานการเรียนรู้สาระที่4 ประวัติศาสตร์มาตรฐานที่ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้วิธีการ ทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด ส 4.1 ม.1/1 วิเคราะห์ความสําคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ส 4.1 ม.1/2 เทียบศักราชตามระบบต่างๆ ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์2. สาระสําคัญ ความสําคัญของเวลาและช่วงเวลา การนับเวลา ที่สามารถเชื่อมโยงยุคสมัยทางประวัติศาสตร์กับการศึกษา การเทียบศักราช ที่ปรากฏในเอกสาร ประวัติศาสตร์ไทย เช่น จ.ศ./ม.ศ./ร.ศ./พ.ศ./ค.ศ. และ ฮ.ศ. การนับเวลา ในทางสุริยคติทางจันทรคติ3. สาระการเรียนรู้ความรู้(K) เวลากับประวัติศาสตร์ การนับเวลาในระบบสุริยคติ การนับเวลาในระบบจันทรคติทักษะ/กระบวนการ (P) ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทักษะการแก้ไขปัญหา ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) มีวินัย (The discipline) ใฝ่เรียนรู้(Avidity for learning) 4. สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ตามหลักสูตรสถานศึกษา 5. การบูรณาการ บูรณาการร่วมกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ทักษะการพูดในที่ชุมชน ในการ วิเคราะห์สาเหตุและ ความสําคัญของข้อมูล 6. สมรรถนะสําคัญ (Capability) ความสามารถในการสื่อสาร (Communication Capacity) ความสามารถในการคิด (Thinking Capacity) ความสามารถในการแก้ปัญหา (Problem solving abilities) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต (Ability to use life skills)

ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี(Capacity for Technological Application) 7. จุดประสงค์การเรียนรู้(Objective) 1. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความสําคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ได้(K) 2. นักเรียนเทียบศักราชตามระบบต่างๆ ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ได้(P) 3. นักเรียนเห็นคุณค่าความสําคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์(A) 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน 1. แบบฝึกหัด เรื่อง ความสําคัญของเวลา ช่วงเวลา การนับเวลา 9. กิจกรรมการเรียนรู้(Learning Process) ขั้นนํา (Introduction) 1. ครูยกกรณีตัวอย่างและถามนักเรียนในชั้นเรียนว่า “ถ้าสมมุติว่ามีตัวแทนของนักเรียนมาบอกให้นักเรียนทุกคนทราบว่า คุณครูมอสให้ไปพบเพื่อที่จะชี้แจงรายละเอียดการทํารายงาน และคุณครูแอนก็ให้ไปพบ เช่นกันเพื่อที่จะสอนเสริมใน รายวิชาประวัติศาสตร์” คําถามก็คือ “นักเรียนจะสามารถไปพบคุณครูทั้ง 2 ท่านได้ถูกต้องตามการนัดหมายหรือไม่เพราะเหตุใด” จากนั้นครูและนักเรียนก็ร่วมกันแลกเปลี่ยนคําตอบ โดย ครูจะต้องพยายามอธิบายให้นักเรียนเห็น ความสําคัญของเวลา (แนวการตอบ เวลาถูกกําหนดขึ้นมาเพื่อให้มนุษย์เข้าใจตรงกันว่าเหตุการณ์ใดควรมาก่อน-หลัง ดังนั้นการระบุเวลาที่ถูกต้องจึงมีประโยชน์ต่อการลําดับ เหตุการณ์ให้เข้าใจเรื่องราวได้อย่างถูกต้อง ไม่ผิดไปจากความจริง) 2. ครูชี้แจงวัตถุประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ และเข้าสู่บทเรียน ขั้นสอน (Instruction) 3. ครูทําการสอนนักเรียน เรื่อง ความสําคัญของเวลา ช่วงเวลา การนับเวลาโดยใช้สื่อ Prezi ประกอบการ อธิบาย เรียงลําดับเนื้อหา ดังนี้ เวลากับประวัติศาสตร์ การนับเวลาในระบบสุริยคติ การนับเวลาในระบบจันทรคติ4. ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทบทวนความเข้าใจของนักเรียน โดยใช้เกม “คําทํานายกาลเวลา” (PowerPoint) ซึ่งมีขั้นตอนการจัดกิจกรรม ดังนี้ แบ่งนักเรียนในชั้นเรียนเป็น 3 กลุ่ม เท่าๆ กัน เพื่อทําการแข่งขันตอบคําถามสะสม คะแนนในการเล่นเกม กติกาการเล่นเกม จะให้นักเรียนแต่ละกลุ่มซึ่งเรียงตามลําดับ เปิดแผ่นป้ายหมายเลข ต่างๆ ที่ปิดคําใบ้เกี่ยวกับการนับเวลาตามระบบสุริยคติและจันทรคติครั้งละ 1 แผ่น ป้าย กล่าวคือ นักเรียนกลุ่มแรกเปิด 1 แผ่นป้าย เมื่อเปิดแล้วจะสามารถเลือกว่าจะ ตอบหรือจะยกให้กลุ่มต่อไป ถ้าเลือกที่จะตอบและตอบถูก กลุ่มนั้นก็จะได้รับคะแนน สะสม 1 คะแนน แต่ถ้าตอบผิดก็จะถูกตัดสิทธิการตอบในข้อนั้นๆ โดยเกมนี้จะมีข้อ คําถามทั้งหมด 4 ข้อ ขั้นสรุป (Conclusion) 5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปประเด็นสําคัญระหว่างการดําเนินกิจกรรมเกม ดังกล่าวข้างต้น 6. ครูจัดทําสรุปเนื้อหา เรื่อง ความสําคัญของเวลา ช่วงเวลา การนับเวลา ในรูปแบบ Info graphic เผยแพร่ในสื่อสังคมออนไลน์เพื่อให้นักเรียนได้ใช้สําหรับการทบทวนหลังเรียน 10. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Learning Materials/Resources/Local Wisdom) 1. สื่อ Prezi เรื่อง ความสําคัญของเวลา ช่วงเวลา การนับเวลา 2. PowerPoint เกม “คําทํานายกาลเวลา”

3. Info graphic เรื่อง ความสําคัญของเวลา ช่วงเวลา การนับเวลา 4. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 11.การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ (Objectives) วิธีการวัด (Evaluation Methods) เครื่องมือวัด (Evaluation Instruments) เกณฑ์การประเมิน (Assessment Criteria) ด้านความรู้(K) 1.นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความสําคัญของเวลาในการศึกษา ประวัติศาสตร์ได้(K) ประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจการ นําไปใช้ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ 50 -แบบฝึกหัด เรื่อง ความสําคัญของเวลา ช่วงเวลา การนับเวลา ร้อยละ 50 ขึ้นไปถือว่า ผ่านเกณฑ์ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 1.นักเรียนเทียบศักราชตามระบบ ต่างๆ ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ได้(P) การประเมินผลจากการสังเกต พฤติกรรมการทํางานกลุ่มต้อง ผ่านเกณฑ์การประเมิน คือเกิน ร้อยละ 50 การสังเกตพฤติกรรม ประเมินตามสภาพจริง ด้านคุณธรรมจริยธรรม (A) 1. มีวินัย (The discipline) 2. ใฝ่เรียนรู้(Avidity for learning) การประเมินผลการสังเกต คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ นักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง การสังเกตพฤติกรรม ประเมินตามสภาพจริง 12. ความเห็นผู้บังคับบัญชา ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................ลงชื่อ (………………………………………………) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ลงชื่อ (….…………………………………………..) รองผู้อํานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชื่อ (….…………………………………………..) ผู้อํานวยการโรงเรียน…………………………

13.บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้(Post–Lesson Report) สรุปผลการจัดการเรียนรู้(Result of the Learning) K P A …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหา/อุปสรรค (Problems/Obstacles) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางการแก้ไข (Solutions Classroom research/ Extra teaching/ Behavior Monitoring/etc.) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ครูผู้สอน (………...…………………………………….) _______/_________/_______