31 3 ม.9 ต.นาหว า อ.จะนะ จ.สงขลา

จะนะ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขลา เป็นอำเภอที่มีสัดส่วนประชากรที่นับศาสนาอิสลามมากที่สุดอำเภอหนึ่งในจังหวัดสงขลา มีความอุดมสมบูรณ์จากระบบนิเวศทั้งทางทะเล และทางบก และเป็นหนึ่งในสี่อำเภอจังหวัดสงขลาที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มพื้นที่ที่ยังมีเหตุการณ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และมีปัญหาการประท้วงการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมจะนะ

31 3 ม.9 ต.นาหว า อ.จะนะ จ.สงขลา
ชายทะเลในตำบลนาทับ

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

อำเภอจะนะมีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้

  • ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอเมืองสงขลาและอ่าวไทย
  • ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ่าวไทยและอำเภอเทพา
  • ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอนาทวีและอำเภอสะเดา
  • ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอหาดใหญ่และอำเภอนาหม่อม
    31 3 ม.9 ต.นาหว า อ.จะนะ จ.สงขลา
    ชายทะเลในตำบลนาทับ

ประวัติ[แก้]

จะนะเดิมเป็นเมืองขึ้นของเมืองพัทลุง ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 4 เมือง ได้แก่ ปะเหลียน จะนะ เทพา และสงขลา ต่อมา สงขลาได้แยกออกจากเมืองพัทลุง จะนะจึงไปขึ้นกับเมืองสงขลา มีฐานะเป็นเมือง หน้าด่านทางตอนใต้และมีการสู้รบกับหัวเมืองมลายูตลอดเวลา ขณะนี้เป็นเมืองขึ้นของพัทลุง เจ้าพระยาพัทลุง (บุน) ได้แต่งตั้งนายอินทร์ หรือเณรน้องชาย เป็นเจ้าเมืองจะนะ มีพระราชทินนามว่า “พระมหานุภาพปราบสงคราม” ซึ่งบ่งบอกให้รู้ว่าเจ้าเมืองเป็นนักรบ เมืองจะนะจึงน่าจะเป็นสมรภูมิรบ ที่ตั้งเมืองจะนะในขณะนั้นคือที่นาทวีเมืองจะนะไปเป็นเมืองขึ้นของสงขลา เจ้าเมืองสงขลาได้แต่งตั้งให้นายฉิน บุตรของอดีตเจ้าเมืองสงขลา (โยม) ขึ้นเป็นขุนรองราชมนตรี คุมไพร่ส่วยดีบุก 9 หมวด ทำให้เมืองจะนะกับเมืองสงขลา มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน

อนึ่งที่ตั้งของเมืองจะนะนั้น มีการย้ายเมืองอยู่บ่อย ๆ เนื่องจากเป็นเมืองที่ต้องทำการรบอยู่ตลอดเวลา ระยะแรกเชื่อว่าเมืองจะนะตั้งอยู่ที่วังดาโต๊ะหรือวังโต้ที่อำเภอนาทวีปัจจุบัน ซึ่งอาจเป็นไปได้ เพราะเจ้าเมืองจะนะคนแรกคือ พระมหานุภาพปราบสงคราม (อินทร์หรือเณร) บุตรพระยาราชบังสันซึ่งเป็นมุสลิม ต่อมาได้ย้ายเมืองไปอยู่ที่ปลักจะนะ และย้ายไปที่บ้านในเมือง ตำบลป่าชิงปัจจุบัน จากนั้นย้ายไปตั้งที่ตำบลจะโหนง เมื่อเปลี่ยนการปกครองแบบเทศาภิบาล อำเภอจะนะก็ไปตั้งที่ว่าการที่อำเภอนาทวี แต่ด้วยเหตุที่การคมนาคมไม่ค่อยสะดวก จึงย้ายไปตั้งที่ใหม่ ที่ตำบลบ้านนา พร้อมเปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอบ้านนา แต่ไปพ้องกับชื่ออำเภอบ้านนา จังหวัดสุราษฎร์ธานี จึงได้เปลี่ยนชื่อไปเป็น อำเภอจะนะ ตามเดิม

Sua solicitação não pôde ser processada Houve um problema com esta solicitação. Estamos trabalhando para solucioná-lo o mais breve possível.

Cadastre-se no Facebook ou faça login para continuar.

Participar

ou

Entrar

สภาพทั่วไป (ปรับปรุงข้อมูล เมื่อ 2 กค.56)

ที่ตั้ง : สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลคู ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ตำบลคู อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 90130 มีพื้นที่ประมาณ 23.27 ตารางกิโลเมตร หรือ 14,543 ไร่ ห่างจากตัวอำเภอจะนะ ประมาณ 10 กิโลเมตร

ทิศเหนือ จด ตำบลบ้านนา และ ตำบลป่าชิง ทิศใต้ จด ตำบลแค

ทิศตะวันออก จด ตำบลท่าหมอไทร ทิศตะวันตก จด ตำบลนาหว้า

ภูมิประเทศ

ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำ ลำคลองหลายสาย มีน้ำไหลผ่านตลอดปี

ประชากร

อบต.คู มีประชากรทั้งสิ้น 5,932 คน เป็นชาย 2,942 คน หญิง 2,989 คน มีครัวเรือนทั้งสิ้น 1,104 ครัวเรือน

การเมือง

สภาองค์การบริหารส่วนตำบลคู ในปัจจุบัน ได้รับการเลือกตั้งมาเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2548 และได้รับการรับรองจากคณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดสงขลา ตั้งแต่วันที่ 16 สิงหาคม 2548 ซึ่งจะหมดวาระลงในวันที่ 30 กรกฎาคม 2552

การเลือกตั้งในวันที่ 31 กรกฎาคม 2548 ของตำบลคูนั้น ถือได้ว่าเป็นการเลือกตั้งนายก อบต. โดยตรงเป็นครั้งแรกและในปัจจุบัน สภา อบต.คู ได้ประกอบด้วย นายก อบต. จำนวน 1 คน สมาชิกสภา อบต. จำนวน 18 คน รองนายก อบต. จำนวน 2 คน เลขานุการนายก อบต. 1 คน ที่ปรึกษานายก อบต. จำนวน 3 คน

การปกครอง

ตำบลคู แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 9 หมู่บ้าน ดังนี้

หมู่ที่ 1 บ้านคูประดู่ นายสุรเดช หลีเหร็ม กำนัน และผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านพ้อแดง นายมุหัมหมัด ล่าเต๊ะ ผู้ใหญ่บ้าน

หมู่ที่ 3 บ้านนายัม นายอารีย์ หมุดกะเส็ม ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านคูศักดิ์สิทธิ์ นายปรีชา ล่าเม๊าะ ผู้ใหญ่บ้าน

หมู่ที่ 5 บ้านคู นายสอเหด สอบอม ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านทุ่ง นายหัมเส๊าะ ดะสะอิ ผู้ใหญ่บ้าน

หมู่ที่ 7 บ้านโหนด นายโสธรรม พันยี ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 8 บ้านนาปรือ นายก้าน เกื้อนุ้ย ผู้ใหญ่บ้าน

หมู่ที่ 9 บ้านปลักพ้อ นายหมาน บ่อเน๊าะ ผู้ใหญ่บ้าน

เศรษฐกิจ

ประชากรส่วนใหญ่ในตำบลคู ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทำสวนยางพารา ทำนาข้าว เลี้ยงสัตว์ ทั้งประเภทส่วนตัวและรวมกลุ่ม นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพรับจ้าง ทำงานโรงงานอุตสาหกรรมอีกด้วย

สังคม

ตำบลคู ประกอบด้วย 9 หมู่บ้าน ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม คิดเป็นประมาณร้อยละ 90 ของประชากรทั้งหมดในพื้นที่

การศึกษา

มีโรงเรียนประถมศึกษา 3 แห่ง ได้แก่

- โรงเรียนบ้านคูศักดิ์สิทธิ์ หมู่ที่ 4 - โรงเรียนวัดนาปรือ หมู่ที่ 8 - โรงเรียนบ้านโหนด หมู่ที่ 9

โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แห่ง

- โรงเรียนจะนะชนูปถัมภ์ หมู่ที่ 3

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 แห่ง

- ศูนย์อบรมเด็กฯ ประจำมัสยิดบ้านคูประดู่ หมู่ 1 - ศูนย์อบรมเด็กฯ ประจำมัสยิดเร๊าะหม๊ะ หมู่ 2 - ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านทุ่ง หมู่ 6

ศาสนา

วัด 1 แห่ง คือ

- วัดมัชฌิมเขต หมู่ที่ 8

มัสยิด 6 แห่ง คือ

- มัสยิดบ้านคูประดู่ หมู่ 1 - มัสยิดบ้านพ้อแดง หมู่ 2 - มัสยิดบ้านนายัม หมู่ 3 - มัสยิดบ้านคู หมู่ 5 - มัสยิดบ้านทุ่ง หมู่ 6 - มัสยิดบ้านปลักพ้อ หมู่ 9

บาไลเซาะฮ์ 13 แห่ง คือ

- หมู่ที่ 1 จำนวน 1 แห่ง - หมู่ที่ 2 จำนวน 3 แห่ง - หมู่ที่ 4 จำนวน 4 แห่ง - หมู่ที่ 5 จำนวน 1 แห่ง - หมู่ที่ 6 จำนวน 2 แห่ง - หมู่ที่ 8 จำนวน 2 แห่ง

ด้านสาธารณสุข

- สถานีอนามัยประจำตำบล 1 แห่ง คือ สถานีอนามัยตำบลคู

สถานที่สำคัญอได้ว่าเป็นการเลือกตั้งนายกอน

- วัดมัชฌิมเขต (วัดนาปรือ) ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 ตำบลคู

วิสัยทัศน์

- ปลอดโรค ปลอดภัย ปลอดสิ่งเสพติด คุณภาพชีวิตเยี่ยม

นโยบาย

1. นโยบายด้านเศรษฐกิจ 2. นโยบายด้านโครงสร้างพื้นฐาน 3. นโยบายด้านสังคม 4. นโยบายด้านแหล่งน้ำ 5. นโยบายด้านสาธารณสุข

6. นโยบายด้านการเมือง การบริหาร 7. นโยบายด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 8. นโยบายด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

บทบาทหน้าที่

องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยมีบทบาทหน้าที่ ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังนี้

1. จัดให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร และให้มีการบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก

2. รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล

3. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

4. การควบคุมอาคาร

5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น

6. ส่งเสริมการกีฬา

7. ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

8. ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ

9. คุ้มครอง ดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

10. บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น

11. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณ หรือบุคลกรให้ตามความจำเป็นและสมควร

โครงสร้างองค์กร

- โครงสร้างฝ่ายบริหาร

1. นายยะเบด หนิเหม นายกองค์การบริหารส่วนตำบล 2. นายทรงพล อิสลาม รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบล

3. นายดลเล๊าะ ราชชำรอง รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบล 4. นายต่อเฝต หลีเหร็ม เลขาฯ นายกองค์การบริหารส่วนตำบล

- โครงสร้างฝ่ายสภาฯ

1. นายแล๊ะ หลำหลี ประธานสภาฯ/สมาชิก อบต. หมู่ 1

2. นายอับดนร่อเสก สะเหะยุนุ่ย รองประธานสภา/ สมาชิก อบต. หมู่ 3

3. นายอิสมะแอน เต็มขาว สมาชิก อบต. หมู่ 1 4. นายอิสหาก ดีหมัด สมาชิก อบต. หมู่ 2

5. นางโสม มะหงี่เร๊ะ สมาชิก อบต. หมู่ 2 6. นายดนมะเหลก หมัดเหม สมาชิก อบต. หมู่ 3

  1. นายหัมหมัด สอหัด สมาชิก อบต. หมู่ 4 8. นายศักดิ์กิริยา สันหลี สมาชิก อบต. หมู่ 4
  1. นายล่าซีด เต๊ะหม่อม สมาชิก อบต. หมู่ 5 10. นายสำแอ หมัดนาย สมาชิก อบต. หมู่ 5
  1. นายเพาซี มะใบ สมาชิก อบต. หมู่ 6 12. นายวันชัย ศรีทอง สมาชิก อบต. หมู่ 6
  1. นายพนม ดำแก้ว