กาพย ยาน 11 เร องพระไชยส ร ยา ภาษาไทย ม 1

ลงมอื พินิจคณุ ค่า ๑. ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลุม่ ชว่ ยกนั คดิ วเิ คราะหค์ ณุ คา่ จากนิทานพน้ื บา้ น เรอ่ื ง สงั ขท์ อง ออกแบบการนาเสนอใหส้ วยงามตามจนิ ตนาการและ ออกมานาเสนอหน้าชนั้ เรยี น ๒. ใหน้ กั เรยี นวเิ คราะหค์ ุณคา่ “นทิ านพน้ื บา้ น” โดยศกึ ษาหาความรจู้ าก แหลง่ ตา่ ง ๆ พรอ้ มอา้ งองิ ทม่ี าของแหล่งขอ้ มลู สังขท์ อง ๔๔

๔บทท่ี กำพย์พระไชยสรุ ยิ ำ

ควำมเปน็ มำ กาพย์พระไชยสุริยาเป็นแบบเรียนท่ีสุนทรภู่แต่งข้ึนในสมัยรัชกาลที่ ๓ แต่งข้ึนเมื่อ ประมาณปี พ.ศ. ๒๓๘๓ - ๒๓๘๕ ขณะท่บี วชเปน็ พระอยู่ทีวัดเทพธิดาราม แต่งเป็นกาพย์ซึ่ง แทรกความรเู้ กย่ี วกบั ภาษาไทย คตธิ รรมต่าง ๆ ที่เปน็ ประโยชน์ จุดประสงค์ของการแต่งเพื่อ ถวายพระอักษรแด่พระโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเสศิ หล้านภาลัย ครั้นต่อมาในสมัย รัชกาลท่ี ๕ เมื่อพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) แต่งหนังสือมูลบทบรรพกิจ สาหรับใช้เป็นแบบเรียนหนังสือไทยในโรงเรียนหลวง คงเห็นว่ากาพย์เรื่องพระไชยสุริยานี้ เป็นบทกวีนิพนธ์ท่ีไพเราะ ทั้งอ่านเข้าใจง่ายและเป็นคติสอนใจ ในการศึกษากาพย์พระไชย สรุ ยิ า ผ้เู รยี นจะไดเ้ รยี นรู้เก่ยี วกับลักษณะการแตง่ คาประพนั ธป์ ระเภทกาพย์ ได้แก่ กาพยย์ านี ๑๑ กาพย์ฉบงั ๑๖ และกาพยส์ รุ างคนางค์ ๒๘ ลกั ษณะคำประพันธ์ แตง่ ด้วยคาประพนั ธ์ ๓ ชนิด ดังน้ี ๑. กาพยย์ านี ๑๑ ๒. กาพยฉ์ บงั ๑๖ ๓. กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ กาพย์พระไชยสรุ ิยา ๔๖

กำพย์เรอ่ื งพระไชยสรุ ิยำ ช่ือพระไชยสรุ ิยา มสี ดุ ามเหสี ช่อื วา่ สมุ าลี อยู่บรุ ีไม่มีภยั มกี ิริยาอัชฌาสยั ข้าเฝา้ เหล่าเสนา ไดอ้ าศัยในพารา พอ่ คา้ มาแตไ่ กล ชาวบรุ กี ป็ รดี า ได้ข้าวปลาและสาลี ไพร่ฟา้ ประชาชี ทาไรข่ ้าวไถนา พระไชยสุริยาเป็นกษัตริย์ครองเมืองสาวะถี มีพระมเหสีชือ่ นางสมุ าลี ปกครองบา้ นเมอื งดว้ ยความ สงบสขุ ไมม่ ภี ยั อนั ตรายใด ๆ ทง้ั พชื ผลทางการเกษตรก็มีความอุดมสมบรู ณ์ น้าทา่ ก็บริบรู ณ์ การซ้อื ขาย แลกเปลี่ยนสนิ คา้ จากพอ่ คา้ ตา่ งเมอื งมีมากมาย ประชาชนอาศยั อยู่อยา่ งร่มเย็นเปน็ สขุ ๔๗ กาพยพ์ ระไชยสรุ ยิ า

อยู่มาหมู่ขา้ เฝ้า ก็หาเยาวนารี ทีห่ นา้ ตาดีดี ทามโหรีท่ีเคหา เขา้ แต่หอลอ่ กามา ค่าเช้าเฝ้าสซี อ โลโภพาให้บา้ ใจ หาไดใ้ ห้ภรยิ า เหไปเข้าภาษาไสย ฉ้อแต่ไพรใสข่ อื่ คา ไม่จาคาพระเจ้า คอื ไก่หมูเจ้าสภุ า ถอื ดีมขี า้ ไท ใหส้ ภุ ากว็ ่าดี คดที ่มี คี ู่ ใครเอาข้าวปลามา กาพยพ์ ระไชยสรุ ยิ า ๔๘

ทแ่ี พ้แก้ชนะ ไม่ถอื พระประเวณี ข้ีฉ้อก็ไดด้ ี ไลด่ ่าตีมอี าญา วา่ โงเ่ ง่าเตา่ ปูปลา ที่ซอื่ ถอื พระเจ้า วา่ ใบ้บา้ สาระยา ผเู้ ฒา่ เหล่าเมธา เหลา่ ก็ละพระสธรรม ไปเรร่ ่าทาเฉโก ภิกษสุ มณะ ศรีษะไม้ใจโยโส คาถาวา่ ลานา ข้าขอโมทนาไป ใครไมม่ ีปราณใี คร ไม่จาคาผใู้ หญ่ ทใ่ี ครได้ใส่เอาพอ ที่ดีมอี ะโข ทาดุดือ้ ไม่ซ้ือขอ อะไรล่อก็เอาไป พาราสาวะถี มิได้ว่าหมขู่ ้าไท ดดุ ื้อถอื แตใ่ จ แต่นา้ ใจไมน่ าพา ไพร่ฟา้ เศร้า เปล่าอรุ า ผู้ทมี่ ฝี มี ือ ไลต่ ีด่าไม่ปราณี ไล่ควา้ ผ้าท่คี อ ข้าเฝ้าเหลา่ เสนา ถือนา้ รา่ เขา้ ไป หาได้ใครหาเอา ผ้ทู ี่มอี าญา ตอ่ มาเหลา่ เสนาบดี อามาตย์ ประพฤติมิชอบ ลมุ่ หลงในอบายมุขและผ้หู ญงิ เทีย่ วขม่ เหงราษฎร ไมเ่ กรงกลวั ต่อบาปกรรม ถอื ดวี า่ ตนเป็นใหญม่ ีขา้ รับใช้ รบั สินบาท คาดสินบน เหน็ ผิดเป็นชอบ ประชาชน เกิดความเดอื ดรอ้ นทกุ หยอ่ มหญ้า บ้านเมอื งจึงเกิดความเสือ่ มโทรม ๔๙ กาพยพ์ ระไชยสรุ ยิ า

ผปี า่ มากระทา มรณกรรมชาวบุรี นา้ ป่าเขา้ ธานี กไ็ ม่มีท่ีอาศัย ขา้ เฝา้ เหลา่ เสนา หนไี ปหาพาราไกล ไมม่ ใี ครในธานี ชีบาล่าลไี้ ป จากการกระทาท่ีไม่ดีของเหลา่ ข้าราชในเมืองสาวะถี ทาให้ฟา้ ดินลงโทษ น้าป่าไหลบ่าท่วม เมอื ง จนผคู้ นลม้ ตาย ไร้ท่อี ยู่อาศยั ผู้รอดชวี ติ ก็หนีจากเมอื งไป ทง้ิ ใหเ้ มอื งสาวะถเี ปน็ เมืองร้าง กาพย์พระไชยสรุ ิยา ๕๐

พระไชยสรุ ิยาภมู ี พาพระมเหสี นารีทีเ่ ยาว์ มาท่ใี นลาสาเภา เสนีเสนา ข้าวปลาหาไปไมเ่ บา วายพุ ยเุ พลา ค่าเชา้ เปลา่ ใจ กเ็ อาไปในเภตรา เถา้ แก่ชาวแม่แซ่มา กม็ าในลาสาเภา ตมี า้ ล่อช่อใบใส่เสา สาเภาก็ใชใ้ บไป เภตรามาในนา้ ไหล ที่ในมหาวาร พระไชยสรุ ิยาพามเหสแี ละขา้ ทาสบรวิ าร พรอ้ มด้วยเสบยี งอาหารมากมาย หนีลงเรือสาเภา ออกจากเมอื ง ๕๑ กาพย์พระไชยสรุ ยิ า

ข้าเฝา้ เลา่ แก่ภูวไนย พระเจา้ เขา้ ใจ ฤทยั ว้าเหว่เอกา พายุใหญม่ า ทะลุปรไุ ป จาไปในทะเลเวรา เจ้ากรรมซา้ เอา เภตรากเ็ หเซไป สมอก็เกาเสาใบ นา้ ไหลเขา้ ลาสาเภา ผีน้าซ้าไตใบเสา สาเภาระยาคว่าไป พอออกจากเมอื งมาแล้ว กลับถูกพายุใหญพ่ ดั เรือแตก เหล่าขา้ ราชบริพาร ตา่ งว่ายน้าหนีไปคนละทศิ คนละทางเพื่อเอาชีวิตรอด กาพย์พระไชยสุรยิ า ๕๒

ขึ้นกกตกทกุ ข์ยาก แสนลาบากจากเวียงไชย มนั เผอื กเลอื กเผาไฟ กนิ ผลไม้ได้เป็นแรง รอนรอนอ่อนอัสดง พระสุรยิ งคเ์ ยน็ ยอแสง แฝงเม้เขาเงาเมรธุ ร ช่วงดานา้ ครงั่ แดง ฝูงจง้ิ จอกออกเห่าหอน ลิงคา่ งครางโครกครอก นกหกร่อนนอนรังเรียง ชะนีวิเวกวอน พระไชยสรุ ยิ ากับนางสุมาลวี ่ายน้าไปข้ึนฝ่งั แล้วรอนแรมในปใ่ หญ่เป็นเวลานาน ประสบพบเจอ กับความยากลาบาก ต้องหาอาหารป่าเพ่ือประทังชวี ติ ตกคา่ สัตว์ใหญน่ ้อยตา่ งสง่ เสียงร้องทั่วปา่ ใหญ่ ๕๓ กาพยพ์ ระไชยสรุ ยิ า

ข้นึ กมสมเด็จจอมอารย์ เอ็นดูภูบาล ผูผ้ ่านธาราสาวะถี กลอกกลับอปั รยี ์ นง่ิ น่งั ต้ังใจ ซ่อื ตรงหลงเลห่ ์เสนี บุรีจงึ ลม่ จมไป ประโยชน์จะโปรดภูวไนย เลอื่ มใสสาเรจ็ เมตตา พระดาบสรปู หนง่ึ เข้าฌานเหน็ พระไชยสุริยากบั นางสุมาลี กเ็ วทนา เพราะเห็นวา่ ทรงเปน็ กษัตรยิ ท์ ดี่ ี แต่ประสบเคราะห์กรรมเพราะหลงเชื่อเสนาอามาตย์ จงึ เทศนาโปรดจนทัง้ สององค์ศรัทธาและบาเพญ็ ธรรม ได้ไปเกดิ .ในสวรรค์ กาพยพ์ ระไชยสรุ ยิ า ๕๔

ดำ้ นคุณค่ำ ๑. คุณคำ่ ด้ำนวรรณศิลป์ วรรณกรรมของสุนทรภู่เป็นวรรณกรรมเพ่ือการอ่าน เขียนขึ้นเพ่ือให้ผู้อ่าน ไดร้ บั ความเพลดิ เพลนิ น่ันคือ ความบันเทิงง่าย ๆ ไม่ลึกซึ้งจนเสียเวลาคิดนาน มีสีสัน และสะเทอื นอารมณ์ ดงั นน้ั การนาเสนอเน้อื หาในกาพยพ์ ระไชยสรุ ยิ าของสุนทรภู่จึงมี ความหลากหลาย ยกตัวอย่างเช่น การใช้ถ้อยคาง่าย ๆ บรรยายให้เห็นภาพชัดเจน การพรรณนาบรรยากาศ และธรรมซาติแวดล้อมทม่ี คี วามสวยงามในยามค่าคืน การใช้ คาไดไ้ พเราะ มเี สียงสัมผัสในวรรคทกุ วรรคทง้ั สัมผัสสระและสัมผสั อักษร ๒. คุณคำ่ ดำ้ นสงั คม วรรณคดเี ป็นดังกระจกเงาสะทอ้ นสภาพสงั คม ดงั นั้นวรรณกรรมท่ีผู้เขยี นบันทึก ไว้จะมีความเป็นจริงทางสังคมสอดแทรกอยู่ส่วนหน่ึง หรือได้รับอิทธิพลจากสังคม สิง่ แวดล้อม และวัฒนธรรมรอบตัว เชน่ การแสดงให้เหน็ สภาพสงั คมไทย ก่อนเสียกรุง ศรีอยุธยา โดยสร้างตัวละครในเร่ืองว่า ข้าราชบริพารเสนาบดีไม่ใส่ใจบ้านมือง ฉ้อ ราษฎรบ์ ังหลวง คดโกง ไมย่ ตุ ิธรรม หมกมุ่นอยู่ในความสนุกสนานเพลิดเพลิน มัวเมา ในกามเหมอื นสภาพสังคมไทยก่อนเสียกรุง เพอื่ เป็นคติเตอื นใจให้คนในสังคม อีกท้ังยัง สอดแทรกความเช่ือเร่ืองไสยศาสตร์ ซึ่งคนในสังคมปัจจุบันก็ยังมีความเชื่อกันอยู่ ยกตวั อย่างเช่น ไมจ่ าคาพระเจ้า เหไปเขา้ ภาษาไสย ถอื ดีมขี ้าไท ฉ้อแต่ไพรใสช่ อื่ คา แสดงค่านิยมของครอบครัว คู่สามีภรรยายามตกทุกข์ได้ยากต้องไม่ทอดทิ้งกัน ภรรยาจะเคารพสามี ปรนนิบัติสามีทั้งยามทุกข์และยามสุขเปรียบดังนางสุมาลีปฏิบัติ ตอ่ พระไชยสุรยิ า เปน็ ต้น ๕๕ กาพย์พระไชยสรุ ยิ า

๓. ด้ำนคตธิ รรม คำสอน กาพยเ์ รื่องพระไชยสุรยิ ามคี ณุ ค่าในด้านคติธรรมคาสอน ดังจะเห็นได้จากคาสอน ที่แทรกไวห้ ลายตอน เชน่ สอนใหร้ ูจ้ กั กาลกิณี ๔ ประการ ซง่ึ จะทาให้บ้านเมอื งปน่ั ป่วน และผู้คนไม่เป็นสุข กาลกิณีเหล่าน้ัน ได้แก่การเห็นผิดเป็นชอบ การไม่รู้คุณ การ เบียดเบยี นทาร้ายกันและความโลภ ดังคาประพนั ธ์ตอ่ ไปนี้ ๑. ประกอบชอบเปน็ ผดิ กลบั จรติ ผดิ โบราณ สามญั อนั ธพาล ผลาญคนซื่อถอื สัตย์ธรรม ๒. ลูกศษิ ยค์ ดิ ล้างครู ลูกไมร่ คู้ ุณพอ่ มนั ๓. ส่อเสียดเบยี ดเบยี นกัน ลอบ้า่ ฟันคอื ตณั หา ๔. โลภลาภบาปบคิด โจทย์จบั ผดิ รษิ ยา อรุ ะพสธุ า วนเปน็ บ้าฟ้าบดบงั ผลบาปจากการเบียดเบยี นและหลอกลวงผู้อื่นจะทาใหต้ ้องทนทุกขไปอีกนาน ส่วนผลบุญจากการมีเมตตากรณุ าก็จะทาใหม้ ีความสขุ ตลอดไป ดงั คาประพันธต์ อ่ ไปน้ี เบยี นเบียดเสียดสอ่ ฉ้อฉล บาปกรรมน้าตน ไปทนทกุ ข์นับกัปกลั ป์ เมตตากรุณาสามญั จะได้ไปสวรรค์ เปน็ สุขทุกวนั หรรษา กาพย์พระไชยสรุ ิยา ๕๖

กลอกกลับอัปปรีย์ แปลศัพท์ยำกเพิม่ เตมิ ไก่หมู ไม่ซอ่ื ตรงและชว่ั ร้าย เจ้ำสภุ ำ ในทีน้ี หมายถงึ ของท่นี าไปให้ผู้พิพากษาเปน็ การตดิ ชำวแม่ สินบน ชีบำ ผพู้ ิพากษา ใชใ้ บ พวกผ้หู ญิงในวังท่ีเป็นผมู้ ีอายุ ท่ีซือ่ ถอื พระเจ้ำ นักบวชและผรู้ ู้ ว่ำโง่เงำ่ เต่ำปูปลำ แลน่ ไปด้วยใบเรอื ถือน้ำ ใครที่นบั ถอื พระเจา้ ก็ถกู หาวา่ โง่ ทำมโหรี ประเวณี ทาพธิ ีด่มื นา้ สาบานกอ่ นเข้ารับราชการ พระเจ้ำเขำ้ ใจ เล่นดนตรี ประเพณีในความวา่ ไม่ถือพระประเวณี พระราชาเข้าพระทยั ๕๗ กาพยพ์ ระไชยสรุ ยิ า

ภำษำไสย แปลศพั ทย์ ำกเพม่ิ เติม เมรุธร ล่อกำมำ เรอ่ื งไสยศาสตร์ ล่ำล้ี ภเู ขาใหญ่ ศรษี ะไม้ เสพกาม สมอก็เกำ ถอยหนไี ป สธรรม หัวไม้ ทาให้ไม่กลวั ถูกลงโทษ หมายความว่า หัวด้ือ สมเด็จจอมอำรย์ ลากสมอเรือครูดไปตามพืน้ หอ้ งน้า เรือไมห่ ยุดอยูก่ ับที่ หอ ธรรมะซึ่งเปน็ สิง่ ทดี่ ีงาม อะโข สาระยา ห้อง คือ อักโข หมายความว่า มาก กาพย์พระไชยสรุ ิยา ๕๘

อธบิ ำยเพิ่ม เสรมิ ควำมรู้ กำพยย์ ำนี ๑๑ กาพย์ยานี ๑๑ หรือ กาพย์ยานี คือ กาพย์ชนิดหน่ึง มีคา ๑๑ คาในหนึ่งบาท จึง เรยี กว่า กาพย์ยานี ๑๑ นิยมใช้ในการเล่าเรื่อง ในหนังสือประเภทคากาพย์และคาฉันท์ ร่วมกับกาพย์และฉันท์ชนิดอ่ืน ๆ ในยุคปัจจุบันนิยมแต่งกาพย์ยานีเป็นบทส้ัน ๆ โดย ไม่ได้รอ้ ยกับฉนั ทลักษณป์ ระเภทอืน่ ๆ ฉันทลักษณ์ ลกั ษณะบงั คับ ๑. กาพย์ยานี ๑๑ หนง่ึ บทมี ๒ บาท บาทเอกและบาทโท บาทหนึ่งแบ่งเปน็ 2 วรรค วรรคหน้ามี ๕ คา วรรคหลังมี ๖ คา ๒. การสมั ผสั บังคบั หรือสัมผัสนอก จะเปน็ สมั ผสั สระเทา่ นนั้ แบง่ เปน็ ๒ ชนดิ สมั ผสั ระหว่างวรรค ไดแ้ ก่ คาสุดทา้ ยวรรคแรก สัมผัสกับคาที่ ๑ หรือคาที่ ๒,๓ ของวรรคท่สี อง คาสุดท้ายของวรรคท่สี องส่งสัมผัสไปท่ีคาสุดท้ายของวรรคท่สี าม สมั ผสั ระหว่างบท ไดแ้ ก่ คาสุดทา้ ยของบทแรกสง่ สมั ผสั ไปยงั คาสดุ ทา้ ยของวรรค ทส่ี องในบทตอ่ ไป ๕๙ กาพยพ์ ระไชยสรุ ยิ า

ลองคิด ลองทำ ๑. ให้นักเรยี นแต่งคาประพนั ธป์ ระเภท กาพย์ยานี ๑๑ เรือ่ ง เมืองสาวะถี จานวน ๒ บท ๒. ใหน้ กั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน พดู แลกเปลย่ี นความรแู้ ละขอ้ คดิ ทีไ่ ดจ้ ากการอ่าน เรื่อง กาพย์พระไชยสรุ ยิ า และเขียนสรุปใจความสาคญั ๓. ให้นักเรียนวิเคราะห์สานวนสุภาษิต “เห็นกงจักรเป็นดอกบัว” มีความเหมือนหรือ แตกต่างกับพฤติกรรมของเหล่าข้าราชบริพารและผู้มีอานาจของเมืองสาวะถีหรือไม่ อย่างไร อธิบายตามความเขา้ ใจของนกั เรยี น กาพยพ์ ระไชยสุรยิ า ๖๐

บทที่ ๕ นริ าศภเู ขาทอง

ควำมเปน็ มำ สุนทรภู่แต่งเรื่องนิราศภูเขาทองเม่ือปี ๒๓๗๓ หลังจากท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัยเสด็จ สวรรคตไปแล้ว ๖ ปี (สวรรคตปี ๒๓๖๗) เพ่ือเล่าเรื่องการเดินทาง จากวดั ราชบุรณะหรอื วดั เลียบ ไปนมัสการพระเจดีย์ภูเขาทองท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา หลงั จากออกพรรษาแล้ว ลักษณะคำประพนั ธ์ นิราศภูเขาทองแต่งด้วยกลอนนิราศ มีความคล้ายคลึงกับกลอนสุภาพ แต่เร่ิมด้วย วรรครบั จบ ดว้ ยวรรคส่งลงทา้ ย ด้วยคาวา่ เอย มคี วามยาวเพยี ง 89 คากลอนเท่านั้น แต่มี ความไพเราะและเรียบง่าย ตามแบบฉบับของสุนทรภู่ ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย บรรยาย ความรสู้ ึกขณะเดยี วกันกเ็ ลา่ ถงึ สภาพของความเปน็ มาของบา้ นเมืองในสมัยนัน้ นริ าศภูเขาทอง ๖๒

วรรณคดปี ระเภทนิรำศ นิราศเป็นบทประพันธ์ที่แต่งเพ่ือราพันถึงการจากหรือการพลัดพรากจากผู้เป็นที่รัก โดยมักมีการเดินทาง จึงมีลักษณะเป็นการบันทึกการเดินทางและกล่าวถึงส่ิงท่ีพบเห็นไว้ ดว้ ย นริ าศมักแต่งดว้ ยคาประพันธ์ประเภทโคลงหรือกลอน ท่ีแต่งเป็นโคลงมีตัวอย่าง เช่น นิราศหรภิ ญุ ชยั นริ าศนรนิ ทร์ ทีแ่ ต่งเป็นกลอนมตี วั อยา่ ง เช่น นิราศเมืองแกลง นิราศภูเขา ทอง กลอนที่ใช้แตง่ นริ าศซ่ึงเรียกกันว่า กลอนนิราศ นิยมเร่ิมบทแรกด้วย ‘วรรครับ” และ จบดว้ ยคาว่า “ เอย” ส่วนความยาวบทกลอนไม่จากดั จานวน ตวั อย่างเชน่ รับกฐนิ ภญิ โญโมทนา เดือนสิบเอ็ดเสร็จธุระพระวสา ………………………. ชลุ ลี าลงเรอื เหลอื อาลัย จงทราบความตามจริงทุกส่งิ สน้ิ ……………………………….. อย่านึกนนิ ทาแกล้งแหนงไฉน นกั เลงกลอนนอนเปลา่ กเ็ ศรา้ ใจ จึงรา่ ไรเร่อื งร้างเล่นบ้างเอยฯ ๖๓ นิราศภเู ขาทอง

เนือ้ หำของนิรำศภูเขำทอง นิราศภูเขาทองเริ่มต้นเล่าการเดินทางทางเรือจากวัดพระราชบูรณะ กรุงเทพฯ จุดหมายปลายทางคือเจดีย์ภูเขาทองที่พระนครศรีอยุธยา สถานท่ีที่เดินทางผ่าน คือ พระบรมมหาราชวัง วัดประโคนปกั โรงเหลา้ บางจาก บางพลู บางพลัด บางโพ บ้านญวน วัดเขมา ตลาดแก้ว ตลาดขวัญ บางธรณีเกราะเกร็ด บางพูด บ้านใหม่ บางเด่ือ บางหลวง บ้านงิว้ เมอื่ เข้าเขตพระนครศรอี ยุธยา ผ่านหน้าจวนเจา้ เมอื ง วดั พระเมรุ แลว้ จึงเดินทางถึง เจดียภ์ เู ขาทอง สว่ นขากลบั กลา่ วถึงวัดอรุณราชวรารามเท่านัน้ ระหว่างการเดนิ ทาง เมอื่ กวี พบเหน็ ส่งิ ใดทน่ี ่าสนใจหรอื สอดคล้องกับความคิดทต่ี อ้ งการเสนอก็จะนามากล่าวไว้ วดั ระ้งั โ้สิตาราม นนทบรุ ี เกราะเกรด็ วัดประโคนปกั ปากเกรด็ วดั อรณุ ราชวราราม โรงเหลำ้ ตลาดขวญั ตลาดแก้ว บางจาก บางพลู บางโพ บางพลัด วดั เขมาภริ ตาราม บางธรณี บางพูด วัดราชบูรณะ บางญวน บ้านใหม่ นิราศภูเขาทอง ๖๔

คณุ คำ่ ด้ำนวรรณศลิ ป์ ๑. มสี ัมผสั นอก คอื คาสดุ ท้ายในวรรคสดบั และวรรครองส่งสมั ผัสกับคาที่ ๓ ใน วรรครับ และ วรรคส่งเสมอ ส่วนสัมผัสในจะมีปรากฏภายในวรรคทุกวรรค ท้ังสัมผัสสระและสัมผัสอักษร ทาให้ กลอนมคี วามไพเราะยง่ิ ขนึ้ เช่น ดนู า้ ว่ิงกลิ้งเชี่ยวเป็นเกลียวกรอก กลับกระฉอกฉาดฉัดฉวัดเฉวียน บา้ งพลงุ่ พลุ่งวงุ้ วนเหมือนกงเกวยี น เปล่ียนเปลี่ยนควา้ งควา้ งเปน็ หวา่ งวน\" สมั ผสั ในวรรคเช่น วิ่ง-กลงิ้ , เชย่ี ว-เกลียว, ฉอก-ฉาด-ฉดั -ฉวัด-เฉวยี น ๒. ใชถ้ อ้ ยคำกระทบใจผอู้ ่ำน ทาให้ผูอ้ า่ นอารมณ์สะเทือนใจรว่ มไปกบั กวี เชน่ \"ถึงหนา้ วังดังหน่ึงใจจะขาด คิดถึงบาทบพติ รอดิศร โอผ้ ่านเกล้าเจา้ ประคุณของสุนทร แต่ปางกอ่ นเคยเฝ้าทกุ เช้าเย็น พระนิพพานปานประหนง่ึ ศีรษะขาด ด้วยไร้ญาติยากแค้นถึงแสนเขน็ ท้งั โรคซา้ กรรมซัดวิบัติเปน็ ไมเ่ ลง็ เหน็ ทซ่ี ง่ึ จะพึ่งพา\" กลา่ วถงึ ชีวประวตั ิของสทุ รภู่ ท่เี คยเฝ้าใกล้ชดิ พระยุคลบาทรชั กาลท่ี ๒ เม่ือส้ินพระองค์ สุนทรภู่อยู่ ในภาวะตกยาก ซ่งึ ผ้อู า่ นรสู้ กึ สะเทือนอารมณ์เปน็ ยิ่งนกั ๓. กำรเลน่ คำ เลน่ ควำม เป็นกลวิธีใช้คาพอ้ งรูป พอ้ งเสยี ง พ้องความหมาย การซา้ คา ซ้าความ ทาให้ไดค้ วามหมายทลี่ กึ ซึง้ กระทบใจ เชน่ \"ถึงบางพลัดพ่พี ลดั มาขดั เคอื ง ทั้งพลดั เมืองพลดั สมรมารอ้ นรน\" ๖๕ นริ าศภเู ขาทอง

คุณค่ำดำ้ นวรรณศลิ ป์ ๔. กำรกลำ่ วเชงิ เปรียบเทยี บ (อุปมำอุปไมย) ไม่กล่าวตรงไปตรงมา เป็นความสามารถ ในการถ่ายทอดอารมณ์ และความรู้สึกของกวี เช่น การเปรียบเทียบดอกบัวกับดาวที่พร่าง พราว \"กระจับจอกดอกบวั บานผกา ดาษดาดูขาวดังดาวพราย\" หรือตอนที่สุนทรภู่ราพันถึงรัชกาลท่ี ๒ ด้วยความโศกเศร้า ว่าเคยเป็นที่โปรดปราน แต่ เม่อื ส้ินรัชสมยั กต็ อ้ งตกระกาลาบาก เชน่ \"เคยมอบใกลไ้ ดก้ ลนิ่ สุคนธ์ตระหลบ ละอองอบรสรน่ื ช่นื นาสา สนิ้ แผ่นดนิ สนิ้ รสสุคนธา วาสนาเราก็สนิ้ เหมอื นกลิ่นสุคนธ์\" ๕. กำรใช้โวหำรอธพิ จน์ คือกล่าวเกินจริง เพื่อเน้นอารมณ์และความรู้สึก เช่น สุนทรภู่ กล่าวตอนมาถึงตลาดขวัญว่า \"โอ้พสุธาหนาแนน่ เป็นแผน่ พื้น ถึงสห่ี มื่นสองแสนทง้ั แดนไตร เมอ่ื เคราะห์ร้ายกายเรากเ็ ทา่ นี้ ไม่มีทีพ่ สธุ าจะอาศัย ๖. กำรใช้โวหำรเลียนเสียงธรรมชำติ ทาให้ผู้อ่านนึกเห็นภาพ และทาให้เกิดเสียงที่ ไพเราะ เช่น ตอนเรือไปถึงราชครามในตอนเย็นและค่า วา่ ไมเ่ ห็นคลองตอ้ งคา้ งอยกู่ ลางทุ่ง พอหยุดยงุ ฉ่ชู ุมมารมุ กดั เป็นกลุ่มกลุ่มกลุม้ กายเหมอื นทรายซดั ตอ้ งนงั่ ปัดแปะไปมิไดน้ อน (แปะ คอื เสียงตบยุง) นิราศภูเขาทอง ๖๖

คุณค่ำด้ำนเน้อื หำ ๑. เกย่ี วกับคติชำวบ้ำน การเชอื่ เร่อื งเก่ยี วกับพระธาตุ คนท่ีมบี ญุ วาสนาเท่านั้น ทีจ่ ะได้ ครอบครองพระธาตุ เชน่ พอกราบพระปะดอกประทมุ ชาติ พบพระธาตุสถิตในเกสร สมถวลิ ยินดชี ลุ กี ร ประคองชอ้ นเชญิ องคล์ งนาวา กับหนูพดั มสั การสาเร็จแล้ว ใส่ขวดแกว้ วางไวใ้ กลเ้ กศา มานอนกรุงรุ่งขน้ึ จะบูชา ไปปะตาตันอกยิง่ ตกใจ แสนเสียดายหมายจะชมบรมธาตุ ใจจะขาดคดิ มาน้าตาไหล โอ้บญุ น้อยลอยลบั ครรไลไกล เสียน้าใจเจียนจะดน้ิ สิ้นชวี ัน ๒. ตำนำนสถำนท่ี เชน่ ถึงสามโคกโศกถวิลถงึ ปน่ิ เกล้า พระพทุ ธเจา้ บารุงซ่งึ กรงุ ศรี ประทานนามสามโคกเปน็ เมืองตรี ชือ่ ปทมุ ธานเี พราะมีบวั ๖๗ นิราศภูเขาทอง

คณุ คำ่ ดำ้ นเนอ้ื หำ ๓. เกยี่ วกบั สภำพบ้ำนเมอื งกำรประกอบอำชีพ เชน่ วถิ ีชวี ติ ของชาวญวน ถึงบ้านญวนลว้ นแตโ่ รงแลสะพรง่ั มขี อ้ งขงั กุ้งปลาไวค้ า้ ขาย ตรงหนา้ โรงโพงพางเขาวางราย พวกหญิงชายพรอ้ มเพรยี งมาเมียงมอง …………………………………………… …………………………………………………. ถงึ เกร็ดยา่ นบา้ นมอญแต่ก่อนเก่า ผหู้ ญิงเกลา้ มวยงามตามภาษา เดยี๋ วน้ีมอญถอนไรจกุ เหมือนต๊กุ ตา ท้ังผัดหนา้ จับเขม่าเหมอื นชาวไทย ๔. ให้ขอ้ คิดอันมคี ุณค่ำ เป็นการแสดงทัศนะกวี ซึง่ หมายถึงความเห็นของกวที ีม่ ี ต่อสิ่งใดส่ิงหนง่ึ เชน่ “ทงั้ องคฐ์ านรานร้าวถึงเก้าแฉก เผยอแยกยอดสดุ ก็หลดุ หกั โอเ้ จดยี ์ทส่ี ร้างยังร้างรัก เสียดายนักนึกน่าน้าตากระเดน็ กระน้ีหรือช่ือเสียงเกียรติยศ จะมิหมดล่วงหนา้ ทันตาเหน็ เป็นผดู้ มี มี ากแล้วยากเยน็ คดิ กเ็ ป็นอนจิ จังเสียท้ังน้ัน” สนุ ทรภใู่ ห้ข้อคิดว่า แม้เจดียท์ ี่เคยสวยงามก็มีวนั ทรุดโทรม ชอ่ื เสยี งเกียรติยศก็เชน่ เดยี วกนั ย่อมมเี ส่ือม จึงไมค่ วรยึดติด ทุกสงิ่ ทุกอยา่ งในโลก ล้วนเปน็ อนิจจัง คอื ไมเ่ ท่ยี งแท้แน่นอน “ถงึ บางพดู พดู ดีเป็นศรีศกั ดิ์ มคี นรักรสถอ้ ยอร่อยจิต แมน้ พูดชั่วตัวตายทาลายมิตร จะชอบผดิ ในมนษุ ยเ์ พราะพดู จา” นริ าศภเู ขาทอง ๖๘

บทอำขยำน มาถึงบางธรณีทวโี ศก ยามวิโยคยากใจใหส้ ะอน้ื โอ้สธุ าหนาแนน่ เป็นแผ่นพื้น ถึงส่หี มน่ื สองแสนทั้งแดนไตร เมื่อเคราะห์ร้ายกายเรากเ็ ท่านี้ ไม่มที พี่ สุธาจะอาศยั ล้วนหนามเหน็บเจ็บแสบคบั แคบใจ เหมอื นนกไรร้ งั เร่อยูเ่ อกา ถึงเกร็ดย่านบา้ นมอญแต่ก่อนเกา่ ผหู้ ญิงเกลา้ มวยงามตามภาษา เด๋ียวน้ีมอญถอนไรจกุ เหมือนตกุ๊ ตา ทงั้ ผัดหน้าจับเขม่าเหมือนชาวไทย โอ้สามญั ผันแปรไมแ่ ท้เทีย่ ง เหมือนอยา่ งเย่ียงชายหญงิ ท้งิ วิสยั นหี่ รือจติ คิดหมายมหี ลายใจ ทจ่ี ติ ใครจะเปน็ หนึ่งอย่าพงึ คดิ ถงึ บางพูดพดู ดีเป็นศรีศักด์ิ มคี นรักรสถ้อยอรอ่ ยจิต แมพ้ ูดชว่ั ตวั ตายทาลายมติ ร จะชอบผิดในมนษุ ย์เพราะพดู จา นริ าศภูเขาทอง ( สนุ ทรภู่ ) จากบทอาขานข้างตน้ กล่าวถงึ เมื่อถึงคราวลาบากแม้แต่แผ่นดินก็ไม่มีที่อาศัย เหมือนโดนหนามเสียดแทงเจ็บแสบมาก เหมอื นกบั นกไม่มรี งั ทีจ่ ะอาศยั ต้องเรร่ ่อนไปเรื่อยๆ ทาใหเ้ ห็นได้ว่าสมัยน้ีทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีความเท่ียงแท้ เหมือนดังท่ีชาวมอญละท้ิงประเพณี วฒั นธรรมของตนเองแลว้ จะนบั ประสาอะไรกบั จติ ใจของคน ซง่ึ ไม่มใี ครมีใจเดียวแตม่ ีหลายใจ ใครพูดดีก็จะมีคนรัก แต่ถ้าพูดไม่ดีก็อาจจะเป็นภัยต่อตนเองได้อีกท้ังยังไม่มีใครคบ ไม่มี เพอื่ นสนทิ มติ รสหาย ทัง้ การจะดวู า่ ใครดีไมด่ ดี ไู ดจ้ ากการพดู ๖๙ นริ าศภเู ขาทอง

ควำมหมำยของบทอำขยำน บทอาขยานคอื บทท่องจา การเล่า การสวดเรือ่ ง นิทาน ซงึ่ เป็นการทอ่ งจาข้อความหรอื คาประพันธ์ท่ีชอบบทร้องกรองที่ไพเราะ โดยอาจตัดตอนมาจากหนังสือวรรณคดีเพ่ือให้ผู้ ท่องจาได้ แ ละเห็นควา มงา มขอ งบ ทร้อ ยก รอง ทั้งในด้านว รรณศิลป์ กา รใช้ ภาษา เนื้อหา และวิธีการประพันธ์ สามารถนาไปใช้เป็นแบบอย่างในการแต่งบทร้อย กรอง หรอื นาไปใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในการอ้างอิงในการพูดและการเขียนไดเ้ ป็นอย่างดี หลกั กำรท่องอำขยำน ๑. ฝึกเปลง่ เสยี งใหด้ งั พอประมาณ ไม่ตะโกน ควรบงั คับเสยี ง เนน้ เสียง ปรับระดบั เสียง สูง - ตา่ ให้สอดคลอ้ งกบั จังหวะลีลา ท่วงทานอง และความหมายของเนือ้ หาทอี่ า่ น ๒. ท่อง ดว้ ยเสยี งทช่ี ดั เจน แจม่ ใส ไพเราะ มกี ระแสเสยี งเดยี ว ไม่แตกพร่า เปลง่ เสยี งจาก ลาคอโดยตรงดว้ ยความมัน่ ใจ ๓. ท่อง ออกเสียงให้ถูกอักขรวิธีหรือความนิยม และต้องเข้าใจเน้ือหาของบทอาขยานนี้ กอ่ น ๔. ออกเสียง ร ล คาควบกลา้ ให้ถูกต้องชดั เจน ๕. ท่อง ใหถ้ ูกจงั หวะและวรรคตอน ๖. ท่องใหไ้ ด้อารมณแ์ ละความรู้สึกตามเน้อื หา นิราศภูเขาทอง ๗๐

แปลศพั ทย์ ำกอธบิ ำยเพม่ิ จบั เขมา่ วธิ ีแต่งผมของผหู้ ญงิ สมัยโบราณ ใช้เขมา่ ผสมน้ามนั หอมใสผ่ ม ทง้ิ วสิ ัย ละขนบธรรมเนยี มประเพณเี ดมิ พสธุ า, สุธา แผ่นดนิ สห่ี มน่ื สองแสนทงั้ แดนไตร ในท่ีนค้ี อื สองแสนส่หี ม่นื เปน็ ความลกึ หรือความหนาของแผ่นดิน ตามความเช่อื ของคนโบราณ ๗๑ นริ าศภเู ขาทอง

ลองคดิ ลองทำ ๑. ให้นกั เรยี นวิเคราะห์คณุ คา่ ที่ไดจ้ ากการอา่ นวรรณคดเี รื่องนริ าศภูเขาทอง ๒. ให้นกั เรียนสรปุ ขอ้ คิดท่ไี ดจ้ ากการอ่านบทประพนั ธต์ ่อไปน้ี ถงึ บางพดู พดู ดีเปน็ ศรีศักด์ิ มีคนรกั รสถ้อยอร่อยจติ แม้พูดชัว่ ตวั ตายทาลายมิตร จะชอบผดิ ในมนุษย์เพราะพดู จา ๓. ให้นกั เรยี นจบั คู่ฝึกท่องบทอาขยาน เร่ืองนริ าศภเู ขาทอง นริ าศภเู ขาทอง ๗๒

บรรณานุกรม สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน. หนงั สือเรียน รำยวชิ ำพืน้ ฐำน ภำษำไทย วรรณคดวี ิจกั ษ์ ชน้ั มธั ยมศึกษำปีที่ ๑. พิมพ์ครั้งท่ี ๑๒. กรงุ เทพฯ : สกสค, (๒๕๖๒)

โอส้ ามญั ผนั แปรไมแ่ ทเ้ ทย่ี ง เหมือนอยา่ งเยย่ี งชายหญงิ ท้งิ วสิ ยั น่ีหรอื จติ คดิ หมายมหี ลายใจ ทจ่ี ติ ใครจะเป็นหน่ึงอยา่ พึงคดิ