2024 ทำไม ไฮโดรเจน ม เส น สเปกตร ม หลาย เส น

  • 1. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! "#! ฟสิกส บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! ตอนที่ 1 การคนพบอิเลคตรอนและโปรตรอน ทฤษฎีอะตอมของดาลตัน จากกฎทรงมวลของสาร และกฎสัดสวนที่คงที่เปนพื้นฐาน ดาลตันนักฟสิกสและนักเคมีชาวอังกฤษตั้งทฤษฎีอะตอมขึ้น ในป พ.ศ. 2351 ซึ่งมีใจความวา 1) สสารทั้งหลายประกอบดวยอะตอมซึ่งเปนหนวยที่เล็กที่สุดที่ไมสามารถ......................... 2) ธาตุแตละชนิดประกอบดวยอะตอม โดยธาตุชนิดเดียวกันจะมีอะตอมเหมือนกัน สวนธาตุตาง ชนิดกันอะตอมจะ................... 3) อะตอมชนิดหนึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปเปน..............................ไมได 4) หนวยยอยของสารประกอบคือ โมเลกุล ซึ่งจะประกอบดวยอะตอมของธาตุองคประกอบ ! ในสัดสวนที่....................! 5) ในปฏิกิริยาเคมีใด ๆ อะตอมไมมีการสูญหาย และไมสามารถทําให..................... แตอะตอมจะ เกิดการจัดเรียงตัวกันเปนโมเลกุลใหมเกิดขึ้นเปนสารประกอบ 1. ทฤษฎีอะตอมของดาลตันมีกี่ขอ ปจจุบันพบวาเปนจริงเพียง 1 ขอ คือ ขอที่.......... ซึ่งกลาว วา............................ ............... ............... ............... ............... ............... ............... ................. 2. ทฤษฏีอะตอมของดาลตัน ขอ 1. ผิดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ................. ขอ 2. ผิดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ................. ขอ 3. ผิดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ................. ขอ 5. ผิดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ................. ! การคนพบอิเล็กตรอน สมบัติของรังสีคาโทด 1) ทําใหสารเรืองแสงเกิดการเรืองแสงได !
  • 2. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! "$! 2) เบี่ยงเบนเขาหาขั้วไฟฟา.............. 3) เบี่ยงเบนในสนามแมเหล็กและ ทิศการเบี่ยงเบนเปนไปตามกฎ............ 4) ไมสามารถทะลุ...................... ที่ขวางกั้น!! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! 5) หมุน........................... ได ทอมสันอธิบายสาเหตุการเกิดรังสีคาโทดวา เมื่อโลหะที่เปนขั้วคาโทดไดรับพลังงาน ไฟฟาที่มีศักยสูง จะทําใหอิเล็กตรอนภายในอะตอมโลหะนั้นหลุดออกมา แลวเคลื่อนที่ไปยังขั้ว อาโนด (ขั้วบวก) ทอมสันจึงสรุปวา ในอะตอมจะตองมีอิเล็กตรอนเปนองคประกอบอยูภายใน 3. เมื่อรังสีคาโทดวิ่งผานขั้วไฟฟา จะเบนเขาหาขั้ว............. เมื่อรังสีคาโทดวิ่งผานสนามแมเหล็กจะ............... เมื่อรังสีคาโทด พุงชนโลหะบาง ๆ รังสีทะลุไปไดหรือไม....... เมื่อรังสีคาโทดพุงชนกังหัน จะทําใหกังหัน........ 4. สมบัติใดของรังสีคาโทดทําใหทราบวา รังสีคาโทดมีประจุเปนลบ ....................................... สมบัติใดของรังสีคาโทดทําใหทราบวา รังสีคาโทดมีประกอบไปดวยกอนอนุภาค ............... 5. ทําไมหลอดรังสีแคโทดจึงตองจัดใหเปนหลอดสุญญากาศหรือเกือบเปนสุญญากาศ ก. เพื่อใหสามารถมองเห็นลําแสงที่เกิดขึ้นไดชัดเจน ข. เพื่อลดความดันของอากาศในหลอด ค. เพื่อใหสนามไฟฟาระหวางขั้วหลอดคงที่ ง. เพื่อชวยลดความรอนใหกับขั้วของหลอด จ. ปองกันไมใหรังสีแคโทดชนกับโมเลกุลของอากาศซึ่งจะทําใหเกิดรังสีไดนอย (ขอ จ.) 6. ถาปรับความตางศักยระหวางขั้วของหลอดรังสีแคโทดใหเพิ่มมากขึ้น จะมีผลตามขอใด 1. จํานวนอนุภาคในลํารังสีแคโทดจะเพิ่มมากขึ้น 2. อนุภาคจะเคลื่อนที่ดวยความเร็วมากขึ้น 3. ความเขมของการสองสวางบริเวณขั้วบวกมากขึ้น คําตอบคือ (ขอ ง.) ก. ขอ 1 , 2 , 3 ข. ขอ 1 , 2 ค. ขอ 2 , 3 ง. ขอ 2 เทานั้น แสดงใหรูวามีประจุ! ไฟฟาเปน..............! แสดงใหรูวา ภายในรังสีคาโทด! ประกอบไปดวย.................! ! ทอมสันเรียกกอน! อนุภาคที่มีประจุ เปนลบนี้วา! %%%%&&!
  • 3. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! "'! ! การทดลองหาคาความเร็วอิเล็กตรอน! เมื่ออิเล็กตรอนวิ่งตัดสนามแมเหล็กพรอมกับสนามไฟฟา ดังรูป อิเล็กตรอนจะถูกแรง กระทํา 2 แรง คือ 1) แรงสนามไฟฟาที่มีทิศขึ้น (F = qE) 2) แรงผลักสนามแมเหล็กมีทิศลง (F = qvB) หากแรงทั้งสองมีคาเทากัน อิเล็กตรอนจะเคลื่อนเปนเสนตรงอยูในแนวระดับ จะไดวา F ลง = F ขึ้น qvB = qE เมื่อ v คือ ความเร็วอิเล็กตรอน (m / s) v = B E E คือ ความเขมสนามไฟฟา ( )m V,C N v = dB V เพราะ E = d V B คือ ความเขมสนามแมเหล็กไฟฟา (เทสลา) V คือ ความตางศักยที่ใช (โวลต ) D คือ ระยะหางของขั้วไฟฟาที่ใชดูด e นั้น(m) 7. ในการทดลองหาอัตราเร็วอิเลคตรอน ถาใชสนามแมเหล็กความเขม 2x10–3 เทสลา และใช สนามไฟฟาความเขม 3x104 นิวตัน/คูลอมบ ทําใหรังสีคาโทดเปนเสนตรงพอดี จงหา ความเร็วของอนุภาครังสีคาโทด (1.5x107 m/s ) วิธีทํา
  • 4. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! "(! 8. ในการทดลองหาอัตราเร็วอิเลคตรอน ถาใชสนามแมเหล็กความเขม 1x10–3 เทสลา และใช สนามไฟฟาที่เกิดจากเพลตสองเพลตที่อยูหางกัน 0.01 เมตร และ มีความตางศักย 200 โวลต ทําใหรังสีคาโทดเปนเสนตรงพอดี จงหาความเร็วของอนุภาครังสีคาโทด (2x107 m/s ) วิธีทํา 9. จงหาความเร็วอิเล็กตรอนที่วิ่งจากหยุดนิ่งผานความตางศักยไฟฟา 1500 โวลต กําหนด ประจุอิเลคตรอน = 1.6 x 10–19 C มวลอิเลคตรอน = 9.1 x 10–31 kg ( 2.3x107 m/s) วิธีทํา 10(En 32) ถาตองการเรงอนุภาคมวล 4 x 10–12 กิโลกรัม ที่มีประจุ 8 x 10–9 คูลอมบ จากสภาพหยุดนิ่งใหมีอัตราเร็ว 100 เมตร/วินาที จะตองใชความตางศักยเทาใด 1. 0.025 โวลต 2. 0.4 โวลต 3. 2.5 โวลต 4. 40 โวลต (ขอ 3) วิธีทํา
  • 5. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! ")! การทดลองหาคาประจุตอมวลของอิเล็กตรอน เมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนที่ตัดสนามแมเหล็กดวยความเร็ว จะเคลื่อนที่โคงเปนรูปวงกลม จาก R = qB mv m q = BR v เมื่อ q คือ ประจุของอิเล็กตรอน 1 ตัว (C) v คือ ความเร็วของอิเล็กตรอน (m/s) R คือ รัศมีวงโคจรอิเล็กตรอน (m) m คือ มวลอิเล็กตรอน 1 ตัว (kg) B คือ ความเขมสนามแมเหล็ก (เทสลา) จากการทดลองของทอมสัน จะได m q ของอิเล็กตรอนมีคา 1.76 x 1011 C/kg 11. เมื่อยิงอิเลคตรอนความเร็ว 3x107 m/s พุงเขาตัดตั้งฉากกับสนามแมเหล็กความเขม 0.001 เทสลา ทําใหอิเลคตรอนเคลื่อนเปนวงกลมรัศมี 0.2 เมตร จงหาคาประจุตอมวลของอิเลค- ตรอน (1.5x1011 C/kg) วิธีทํา 12. จงหาความเร็วของ e เมื่อพุงผานสนามไฟฟาเขม 34 x 104 V/m และสนามแมเหล็กมี ความเขม 2 x 10–3 เทสลา แลวลํา e ยังคงแนวเดิมไว กําหนดใหแรงกระทําซึ่งเกิดจาก สนามไฟฟา และสนามแมเหล็กอยูในทิศตรงกันขาม ก. จงหาความเร็วของอิเลคตรอน ข. จงหารัศมีความโคงของ e เมื่อ e วิ่งตัดสนามไฟฟาออกไป กําหนด q/m ของ e = 1.76 x 1011 C/kg (17x107 m/s , 0.483 m)
  • 6. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! "*! วิธีทํา 13. ในการทดลองของทอมสัน เพื่อหาคาอัตราสวนของประจุตอมวลอนุภาครังสีคาโทด ถาใช เพียงสนามแมเหล็กเพียงอยางเดียว การเบี่ยงเบนของรังสี มีรัศมีความโคง 0.114 เมตร และ คาสนามแมเหล็กเทากับ 1 x 10–3 เทสลา ในสนามแมเหล็กเดียวกันถาใชสนามไฟฟาที่เกิดจาก เพลตสองเพลตที่อยูหางกัน 0.01 เมตร และ มีความตางศักย 200 โวลต ทําใหรังสีเดิมเปน เสนตรง จงหาคาประจุตอมวลของอนุภาคของรังสีคาโทด (1.75x1011 C/kg) วิธีทํา 14. ในการทดลองของทอมสันเพื่อวัดอัตราสวน q/m ของอนุภาครังสีแคโทด โดยใชสนาม แมเหล็กสม่ําเสมอขนาด 1.5 x 10–3 เทสลา รัศมีความโคงของอนุภาครังสีแคโทดเทากับ 10 เซนติเมตร แตถาตอแผนโลหะทั้งสองซึ่งมีระยะหางกัน 1 เซนติเมตร เขากับความ ! ตางศักยไฟฟา 390 โวลต จะทําใหอนุภาครังสีแคโทดเคลื่อนที่เปนเสนตรง จงหาอัตรา! ! สวน q/m ของอนุภาครังสีแคโทด (1.73x1011 C/kg)! วิธีทํา
  • 7. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! "+! 15(En 43/1) อนุภาคที่มีประจุไฟฟาหลายอนุภาควิ่งผาน บริเวณสนามไฟฟาตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก! โดยทิศที่วิ่งตั้งฉากกับสนามทั้งสอง อนุภาควิ่งไปโดยไมเบนจากแนวเดิม จะมีปริมาณใดเทากัน ! ! ! 1. ประจุ! ! ! 2. อัตราเร็ว! ! ! 3. มวล! ! 4. อัตราสวนประจุตอมวล! ! (ขอ 2.)! วิธีทํา การคนพบโปรตรอน Ergen goldstein นักฟสิกสชาวเยอรมัน ไดทําการดัดแปลงหลอดรังสีคาโทด โดยจัดให ขั้วคาโทดอยูเกือบตรงกลางและเจาะรูขั้วคาโทดไว เมื่อตอความตางศักยสูงเขาไป นอกจากจะมีรังสีคา แลว ยังจะมีรังสีอีกชนิดหนึ่ง วิ่งยอนกลับมาหาขั้ว คาโทด (ขั้วลบ) รังสีนี้จะประกอบไปดวยอนุภาคที่ ประจุบวก เรียกรังสีแคแนล(Canal ray) หรือ ............. ! ! รังสีนี้เกิดจากอะตอมของกาซภายในหลอดถูกชนดวยอนุภาคอิเล็กตรอนที่พุงมาจากขั้วคาโทด! ทําใหอะตอมของกาซอิเล็กตรอนในอะตอมไป แลวกลายเปนอนุภาคที่มีประจุ..............อนุภาคนี้ก็! จะวิ่งเขาหาขั้วคาโทดอันเปนขั้วลบนั่นเอง! การทดลองนี้ทําใหเชื่อวาในอะตอมตองมีอนุภาคไฟฟาบวกอยูดวยเรียกอนุภาคบวกนี้วา.................! *หากเปลี่ยนชนิดกาซที่บรรจุอยูในหลอด แลวทดลองหาคาประจุตอมวล (q/m) จะพบวาอนุภาครังสี บวกของกาซแตละชนิดจะมีคา q/m ไมเทากัน ทั้งนี้เพราะกาซแตละชนิดจะมีมวลไมเทากันนั้นเอง 16. รังสีแคแนลเกิดจาก ............. ......... ......... ......... ......... ......... ......... ......... ......... ......... ....... 17. การคนพบรังสีแคแนลทําใหเรารูจักอนุภาคมูลฐานในอะตอมตัวหนึ่ง คือ ......... ......... 18. รังสีแคแนลมีคาประจุตอมวลไมคงที่ เพราะ ......... ......... ......... ......... ......... ......... ............. แบบจําลองอะตอมของทอมสัน จากการทดลองของทอมสัน, โกลดสไตน และนักวิทยาศาสตรอีกหลายทาน ทําใหเชื่อวา ในอะตอมใดๆ จะตองประกอบดวยอนุภาคที่มีประจุบวก (โปรตอน) และอนุภาคที่มีประจุลบ (อิเล็กตรอน) ทอมสันจึงไดเสนอแบบจําลองของอะตอมเอาไววา “ อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลม ประกอบไปดวยโปรตรอน ซึ่งมีประจุบวก และอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบกระจายอยูทั่วไป อยางสม่ําเสมอและในอะตอมที่เปนกลางทางไฟฟาจะมีจํานวน โปรตรอนเทากับจํานวนอิเล็กตรอน ”
  • 8. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! ",! 19. จงวาดรูป แบบจําลองอะตอมของดาลตัน แบบจําลองอะตอมของทอมสัน ! ! ! ! ! ! 20. ตามแบบจําลองอะตอมของทอมสัน ขอใดกลาวถูกตอง 1. อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลม โดยเนื้อของทรงกลมเปนประจุบวกกระจายอยาง สม่ําเสมอและมีอิเล็กตรอนฝงอยูในเนื้อทรงกลม 2. ปริมาณประจุบวกและปริมาณประจุลบมีจํานวนเทากัน 3. ในสภาพปกติอะตอมเปนกลางทางไฟฟา 4. ถูกทุกขอ (ขอ 4.) วิธีทํา การคนพบนิวตรอน ป พ.ศ. 2473 W.Bothe และ H.Becker นักเคมีชาวเยอรมันไดทําการทดลองใชอนุ ภาคอัลฟายิ่งแผนโลหะแบริลเลียม ปรากฏ วาเกิดรังสีซึ่งไมมีประจุชนิดหนึ่งที่มีอํานาจทะลวงไดดี และรังสีนี้เมื่อชนกับโมเลกุลของพารา ฟนจะไดโปรตรอนออกมา ตอมาในป พ.ศ. 2475 Jame Chadwich ไดเสนอวารังสีนี้ตอง ประกอบดวยอนุภาคและใหชื่อวา นิวตรอน และไดทําการพิสูจนไดวานิวตรอนไมมีประจุ และ คํานวณมวลนิวตรอนไดคาใกลเคียงกับมวลของโปรตรอน 21. จงเติมคําลงในชองวางใหสมบูรณ ! รังสี................. รังสีมีมวลใกลกับ................! มีประจุ................! แผน................! แผน................! อนุภาค................!
  • 9. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! #-! ตอนที่ 2 การทดลองของมิลลิแกน! การทดลองหาคาประจุอิเล็กตรอนของมิลลิแกน (Robert A. Millikan) จากอุปกรณการทดลองดังรูป เมื่อผานละอองฝอยน้ํามันลงไประหวางขั้วไฟฟา หยดน้ํามัน เล็ก ๆ บางหยดจะมีประจุบวก บางหยดจะมีประจุลบ พวกที่มีประจุบวกจะตกลงเบื้องลางอยาง รวดเร็ว บางหยดที่มีประจุเปนลบขนาดเหมาะสม จะลอยอยูนิ่ง ๆ ไดอยางสมดุล พิจารณาเฉพาะหยดที่อยูนิ่ง ๆ จาก Fขึ้น = Fลง qE = mg neE = mg เพราะ q = ne ne = E mg เมื่อ q คือ ประจุรวมทั้งหมดในหยดน้ํามัน(C) n คือ จํานวนอิเล็กตรอน e คือ ประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว m คือ มวลของหยดน้ํามันทั้งหมด (kg) E คือ ความเขมสนามไฟฟา (N/C) จากการทดลองจะได ne = จํานวนเต็ม x 1.6 x 10–19 C เชน ne = 1 x 1.6 x 10–19 C ne = 2 x 1.6 x 10–19 C ne = 3 x 1.6 x 10–19 C จึงสรุปวา อิเล็กตรอน 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ สวนจํานวนเต็มคูณอยู ก็คือ จํานวนอิเล็กตรอนนั่นเอง 22. หยดน้ํามันอันมีจํานวนอิเลคตรอนมากกวาจํานวนโปรตรอนอยู 5 ตัว มีมวล 1.6x10–15 kg ลอยแขวนอยูระหวางแผนประจุในเครื่องทดลองของมิลลิแกนซึ่งมีสนามไฟฟาเขม 2x104 โวลตตอเมตร จงหาประจุของอิเลคตรอน 1 ตัว (1.6x10–19 C) วิธีทํา
  • 10. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! #"! 23. หยดน้ํามันอันมีจํานวนอิเลคตรอนมากกวาจํานวนโปรตรอนอยู 10 ตัว มีมวล 1.6x10–15 kg ลอยแขวนอยูระหวางแผนประจุในเครื่องทดลองของมิลลิแกนซึ่งมีความตางศักย 100 โวลต ระยะหางระหวางขั้วไฟฟา 1 เซนติเมตร จงหาประจุของอิเลคตรอน 1 ตัว (1.6x10–19 C) วิธีทํา 24(มช 36) ในการทดลองของมิลลิแกนเมื่อทําใหหยดน้ํามันมวล 1.6 x 10–14 กิโลกรัม ลอย หยุดนิ่งระหวางแผนโลหะขนานซึ่งวางหางกัน 1 ซม. โดยแผนบนมีศักยไฟฟาสูงกวาแผน ลางเทากับ 392 โวลต ถาความเรงเนื่องจากแรงดึงดูดของโลกเทากับ 9.8 m/s2 และ อิเลคตรอนมีประจุ 1.6x10–19 คูลอมบ จงคํานวณหาวาหยดน้ํามันนี้มีอิเลคตรอนแฝงอยูกี่ตัว 1. 25 2. 50 3. 250 4. 500 (ขอ 1.) วิธีทํา 25. ในการหยดน้ํามันของมิลลิแกน พบวาถาตองการใหหยดน้ํามันซึ่งมีมวล m และอิเล็กตรอน เกาะติดอยู n ตัว ลอยนิ่งอยูระหวางแผนโลหะ 2 แผน ซึ่งวางขนานหางกันเปนระยะทาง ! d และมีความตางศักย V ประจุของอิเล็กตรอนที่คํานวณไดจากการทดลองนี้จะมีคาเทาใด ก. nV mgd ข. nd mgV ค. V nmgd ง. d nmgV (ขอ ก.) วิธีทํา
  • 11. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! ##! 26. หยดน้ํามันมีความหนาแนน 400 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร มีปริมาตร 2.5x10–12 ลูกบาศก– เมตร ลอยนิ่งอยูในสนามไฟฟาขนาดสม่ําเสมอ 4x105 นิวตัน/คูลอมบ จงหาขนาดของ ประจุบนหยดน้ํามัน (2.5x10–14 C) วิธีทํา 27. ในการทดลองหยดน้ํามันของมิลลิแกนนั้นพบวา เมื่อเพิ่มคาความตางศักยจนถึงคาสูงสุดของ เครื่องมือแลวไมสามารถทําใหหยดน้ํามันหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ในทิศตรงขามกับเมื่อยังไมให คาความตางศักยแสดงวา 1. หยดน้ํามันมีมวลมากเกินไป 2. หยดน้ํามันมีประจุชนิดหนึ่งทําใหแรง เนื่องจากสนามไฟฟามีทิศทางเดียวกับแรงโนมถวงโลก 3. สนามไฟฟามีคานอยเกินไป 4. ถูกทุกขอ (ขอ 4.) วิธีทํา !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""! ตอนที่ 3 สัญลักษณแทนอะตอม แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด! หากเปนไปตามแบบจําลองอะตอมของทอมสัน รังสีเกือบทั้งหมดตองเบี่ยงเบนการเคลื่อนที่ เพราะ เกิดแรงผลักระหวางประจุบวกของรังสีอัลฟา กับ โปรตรอน และหากรังสีอัลฟาพุงชนโปรตรอนจะ ทําใหโปรตรอนกระเด็นไปเพราะรังสีอัลฟามีมวล มากกวา รังสีอัลฟาจะไมสะทอนกลับออกมาเลย !
  • 12. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! #$! ผลการทดลองจริงเปนดังรูป รัทเทอรฟอรดอธิบายวา 1. จริง ๆ แลวอะตอมจะมีโปรตรอนทั้งหมดจะรวมตัวกันอยูในพื้นที่เล็ก ๆ ตรงกลาง อะตอมเรียกวา นิวเคลียส สวนอิเล็กตรอนจะอยูรอบนอกนิวเคลียสระหวางนิวเคลียส กับอิเล็กตรอนจะเปนที่วาง ซึ่งจะกวางมากเมื่อเทียบกับนิวเคลียส รังสีแอลฟา สวนมากจะผานชองวางนี้ไปจึงเคลื่อนที่เปนเสนตรง 2. รังสีแอลฟา สวนนอยจะวิ่งเฉี่ยวนิวเคลียส ทําใหเกิดแรงผลักแลวเบี่ยงเบนการเคลื่อนที่ 3. รังสีแอลฟาสวนนอยที่สุดจะชนนิวเคลียสตรงๆ แลวรังสีแอลฟาจะสะทอนกลับ เพราะ มีมวลนอยกวานิวเคลียส ซึ่งมีโปรตรอนรวมอยูภายในอยางมากมาย แบบจําลองอะตอมแบบนี้ เรียก แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด 28. ถาเชื่อวาอะตอมเปนไปตามแบบจําลองของทอมสัน เมื่อยิงรังสีอัลฟาเขาไปในอะตอมของ ทองคํา รังสีสวนมากจะเคลื่อนที่ .......................................... ทั้งนี้เพราะเกิดแรงผลักระหวาง ประจุบวกของอนุภาคอัลฟา กับ ......... ......... .... ในนิวเคลียส 29. จากการทดลองยิงรังสีอัลฟากระทบอะตอมทองคํา พบวารังสีสวนมากจะเคลื่อนที่เปนเสนตรง เพราะ ............................................................................................................................................ รังสีสวนนอยจะ ............................เพราะ ................ .......... .......... .......... .......... .......... ............ และรังสีสวนนอยที่สุดจะ ..................................เพราะ .......... .......... .......... .......... .......... ......... 30(En 36) การที่รัทเทอรฟอรดทําการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผนทองคําบางแลว พบวา โครงสรางของอะตอมไมเปนไปตามแบบของทอมสัน เนื่องจากรัทเทอรฟอรดพบวา (ขอ 4.) 1. อนุภาคแอลฟาเกือบทั้งหมดเบนไปจากแนวเดิมเปนมุมใดๆ และบางทีมีการสะทอนกลับ 2. อนุภาคแอลฟาเบนไปจากแนวเดิมทุกทิศทางเทา ๆ กัน 3. อนุภาคแอลฟาทั้งหมดวิ่งทะลุผาน แผนทองไปในแนวเกือบเปนเสนตรง 4. อนุภาคแอลฟาบางสวนเบนไปจากแนวเดิมเปนมุมใดๆ ทั้งที่สวนใหญผานไปในแนวตรง 31. ตามแบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด ขอใดกลาวถูกตอง 1. อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลม มีนิวเคลียสอยูที่จุดศูนยกลาง มีอิเล็กตรอนเคลื่อนอยูรอบๆ นิวเคลียส 2. ภายในนิวเคลียสจะมีอนุภาคที่มีประจุไฟฟาบวกรวมกันอยู
  • 13. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! #'! 3. เนื้อที่สวนใหญภายในอะตอมเปนที่วางเปลา 4. เมื่อยิงอนุภาคแอลฟาเขาไปในอะตอมของทองคํา อนุภาคแอลฟาไมมีโอกาสที่จะ สัมผัสนิวเคลียสเลยเพราะจะเกิดการเบี่ยงเบนออกจากนิวเคลียส 5. ถูกทุกขอ (ขอ 5.) 32. จงวาดรูปแบบจําลองอะตอมของ ดาลตัน ทอมสัน รัทเทอรฟอรด ! ! ! 33(En 42/1) ถายิงอนุภาคแอลฟาเขาไปในนิวเคลียสของ โลหะทางเดินของอนุภาคแอลฟาที่เปนไปได คือ 1. ก และ ง เทานั้น 2. ข และ ค เทานั้น 3. ก , ค และ ง เทานั้น 4. ก, ข , ค และ ง (ขอ 1.) วิธีทํา 34. มีอนุภาคแอลฟาวิ่งตรงเขาสูนิวเคลียสของอะตอมทองคํา อนุภาคแอลฟาจะหยุดนิ่งก็ตอ เมื่ออนุภาคนั้น (ขอ 4.) 1. มีพลังงานรวมเปนศูนย 2. กระทบผิวนิวเคลียส 3. กระทบกับอิเล็กตรอนในชั้นใดชั้นหนึ่ง 4. มีพลังงานศักยเทากับพลังงานจลนเดิม วิธีทํา 35(En 39) รังสีแอลฟาเคลื่อนที่เฉียดนิวเคลียสของทองคํา พลังงานจลนของรังสีแอลฟา ณ. ตําแหนงที่เขาใกลนิวเคลียสของทองคํามากที่สุดมีคา (ขอ 1.) 1. ศูนย 2. มากที่สุด 3. เทาเดิม 4. นอยที่สุด วิธีทํา 36. อนุภาคแอลฟาถูกเรงดวยความตางศักยกี่โวลต เมื่อวิ่งตรงไปยังนิวเคลียสของทองคํา (79Au ) ไดมากที่สุด 7.9 x 10–15 เมตร (1.44x107 โวลต) วิธีทํา
  • 14. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! #(! ตอนที่ 4 แบบจําลองอะตอมของโบร (1) ! ! โบร ไดเสนอแบบจําลองอะตอมของไฮโดรเจนขึ้นมาโดยนําแนวคิดเรื่องควอนตัมของพลังงาน ของพลังคมาใชกับแบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด พรอมทั้งเสนอสมมติฐานขึ้นใหม 2 ขอ คือ! ! ! 1. อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่เปนวงกลมรอบนิวเคลียสจะมีวงโคจรบางวงที่อิเล็กตรอนไมแผ! รังสีคลื่นแมเหล็กไฟฟาออกมา ในวงโคจรดังกลาวอิเล็กตรอนจะมีโมเมนตัมเชิงมุม (L) คงตัว และโมเมนตัมเชิงมุมนี้มีคาเปนจํานวนเต็มเทาของคาตัวมูลฐานคาหนึ่งคือ h (อานวา เอซบาร) ซึ่งมีคาเทากับ π2 h ดังนั้น สําหรับอิเล็กตรอนมวล m ที่เคลื่อนที่รอบนิวเคลียสในวงโคจรรัศมี r โดยมีอัตราเร็วเชิงเสน v ตามสมมติฐานขอนี้จะไดวา L = mvr = nh เมื่อ n เปนเลขจํานวนเต็มบวก 1, 2, 3, .... ในที่นี้เรียกวา เลขควอนตัม ของวงโคจร 2. อิเล็กตรอนจะรับหรือปลอยพลังงานออกมา เมื่อมีการเปลี่ยนวงโคจรตามขอ 1. พลังงานที่อิเล็กตรอนรับหรือปลอยออกมาจะอยูในรูปคลื่นแมเหล็กไฟฟา รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอมของโบร 1. สูตรหารัศมีวงโคจรของอิเลคตรอนในอะตอมไฮโดรเจน rn = 2n2mke 2h = 2)19)(1.6x109)(9x1031(9.1x10 2)34(1.05x10 −− − n2 rn = 5.3 x 10–11 n2 เมื่อ rn คือ รัศมีวงโคจรที่ n (เมตร) h = π2 h = π2 346.6x10− = 1.05 x 10–34 J.s m คือ มวลของอิเล็กตรอน = 9.1 x 10–31 kg k = 9 x 109 N/m2 / c2 e = ประจุอิเล็กตรอน = 1.6 x 10–19 C n คือ ลําดับของวงโคจร 37(มช 34) รัศมีวงโคจรที่สองจากในสุดของอะตอมไฮโดรเจนมีคาเทากับ..................เมตร วิธีทํา
  • 15. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! #)! 38(En 41) ในแบบจําลองอะตอมไฮโดรเจนของโบรรัศมี วงโคจรของอิเล็กตรอนในสถานะ n = 4 เปนกี่เทาของรัศมีวงโคจรในสถานะ n = 1 (16 เทา) วิธีทํา 2. สูตรหาพลังงานของอิเล็กตรอนในวงโคจรตางๆ ของอะตอมไฮโดรเจน เนื่องจาก พลังงานรวมของอิเลคตรอน = พลังงานศักยไฟฟา + พลังงานจลนของอิเล็คตรอน En = – n r 2ek + n r 2ek 2 1 En = – n r 2ek 2 1 เมื่อ rn = 2n2mke 2h En = – 2h2n 4e2mk 2 1 หรือ En = 2n 1E เพราะ – 2h 4e2mk 2 1 = – 2)34-(1.05x10 4)19-(1.6x102)9)(9x1019-(9.1x10 2 1 = –21.76x10–19 จูล = –13.6 อิเลคตรอนโวลต พลังงานจํานวนนี้คือพลังงานรวมของอิเลคตรอนซึ่งอยูในวงโคจรที่ 1 เรียก E1 สรุปไดวา En = 2n 1E เมื่อ En คือ พลังงานอิเล็กตรอนในวงโคจรที่ n (อิเล็กตรอนโวลต , eV) E1 คือ พลังงานของอิเล็กตรอนไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 1 คือ –13.6 eV ** พลังงาน (En) มีคาเปนลบ มีความหมายวา อิเล็กตรอนถูกนิวเคลียสยึดไว **
  • 16. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! #*! 39. จากทฤษฏีอะตอมของโบร พลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 4 (E4) = ………………………………… พลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 3 (E3) = ………………………………… พลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 2 (E2) = ………………………………… พลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 1 (E1) = ………………………………… สถานะพื้น (ground state), สถานะกระตุน (excited state) หากเราคํานวณหาพลังงานของอิเล็กตรอน อะตอมไฮโดรเจนในแตละวงโคจรจะไดดังรูป จะเห็นวาในวงโคจรที่ 1 (ในสุด) อิเล็กตรอน จะมีพลังงานต่ําสุดและชั้นนอกถัดๆ ออกไป อิเล็กตรอนจะมีพลังงานสูงขึ้นตามลําดับ ปกติอิเล็กตรอนชอบที่จะอยูวงโคจรในสุด อันเปนชั้นที่มีพลังงานต่ําสุด จะทําใหเกิดความ เสถียรภาพมากที่สุด เรียกสภาวะนี้วา สภาวะพื้น (ground State) หากอิเล็กตรอนไดรับพลังงานจะเคลื่อนไป อยูในวงโคจรที่สูงกวาเดิมสภาวะเชนนี้เรียก สภาวะกระตุน (excited state) สภาวะถูกกระตุนเปนสภาวะไมเสถียรอิเล็กตรอนจะคายพลังงาน ซึ่งมีมากเกินไปทิ้งแลว เคลื่อนลงมาอยูในชั้นที่ต่ํากวาพลังงานที่คายออกมานั้น จะอยูในรูปคลื่นแมเหล็กไฟฟา 40. ปกติแลวอิเลคตรอนจะอยูในวงโคจรที่มีพลังงานต่ําสุด เรียกภาวะนี้วา ............................. 41. หากอิเลคตรอนดูดพลังงาน จะเคลื่อนจากชั้น..............ไปสูชั้น........... ภาวะที่อิเลคตรอน มีพลังงานมากกวาปกติเชนนี้เรียก ..................................... 42. หากอิเลคตรอนจะเคลื่อนที่จากชั้นบน ลงมาสูชั้นที่ต่ํากวา อิเลคตรอนจะตอง.................... 43. พลังงานที่อิเลคตรอนคายออกมาจะอยูในรูปของ.................................... !
  • 17. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! #+! สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน 44. จงเติมคําลงในชองวางตอไปนี้ใหถูกตองและสมบูรณ ( เกี่ยวกับการเปลี่ยนวงโคจรของอิเลคตรอนในอะตอมไฮโดรเจน ) การเคลื่อน e คลื่นแมเหล็กไฟฟา อนุกรม บน → 1 ............................... .............. 6 → 2 5 → 2 4 → 2 3 → 2 ............................... ............................... ............................... ............................... .............. บน → 3 ............................... .............. บน → 4 ............................... .............. บน → 5 ............................... .............. 45. อนุกรมของเสนสเปกตรัมชุดใด ที่ปลดปลอยพลังงานโฟตอนเปนอัลตราไวโอเลต ก. อนุกรมไลมาน ข. อนุกรมบาลมเมอร ค. อนุกรมพาสเซน ง. อนุกรมแบรกเกต (ขอ ก.) !
  • 18. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! #,! 46. อนุกรมของเสนสเปกตรัมชุดแบรกเกตใหพลังงานในระดับรังสีใด (ขอ ข.) ก. อัลตราไวโอเลต ข. อินฟาเรด ค. รังสีเอกซ ง. แสงที่ตาสัมผัสได 47. สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจนชุดใดที่ตามองเห็นได (ขอ ข.) ก. ชุดไลมาน ข. ชุดบาลมเมอร ค. ชุดพาสเซน ง. ชุดฟุนต 48. สเปคตรัมที่ไดจากอะตอมของธาตุตาง ๆ จะ ก. เหมือนกันสําหรับธาตุทุกธาตุ ข. จะแสดงคุณสมบัติเฉพาะของแตละธาตุ ค. จะไดเปนแถบสวางเสมอ ง. ไดเปนเสนมืดเสมอ (ขอ ข.) 49(มช 32) ภาพของอะตอมจากทฤษฎีของเบอร (Bohr) คือ ! ! ก. อิเล็กตรอนจะวิ่งวนรอบนิวเคลียสในวงโคจรบางวงโดยไมแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาออกมา ข. อิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียสเปนเสมือนกลุมหมอกที่หอหุมนิวเคลียสอยูที่ใดมีหมอกหนา แนนมากจะมีโอกาสพบอิเล็กตรอน ณ. ที่นั้นมาก! ค. อิเล็กตรอนวิ่งวนรอบนิวเคลียสดวยระยะหางจากนิวเคลียสมาก เมื่อเทียบกับขนาดนิวเคลียส ง. อิเล็กตรอนที่อยูรอบนิวเคลียสมีสมบัติคลื่นนิ่ง (ขอ ก.) !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" ตอนที่ 5 แบบจําลองอะตอมของโบร (2) ! การคํานวณหาพลังงาน ความถี่ ความยาวคลื่น แมเหล็กไฟฟา ∆E = Ef – Ei เมื่อ ∆E คือพลังงานที่เปลี่ยนแปลง (eV) ∆E  = ehf หากมีคาบวกจะเปนการดูดพลังงาน หรือ ∆E  = 191.6x10 346.6x10 − − f หากมีคาลบจะเปนการคายพลังงาน ∆E  = 4.125 x 10–15 f Ef คือ พลังงาน e ในวงโคจรสุดทาย ∆E  = λe hc Ei คือ พลังงาน e ในวงโคจรเริ่มตน ∆E  = λ)19(1.6x10 )8)(3x1034(6.6x10 − − h คือ คาคงที่ของพลังค = 6.6 x 10–34 J.s
  • 19. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! $-! ∆E  = λ 91237.5x10− f คือ ความถี่คลื่นแมเหล็กไฟฟา (Hz) e คือ ประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว = 1.6 x 10–19 C c คือ ความเร็วคลื่นแมเหล็กไฟฟา = 3x108 m/s λ คือ ความยาวคลื่น (m) λ 1 = R 2 in 1 2 fn 1 - เมื่อ R คือ คาคงตัวของริดเบอรก = 1.097 x 107 m–1 50. จงหาพลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 4 (E4) = …………………….. และพลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 2 (E2) = …………………….. วิธีทํา 51. จากขอที่ผานมา หากอิเลคตรอนเคลื่อนจากชั้นที่ 4 มาสูชั้นที่ 2 จะคายพลังงานออกมา กี่อิเลคตรอนโวลต ( 2.55 eV ) วิธีทํา 52(En 40) พลังงานต่ําสุดของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจนคือ –13.6 อิเล็กตรอนโวลต ถา อิเล็กตรอนเปลี่ยนสถานะจาก n = 3 ไปสูสถานะ n = 2 จะใหแสงที่มีพลังงานควอนตัมเทาใด 1. 1.51 eV 2. 1.89 eV 3. 3.40 eV 4. 4.91 eV (ขอ 2.) วิธีทํา 53. จากขอที่ผานมา พลังงานที่คายออกมา จะมีความยาวชวงคลื่นเทาใด (651.3 nm) วิธีทํา nf คือ ลําดับชั้นสุดทาย ni คือ ลําดับชั้นเริ่มตน!
  • 20. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! $"! 54. ถาอะตอมเปลี่ยนระดับพลังงานเดิมจาก E3 มายัง E1 จะปลดปลอยโฟตอนที่มีพลังงาน เทาใด และความยาวชวงคลื่นมีคาเทาใด (12. 09 eV, 1.02x10–7 m) วิธีทํา 55(En 41/2) ตามทฤษฎีอะตอมของโบรระดับพลังงานของอะตอมไฮโดรเจนต่ําสุดเทากับ –13.6 อิเล็กตรอนโวลต ถาอะตอมไฮโดรเจนถูกกระตุนไปอยูที่ระดับพลังงานสูงขึ้น และ กลับสูสถานะพื้นที่มีพลังงานต่ําสุดโดยการปลอยโฟตอนออกมาดวยพลังงาน 10.20 อิเล็ก– ตรอนโวลต แสดงวาอะตอมไฮโดรเจนถูกกระตุนไปที่ระดับพลังงานที่ n เทากับเทาใด 1. 2 2. 4 3. 8 4. 16 (ขอ 1.) วิธีทํา 56. ในการกระตุนใหอะตอมไฮโดรเจนที่ระดับพลังงานต่ําสุด(–13.6 eV) ไปอยูที่ระดับพลังงาน กระตุนที่ 3 ตองใหโฟตอนที่มีพลังงานเทาไร 1. 0.85 eV 2. 1.51 eV 3. 12.09 eV 4. 12.75 eV (ขอ 3.) วิธีทํา
  • 21. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! $#! 57(En 34) สมมติวาแผนภาพแสดงระดับพลังงานของอะตอม ชนิดหนึ่งเปน ดังรูป ใหหาคาความยาวคลื่นของคลื่นแมเหล็ก ไฟฟาที่จะทําใหอะตอมในสถานะพื้นฐานแตกตัวเปนไอออน ไดพอดี 1. 62 nm 2. 100 nm 3. 210 nm 4. 310 nm (ขอ 1.) วิธีทํา 58. ในการเคลื่อนยายอิเลคตรอนของอะตอมของไฮโดรเจนจากวงโคจรที่ 4 ลงสูวงโคจรที่ ต่ํากวาสเปกตรัมเสนที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุดจะมีพลังงานเทาใด 1. 0.66 eV 2. 0.85 eV 3. 10.20 eV 4. 12.75 eV (ขอ 4.) วิธีทํา 59(มช 33) จงคํานวณหาความยาวคลื่นยาวที่สุด และสั้นที่สุดในอนุกรมไลแมนของไฮโดรเจน สเปคตรัม (ตอบในหนวยอังสตรอม) (ขอ ข.) ก. 1215 , 952 ข. 1215 , 912 ค. 1415 , 912 ง. 1415 , 952 วิธีทํา !.!
  • 22. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! $$! 60. จงหาความยาวคลื่นที่ยาวที่สุดในอนุกรมไลมาน เมื่อกําหนดให k เปนคานิจของริดเบอรก 1. k 1 2. k 3. 4 3k 4. 3k 4 (ขอ 4.) วิธีทํา 61(En 42/2) อะตอมไฮโดรเจนเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 2 ไป n = 1 ความยาวคลื่นของ แสงที่ปลอยออกมาเปนกี่เทาของในกรณีที่เปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 4 ถึง n = 2 1. 4 1 เทา 2. 2 1 เทา 3. 2 เทา 4. 4 เทา (ขอ 1.) วิธีทํา 62. ในชวงระดับพลังงานต่ําสุดสามระดับแรกของอะตอมไฮโดรเจน คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ตรวจ พบจะอยูในชุดความถี่ที่เรียกวา (ขอ 1.) 1. ชุดไลมาน และ ชุดบาลเมอร 2. ชุดไลมาน และชุดพาสเซน 3. ชุดบาลเมอร และชุดพาสเซน 4. ชุดไลมาน ชุดบาลเมอร และชุดพาสเซน วิธีทํา 63(มช 45) ถาใชอนุภาคอิเล็กตรอนพลังงาน 19.5 x 10–19 จูล ยิงใสอะตอมไฮโดรเจนจะ กระตุนใหเกิดสิ่งใด (ขอ 2.) 1. เสนสเปกตรัมทุกเสนนับตั้งแตอนุกรมบัลเมอรขึ้นไป 2. เสนสเปกตรัมของอนุกรมไลมาน 2 เสน และของอนุกรมบัลเมอร 1 เสน 3. เสนสเปกตรัมของอนุกรมไลมาน 2 เสน และของอนุกรมบัลเมอร 2 เสน 4. เสนสเปกตรัมของอนุกรมบัลเมอร 1 เสน และของอนุกรมพาสเซน 2 เสน วิธีทํา
  • 23. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! $'! ตอนที่ 6 รังสีเอ็กซ การทดลองของพลังคและเฮิรตซ หลอดรังสีเอกซ (X – rays tube) หลอดรังสีเอ็กซเปนเครื่องมือผลิตรังสีเอ็กซมีสวนประกอบสําคัญ ดังรูป ขั้วไฟฟา C จะ ถูกทําใหรอน โดยผานกระแสไฟฟาจาก ความตางศักย V1 อิเล็กตรอนซึ่งหลุด จากขั้วไฟฟา C (แคโทด) จะถูกเรงใหมี ความเร็วสูง โดยสนามไฟฟาจากความ ตางศักย Vo ซึ่งมีคาสูง และชนเปาโล หะ A (แอโนด) ทําใหเกิดรังสีเอ็กซขึ้น ! สเปกตรัมของรังสีเอ็กซ สเปกตรัมของรังสีเอ็กซ มี 2 แบบ 1) สเปกตรัมแบบตอเนื่อง (continuous X - ray) ในหลอดรังสีเอ็กซ อิเล็กตรอนที่วิ่งเขาชน กับอะตอมของเปาอิเล็กตรอนจะสูญเสียพลังงานจลน โดยแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาในรูป รังสีเอ็กซออกมาเปนผลใหตัวมันเองเคลื่อนที่ชาลง เนื่องจากจํานวนอิเล็กตรอนที่ชน เปามีมากมายและแตละตัวมีการสูญเสียพลังงานคาตางๆ กัน ดังนั้นรังสีเอ็กซที่แผออก มาจะมีสเปกตรัมแบบตอเนื่องอิเล็กตรอนบางตัวอาจชนกับอะตอมของเปาโดยตรงและ หยุดลงทันที ในการนี้พลังงานจลนทั้งหมดของอิเล็กตรอนจะเปลี่ยนเปนพลังงานคลื่น แมเหล็กไฟฟา ซึ่งอยูในรูปรังสีเอ็กซที่มีความถี่สูงสุด (fmax) เนื่องจากพลังงานมีคาสูงสุด ไดจากการผานความตางศักย Vo การคํานวณหาความถี่สูงสุดของรังสีเอ็กซ เนื่องจากอิเล็กตรอน จะเปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา (รังสีเอ็กซ) จึงไดวา W = E คลื่นแมเหล็กไฟฟา eV = hf หรือ eV = λ hc เมื่อ e คือ ประจุอิเล็กตรอน (1.6 x 10–19 C) V คือ ความตางศักยที่ใชเรงอิเล็กตรอน(โวลต) !
  • 24. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! $(! h คือ คานิจของพลังค = 6.6 x 10–34 J.s f คือ ความถี่สูงสุดรังสีเอกซ (Hz) c คือ ความเร็วคลื่นแมเหล็กไฟฟา = 3 x 108 m/s λ คือ ความยาวคลื่นนอยที่สุดรังสีเอกซ (m) 2) สเปกตรัมแบบเสน (characteristic X – rays) เกิดจากอิเล็กตรอน ที่ถูกเรงจนมีพลังงาน สูงมากจะสามารถผานเขาชนกับอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นในของอะตอม ทําให อิเล็กตรอนดังกลาวหลุดไปอิเล็กตรอนในวงโคจรถัดออกมา ซึ่งมีระดับพลังงานสูงกวา วงโคจรชั้นในจึงโดดเขาแทนที่พรอมกับปลอยพลังงานสวนเกินออกมาในรูปรังสีเอ็กซ การเปลี่ยนแปลงในอะตอมเชนนี้เปนในทํานองเดียวกับการเกิดสเปกตรัมของอะตอม ไฮโดรเจน รังสีเอ็กซที่เกิดขึ้นจะมีความยาว คลื่นเปนคาเฉพาะ และจะแตกตางกันไป ตามชนิดของโลหะที่ใชทําเปา ดังนั้นสเปก ตรัมสวนนี้จึงมีลักษณะเปนเสน ซึ่งปรากฏ- การณนี้สนับสนุนทฤษฎีของโบรในแงที่วา อะตอมมีระดับพลังงานเปนชั้น ๆ 64. ในหลอดผลิตรังสีเอ็กซ ถาใชความตางศักยเรง e 20,000 โวลต จงหาความถี่ของรังสีเอ็กซ วิธีทํา (4. 83x1018 Hz) 65. ในการผลิตรังสีเอ็กซโดยใหอิเล็กตรอนหยุด ทันทีเมื่อชนเปาปรากฎวาไดรังสีเอ็กซมีความ ยาวคลื่น 0.124 นาโนเมตร จงหาความตางศักยที่ใชตอกับหลอดรังสีเอ็กซ (9980 โวลต) วิธีทํา 66. เมื่อตอหลอดรังสีเอ็กซ เขากับความตางศักย 20 กิโลโวลต จงหา ก. ความเร็วของอิเล็กตรอนตัวที่เร็วที่สุดที่มาถึงแอโนด (เปา) ถาอิเล็กตรอนเริ่มตน ดวยความเร็วเปนศูนย (8.43x107 m/s) ข. ความยาวคลื่นนอยที่สุดในสเปกตรัมของรังสีเอ็กซ (61.9 pm)
  • 25. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! $)! วิธีทํา 67(มช 27) จงเลือกขอความที่ถูกตอง 1. รังสีเอ็กซเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่สูงมากและเปนสเปกตรัมตอเนื่อง 2. รังสีเอ็กซเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีสเปกตรัมตอเนื่องซึ่งคาความถี่สูงสุดขึ้นกับชนิด ของโลหะ ที่ใชทําเปาและยังมีสเปกตรัมเสนดวย 3. รังสีเอ็กซเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีสเปกตรัมเสนซึ่งเกิดจากการปลอยพลังงานของ อิเลกตรอนของอะตอม เมื่ออิเลกตรอนนั้นเปลี่ยนวงโคจรจากที่มีระดับพลังงานต่ําไป สูวงโคจรที่มีระดับพลังงานสูงและยังมีสเปกตรัมตอเนื่องดวย 4. ไมมีขอใดถูก (ขอ 3.) วิธีทํา !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" สรุปผลการทดลองของพลังคและเฮิรตซ
  • 26. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! $*! ความไมสมบูรณของทฤษฎีอะตอมโบร ถึงแมวาทฤษฎีของโบรจะสามารถอธิบาย 1. การเกิดสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจนไดดี 2. การจัดตัวของอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุไฮโดรเจน 3. คาพลังงานที่ทําใหอะตอมที่มีอิเล็กตรอนเพียงตัวเดียวแตกตัวเปนอิออนได แตทฤษฎีของโบรไมสามารถอธิบาย 1. การเกิดสเปกตรัมของอะตอมอื่น ๆ 2. วาทําไมอะตอมที่อยูในบริเวณที่มีสนามแมเหล็ก ใหสเปกตรัมที่ผิดไปจากเดิม คือ สเปกตรัมหนึ่งๆ แยกออกเปนหลายเสน 3. คาความเขมของแสงของเสนสเปกตรัมวาทําไมมีความเขมไมเทากัน 4. ทําไม L = mvr = hn 68(En 36) ตามการทดลองของฟรังกและเฮิรตซ ขอสรุปใดไมจริง 1. อิเลกตรอนที่มีพลังงานนอยกวา 4.9 eV จะมีการชนแบบยืดหยุนกับอะตอมของไอปรอท 2. อิเลกตรอนที่มีพลังงานมากกวา 4.9 eV จะสูญเสียพลังงานสวนหนึ่งใหกับอะตอมของ ไอปรอท 3. อะตอมของไอปรอทมีคาพลังงาน ระดับพื้นเทากับ 4.9 eV 4. อะตอมของไอปรอทมีคาพลังงานเปนชั้น ๆ ไมตอเนื่อง (ขอ 3.) วิธีทํา 69. ในการทดลองของฟรังคและเฮิรตซ ถาเราใช หลอดทดลองที่บรรจุไฮโดรเจนแทนหลอด ที่บรรจุไอปรอท จะตองใหพลังงานแกอิเลคตรอนนอยที่สุดเทาใด จึงจะทําใหรับพลังงานนั้น (ใหระดับพลังงานในหนวย eV ของอิเลคตรอนในอะตอมไฮโดรเจนเรียงจากวงในสุดเปน –13.59 , –3.40 , –1.51 , ....0 ตามลําดับ) (10.19 eV) วิธีทํา
  • 27. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! $+! 70(En 44/1) อิเล็กตรอนตัวหนึ่งถูกเรงดวยความตางศักย 13.2 โวลต เขาชนกับอะตอมไฮโดร– เจน ที่อยูในสถานะพื้น การชนครั้งนี้จะสามารถทําใหอะตอมไฮโดรเจนอยูในระดับพลังงาน สูงสุดในระดับ n เทาใด (พลังงานสถานะพื้นของไฮโดรเจน = –13.6 eV) 1. n = 7 2. n = 6 3. n = 5 4. n = 4 (ขอ 3.) วิธีทํา 71(En 43/2) ในการทดลองของแฟรงค-เฮิรตซ ถาใชแกสไฮโดรเจนแทนไอปรอท และใช ความตางศักยเรงอิเล็กตรอนเทากับ 10.3 โวลต แกสไฮโดรเจนจะปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟา ไดมากที่สุดกี่ความถี่ (ถากําหนดใหสถานะพื้นของอะตอมไฮโดรเจนมีพลังงาน 13.6 อิเล็กตรอนโวลต หรือ 21.76 x 10–19 จูล) 1. 1 ความถี่ 2. 2 ความถี่ 3. 3 ความถี่ 4. 4 ความถี่ (ขอ 1.) วิธีทํา 72. การทดลองของฟรังคและเฮิรตซใหผลสรุปที่สําคัญขอใด 1. อิเล็กตรอนชนอะตอมแบบยืดหยุนเปนสวนใหญ 2. อิเล็กตรอนชนกับอะตอมแบบไมยืดหยุน 3. อะตอมมีระดับพลังงานเปนชั้น ๆ 4. กระแสไฟฟาผานแกสที่มีความดันต่ํา (ขอ 3.) วิธีทํา !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""
  • 28. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! $,! ตอนที่ 7 ปรากฏการณโฟโตอิเลคทริก (1) ปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก เมื่อจัดหลอดสุญญากาศดังรูป แลวใชแสง ตกกระทบใสขั้วคาโทด เมื่ออิเล็กตรอนของอะ ตอมในขั้วคาโทดไดรับพลังงานแสงจํานวนมาก พอ ก็จะหลุดออกจากอะตอมแลวเคลื่อนที่พุงเขา หาขั้วอาโนด แลวเกิดกระแสไฟฟาไหลในวงจร ! ! ปรากฏการณนี้เรียก ปรากฏการณ................................ (photoelectric effect) ตัวอิเล็กตรอนที่หลุดออกมาจากคาโทด เรียก .................................. (photo electron) 73. ปรากฏการณโฟโตอิเลคทริก คือ ........................................................................................ โฟโตอิเลคตรอน คือ ............... ............... ............... ............... ............... ............... ........ 74. โฟโตอิเล็กตรอน คือ อิเล็กตรอนชนิดใด ก. อิเล็กตรอนที่มีประจุมากกวาอิเล็กตรอนธรรมดา ข. อิเล็กตรอนที่ทํา ปฏิกิริยากับฟลมถายรูป ค. อิเล็กตรอนที่หลุดจากผิวโลหะโดยการฉายแสง ง. อิเล็กตรอนที่มีประจุเปนบวก จ. อิเล็กตรอนที่มีอยูในลําแสง (ขอ ค.) วิธีทํา ขอตองทราบเกี่ยวกับปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก 1. เมื่อใหพลังงานแสงแกอิเล็กทริก ในขั้ว คาโทดอิเล็กตรอนจะเสียพลังงานปริมาณหนึ่ง เทากับพลังงานที่โลหะใชยึดอิเล็กตรอนไว พลัง งานนี้เรียก พลังงานยึดเหนี่ยวหรือ..................... (Work function) แทนดวยสัญลักษณ W และพลังงานสวนที่เหลือก็จะเปลี่ยนเปนพลังงานจลนของอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ออกไป จึงไดวา Eแสง = W + Ek ของอิเล็กตรอน
  • 29. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! '-! 75. ถาฉายแสงอันมีพลังงาน 8 อิเลคตรอนโวลต ตกกระทบโลหะอันมีพลังงานยึดเหนี่ยว 3.7 อิเลคตรอนโวลต อิเลคตรอนที่หลุดออกมาจะมีพลังงานจลนสูงสุดเทาใด (4.3 eV) วิธีทํา 76. ถาฉายแสงอันมีพลังงาน 6 อิเลคตรอนโวลต ตกกระทบโลหะอันมีพลังงานยึดเหนี่ยว 7.2 อิเลคตรอนโวลต อิเลคตรอนที่หลุดออกมาจะมีพลังงานจลนสูงสุดเทาใด วิธีทํา 2. หากเราใหแสงที่มีความถี่ต่ํา จะทําให พลังงานแสงมีคานอย (เพราะ E = hf) และ หากพลังงานแสงนี้มีคานอยกวาพลังงานยึด เหนี่ยว (W) อิเล็กตรอนจะไมหลุดออกมา จึงตองเพิ่มความถี่ (f) แสงใหมากขึ้นจนกระ ทั่งพลังงานมีคาอยางนอยเทากับพลังงานยึดเหนี่ยวอิเล็กตรอนจึงจะหลุดออกมาไดความถี่ แสงตรงนี้ เรียก ความถี่............. ( fo) และความยาวคลื่นตรงนี้เรียก ความยาวคลื่นขีดเริ่ม (λo) 77. หากฉายแสงอันมีความถี่เทากับความถี่ขีดเริ่ม ตกกระทบโลหะ สิ่งที่จะเกิด คือ 1. พลังงานแสงจะมีคาเทากับ.......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... 2. อิเลคตรอนจะหลุดออกจากอะตอมโลหะหรือไม .......... .......... .......... ....... 3. อิเลคตรอนที่หลุดออกมาจะมีพลังงานจลนเทากับ .......... .......... .......... ....... 78. ความถี่ขีดเริ่ม หรือความถี่ตัดขาดของแสงที่ใชในปรากฎการณโฟโตอิเล็กตริก คืออะไร ก. ความถี่ของแสงที่ทําใหเกิดโฟตอนสูงสุด ข. ความถี่ของแสงที่ไมทําใหเกิดโฟโตอิเล็กตรอน ค. ความถี่ที่ทําใหโฟตอนมีพลังงานเทากับพลังงานยึดเหนี่ยว ง. ความถี่ที่พอดี ทําใหอิเล็กตรอนหลุดจากโลหะ จ. ขอ ค , ง. ถูก (ขอ จ.)
  • 30. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! '"! 79. ถาโฟตอนของแสง ที่ใหกับโลหะมีคาเทากับพลังงานยึดเหนี่ยวของโลหะนั้นจะเกิดผลตามขอใด ก. พอดีทําใหเกิดโฟโตอิเล็กตรอน ข. พลังงานจลนของโฟโตอิเล็กตรอนเปนศูนย ค. ไมมีกระแสไฟฟาในวงจร ง. ถูกทุกขอ (ขอ ง.) 3. หากตองการทดลองหาพลังงานจลนของ อิเล็กตรอนใหตอความตางศักยที่เหมาะสม โดยตอ ขั้วลบเขากับอาโนด ขั้วบวกเขากับคาโทด ดังรูป เมื่อใชความตางศักยเหมาะสม อิเล็กตรอนอันมีประ จุลบ เมื่อเขาใกลขั้วลบ จะเกิดแรงตานทําใหอิเล็ก ตรอนหยุดนิ่งแลวจะเปลี่ยนพลังงานจลนใหกลายเปนพลังงานศักยไฟฟา ความตางศักยที่ใช หยุดอิเล็กตรอน เรียก ความตางศักย................... (Vo) จึงไดวา Ek = Ep เมื่อ Ek คือ พลังงานจลนของอิเล็กตรอน(จูล) Ek = q V e คือ ประจุอิเล็กตรอน (1.6 x 10–19 C) Ek = e Vo Vo คือ ความตางศักยหยุดยั้ง (โวลต) 80. จากการทดลองปรากฏการณโฟโตอิเลคทริก หากใชความตางศักยเทากับความตางศักยหยุดยั้ง อิเลคตรอนจะ......................................... หากใชความตางศักยมากกวาความตางศักยหยุดยั้ง อิเลคตรอนจะ....................................... หากใชความตางศักยนอยกวาความตางศักยหยุดยั้ง อิเลคตรอนจะ....................................... 4. พลังงานจลนของอิเล็กตรอน (Ek) จะแปรผันตรงกับ พลังงานแสง , ความถี่แสง และจะแปรผกผันกับ พลังงานยึดเหนี่ยว (W) เพราะ Eแสง = Ek + W Eแสง– W = Ek hf – W = Ek 5. พลังงานยึดเหนี่ยว (W) จึงขึ้นกับชนิดของโลหะที่นํามาใชเปนคาโทดและไม เกี่ยวกับขนาดของโลหะขั้วคาโทดนั้น 6. จํานวนโฟโตอิเล็กตรอน จะแปรผันตรงกับความเขมแสง จํานวน e α ความเขมแสง
  • 31. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! '#! 81. ขอความตอไปนี้ เปนจริง หรือ เท็จ 1. เมื่อใชแสงความถี่สูงขึ้น (และสูงกวาความถี่ขีดเริ่ม) ตกกระทบคาโทด โฟโต- อิเล็กตรอนจะมีพลังงานจลนมากขึ้น 2. หากใชแสงที่มีความเขมสูงตกกระทบคาโทด หากเกิดโฟโตอิเล็กทริก จํานวน โฟโตอิเล็กตรอนจะมีมาก 3. หากใชแสงที่มีความถี่สูง พลังงานแสงมากๆ จะทําใหจํานวนโฟโตอิเล็กตรอนมีมาก 4. หากใชแสงที่มีความเขมสูงตกกระทบคาโทด โฟโตอิเล็กตรอนจะมีพลังงานจลนสูง 5. หากใชแสงหนึ่งแลวไมเกิดโฟโตอิเล็กทริก หากตองใหเกิดโฟโตอิเล็กทริกตอง เพิ่มความเขมแสง 82. พลังงานยึดเหนี่ยว (work function) ของโลหะ คือ (ขอ ง.) ก. พลังงานยึดเกาะระหวางอะตอม ข. พลังงานที่โฟตอนใหกับโลหะ ค. พลังงานสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอน ง. พลังงานระหวางอะตอมกับอิเล็กตรอน วิธีทํา 83. พลังงานยึดเหนี่ยวของโลหะจะมีคามากหรือนอยขึ้นอยูกับ ก. ขนาดของโลหะ ข. ชนิดของโลหะ ค. ความถี่ของแสงที่ใช ง. ความเขมของแสงที่ใช (ขอ ข.) วิธีทํา 84. พลังงานจลนสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนมีคาตามขอใด ก. เทากับพลังงานของโฟตอนที่ใหกับโลหะ ข. เทากับพลังงานยึดเหนี่ยวของโลหะนั้น ค. เทากับผลตางพลังงานของโฟตอนกับพลังงานยึดเหนี่ยว ง. เทากับผลบวกพลังงานของโฟตอนและพลังงานยึดเหนี่ยว (ขอ ค.) วิธีทํา 85(มช 34) พลังงานจลนสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนนั้น ก. ไมขึ้นกับความเขมของแสงที่มาตกกระทบ ข. ขึ้นกับกําลังหนึ่งของความเขมของแสงที่มาตกกระทบ ค. ขึ้นกับกําลังสองของความเขมของแสงที่มาตกกระทบ ง. ขึ้นกับรากที่สองของความเขมของแสงที่มาตกกระทบ (ขอ ก.)
  • 32. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! '$! 86. ผลที่ไดจากการศึกษาปรากฎการณโฟโตอิเล็กตริก สรุปไดดังนี้ (ขอ ค.) 1. โฟโตอิเล็กตรอนเกิดขึ้นเมื่อแสงที่ตกกระทบมีความถี่สูงกวาความถี่ขีดเริ่ม 2. ถาแสงที่มีความถี่สูงกวาความถี่ขีดเริ่มจํานวนโฟโตอิเล็กตรอนจะเปนสัดสวนโดยตรง กับความเขมแสง 3. พลังงานสูงสุดของอิเล็กตรอน เพิ่มขึ้นเปนสัดสวนกับความถี่ที่เพิ่ม 4. พลังงานสูงสุดของอิเล็กตรอนยอมเทากับผลบวกของพลังงานโฟตอนกับพลังงานยึดเหนี่ยว ก. ขอ 1, 2 ข. ขอ 1, 3 ค. ขอ 1, 2, 3 ง. ขอ 1, 2, 3, 4 วิธีทํา 87. ในปรากฎการณโฟโตอิเล็กตริก เมื่อแสงที่มีความถี่สูงกวาความถี่ขีดเริ่มตกกระทบผิวโลหะ ถาเพิ่มความเขมของแสงขึ้นเปน 2 เทา พลังงานของโฟโตอิเล็กตรอนจะเปนเทาไร ก. พลังงานและจํานวนอิเล็กตรอนเทาเดิม ข. พลังงานเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา และจํานวนอิเล็กตรอนเทาเดิม ค. พลังงานเทาเดิมแตจํานวนอิเล็กตรอนเพิ่มเปน 2 เทา ง. พลังงานเทาเดิมแตจํานวนอิเล็กตรอนเพิ่มเปน 4 เทา (ขอ ค.) วิธีทํา สูตรการคํานวณเกี่ยวกับโฟโตอิเล็กตริก Eแสง = W + Vo เมื่อ Eแสง = พลังงานแสง (eV) ehf = W + Vo W = พลังงานยึดเหนี่ยว , ฟงกชั่นงาน (eV) λe hc = W + Vo Vo = พลังงานจลนของโฟโตอิเล็กตรอน (eV) Vo = ความตางศักยหยุดยั้ง (โวลต) h = คานิจของพลังค (6.6 x 10–34 J.s) f = ความถี่แสง (Hz) e = ประจุอิเลคตรอน (1.6 x 10–19 C) c = ความเร็วแสง (3 x 108 m/s) λ = ความยาวคลื่นแสง (m) เมื่อ f0 = ความถี่ขีดเริ่ม (Hz) λ0 = ความยาวคลื่นขีดเริ่ม (m) พิเศษ e 0hf = w 0e hc λ = w!
  • 33. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! ''! 88(En 32) โลหะแมกนีเซียมมีพลังงานยึดเหนี่ยวอิเลกตรอน 3.79 eV ถูกฉายดวยแสง uv ซึ่งมี ความยาวคลื่น 300 nm โฟโตอิเลกตรอนที่หลุดออกมาจะมีพลังงานจลนมากที่สุดกี่ eV (0.35) วิธีทํา 89(En 43/1) กําหนดใหฟงกชันงานของโลหะชนิดหนึ่งเปน 4.80 eV จะตองฉายแสงที่มีความ ยาวคลื่น เทาใดในหนวยนาโนเนตร จึงจะทําใหอิเล็กตรอนหลุดขั้วคาโทดที่ทําจากโลหะ ดังกลาวแลวสามารถไปถึงขั้วอาโนดไดพอดี เมื่อศักยไฟฟาที่อาโนดต่ํากวาคาโทดเทากับ 1.80 โวลต (188.50) วิธีทํา 90(มช 33) อนุภาคโฟตอนตัวหนึ่งมีความยาวคลื่น 600 อังสตรอม(10–10) วิ่งเขาชนอะตอม ของไฮโดรเจน พบวามีอิเล็กตรอนถูกปลดปลอยออกจากอะตอมของไฮโดรเจน ถาพลังงาน ไอออนไนเซชั่นของอะตอมไฮโดรเจนเปน 13.6 อิเล็กตรอนโวลต ถามวาอิเล็กตรอนดัง กลาวมีพลังงานจลนเทาใด (ขอ ข.) ก. 5.3 eV ข. 7.1 eV ค. 7.6 eV ง. 8.4 eV วิธีทํา 91(En 38) โฟตอนตัวหนึ่งตกกระทบผิวแพลทินัมซึ่งมีคาฟงกชันงาน 5.6 eV ทําใหอิเล็ก– ตรอนหลุดจากผิวออกมาดวยพลังงานจลนสูงสุด 1.2 eV ถาเราใหโฟตอนตัวเดียวกันนี้ไป ตกกระทบผิวเงินซึ่งมีคาฟงกชันงาน 4.7 eV จะตองใหความตางศักยกี่โวลต เพื่อที่จะทํา ใหอิเล็กตรอนที่หลุดจากผิวหยุด (ขอ 1.) 1. 2.1 V 2. 4.4 V 3. 6.8 V 4. 11.5 V วิธีทํา
  • 34. http://www.pec9.com บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม ! '(! 92. กําหนดใหคาพลังงานยึดเหนี่ยวของแผนทองแดงเทากับ 4.2 อิเล็กตรอนโวลต ตองฉาย แสงที่มีความยาวคลื่นเทาใดจึงเกิดปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก (294.6 nm) วิธีทํา 93(มช 34) สําหรับผิวโลหะหนึ่งพบวา ความยาวคลื่นขีดเริ่มของแสงสําหรับผิวโลหะนี้มีคา เทากับ 3.1 x 10–7 เมตร ดังนั้นความตางศักยไฟฟาหยุดยั้ง เมื่อแสงมีความยาวคลื่น 2.0 x 10–7 เมตร มาตกกระทบมีคาเทากับ……โวลต (2.2 โวลต) วิธีทํา 94(En 40) ในการศึกษาปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริกของ โลหะชนิดหนึ่ง ไดกราฟความสัมพันธระหวางพลังงาน จลนสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนกับความถี่ของคลื่น แมเหล็กไฟฟาที่ตกกระทบผิวโลหะดังรูป ถาใหคลื่น แมเหล็กไฟฟาความถี่ 6x1014 เฮิรตซ ตกกระทบผิวโลหะนี้จะตองใชความตางศักยหยุดยั้งเทาใด 1. 0.42 V 2. 0.83 V 3. 1.65 V 4. 2.50 V (ขอ 3.) วิธีทํา /0"-"'!123!-! 45!!สูงสุด! )!'!#!