เฉลย แบบฝึกหัด ชีวะ ม.6 เล่ม 1

เฉลย+คู่มือครู ชีววิทยา ม.4-6

เฉลย ชีววิทยาพื้นฐาน ม.4,เฉลย ชีววิทยาเพิ่มเติม เล่ม 1,เฉลย ชีววิทยาเพิ่มเติม เล่ม 2,เฉลย ชีววิทยาเพิ่มเติม เล่ม 3,เฉลย ชีววิทยาเพิ่มเติม เล่ม 4,เฉลย ชีววิทยาเพิ่มเติม เล่ม 5,เฉลย ชีววิทยาเพิ่มเติม ม.4,เฉลย ชีววิทยาเพิ่มเติม ม.5,เฉลย ชีววิทยาเพิ่มเติม ม.6,คู่มือครู ชีววิทยาพื้นฐาน ม.4,คู่มือครู ชีววิทยาเพิ่มเติม เล่ม 1,คู่มือครู ชีววิทยาเพิ่มเติม เล่ม 2,คู่มือครู ชีววิทยาเพิ่มเติม เล่ม 3,คู่มือครู ชีววิทยาเพิ่มเติม เล่ม 4,คู่มือครู ชีววิทยาเพิ่มเติม เล่ม 5

สารบัญ

บทที่

หน้า

เนื้อหา

1

2

บทที่ 1 - 3

การศึกษาชีววิทยา

เคมีที่เป็นพื้นฐาน

ของสิ่งมีชีวิต

1 การศึกษาชีววิทยา 1 ผลการเรียนร

ู้

1 การวิเคราะห์ผลการเรียนร

ู้

2 ผังมโนทัศน

4 สาระสำ�คัญ 6 เวลาที่ใช

7 เฉลยตรวจสอบความรู้ก่อนเรียน 8 1.1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 9 1.2 การศึกษาชีววิทยาและวิธีการทางวิทยาศาสตร

40 1.3 กิจกรรมสะเต็มศึกษาและกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 58 เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 73 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต 81 ผลการเรียนร

ู้

81 การวิเคราะห์ผลการเรียนร

ู้

82 ผังมโนทัศน

86 สาระสำ�คัญ 88 เวลาที่ใช

89 เฉลยตรวจสอบความรู้ก่อนเรียน 90 2.1 อะตอม ธาตุและสารประกอบ 91 2.2 น้ำ� 95 2.3 สารประกอบคาร์บอนในสิ่งมีชีวิต 98 2.4 ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต 112

เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2

136

Description: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา5

คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 5
ตามผลเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา5,คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

คมู่ อื ครรู ายวชิ าเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๖ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ชวี วทิ ยา เลม่ ๕ ตามผลการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ THAI LAND


ชวี วทิ ยา ๖ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

คู่มือครู รายวชิ าเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชวี วทิ ยา ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๖ เลม่ ๖ ตามผลการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ จดั ทำ�โดย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ ฉบบั เผยแพร่ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๓

ค�ำ น�ำ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้รับมอบหมายจาก กระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนามาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี และยังมีบทบาทหนา้ ท่ใี นการรบั ผดิ ชอบเกีย่ วกับการจัดท�ำ หนังสือเรียน คู่มือครู แบบฝึกทักษะ กิจกรรม และสื่อการเรียนรู้ตลอดจนวิธีการจัดการเรียนรู้ และการวัดและการประเมินผล เพื่อให้การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ คู่มือครูรายวิชาเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เล่ม ๖ น้ี จัดทำ�ข้ึนเพื่อประกอบการใช้หนังสือเรียนรายวิชาเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ เล่ม ๖ โดยครอบคลุมเน้อื หาตามผลการเรียนร้แู ละสาระการเรียนร้เู พ่มิ เติม ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ( ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๐ ) ต า ม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในสาระชีววิทยา โดยมีตาราง วิเคราะห์ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ เพ่ือการจัดทำ�หน่วยการเรียนรู้ในรายวิชาเพิ่มเติม มีแนวการจัดการเรียนรู้ การให้ความรู้เพิ่มเติมท่ีจำ�เป็นสำ�หรับครูผู้สอน รวมท้ังการเฉลยคำ�ตอบ และแบบฝึกหัดในหนังสือเรียน สสวท. หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือครูเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้ และเป็น ส่วนสำ�คัญในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิ บุคลากรทางการศึกษาและหน่วยงานต่าง ๆ ที่มี สว่ นเกี่ยวขอ้ งในการจัดทำ�ไว้ ณ โอกาสนี้ (ศาสตราจารย์ชูกจิ ลิมปจิ �ำ นงค)์ ผู้อำ�นวยการสถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำ�ช้ีแจง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) ไดจ้ ดั ท�ำ ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรู้ แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีจุดเน้นเพื่อต้องการพัฒนา ผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถท่ีทัดเทียมกับนานาชาติ ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เชื่อมโยงความรู้ กับกระบวนการ ใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และแก้ปัญหาท่ีหลากหลาย มีการทำ�กิจกรรมด้วย การลงมือปฏิบัติเพ่ือให้ผู้เรียนได้ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะแห่งศตวรรษ ที่ ๒๑ ซึ่งในปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นไป โรงเรียนจะต้องใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) สสวท. ไดม้ ีการจดั ท�ำ หนงั สือเรยี นทีเ่ ป็นไป ตามมาตรฐานหลกั สตู รเพอ่ื ใหโ้ รงเรยี นไดใ้ ชส้ �ำ หรบั จดั การเรยี นการสอนในชน้ั เรยี น และเพอ่ื ใหค้ รผู สู้ อน สามารถสอนและจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามหนังสือเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้จัดทำ�คู่มือครู สำ�หรับใชป้ ระกอบหนังสอื เรยี นดังกลา่ ว คู่มือครูรายวิชาเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เล่ม ๖ นี้ ไดบ้ อกแนวการจดั การเรยี นการสอนตามเนอ้ื หาในหนงั สอื เรยี นเกย่ี วกบั ความหลากหลายทางชวี ภาพ ระบบนิเวศและประชากร มนุษย์กับความย่ังยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งครูผู้สอนสามารถนำ�ไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ให้บรรลุจุดประสงค์ท่ีตั้งไว้ โดยสามารถนำ�ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสมและความพร้อมของโรงเรียน ในการ จัดทำ�คู่มือครูเล่มนี้ ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีย่ิงจากผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการอิสระคณาจารย์ รวมทง้ั ครูผู้สอน นักวิชาการ จากทง้ั ภาครฐั และเอกชน จงึ ขอขอบคณุ มา ณ ทนี่ ี้ สสวท. หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ เล่ม ๖ น้ี จะเป็นประโยชน์แก่ผู้สอน และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ที่จะช่วยให้ การจดั การศกึ ษาดา้ นวทิ ยาศาสตรไ์ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ หากมขี อ้ เสนอแนะใดทจี่ ะท�ำ ใหค้ มู่ อื ครเู ลม่ นี้มีความสมบรู ณย์ งิ่ ขน้ึ โปรดแจ้ง สสวท. ทราบดว้ ย จะขอบคณุ ย่ิง สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

ข้อแนะน�ำ ท่วั ไปในการใชค้ ูม่ ือครู วิทยาศาสตร์มีความเกี่ยวข้องกับทุกคนทั้งในชีวิตประจำ�วันและการงานอาชีพต่าง ๆ รวมทั้งมี บทบาทสำ�คัญในการพัฒนาผลผลิตต่าง ๆ ที่ใช้ในการอำ�นวยความสะดวกท้ังในชีวิตและการทำ�งาน นอกจากน้ีวิทยาศาสตร์ยังช่วยพัฒนาวิธีคิดและทำ�ให้มีทักษะที่จำ�เป็นในการตัดสินใจและแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบ การจัดการเรียนรู้เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้และทักษะที่สำ�คัญตามเป้าหมายของ การจดั การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรจ์ งึ มคี วามส�ำ คญั ยง่ิ ซง่ึ เปา้ หมายของการจดั การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ มดี งั น้ี 1. เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจหลักการและทฤษฎีทเ่ี ปน็ พืน้ ฐานของวชิ าวิทยาศาสตร์ 2. เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเข้าใจในลกั ษณะ ขอบเขต และข้อจ�ำ กัดของวิทยาศาสตร์ 3. เพอ่ื ใหเ้ กิดทกั ษะทีส่ ำ�คัญในการศกึ ษาคน้ คว้าและคิดคน้ ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. เพอ่ื พฒั นากระบวนการคดิ และจนิ ตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจดั การ ทักษะ ในการสือ่ สาร และความสามารถในการตดั สินใจ 5. เพื่อให้ตระหนักถงึ ความสัมพันธ์ระหวา่ งวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนษุ ย์ และสภาพแวดล้อม ในเชงิ ท่ีมอี ทิ ธพิ ลและผลกระทบซึ่งกนั และกัน 6. เพอ่ื น�ำ ความรคู้ วามเขา้ ใจเรอื่ งวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ สงั คมและการ ด�ำ รงชวี ิตอยา่ งมีคณุ ค่า 7. เพอ่ื ให้มีจติ วทิ ยาศาสตร์ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใชค้ วามรทู้ างวทิ ยาศาสตร์อยา่ ง สร้างสรรค์ คู่มือครูเป็นเอกสารท่ีจัดทำ�ข้ึนควบคู่กับหนังสือเรียน สำ�หรับให้ครูได้ใช้เป็นแนวทางใน การจัดการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้และมีทักษะท่ีสำ�คัญตามจุดประสงค์การเรียนรู้ใน หนงั สอื เรยี น ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั ผลการเรยี นรู้ รวมทง้ั มสี อ่ื การเรยี นรใู้ นเวบ็ ไซตท์ ส่ี ามารถเชอ่ื มโยงไดจ้ าก QR code หรือ URL ท่ีอยู่ประจำ�แต่ละบท ซึ่งครูสามารถใช้ส่งเสริมให้นักเรียนบรรลุเป้าหมายของ การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้ อย่างไรก็ตามครูอาจพิจารณาดัดแปลงหรือเพ่ิมเติมการจัด การเรียนรู้ใหเ้ หมาะสมกับบริบทของแต่ละหอ้ งเรยี นได้ โดยคู่มือครูมีองค์ประกอบหลักดังตอ่ ไปนี้ ผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรเู้ ปน็ ผลลัพธ์ท่คี วรเกดิ กบั นักเรยี นท้ังดา้ นความร้แู ละทกั ษะ ซง่ึ ช่วยให้ครไู ด้ทราบ เป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ในแต่ละเน้ือหาและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ

ผลการเรยี นรไู้ ด้ ทง้ั นค้ี รอู าจเพม่ิ เตมิ เนอื้ หาหรอื ทกั ษะตามศกั ยภาพของนกั เรยี น รวมทง้ั อาจสอดแทรก เนอื้ หาทเี่ กยี่ วข้องกบั ทอ้ งถิน่ เพ่อื ให้นักเรียนมีความรู้ความเขา้ ใจมากขนึ้ ได้ การวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ การวิเคราะห์ความรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 และ จิตวทิ ยาศาสตร์ ท่เี ก่ียวขอ้ งในแต่ละผลการเรยี นรู้ เพ่ือใชเ้ ป็นแนวทางในการจดั การเรียนรู้ ผังมโนทศั น์ แผนภาพที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความคิดหลัก ความคิดรอง และความคิดย่อย เพื่อช่วย ให้ครเู ห็นความเช่อื มโยงของเน้อื หาภายในบทเรียน สาระสำ�คญั การสรุปเน้ือหาสำ�คัญของบทเรียน เพ่ือช่วยให้ครูเห็นกรอบเน้ือหาท้ังหมด รวมท้ังลำ�ดับของ เนือ้ หาในบทเรียนนน้ั เวลาทใ่ี ช้ เวลาทีใ่ ชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ ซ่งึ ครอู าจด�ำ เนนิ การตามขอ้ เสนอแนะที่กำ�หนดไว้ หรืออาจปรบั เวลาไดต้ ามความเหมาะสมกับบริบทของแต่ละหอ้ งเรียน ความรกู้ ่อนเรียน ค�ำ ส�ำ คญั หรอื ขอ้ ความทเ่ี ปน็ ความรพู้ น้ื ฐาน ซง่ึ นกั เรยี นควรมกี อ่ นทจ่ี ะเรยี นรเู้ นอ้ื หาในบทเรยี นนน้ั ตรวจสอบความรู้ก่อนเรียน ชดุ ค�ำ ถามและเฉลยท่ีใชใ้ นการตรวจสอบความรู้ก่อนเรียนตามท่ีระบไุ ว้ในหนังสือเรยี น เพอ่ื ให้ ครไู ดต้ รวจสอบและทบทวนความรใู้ ห้นักเรียนกอ่ นเร่มิ กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้ในแต่ละบทเรยี น การจัดการเรียนรู้ในแต่ละหัวข้ออาจมีองค์ประกอบแตกต่างกัน โดยรายละเอียดของแต่ละ องคป์ ระกอบมดี ังน้ี - จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ท่ีต้องการให้นักเรียนเกิดความรู้ หรือทักษะหลังจากผ่าน กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ในแต่ละหัวข้อ ซ่ึงสามารถวัดและประเมินผลได้ ท้ังนี้ครูอาจต้ัง จุดประสงคเ์ พ่มิ เตมิ จากทใ่ี หไ้ ว้ ตามความเหมาะสมกับบริบทของแตล่ ะหอ้ งเรียน

- ความเขา้ ใจคลาดเคลื่อนที่อาจเกดิ ขึ้น เนื้อหาท่ีนักเรียนอาจเกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่พบบ่อย ซึ่งเป็นข้อมูลให้ครูได้พึงระวังหรือ อาจเน้นยำ้�ในประเด็นดงั กล่าวเพอื่ ปอ้ งกนั การเกดิ ความเข้าใจที่คลาดเคลือ่ นได้ - แนวการจัดการเรียนรู้ แนวทางการจดั การเรยี นรทู้ สี่ อดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ โดยมกี ารน�ำ เสนอทงั้ ในสว่ นของ เนอื้ หาและกจิ กรรมเปน็ ขน้ั ตอนอยา่ งละเอยี ด ทงั้ นค้ี รอู าจปรบั หรอื เพม่ิ เตมิ กจิ กรรมจากทใี่ หไ้ ว้ ตามความเหมาะสมกับบรบิ ทของแต่ละห้องเรียน กิจกรรม การปฏิบัติท่ีช่วยในการเรียนรู้เน้ือหาหรือฝึกฝนให้เกิดทักษะตามจุดประสงค์การเรียนรู้ของ บทเรียน โดยอาจเปน็ การทดลอง การสาธิต การสบื คน้ ข้อมูล หรอื กิจกรรมอ่ืน ๆ ซง่ึ ควรให้นักเรยี นลงมอื ปฏบิ ัติกิจกรรมดว้ ยตนเอง โดยองค์ประกอบของกจิ กรรมมรี ายละเอียดดังนี้ - จดุ ประสงค์ เปา้ หมายท่ีตอ้ งการใหน้ ักเรียนเกดิ ความรหู้ รือทกั ษะหลงั จากผา่ นกิจกรรมนนั้ - วสั ดุและอปุ กรณ์ รายการวสั ดุ อปุ กรณ์ หรอื สารเคมี ทตี่ อ้ งใชใ้ นการท�ำ กจิ กรรม ซงึ่ ครคู วรเตรยี มใหเ้ พยี งพอส�ำ หรบั การจดั กิจกรรม - การเตรียมล่วงหนา้ ขอ้ มูลเกย่ี วกับส่งิ ทค่ี รูตอ้ งเตรียมล่วงหนา้ ส�ำ หรับการจดั กิจกรรม เชน่ การเตรียมสารละลายท่มี ี ความเขม้ ขน้ ต่าง ๆ การเตรียมตวั อย่างส่งิ มีชีวิต - ข้อเสนอแนะสำ�หรับครู ข้อมูลท่ีให้ครูแจ้งต่อนักเรียนให้ทราบถึงข้อควรระวัง ข้อควรปฏิบัติ หรือข้อมูลเพิ่มเติมใน การท�ำ กิจกรรมนั้น ๆ - ตวั อย่างผลการทำ�กจิ กรรม ตัวอย่างผลการทดลอง การสาธิต การสืบค้นข้อมูล หรือกิจกรรมอื่น ๆ เพ่ือให้ครูใช้เป็นข้อมูล สำ�หรับตรวจสอบผลการท�ำ กิจกรรมของนักเรียน - อภปิ รายและสรปุ ผล ตัวอย่างข้อมูลท่ีควรได้จากการอภิปรายและสรุปผลการทำ�กิจกรรม ซ่ึงครูอาจใช้คำ�ถาม ทา้ ยกจิ กรรมหรอื ค�ำ ถามเพม่ิ เตมิ เพอ่ื ชว่ ยใหน้ กั เรยี นอภปิ รายในประเดน็ ทต่ี อ้ งการ รวมทงั้ ชว่ ย กระตุ้นให้นักเรียนช่วยกันคิดและอภิปรายถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่ทำ�ให้ผลของกิจกรรมเป็นไปตามท่ี คาดหวงั หรืออาจไมเ่ ปน็ ไปตามท่ีคาดหวัง นอกจากน้ีอาจมีความรู้เพ่ิมเติมสำ�หรับครู เพ่ือให้ครูมีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองน้ัน ๆ เพ่ิมขึ้น ซ่ึงไมค่ วรน�ำ ไปเพม่ิ เตมิ ใหน้ กั เรียน เพราะเป็นส่วนทีเ่ สริมจากเนอ้ื หาทม่ี ีในหนังสือเรียน

แนวทางการวดั และประเมินผล แนวทางการวัดและประเมินผลท่ีสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ซ่ึงประเมินทั้งด้านความรู้ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 และจติ วทิ ยาศาสตรข์ องนกั เรยี นทค่ี วรเกดิ ขึ้นหลังจากได้เรียนรู้ในแต่ละหัวข้อ ผลท่ีได้จากการประเมินจะช่วยให้ครูทราบถึงความสำ�เร็จของ การจัดการเรียนรู้ รวมท้ังใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับ นกั เรียน เครอื่ งมอื วดั และประเมนิ ผลมอี ยหู่ ลายรปู แบบ เชน่ แบบทดสอบรปู แบบตา่ ง ๆ แบบประเมนิ ทกั ษะ แบบประเมินคุณลักษณะด้านจิตวิทยาศาสตร์ ซ่ึงครูอาจเลือกใช้เครื่องมือสำ�หรับการวัดและประเมินผล จากเครอ่ื งมอื มาตรฐานทม่ี ผี พู้ ฒั นาไวแ้ ลว้ ดดั แปลงจากเครอ่ื งมอื ทผ่ี อู้ นื่ ท�ำ ไวแ้ ลว้ หรอื สรา้ งเครอ่ื งมอื ใหม่ ข้นึ เอง ตัวอย่างของเครอ่ื งมือวัดและประเมนิ ผล ดงั ภาคผนวก เฉลยคำ�ถาม แนวค�ำ ตอบของค�ำ ถามระหวา่ งเรยี นและค�ำ ถามทา้ ยบทเรยี นในหนงั สอื เรยี น เพอ่ื ใหค้ รใู ชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการตรวจสอบการตอบค�ำ ถามของนกั เรยี น - เฉลยคำ�ถามระหวา่ งเรยี น แนวคำ�ตอบของคำ�ถามระหว่างเรียนซ่ึงมีทั้งคำ�ถามชวนคิด ตรวจสอบความเข้าใจ และ แบบฝึกหัด ทั้งนี้ครูควรใช้คำ�ถามระหว่างเรียนเพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียน ก่อนเริม่ เน้ือหาใหม่ เพ่อื ให้สามารถปรับการจัดการเรียนรใู้ ห้เหมาะสมต่อไป - เฉลยค�ำ ถามท้ายบทเรยี น แนวค�ำ ตอบของแบบฝึกหัดทา้ ยบท ซึง่ ครูควรใช้ค�ำ ถามทา้ ยบทเรียนเพอื่ ตรวจสอบว่า หลงั จาก เรียนจบบทเรียนแล้ว นักเรียนยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องใด เพื่อให้สามารถวางแผน การทบทวนหรือเน้นย้ำ�เน้อื หาให้กับนักเรียนกอ่ นการทดสอบได้

สารบัญ บทที่ 23 - 25 บทท่ี เนือ้ หา หนา้ 23 23 ความหลากหลายทางชีวภาพ 1 ผลการเรียนร ู้ 1 ความหลากหลาย การวิเคราะหผ์ ลการเรียนร ู้ 2 ทางชีวภาพ ผงั มโนทัศน ์ 6 สาระส�ำ คญั 8 เวลาทีใ่ ช้ 10 เฉลยตรวจสอบความรกู้ อ่ นเรียน 11 23.1 ความหลากหลายทางชีวภาพ 13 23.2 ความหลากหลายของส่ิงมีชีวติ 25 23.3 การศกึ ษาความหลากหลายของสิง่ มีชวี ติ 84 เฉลยแบบฝึกหัดทา้ ยบทท่ี 23 116 24 24 ระบบนิเวศและประชากร 129 ผลการเรยี นร ู้ 129 ระบบนเิ วศและ การวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นร ู้ 130 ประชากร ผงั มโนทศั น ์ 134 สาระสำ�คัญ 136 เวลาทีใ่ ช้ 137 เฉลยตรวจสอบความรู้ก่อนเรยี น 138 24.1 ระบบนเิ วศ 141 24.2 ไบโอม 161 24.3 การเปลี่ยนแปลงแทนท่ขี องส่ิงมชี ีวติ ในระบบนเิ วศ 167 24.4 ประชากร 176 เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 24 196

สารบญั บทท่ี 23 - 25 บทท่ี เนอ้ื หา 25 25 มนษุ ยก์ บั ความยง่ั ยืนของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 205 มนุษย์กบั ความยงั่ ยนื ผลการเรียนร ู้ 205 ของ การวเิ คราะห์ผลการเรยี นร้ ู 206 ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม ผังมโนทศั น ์ 212 สาระสำ�คัญ 214 เวลาท่ีใช้ 214 เฉลยตรวจสอบความร้กู ่อนเรยี น 215 25.1 ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติ 216 25.2 การใชป้ ระโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติ ปญั หาและการจดั การ 219 25.3 การอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ส่ิงแวดล้อมเพ่อื ความยงั่ ยืน 277 เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 25 284 ตัวอยา่ งเครอื่ งมอื วัดและประเมนิ ผล 294 ภาคผนวก บรรณานกุ รม 306 ที่มาของรปู 315 คณะกรรมการจัดทำ�คู่มือคร ู 316

ชวี วิทยา เลม่ 6 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ 1 23บทที่ | ความหลากหลายทางชีวภาพ ipst.me/10788 ผลการเรียนรู้ 1. อภปิ รายความส�ำ คญั ของความหลากหลายทางชวี ภาพ และความเชอื่ มโยงระหวา่ ง ความหลากหลายทาง พนั ธุกรรม ความหลากหลายของสปชี ีส์ และความหลากหลายของระบบนิเวศ 2. อธบิ ายการเกดิ เซลล์เรม่ิ แรกและวิวฒั นาการของสง่ิ มีชวี ิตเซลลเ์ ดียว 3. อธิบายลักษณะสำ�คัญ และยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตกลุ่มแบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตกลุ่มโพรทิสต์ ส่ิงมีชีวิตกลุ่มพืช สง่ิ มีชวี ติ กลุ่มฟังไจ และสิ่งมชี วี ิตกลุ่มสัตว์ 4. อธิบาย และยกตัวอย่างการจำ�แนกสิ่งมีชีวิตจากหมวดหมู่ใหญ่จนถึงหมวดหมู่ย่อย และวิธีการเขียน ช่อื วทิ ยาศาสตร์ในลำ�ดบั ขั้นสปีชสี ์ 5. สรา้ งไดโคโทมัสคีย์ในการระบุสิง่ มีชีวติ หรอื ตวั อย่างทีก่ �ำ หนด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2 บทที่ 23 | ความหลากหลายทางชีวภาพ ชวี วทิ ยา เล่ม 6 การวิเคราะห์ผลการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ 1. อภิปรายความสำ�คัญของความหลากหลายทางชีวภาพ และความเช่ือมโยงระหว่าง ความหลากหลายทางพันธุกรรม ความหลากหลายของสปีชีส์ และความหลากหลายของ ระบบนเิ วศ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมายและองคป์ ระกอบของความหลากหลายทางชวี ภาพ 2. อภิปรายความสำ�คัญของความหลากหลายทางชีวภาพ และความเชื่อมโยงระหว่าง ความหลากหลายทางพันธุกรรม ความหลากหลายของสปีชีส์ และความหลากหลายของ ระบบนเิ วศ ทกั ษะกระบวนการ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 จติ วิทยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ 1. ความอยากรอู้ ยากเหน็ 1. การสงั เกต 1. การส่อื สารสารสนเทศและ 2. ความมุ่งมน่ั อดทน 3. ความใจกวา้ ง 2. การลงความเห็นจากข้อมูล การรู้เทา่ ทันสือ่ 4. การยอมรบั ความเห็นตา่ ง 5. ความซอ่ื สตั ย์ 3. การจ�ำ แนกประเภท 2. ความร่วมมือ การท�ำ งานเป็นทีม 6. ความรอบคอบ 7. วตั ถวุ สิ ยั 4. การจดั กระท�ำ และ และภาวะผนู้ ำ� สื่อความหมายข้อมูล 3. การทำ�งาน การเรยี นรู้ และ 5. การพยากรณ์ การพ่งึ ตนเอง 6. การตคี วามหมายขอ้ มูลและ 4. คอมพิวเตอร์ และ ลงขอ้ สรปุ เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื่ สาร ผลการเรยี นรู้ 2. อธบิ ายการเกิดเซลลเ์ รม่ิ แรกและวิวัฒนาการของสิง่ มีชีวิตเซลลเ์ ดียว จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการเกิดเซลล์เรม่ิ แรกและวิวฒั นาการของสงิ่ มีชีวติ เซลล์เดยี ว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 6 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชีวภาพ 3 ทกั ษะกระบวนการ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 จติ วิทยาศาสตร์ ทางวิทยาศาสตร์ 1. ความมเี หตุผล 1. การตีความหมายข้อมลู และ 1. การสือ่ สารสารสนเทศและ 2. ความใจกว้าง 3. ความอยากรอู้ ยากเหน็ ลงขอ้ สรปุ การรูเ้ ท่าทนั สื่อ ผลการเรยี นรู้ 3. อธิบายลักษณะสำ�คัญ และยกตัวอย่างส่ิงมีชีวิตกลุ่มแบคทีเรีย ส่ิงมีชีวิตกลุ่มโพรทิสต์ สง่ิ มชี วี ติ กลมุ่ พชื สิง่ มีชีวิตกลุม่ ฟังไจ และสิ่งมชี วี ติ กลุม่ สัตว์ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายลักษณะส�ำ คญั ของแบคทีเรยี และอาร์เคยี พร้อมยกตวั อย่าง 2. อธิบายลกั ษณะสำ�คัญของโพรทสิ ต์ และการแบ่งกลุ่มของโพรทสิ ต์ พรอ้ มยกตวั อยา่ ง 3. อธิบายลักษณะสำ�คัญของพืช และการแบ่งกลุ่มของพืช และอธิบายลักษณะสำ�คัญของ สิ่งมชี วี ติ ในแต่ละกลมุ่ พร้อมยกตวั อยา่ ง 4. อธบิ ายลกั ษณะส�ำ คญั ของฟงั ไจ และการแบง่ กลมุ่ ของฟงั ไจ และอธบิ ายลกั ษณะส�ำ คญั ของ สงิ่ มีชีวิตในแตล่ ะกลมุ่ พรอ้ มยกตัวอย่าง 5. อธิบายลักษณะสำ�คัญของสัตว์ และการแบ่งกลุ่มของสัตว์ และอธิบายลักษณะสำ�คัญของ สิ่งมีชวี ติ ในแต่ละกลุ่ม พร้อมยกตวั อยา่ ง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชีวภาพ ชวี วิทยา เล่ม 6 ทกั ษะกระบวนการ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จติ วทิ ยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ 1. ความอยากรู้อยากเห็น 1. การสังเกต 1. การสือ่ สารสารสนเทศและ 2. ความมงุ่ มัน่ อดทน 3. ความใจกวา้ ง 2. การลงความเหน็ จากขอ้ มลู การรู้เท่าทนั สือ่ 4. การยอมรบั ความเหน็ ต่าง 5. ความซ่อื สัตย์ 3. การจำ�แนกประเภท 2. ความรว่ มมอื การทำ�งานเปน็ ทมี 6. ความรอบคอบ 7. วัตถวุ ิสยั 4. การจัดกระท�ำ และ และภาวะผู้น�ำ 8. ความมีเหตุผล สื่อความหมายข้อมลู 3. การทำ�งาน การเรยี นรู้ และ 5. การพยากรณ์ การพง่ึ ตนเอง 6. การตคี วามหมายข้อมูลและ 4. คอมพวิ เตอร์ และ ลงขอ้ สรุป เทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่ือสาร ผลการเรยี นรู้ 4. อธิบาย และยกตัวอย่างการจำ�แนกส่ิงมีชีวิตจากหมวดหมู่ใหญ่จนถึงหมวดหมู่ย่อย และวิธกี ารเขียนชื่อวทิ ยาศาสตร์ในลำ�ดบั ขน้ั สปชี ีส์ จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายหลักการในการจำ�แนกสิง่ มีชวี ิตออกเป็นกล่มุ หรอื หมวดหม่ตู ามระบบของลินเนยี ส 2. ยกตวั อยา่ งการจ�ำ แนกสงิ่ มชี วี ติ จากล�ำ ดบั ขน้ั ใหญจ่ นถงึ ล�ำ ดบั ขนั้ เลก็ ตามระบบของลนิ เนยี ส 3. สบื คน้ ขอ้ มลู และอธบิ ายความส�ำ คญั ของชอื่ วทิ ยาศาสตร์ และวธิ กี ารเขยี นชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ในล�ำ ดับขัน้ สปีชีส์ ทักษะกระบวนการ ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 จติ วทิ ยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ 1. การใชว้ ิจารณญาณ 1. การสังเกต 1. การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณและ 2. ความรอบคอบ 2. การลงความเห็นจากข้อมลู การแก้ปัญหา 3. วัตถุวสิ ยั 3. การจ�ำ แนกประเภท 4. การยอมรบั ความเห็นตา่ ง 4. การพยากรณ์ 2. การสือ่ สารสารสนเทศและ การรูเ้ ทา่ ทันส่ือ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 6 บทที่ 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ 5 ทกั ษะกระบวนการ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จติ วิทยาศาสตร์ ทางวิทยาศาสตร์ 5. ความใจกว้าง 5. การตีความหมายขอ้ มูลและ 3. ความร่วมมอื การท�ำ งานเปน็ ทีม 6. ความอยากรอู้ ยากเห็น 7. ความมงุ่ มนั่ อดทน ลงขอ้ สรปุ และภาวะผู้นำ� 4. การท�ำ งาน การเรียนรู้ และ การพึ่งตนเอง 5. คอมพวิ เตอร์ และ เทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสือ่ สาร ผลการเรียนรู้ 5. สรา้ งไดโคโทมัสคยี ์ในการระบุสิ่งมชี ีวิตหรอื ตัวอย่างทก่ี �ำ หนด จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธิบายความส�ำ คญั ของการระบุชื่อวทิ ยาศาสตร์ และวิธีการระบุ 2. สรา้ งไดโคโทมัสคีย์ในการระบุสง่ิ มีชวี ติ หรอื ตัวอย่างทก่ี �ำ หนด 3. อภิปรายความสัมพนั ธ์ของการจำ�แนก การต้งั ช่อื และการระบุ ทักษะกระบวนการ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จิตวทิ ยาศาสตร์ ทางวิทยาศาสตร์ 1. การสงั เกต 1. การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและ 1. การใช้วจิ ารณญาณ 2. ความรอบคอบ 2. การลงความเห็นจากขอ้ มลู การแกป้ ัญหา 3. วตั ถวุ ิสัย 4. การยอมรับความเหน็ ต่าง 3. การจ�ำ แนกประเภท 2. การสอ่ื สารสารสนเทศและ 5. ความใจกวา้ ง 6. ความอยากรูอ้ ยากเห็น 4. การพยากรณ์ การรเู้ ท่าทนั ส่ือ 7. ความมงุ่ ม่ันอดทน 5. การตีความหมายข้อมูลและ 3. ความร่วมมือ การท�ำ งานเปน็ ทมี ลงขอ้ สรุป และภาวะผูน้ �ำ 4. การทำ�งาน การเรยี นรู้ และ การพ่งึ ตนเอง 5. คอมพวิ เตอร์ และ เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สาร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

6 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชีวภาพ ชวี วทิ ยา เล่ม 6 ผงั มโนทศั น์ บทที่ 23 ระดบั ของความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายของสง่ิ มีชีวิต มี ศกึ ษาเกย่ี วกับ ความหลากหลายทางพนั ธกุ รรม กำ�เนดิ เซลลเ์ ร่มิ แรก ความหลากหลายของสปีชสี ์ กลมุ่ โพรแคริโอต มี ความหลากหลายของระบบนิเวศ แบคทีเรีย อาร์เคยี กลุ่มยูแครโิ อต มี โพรทสิ ต์ พชื ฟังไจ สัตว์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 6 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพ ศกึ ษาเกี่ยวกบั อนุกรมวธิ านของส่งิ มีชวี ิต ประกอบด้วย การจ�ำ แนก การตง้ั ช่ือ การระบุ ศึกษาเกยี่ วกบั ก�ำ เนดิ เซลล์ยูแคริโอต สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

8 บทที่ 23 | ความหลากหลายทางชีวภาพ ชวี วทิ ยา เล่ม 6 สาระส�ำ คัญ ความหลากหลายทางชวี ภาพมี 3 ระดบั ไดแ้ ก่ ความหลากหลายทางพนั ธกุ รรม ความหลากหลาย ของสปีชีส์ และความหลากหลายของระบบนิเวศ ซึ่งมีความสัมพันธ์กันหากเกิดการเปล่ียนแปลง ท่ีความหลากหลายระดับใดระดับหนึ่งจะส่งผลกระทบไปที่ความหลากหลายในระดับอื่นด้วย ประเทศไทยมคี วามหลากหลายทางชวี ภาพทอ่ี ดุ มสมบรู ณแ์ ตเ่ นอ่ื งจากมกี ารพฒั นาอยา่ งสบื เนอื่ งและ ความตอ้ งการใชป้ ระโยชนโ์ ดยไมค่ �ำ นงึ ถงึ ขดี จ�ำ กดั ของการฟนื้ ตวั ของความหลากหลายทางชวี ภาพ จงึ ควรอนรุ ักษ์เพือ่ ใหเ้ กิดการใช้ประโยชนจ์ ากความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศอยา่ งย่ังยนื ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตเกิดจากวิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิตควบคู่ไปกับการเปลี่ยนแปลง ของสงิ่ แวดลอ้ มตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั โดยมจี ดุ เรมิ่ ตน้ จากววิ ฒั นาการเกดิ เซลลเ์ รมิ่ แรก จากนน้ั พฒั นา ไปเป็นเซลล์โพรแคริโอต และเม่ือเกิดการเปล่ียนแปลงของระดับออกซิเจนบนโลกที่เกิดจาก กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของโพรแครโิ อตบางกลมุ่ จงึ น�ำ ไปสวู่ วิ ฒั นาการของการเกดิ เซลลย์ แู ครโิ อต ซ่ึงนบั เปน็ จดุ เปล่ียนท่ที �ำ ให้เกิดวิวฒั นาการทีน่ �ำ มาซ่งึ ความหลากหลายของสงิ่ มชี ีวิตในปัจจุบัน สง่ิ มชี วี ติ ในปจั จบุ นั อาจแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 กลมุ่ ใหญ่ ไดแ้ ก่ โพรแครโิ อต และยแู ครโิ อต โดยโพรแครโิ อต ทพ่ี บในปจั จุบันมแี บคทีเรยี และอารเ์ คีย สว่ นยูแครโิ อตทพ่ี บในปัจจุบนั มี โพรทสิ ต์ พชื ฟังไจ และสตั ว์ ซึง่ ส่ิงมีชวี ิตแตล่ ะกลุ่มจะมลี ักษณะเฉพาะดงั นี้ แบคทีเรียเป็นสิ่งมีชีวิตท่ีผนังเซลล์มีเพปทิโดไกลแคนเป็นองค์ประกอบสำ�คัญ แบคทีเรียท่ัวไป สรา้ งอาหารเองไม่ได้ ดำ�รงชวี ิตแบบผสู้ ลายสารอินทรีย์ แบบปรสติ แตแ่ บคทเี รียบางกลุ่มสร้างอาหาร เองไดจ้ ากกระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง ในการจ�ำ แนกแบคทเี รยี พจิ ารณาไดห้ ลายเกณฑ์ เชน่ รปู รา่ ง ผนังเซลล์ การดำ�รงชีวติ ไดใ้ นทม่ี อี อกซิเจน การสรา้ งอาหาร อารเ์ คียเป็นสง่ิ มชี วี ติ ท่ีผนังเซลล์ประกอบดว้ ยสารพอลิแซก็ คาไรด์และโปรตีนทห่ี ลากหลายแต่ ไม่มสี ารเพปทโิ ดไกลแคน โพรทิสต์เป็นสิ่งมีชีวิตท่ีมีลักษณะหลากหลาย มีท้ังเซลล์เดียวและหลายเซลล์ที่ยังไม่พัฒนาไป เปน็ เนอื้ เยอื่ อาจมหี รอื ไมม่ ผี นงั เซลลเ์ ปน็ สว่ นประกอบของเซลล์ โดยอาจแบง่ เปน็ กลมุ่ ยอ่ ยได้ คอื กลมุ่ โพรโทซัว กลุ่มสาหร่าย กลุ่มทค่ี ลา้ ยรา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 6 บทที่ 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ 9 พชื เปน็ สงิ่ มชี วี ติ หลายเซลลท์ มี่ ผี นงั เซลลซ์ งึ่ มเี ซลลโู ลสเปน็ องคป์ ระกอบ มวี ฏั จกั รชวี ติ แบบสลบั และมีระยะเอ็มบริโอในการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศ พืชสร้างอาหารเองได้จากกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสง โดยอาจแบง่ ตามการมที ่อล�ำ เลียงไดเ้ ป็น พืชไม่มีทอ่ ลำ�เลยี ง และพชื มีท่อลำ�เลยี งซง่ึ แบง่ เปน็ ไลโคไฟต์ และยฟู ลิ โลไฟต์ ฟังไจเป็นสิ่งมีชีวิตท่ีมีเซลล์เดียวและหลายเซลล์ เซลล์ของฟังไจยังไม่พัฒนาไปเป็นเน้ือเยื่อ ผนังเซลล์มีไคทินเป็นองค์ประกอบสำ�คัญ ฟังไจสร้างอาหารเองไม่ได้และดำ�รงชีวิตแบบผู้สลาย สารอนิ ทรยี แ์ บบปรสติ โดยตวั อยา่ งฟงั ไจทพี่ บไดบ้ อ่ ยมดี งั น้ี ฟงั ไจกลมุ่ ไคทรดิ ฟงั ไจกลมุ่ ทสี่ บื พนั ธแ์ุ บบ อาศัยเพศด้วยการสร้างไซโกสปอร์ ฟังไจกลุ่มท่ีสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศด้วยการสร้างแอสโคสปอร์ ฟงั ไจกลุ่มท่ีสืบพันธแ์ุ บบอาศัยเพศดว้ ยการสรา้ งเบสิดิโอสปอร์ สัตว์เป็นยูแคริโอตที่มีหลายเซลล์ ไม่มีผนังเซลล์ ส่วนใหญ่เซลล์จัดเรียงตัวเป็นเนื้อเยื่อซึ่ง ทำ�หน้าท่ีเฉพาะ สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตท่ีสร้างอาหารเองไม่ได้ ดำ�รงชีวิตเป็นผู้บริโภคในระบบนิเวศ สัตว์ หลายชนิดเป็นแหล่งอาหารทสี่ �ำ คัญของมนุษย์ รวมทง้ั มคี ุณคา่ ทางเศรษฐกจิ สตั วอ์ าจแบง่ เปน็ กลมุ่ ยอ่ ยโดยพจิ ารณาลกั ษณะตา่ ง ๆ เชน่ การมหี รอื ไมม่ เี นอื้ เยอื่ สมมาตรของ รา่ งกาย การเปลย่ี นแปลงของบลาสโทพอร์ การเจรญิ ในระยะตวั ออ่ น ท�ำ ใหอ้ าจแบง่ สตั วเ์ ปน็ กลมุ่ ยอ่ ย เช่น กลุม่ พอรเิ ฟอรนั กลุ่มไนดาเรียน กลมุ่ แพลทเี ฮลมินท์ กลมุ่ มอลลัส กลุม่ แอนเนลิด กลมุ่ นีมาโทด กลมุ่ อาร์โทรพอด กลมุ่ เอไคโนเดิร์ม และกลมุ่ คอร์เดต เปน็ ต้น อนุกรมวิธานเป็นการศึกษาความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต ซ่ึงกระบวนการพื้นฐานของศาสตร์ ทางด้านอนกุ รมวิธานประกอบดว้ ยการจำ�แนก การตง้ั ชอื่ และการระบุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

10 บทที่ 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ ชวี วทิ ยา เล่ม 6 เวลาทใี่ ช้ 3.0 ชั่วโมง บทน้คี วรใช้เวลาสอนประมาณ 28 ช่วั โมง 2.0 ชั่วโมง 23.1 ความหลากหลายทางชีวภาพ 1.0 ช่วั โมง 0.5 ช่ัวโมง 23.2 ความหลากหลายของส่ิงมชี วี ิต 0.5 ชัว่ โมง 23.2.1 กำ�เนิดเซลล์เร่มิ แรก 1.0 ชัว่ โมง 3.0 ช่ัวโมง 23.2.2 กลมุ่ โพรแครโิ อต 2.0 ช่วั โมง 9.0 ช่ัวโมง แบคทเี รยี 2.5 ช่วั โมง อารเ์ คยี 1.0 ช่ัวโมง 2.5 ช่วั โมง 23.2.3 กลุ่มยูแครโิ อต 28 ชั่วโมง กำ�เนิดเซลลย์ แู คริโอต โพรทสิ ต์ พชื ฟังไจ สัตว์ 23.3 การศกึ ษาความหลากหลายของสงิ่ มีชีวติ 23.3.1 การจำ�แนกสิง่ มีชีวิต 23.3.2 การตัง้ ชื่อวิทยาศาสตร์ของส่งิ มีชวี ิต 23.3.3 การระบุช่อื วิทยาศาสตร์ของส่งิ มชี วี ิต รวม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เลม่ 6 บทที่ 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ 11 เฉลยตรวจสอบความรู้ก่อนเรยี น ใหน้ กั เรียนใสเ่ ครอ่ื งหมายถกู (√) หรอื ผิด (×) หนา้ ขอ้ ความตามความเข้าใจของนักเรยี น 1. สงิ่ มชี วี ติ แตล่ ะสปชี สี จ์ ะมจี �ำ นวนนวิ คลโี อไทดแ์ ละการจดั เรยี งล�ำ ดบั ของนวิ คลโี อไทดใ์ น โมเลกุล DNA แตกต่างกนั ทำ�ใหล้ กั ษณะทปี่ รากฏมคี วามแตกต่างกนั 2. ความแปรผันทางพันธุกรรมในสัตว์ส่วนหน่ึงเป็นผลมาจากการสร้างเซลล์สืบพันธุ์จาก การแบง่ เซลลแ์ บบไมโอซิสและไมโทซิส 3. ลกั ษณะทางพันธกุ รรมทีถ่ กู ถา่ ยทอดจากรนุ่ หน่ึงไปสู่อีกร่นุ หน่งึ อาจเปลย่ี นแปลงไดจ้ าก การเกดิ มิวเทชนั ของสารพนั ธกุ รรมในเซลล์สืบพันธุ์ 4. เจเนติกดริฟต์แบบสุ่ม การถ่ายเทยีน การผสมพันธุ์แบบสุ่ม มิวเทชัน และการคัดเลือก โดยธรรมชาติ สามารถทำ�ให้ยีนพูลในประชากรเปล่ียนแปลง และอาจนำ�ไปสู่การเกิด ส่งิ มชี วี ติ สปชี ีส์ใหม่ 5. ประชากร คอื กลุม่ ส่งิ มีชีวติ ทุกชนิดท่ีอาศยั อยู่รว่ มกันในชว่ งเวลาเดยี วกัน 6. ระบบนิเวศประกอบด้วยองค์ประกอบทางกายภาพ และองค์ประกอบทางชีวภาพ โดย แต่ละระบบนิเวศที่แตกต่างกันจะมีองค์ประกอบทางกายภาพและองค์ประกอบทาง ชวี ภาพทเ่ี ป็นลักษณะเฉพาะ 7. สิง่ แวดล้อมท่สี ่งิ มชี วี ติ อาศยั อย่มู ีผลต่อจำ�นวน ชนดิ รูปรา่ ง ลักษณะ และพฤติกรรมของ สิ่งมีชวี ิต 8. โพรแครโิ อตประกอบดว้ ยเซลล์ท่ไี มม่ ีเย่ือหมุ้ นวิ เคลียส แตม่ ีบางออรแ์ กเนลล์ทมี่ ีเยอื่ หมุ้ 9. ยแู ครโิ อตประกอบดว้ ยเซลลท์ ม่ี เี ยอื่ หมุ้ นวิ เคลยี ส และมอี อรแ์ กเนลลห์ ลายชนดิ ทม่ี เี ยอ่ื หมุ้ 10. การแปรผนั ทางพนั ธกุ รรม มวิ เทชนั และการคดั เลอื กโดยธรรมชาติ ท�ำ ใหเ้ กดิ ววิ ฒั นาการ และความหลากหลายของส่งิ มีชวี ิต สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

12 บทที่ 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ ชีววิทยา เลม่ 6 แนวการจดั การเรียนรู้ ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนเก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพท่ีเรียนในระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ วา่ ความหลากหลายทางชวี ภาพ แบง่ ไดเ้ ปน็ 3 ระดบั ไดแ้ ก่ ความหลากหลายของ ระบบนเิ วศ ความหลากหลายของชนดิ สง่ิ มชี วี ติ และความหลากหลายทางพนั ธกุ รรม จากนน้ั ใชร้ ปู น�ำ บท ของหนงั สอื เรยี นซง่ึ เปน็ รปู ความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ ทจ่ี ดั แสดงไวใ้ นพพิ ธิ ภณั ฑป์ ระกอบการใชค้ �ำ ถาม ถามนกั เรยี นวา่ จากรูปนำ�บท ความหลากหลายทางชวี ภาพทแ่ี สดงอย่เู ปน็ ความหลากหลายทางชีวภาพ ในระดบั ใด ความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิต ครูช้ีแจงว่าในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายคำ�ว่า “ชนิดส่ิงมีชีวิต” คือคำ�ว่า “สปีชีส์” ดังน้ัน “ความหลากหลายของชนดิ สง่ิ มชี วี ติ ” คอื “ความหลากหลายของสปชี สี ”์ เหตผุ ลทใ่ี ชค้ �ำ วา่ สปชี สี ์ แทน ชนดิ ในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เนอ่ื งจากมกี ารใชค้ �ำ วา่ ชนดิ เพอ่ื สอ่ื ถงึ ประเภท การแบง่ พวก ในเนอ้ื หาของบทตา่ ง ๆ เพอ่ื ความชดั เจนของการสอ่ื ความหมายจงึ เลอื ก ใชค้ �ำ วา่ สปชี สี ์ แทนค�ำ วา่ ชนดิ นอกจากนย้ี งั ตอ้ งการใหน้ กั เรยี นมคี วามคนุ้ เคยกบั ศพั ทอ์ กี ดว้ ย ครใู ชค้ �ำ ถามในบทน�ำ ของหนงั สอื เรยี นเพอ่ื น�ำ เขา้ สเู่ นอ้ื หาถามนกั เรยี นวา่ สิ่งมีชีวิตสปีชีส์ต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร และการศึกษาความหลากหลาย ทางชวี ภาพมีความสำ�คัญอย่างไร ค�ำ ตอบอาจมไี ดห้ ลากหลายซงึ่ นกั เรยี นจะไดค้ �ำ ตอบหลงั จากเรยี น เรอื่ ง ความหลากหลาย ทางชวี ภาพ ความหลากหลายของสงิ่ มชี วี ติ และผา่ นการท�ำ กจิ กรรม 23.1 23.2 และ 23.3 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 6 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ 13 23.1 ความหลากหลายทางชวี ภาพ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายความหมายและองค์ประกอบของความหลากหลายทางชวี ภาพ 2. อภิปรายความสำ�คัญของความหลากหลายทางชีวภาพ และความเช่ือมโยงระหว่าง ความหลากหลายทางพันธุกรรม ความหลากหลายของสปีชีส์ และความหลากหลาย ของระบบนิเวศ แนวการจัดการเรียนรู้ ค รู นำ � เ ข้ า สู่ บ ท เ รี ย น ด้ ว ย รู ป ส่ิ ง มี ชี วิ ต ท่ี ห ล า ก ห ล า ย โ ด ย ใ ห้ ค ร อ บ ค ลุ ม ส่ิ ง มี ชี วิ ต ใ ห้ มี ความหลากหลายมากทส่ี ดุ โดยเลอื กสง่ิ มชี วี ติ ในชมุ ชนทน่ี กั เรยี นรจู้ กั และทราบประโยชนข์ องสง่ิ มชี วี ติ นน้ั ประกอบกบั การใชค้ �ำ ถาม ตวั อยา่ งเชน่ ครอู ยภู่ าคใต้ ใชส้ ะตอเพอ่ื อธบิ ายถงึ ประโยชน์ จากนน้ั จงึ ใชค้ �ำ ถามถามนกั เรยี นวา่ นกั เรียนทราบไหมว่าผกั พน้ื เมอื งของภาคเหนอื คืออะไรและใช้ประโยชนอ์ ย่างไร จากการอภปิ รายรว่ มกนั นกั เรยี นควรไดเ้ หน็ ความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ และการใชป้ ระโยชน์ จากความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ ในแตล่ ะพน้ื ท่ี ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู ความหลากหลายทางชวี ภาพพรอ้ มกบั ใชค้ �ำ ถามน�ำ ในหนงั สอื เรยี น เพอ่ื อธบิ ายความหมายของความหลากหลายทางชวี ภาพ โดยถามนกั เรยี นวา่ ความหลากหลายทางชีวภาพคืออะไร ความหลากหลายทางชีวภาพ คือ ความหลากหลายหรือความแปรผันท่ีพบเกิดขึ้นกับ สิ่งมีชีวิตในทุกแห่ง รวมถึงความซับซ้อนทางนิเวศซ่ึงมีส่ิงมีชีวิตเป็นส่วนหน่ึงของ องค์ประกอบ ความหลากหลายทางชีวภาพนี้ หมายรวมถึง ความหลากหลายที่เกิดข้ึน ภายในสปีชีส์ ระหวา่ งสปชี ีส์ และของระบบนเิ วศ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

14 บทที่ 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ ชีววทิ ยา เลม่ 6 ครใู ชร้ ปู วาดจากรปู 23.1 ซง่ึ แสดงความหลากหลายทางชวี ภาพ 3 ระดบั เพอ่ื ทบทวนเกย่ี วกบั ประเภทของความหลากหลายทางชวี ภาพ 3 ระดบั ไดแ้ ก่ ความหลากหลายทางพนั ธกุ รรม ความหลากหลาย ของสปชี สี ์ และความหลากหลายของระบบนเิ วศ และใหน้ กั เรยี นศกึ ษาขอ้ มลู เกย่ี วกบั ความหลากหลาย ทางชวี ภาพทง้ั 3 ระดบั ในหนงั สอื เรยี น แลว้ อภปิ รายรว่ มกนั โดยใชค้ �ำ ถามส�ำ หรบั แตล่ ะระดบั ดงั น้ี ความหลากหลายทางพนั ธุกรรม จากรปู 23.1 สง่ิ มชี วี ติ ใดทแี่ สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความหลากหลายทางพนั ธกุ รรมไดช้ ดั เจนทส่ี ดุ ความหลากหลายทางพนั ธกุ รรมคอื อะไร ความหลากหลายทางพนั ธกุ รรมมีประโยชนต์ ่อส่งิ มชี ีวิตในระดับสปชี ีสอ์ ย่างไร จากการอภิปรายร่วมกันนักเรียนควรสรุปได้ว่า หอยทับทิมท่เี ปลือกมีลวดลายและสีท่หี ลาก หลายแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความหลากหลายทางพนั ธกุ รรม โดยความหลากหลายทางพนั ธกุ รรมเปน็ ความแตก ตา่ งทางพนั ธกุ รรมในสง่ิ มชี วี ติ สปชี สี เ์ ดยี วกนั ซง่ึ เปน็ ผลจากความแปรผนั ทางพนั ธกุ รรมโดยอาจเกดิ จาก มวิ เทชนั และการสบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศ ความหลากหลายทางพนั ธกุ รรมสง่ ผลใหส้ ง่ิ มชี วี ติ สปชี สี เ์ ดยี วกนั มลี กั ษณะทห่ี ลากหลาย ท�ำ ใหม้ โี อกาสทจ่ี ะอยไู่ ดใ้ นแหลง่ ทอ่ี ยทู่ ห่ี ลากหลายและสปชี สี น์ น้ั สามารถอยรู่ อด ไดเ้ มอ่ื สภาพแวดลอ้ มเปลย่ี นแปลงไป ความหลากหลายของสปีชสี ์ จากรปู 23.1 ส่ิงมีชีวิตใดบ้างทีแ่ สดงให้เห็นถึงความหลากหลายของสปชี ีส์ ความหลากหลายของสปชี ีส์ คือ อะไร จากการอภปิ รายรว่ มกนั นกั เรยี นควรตอบไดว้ า่ กงุ้ หอยเสยี บ เพรยี ง หอยทบั ทมิ ปกู า้ มดาบ ปลาตีน แสดงให้เห็นความหลากหลายของสปีชีส์ ควรอธิบายได้ว่า ความหลากหลายของสปีชีส์เป็น จ�ำ นวนสปชี สี ข์ องสง่ิ มชี วี ติ ทพ่ี บในพน้ื ทใ่ี ดพน้ื ทห่ี นง่ึ ณ ชว่ งเวลาหนง่ึ หรอื เรยี กวา่ ความมากสปชี สี ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 6 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ 15 ความรเู้ พม่ิ เตมิ สำ�หรบั ครู ความหลากหลายของสปชี สี ใ์ นพนื้ ทใ่ี ดพน้ื ทหี่ นงึ่ นอกจากจะพจิ ารณาจากความมากสปชี สี เ์ พยี ง อย่างเดียวแล้ว ยังอาจพิจารณาจากความมากสปีชีส์ร่วมกับสัดส่วนของแต่ละสปีชีส์ได้ด้วย ตวั อยา่ งเช่น จากการศึกษาป่าไม้ 2 แห่งทมี่ ขี นาดใกลเ้ คยี งกนั พบพชื 4 สปีชสี ์ ได้แก่ A B C และ D โดยมี สัดสว่ นของแตล่ ะสปชี ีส์ ดงั นี้ ปา่ แหง่ ท่ี 1 มี A 25% B 25% C 25% และ D 25% ปา่ แหง่ ท่ี 2 มี A 80% B 5% C 5% และ D 10% ดงั รปู A= B= C= D= ป่าแหง่ ที่ 1 ปา่ แห่งที่ 2 จากข้อมลู จะเหน็ วา่ ป่าท้งั 2 แห่งประกอบด้วยพชื จ�ำ นวน 4 สปีชสี เ์ ท่ากัน แตม่ คี วามแตกตา่ ง กันของสัดส่วนท่ีปรากฏของแต่ละสปีชีส์ ซึ่งเมื่อสังเกตป่าแห่งที่ 1 จะเห็นได้อย่างรวดเร็วว่า ประกอบดว้ ยพืช 4 สปีชสี ์ แตเ่ มื่อสงั เกตป่าแหง่ ท่ี 2 จะเหน็ พืชสปีชีส์ A ได้งา่ ยทส่ี ุด และเหน็ พชื สปชี สี อ์ น่ื ไดย้ าก ดงั นน้ั ถา้ พจิ ารณาจ�ำ นวนสปชี สี ข์ องพชื และสดั สว่ นของแตล่ ะสปชี สี ร์ ว่ มกนั แลว้ จะพบวา่ ปา่ แห่งท่ี 1 มีความหลากหลายของสปีชสี ์พชื สูงกว่าป่าแหง่ ท่ี 2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

16 บทที่ 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ ชีววิทยา เลม่ 6 ครูอธิบายเพ่มิ เติมว่าในการทำ�งานจริงของนักอนุกรมวิธานจะไม่ได้พิจารณาเพียงแค่ระดับ สปชี สี เ์ ทา่ นน้ั แตส่ ามารถพจิ ารณาความหลากหลายไดใ้ นทกุ ล�ำ ดบั ขน้ั ของอนกุ รมวธิ าน เชน่ จนี สั แฟมลิ ี ออเดอร์ ซง่ึ ตอ้ งเรม่ิ จากการศกึ ษาสง่ิ มชี วี ติ ในล�ำ ดบั ขน้ั สปชี สี ก์ อ่ น ตวั อยา่ งเชน่ การศกึ ษาความหลากหลาย ของพชื ในพน้ื ท่ี 2 แหง่ พบวา่ พน้ื ทท่ี ่ี 1 มคี วามหลากหลายของสปชี สี ส์ งู กวา่ พน้ื ทท่ี ่ี 2 แตเ่ มอ่ื พจิ ารณา อนกุ รมวธิ านในล�ำ ดบั ขน้ั จนี สั อาจพบวา่ พน้ื ทท่ี ่ี 2 มคี วามหลากหลายในล�ำ ดบั ขน้ั จนี สั สงู กวา่ พน้ื ทท่ี ่ี 1 ซง่ึ นกั อนกุ รมวธิ านควรทจ่ี ะอภปิ รายหรอื มองใหเ้ หน็ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความแตกตา่ งของสภาพแวดลอ้ ม ของพน้ื ทท่ี ่ี 1 และ 2 กบั ความหลากหลายของสปชี สี ใ์ นแตล่ ะล�ำ ดบั ขน้ั ได้ ความหลากหลายของระบบนเิ วศ เพราะเหตุใดรปู 23.1 จงึ แสดงถึงความหลากหลายของระบบนิเวศ ความหลากหลายของระบบนเิ วศคืออะไร ให้นักเรียนยกตัวอย่างระบบนิเวศท่ีพบในประเทศไทย และอธิบายว่าเพราะเหตุใดจึง กล่าววา่ ระบบนเิ วศมีความซับซอ้ นในแงข่ องสง่ิ มีชวี ติ และองค์ประกอบทางกายภาพ จากการอภปิ รายรว่ มกนั นกั เรยี นควรสรปุ ไดว้ า่ เนอ่ื งจากรปู 23.1 มรี ะบบนเิ วศหลายแบบ คอื ระบบนเิ วศปา่ ชายเลน ระบบนเิ วศหาดหนิ ระบบนเิ วศหาดทราย และระบบนเิ วศน�ำ้ เคม็ รปู นจ้ี งึ เปน็ รปู ทแ่ี สดงถงึ ความหลากหลายของระบบนเิ วศ โดยความหลากหลายของระบบนเิ วศ เปน็ ระบบนเิ วศแบบ ตา่ ง ๆ ทอ่ี ยใู่ นพน้ื ทห่ี นง่ึ เชน่ ในประเทศไทยมรี ะบบนเิ วศปา่ ไมท้ ห่ี ลากหลาย และยงั มรี ะบบนเิ วศแบบ อ่ืน ๆ อีกหลายแบบ เช่น ระบบนิเวศทุ่งหญ้า ระบบนิเวศแหล่งนำ้� ระบบนิเวศนาข้าว โดยแต่ละ ระบบนิเวศมีความซับซ้อนเน่อื งจากมีส่งิ มีชีวิตหลากหลายสปีชีส์ท่มี ีบทบาทต่าง ๆ ในระบบนิเวศ ซ่งึ สง่ิ มชี วี ติ เหลา่ นน้ั มคี วามสมั พนั ธก์ นั และเกย่ี วขอ้ งกบั องคป์ ระกอบทางกายภาพในพน้ื ทน่ี น้ั ดว้ ย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 6 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ 17 ตรวจสอบความเขา้ ใจ ความหลากหลายทางพันธกุ รรมในสิง่ มีชีวติ เป็นผลจากอะไร เป็นผลจากการสบื พนั ธุแ์ บบอาศัยเพศและมวิ เทชัน ความหลากหลายทางพันธุกรรมมปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร ความหลากหลายทางพนั ธกุ รรมท�ำ ใหส้ ง่ิ มชี วี ติ สามารถด�ำ รงชวี ติ ไดใ้ นแหลง่ ทอ่ี ยทู่ ห่ี ลากหลาย และเม่ือมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของแหล่งท่ีอยู่ประชากรส่วนหนึ่งก็จะมีโอกาส อยู่รอดได้ และนอกจากนี้มนุษย์ยังใช้ประโยชน์ของความหลากหลายทางพันธุกรรม คือ ทำ�ให้เกษตรกรสามารถเลือกขยายพันธุ์พืชและสัตว์ที่ตรงกับความต้องการของตลาด ในแต่ละภมู ภิ าคของประเทศได้ ความหลากหลายของสปชี ีสใ์ นพ้ืนทใ่ี ดพนื้ ท่ีหนึง่ พิจารณาจากอะไร พจิ ารณาจากจำ�นวนสปีชีสท์ ี่พบในพ้นื ทใ่ี ดพนื้ ท่ีหนึง่ หรือความมากสปชี สี ์ จงยกตวั อยา่ งความสมั พนั ธข์ องระบบนเิ วศปา่ ชายเลน และทะเลซงึ่ เปน็ ระบบนเิ วศทอี่ ยตู่ ดิ กบั ปา่ ชายเลน ระบบนเิ วศปา่ ชายเลนท�ำ หนา้ ทกี่ รองสง่ิ ปฏกิ ลู และสารพษิ ไมใ่ หไ้ หลลงสทู่ ะเล และเปน็ แหลง่ วางไข่ของปลาบางชนิดที่อาศัยอยู่ในทะเล เม่ือปลาโตเต็มท่ีแล้วจึงจะออกไปดำ�รงชีวิตใน ทะเล กิจกรรม 23.1 ส�ำ รวจความหลากหลายทางชีวภาพ จดุ ประสงค์ 1. ระบุและอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพทั้ง ความหลากหลายทางพันธุกรรม ความหลากหลายของสปีชสี ์ และความหลากหลายของระบบนิเวศ 2. อภปิ รายความเชอื่ มโยงระหวา่ งความหลากหลายทางพนั ธกุ รรม ความหลากหลายของสปชี สี ์ และความหลากหลายของระบบนเิ วศ เวลาทใ่ี ช้ (โดยประมาณ) 2 ชว่ั โมง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

18 บทที่ 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ ชีววทิ ยา เลม่ 6 การเตรียมการลว่ งหน้า ครูอาจต้องสำ�รวจสิ่งมีชีวิตรอบโรงเรียนก่อนเพื่อกำ�หนดพ้ืนท่ีให้กับชั้นเรียนและบันทึก ขอ้ มลู ชอื่ สามญั ของสงิ่ มชี วี ติ เพอื่ ท�ำ ความเขา้ ใจรว่ มกนั กบั นกั เรยี นกอ่ นทจ่ี ะใหน้ กั เรยี นลงพน้ื ท่ี เพ่ือสำ�รวจจริง สำ�หรับในกรณีที่ไม่สามารถระบุชื่อสามัญของส่ิงมีชีวิตครูอาจมอบหมายให้ นักเรยี นบนั ทึกเป็นรปู วาด รูปถา่ ย และบันทกึ ข้อมูลเปน็ รหสั ชือ่ โดยพน้ื ที่ที่ก�ำ หนดแตล่ ะแหง่ ควรเปน็ ระบบนเิ วศทแี่ ตกตา่ งกนั หากไมม่ รี ะบบนเิ วศตามธรรมชาตอิ าจใชร้ ะบบนเิ วศทมี่ นษุ ย์ สร้างขึ้นร่วมด้วย เช่น บริเวณริมร้ัว บริเวณชายคา บริเวณบ่อน้ำ�ท่ีขุด บริเวณอ่างเลี้ยงปลา บริเวณสนามหญ้า นอกจากน้ีในการกำ�หนดพ้ืนท่ีควรคำ�นึงถึงความปลอดภัยของนักเรียนใน การส�ำ รวจ เมื่อได้สถานท่ีของชั้นเรียนแล้ว ครูและนักเรียนช่วยกันระดมความคิดเพื่อเตรียมวัสดุ และอุปกรณ์ที่อาจต้องใช้ในการสำ�รวจ เช่น ช้อนปลูก ปากคีบ แว่นขยาย สมุดจดบันทึก โทรศพั ทม์ อื ถอื (ถา้ มี) ถุงมือ แนวการจัดกิจกรรม ตอนที่ 1 สำ�รวจและเกบ็ ขอ้ มูลความหลากหลายทางชวี ภาพ 1. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั ท�ำ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั วธิ กี ารท�ำ กจิ กรรม โดยเนน้ ใหน้ กั เรยี นบนั ทกึ ผลการสำ�รวจในแต่ละขอ้ ทีต่ อ้ งมกี ารเกบ็ และบนั ทึกขอ้ มลู 2. ครเู นน้ วา่ เมอ่ื จบกจิ กรรมแลว้ นกั เรยี นควรระบคุ วามหลากหลายทางชวี ภาพทง้ั ความหลากหลาย ทางพันธุกรรม ความหลากหลายของสปีชีส์ และความหลากหลายของระบบนิเวศ และ เห็นถึงความเชือ่ มโยงระหว่างความหลากหลายทางชวี ภาพทงั้ 3 ระดบั ได้ ตอนท่ี 2 ความหลากหลายทางชวี ภาพ 1. ครูให้นักเรียนนำ�เสนอผลการสำ�รวจในรูปแบบของสื่อท่ีน่าสนใจ เช่น คลิปวีดิทัศน์ โปสเตอรท์ �ำ มอื สไลดน์ �ำ เสนอ เปน็ ตน้ และอธบิ ายความหลากหลายทางชวี ภาพทง้ั 3 ระดบั ทพ่ี บ โดยนกั เรยี นควรระบไุ ดว้ า่ ความหลากหลายแตล่ ะระดบั ทน่ี กั เรยี นส�ำ รวจพบ มอี ะไรบา้ ง 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายเก่ียวกับสิ่งมีชีวิตท่ีสำ�รวจเพ่ือระบุความหลากหลาย ทางชีวภาพ ท้ังความหลากหลายทางพันธุกรรม ความหลากหลายของสปีชีส์ และ ความหลากหลายของระบบนเิ วศ ทพ่ี บในพน้ื ทท่ี ส่ี �ำ รวจ และอธบิ ายเชอ่ื มโยงความหลากหลาย ทง้ั 3 ระดับ โดยมตี วั อย่างการอภปิ รายดงั น้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 6 บทที่ 23 | ความหลากหลายทางชีวภาพ 19 สิ่งมีชีวิตที่พบในสวนของโรงเรียนท่ีมีความหลากหลายทางพันธุกรรมมีหลากหลายสปีชีส์ เช่น บานชน่ื ปทุมมา กระรอกหลากสี โดยบานชนื่ มคี วามหลากหลายในความสงู ของต้น และสี ของกลบี ดอก สว่ นปทมุ มามคี วามหลากหลายของใบประดบั และกลบี ดอกส�ำ หรบั กระรอกหลากสี มีความหลากหลายของสีขน แหล่งท่ีอยู่ที่พบบานชื่นจากการสำ�รวจบริเวณแปลงไม้ดอกใต้ ตน้ ไมใ้ หญ่ (แหลง่ ทอ่ี ยทู่ ี่ 1) ยงั พบสงิ่ มชี วี ติ อน่ื ทนี่ อกเหนอื จาก 3 สปชี สี ข์ า้ งตน้ เชน่ หางนกยงู ฝรง่ั อีกา กล้วยไม้ ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงความหลากหลายทางสปีชีส์ในบริเวณนี้ และพบบานชื่น ในอีกแหล่งที่อยู่อีกบริเวณหนึ่ง คือ ลานปลูกต้นไม้ใหญ่ที่ไม่มีเงาร่มไม้ (แหล่งที่อยู่ที่ 2) ซ่ึงมี องคป์ ระกอบทางกายภาพและชวี ภาพแตกต่างจากบริเวณแรก องคป์ ระกอบทางกายภาพและชวี ภาพทแ่ี ตกตา่ งกนั ของทงั้ 2 แหลง่ ทอี่ ยทู่ สี่ ง่ ผลตอ่ การเจรญิ ของบานชื่น คือ ในแหล่งท่ีอยู่ท่ี 1 มีต้นหางนกยูงฝรั่งขึ้นปกคลุมบริเวณแปลงปลูกจึงทำ�ให้ แปลงปลกู บรเิ วณนไี้ ดร้ บั แสงนอ้ ย ตา่ งจากแหลง่ ทอี่ ยทู่ ี่ 2 ทไี่ มม่ ตี น้ ไมใ้ หญป่ กคลมุ แปลงทป่ี ลกู อยู่ ท�ำ ใหแ้ ปลงปลกู ไดร้ บั แสงมากกวา่ และจากการสบื คน้ ขอ้ มลู พบวา่ บานชน่ื เปน็ พชื ทเี่ จรญิ เตบิ โต ได้ดีในที่ที่มีแสงแดดจัด และดินมีการระบายนำ้�ได้ดี ส่งผลให้บานช่ืนท่ีอยู่ในแหล่งท่ีอยู่ที่ 2 เจรญิ เติบโตได้ดกี วา่ แหลง่ ทอี่ ยู่ที่ 1 ดงั รูป บานชื่นที่พบในแหล่งทอี่ ยู่ท่ี 1 บานชนื่ ทพี่ บในแหลง่ ทอี่ ยู่ท่ี 2 สง่ิ มชี วี ติ แตล่ ะชนดิ ทพ่ี บมบี ทบาททแ่ี ตกตา่ งกนั แบง่ ไดเ้ ปน็ 3 กลมุ่ ไดแ้ ก่ ผผู้ ลติ คอื พชื สปชี สี ์ ต่าง ๆ ที่เจริญอยู่ในบริเวณที่สำ�รวจ ผู้บริโภคคือ แมลง สัตว์ต่าง ๆ และผู้สลายสารอินทรีย์คือ แบคทีเรยี ตา่ ง ๆ ที่อยู่ในดินหรือตามที่ต่าง ๆ บรเิ วณสำ�รวจซง่ึ มองเห็นไม่ได้ด้วยตาเปล่า โดยทั้ง 3 กล่มุ มคี วามสัมพนั ธก์ ันในแงข่ องโซ่หรอื สายใยอาหาร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

20 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชีวภาพ ชีววิทยา เลม่ 6 ส�ำ หรบั ความหลากหลายของระบบนเิ วศใหน้ กั เรยี นอภปิ รายจากระบบนเิ วศภายในโรงเรยี น กบั ระบบนเิ วศทีน่ กั เรียนสบื คน้ 3. ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู ความหลากหลายของระบบนเิ วศในทอ้ งถนิ่ หรอื ภมู ภิ าคอนื่ ทเี่ ลอื ก โดยใหน้ กั เรยี นจดบนั ทกึ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ความหลากหลายของสปชี สี ข์ องระบบนเิ วศอน่ื เพอ่ื ใชอ้ ภปิ รายวา่ ระบบนเิ วศทีแ่ ตกตา่ งกนั อาจพบส่ิงมชี วี ติ ทเ่ี หมอื นหรือแตกตา่ งกนั 4. ครอู าจใหน้ กั เรยี นจดั ท�ำ รายงานหรอื น�ำ เสนอขอ้ มลู ในรปู แบบของสอื่ ทนี่ า่ สนใจเพอื่ เผยแพร่ ตอ่ ไป หรอื เกบ็ เปน็ ฐานขอ้ มลู เกยี่ วกบั ความหลากหลายทางชวี ภาพภายในบรเิ วณโรงเรยี น ส�ำ หรบั ปกี ารศกึ ษานนั้ เพอื่ ใชเ้ ปรยี บเทยี บความหลากหลายทางชวี ภาพภายในโรงเรยี นกบั ปกี ารศกึ ษาอนื่ ต่อไป ค�ำ ถามทา้ ยกิจกรรม สำ�หรับคำ�ถามท้ายกิจกรรมตอนท่ี 23.1 คำ�ตอบจะมีได้หลากหลายข้ึนอยู่กับบริเวณที่ นักเรยี นเลือกสำ�รวจ โดยมตี ัวอย่างของค�ำ ตอบของแตล่ ะขอ้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ส่ิงมีชีวิตสปีชีส์ใดท่ีนักเรียนเลือกสำ�รวจเก่ียวกับความหลากหลายทางพันธุกรรม และ ลักษณะใดของสงิ่ มชี วี ิตสปีชสี ์น้ันท่ีแตกต่างกัน บานช่ืน ฟโี นไทปท์ ่ีมลี ักษณะแตกต่างกนั คือ ความสงู ของตน้ และสขี องกลีบดอก ความหลากหลายทางพันธกุ รรมมปี ระโยชน์ตอ่ ส่งิ มีชีวติ อยา่ งไร ความหลากหลายทางพันธุกรรมส่งผลให้ส่ิงมีชีวิตสปีชีส์เดียวกันมีลักษณะท่ีหลากหลาย ทำ � ใ ห้ มี โ อ ก า ส ที่ จ ะ อ ยู่ ไ ด้ ใ น แ ห ล่ ง ท่ี อ ยู่ ที่ ห ล า ก ห ล า ย แ ล ะ ส า ม า ร ถ อ ยู่ ร อ ด ไ ด้ เ มื่ อ สภาพแวดล้อมเปล่ยี นแปลงไป ถ้าจำ�นวนประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดใดชนิดหน่ึงในระบบนิเวศลดลงอย่างมีนัยสำ�คัญจะ ส่งผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพอยา่ งไร 1. เน่ืองจากการดำ�รงชีวิตของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความสัมพันธ์กัน การลดลงของ ประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดใดชนิดหนึ่งจึงอาจส่งผลให้ขนาดประชากรของสิ่งมีชีวิต ชนดิ อนื่ มกี ารเปลยี่ นแปลงดว้ ย ท�ำ ใหเ้ กดิ การเพม่ิ หรอื ลดลงของความหลากหลายของ สปีชสี ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 6 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชีวภาพ 21 2. การทส่ี ง่ิ มชี วี ติ สปชี สี น์ ม้ี คี วามหลากหลายทางพนั ธกุ รรมลดลงอาจท�ำ ใหค้ วามหลากหลาย ทางพันธุกรรมของส่ิงมีชีวิตอื่นท่ีมีความสัมพันธ์กับส่ิงมีชีวิตที่ลดลงน้ีเปล่ียนแปลงได้ 2 กรณี คือ 1. ประชากรของส่ิงมีชีวิตอื่นเพิ่มขึ้นซึ่งมีโอกาสทำ�ให้ความหลากหลาย ทางพนั ธกุ รรมเพม่ิ ขน้ึ 2. ประชากรของสง่ิ มชี วี ติ อน่ื ลดลงซง่ึ มโี อกาสท�ำ ใหค้ วามหลากหลาย ทางพันธกุ รรมลดลงด้วย 3. ส่งผลกระทบต่อกลุ่มส่ิงมีชีวิตของระบบนิเวศและอาจทำ�ให้ความหลากหลายของ ระบบนิเวศในบรเิ วณนั้นเกิดการเปล่ยี นแปลง ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ จากกจิ กรรม23.1วา่ พน้ื ทส่ี �ำ รวจของแตล่ ะกลมุ่ เปรยี บไดก้ บั ระบบนเิ วศ ซง่ึ อาจพบความหลากหลายทางชวี ภาพมากนอ้ ยแตกตา่ งกนั ขน้ึ กบั องคป์ ระกอบทางกายภาพและชวี ภาพ ของระบบนเิ วศนน้ั นอกจากนจ้ี ากการสบื คน้ ขอ้ มลู ของนกั เรยี นจะเหน็ ความหลากหลายของระบบนเิ วศ ได้ โดยสปชี สี ท์ พ่ี บเปน็ สว่ นหนง่ึ ขององคป์ ระกอบทางชวี ภาพและมบี ทบาททางระบบนเิ วศ ไดแ้ ก่ เปน็ ผู้ ผลติ ผบู้ รโิ ภค และผสู้ ลายสารอนิ ทรยี ์ ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ ใหน้ กั เรยี นเหน็ ถงึ ความเชอ่ื มโยงระหวา่ งสปชี สี แ์ ละองคป์ ระกอบทางกายภาพ ของแหลง่ ทอ่ี ยภู่ ายในระบบนเิ วศ โดยอาจใชร้ ปู 23.2 และเนอ้ื หาทเ่ี กย่ี วกบั พลบั พลงึ ธารและบวั สายท่ี กลา่ วถงึ ในหนงั สอื เรยี น หรอื อาจใชต้ วั อยา่ งจากผลการท�ำ กจิ กรรม 23.1 ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั ความหลากหลายทางชวี ภาพทง้ั 3 ระดบั วา่ มคี วามเชอ่ื มโยงและ สมั พนั ธก์ นั อยา่ งซบั ซอ้ น ดงั นน้ั การสญู เสยี ความหลากหลายทางชวี ภาพไมว่ า่ จะเกดิ ในระดบั ใดกต็ ามจะ สง่ ผลกระทบตอ่ ความหลากหลายทางชวี ภาพในระดบั อน่ื ดว้ ย การจะท�ำ ใหค้ วามหลากหลายทางชวี ภาพ ของสง่ิ มชี วี ติ ภายในระบบนเิ วศหนง่ึ ท�ำ งานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและมคี วามสมดลุ ตามธรรมชาตขิ น้ึ อยู่ กับการมีอยู่ของส่ิงมีชีวิตกลุ่มต่าง ๆ ท้ังแบคทีเรีย อาร์เคีย โพรทิสต์ พืช ฟังไจ และสัตว์ ซ่ึงต้องมี การกระจายของสปชี สี ์ ปรมิ าณ สดั สว่ นทเ่ี หมาะสมและสอดคลอ้ งตอ่ ปจั จยั ทางกายภาพของระบบนเิ วศ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

22 บทที่ 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ ชีววิทยา เลม่ 6 ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย ครอู าจใชร้ ปู แผนทแ่ี สดงภมู ปิ ระเทศของประเทศไทยเพอ่ื น�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นเรอ่ื งความหลากหลาย ทางชวี ภาพของประเทศไทย พรอ้ มกบั ใชค้ �ำ ถามในการอภปิ รายรว่ มกนั ถามนกั เรยี นวา่ จากรปู แผนทแี่ สดงภมู ปิ ระเทศของประเทศไทย นกั เรยี นคดิ วา่ แตล่ ะสว่ นของภมู ปิ ระเทศ มีระบบนเิ วศเหมอื นหรอื แตกตา่ งกนั อย่างไร ปจั จยั ใดบา้ งท่ีท�ำ ให้เกิดความหลากหลายของระบบนิเวศกระจายอยทู่ ่ัวประเทศ ระบบนิเวศในแตล่ ะภมู ภิ าคของประเทศจะพบสิ่งมชี วี ิตเหมอื นหรือแตกตา่ งกันอย่างไร จากการอภปิ รายรว่ มกนั นกั เรยี นควรสรปุ ไดว้ า่ ประเทศไทยมคี วามหลากหลายของระบบนเิ วศ กระจายอยทู่ ว่ั ประเทศ โดยขน้ึ อยกู่ บั ปจั จยั ตา่ ง ๆ เชน่ สภาพภมู อิ ากาศ สภาพพน้ื ดนิ และภมู ปิ ระเทศ โดยระบบนเิ วศในแตล่ ะภมู ภิ าคอาจพบสง่ิ มชี วี ติ ทเ่ี หมอื นหรอื แตกตา่ งกนั ซง่ึ ขน้ึ อยกู่ บั วา่ สง่ิ มชี วี ติ สปชี สี ์ นน้ั มคี วามจ�ำ เพาะตอ่ แหลง่ ทอ่ี ยแู่ ละความสามารถในการปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดลอ้ ม ครูใช้รูป 23.3 ซ่ึงแสดงร้อยละของสปีชีส์ของจุลินทรีย์ พืช และสัตว์ในประเทศไทยของปี พ.ศ. 2557 และอธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา่ ยงั มสี ง่ิ มชี วี ติ อกี มากทย่ี งั ไมไ่ ดร้ บั การศกึ ษาขอ้ มลู ตามหลกั วทิ ยาศาสตร์ การทแ่ี หลง่ ทอ่ี ยอู่ าศยั ตามธรรมชาตโิ ดยเฉพาะปา่ ไมซ้ ง่ึ ถอื เปน็ ระบบนเิ วศทพ่ี บไดม้ ากในประเทศไทยถกู ท�ำ ลาย ท�ำ ใหม้ นษุ ยเ์ สยี โอกาสทจ่ี ะศกึ ษาขอ้ มลู และใชป้ ระโยชนจ์ ากสง่ิ มชี วี ติ เหลา่ นน้ั จากนน้ั ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั ตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ถา้ ปจั จบุ นั มกี ารส�ำ รวจสปชี สี ใ์ นประเทศไทยพบวา่ มจี �ำ นวนเพมิ่ ขนึ้ หรอื ลดลงแตกตา่ งจากปี พ.ศ. 2557 จ�ำ นวนท่ีเปลย่ี นแปลงนี้น่าจะเกิดจากสาเหตุใด การเพ่ิมจำ�นวนของสปีชีส์อาจเป็นผลมาจากการสำ�รวจพบสปีชีส์ใหม่ หรืออาจมีการนำ�เข้า มาจากแหล่งอื่น ส่วนการลดลงอาจเกิดจากการสูญพันธุ์ซึ่งเป็นผลจากการล่าสัตว์ การเปลีย่ นแปลงสภาพแวดล้อม เปน็ ตน้ ครอู าจใชร้ ปู 23.4 ซง่ึ แสดงแผนภาพแสดงรอ้ ยละของพน้ื ทป่ี า่ ไมก้ บั จ�ำ นวนประชากรไทยตง้ั แต่ ปี พ.ศ. 2504-2560 เพอ่ื อธบิ ายถงึ สาเหตขุ องการสญู เสยี พน้ื ทป่ี า่ ในประเทศไทย และอธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา่ ระบบนิเวศอ่ืน ๆ ของประเทศไทยยังถูกคุกคามเน่ืองจากการพัฒนาสืบเน่ือง และความต้องการใช้ ประโยชนจ์ ากความหลากหลายทางชวี ภาพ โดยไมค่ �ำ นงึ ถงึ ขดี จ�ำ กดั ของการฟน้ื ตวั ของความหลากหลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เลม่ 6 บทที่ 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ 23 ทางชีวภาพ พร้อมกับให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลในหนังสือเรียน เพ่อื อธิบายถึงสาเหตุสำ�คัญท่ที ำ�ให้เกิด ความสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ซ่ึงนักเรียนจะได้เรียนเพ่ิมเติมอีกคร้ังในบทมนุษย์กับ ความยง่ั ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มของหนงั สอื เลม่ น้ี จากนน้ั ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั ตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น การน�ำ สง่ิ มชี วี ติ อนื่ นอกแหลง่ ทอี่ ยตู่ ามธรรมชาตเิ ขา้ มา การเกดิ ภยั ธรรมชาติ การใชป้ ระโยชน์ จากพชื และสตั วใ์ นสภาพธรรมชาตอิ ยา่ งไรข้ ดี จ�ำ กดั จะสง่ ผลตอ่ ความหลากหลายทางชวี ภาพ บรเิ วณนนั้ อยา่ งไร คำ�ตอบอาจมีได้หลากหลาย โดยมีตัวอย่างค�ำ ตอบดังนี้ สาเหตทุ ง้ั หมดนส้ี ามารถท�ำ ใหค้ วามหลากหลายทางชวี ภาพในบรเิ วณนน้ั เกดิ การเปลย่ี นแปลง บางสาเหตุอาจทำ�ให้ความหลากหลายทางชีวภาพเพิ่มข้ึนหรือลดลง หรืออาจช่วยทำ�ให้ ระบบนเิ วศนน้ั ด�ำ รงอยไู่ ด้ เชน่ การเกดิ ไฟปา่ ธรรมชาตใิ นปา่ เตง็ รงั ไปกระตนุ้ ใหไ้ มซเี ลยี มของ เหด็ สรา้ งฟรตุ ตงิ บอดขี น้ึ มา หรอื ในปา่ สนไฟปา่ จะกระตนุ้ ใหโ้ คนเพศเมยี ของสนเปดิ ออกเพอื่ กระจายเมล็ดออกมาทำ�ให้มโี อกาสท่จี ะเจรญิ เตบิ โตเพ่ือเพิ่มจ�ำ นวนไดต้ ่อไป จากนน้ั ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั อนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยความหลากหลายทางชวี ภาพ (Convention on Biological Diversity: CBD) หรอื ทน่ี ยิ มเรยี กวา่ อนสุ ญั ญา CBD การเขา้ รว่ มเปน็ ภาคอี นสุ ญั ญาและ การด�ำ เนนิ งานเกย่ี วกบั ความหลากหลายทางชวี ภาพของประเทศไทย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

24 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ ชีววิทยา เล่ม 6 แนวการวดั และประเมนิ ผล ด้านความรู้ - ความสำ�คัญของความหลากหลายทางชีวภาพ ความเช่ือมโยงระหว่างความหลากหลาย ทางพันธุกรรม ความหลากหลายของสปีชีส์ และความหลากหลายของระบบนิเวศ จาก การอภิปรายรว่ มกนั การท�ำ กิจกรรม และการทำ�แบบฝึกหัด ดา้ นทักษะ - การสงั เกต การจ�ำ แนกประเภท การพยากรณ์ ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ การทำ�งาน การเรียนรู้ และการพ่ึงตนเองจากการทำ�กิจกรรม - การลงความเหน็ จากขอ้ มลู การจดั กระท�ำ และสอื่ ความหมายขอ้ มลู การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงข้อสรุป การส่ือสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ คอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารจากการบนั ทกึ ผลการทดลอง ด้านจิตวทิ ยาศาสตร์ - ความอยากรู้อยากเห็น ความมุ่งม่ันอดทน ความใจกว้าง การยอมรับความเห็นต่างจาก การสงั เกตพฤตกิ รรมในการท�ำ กจิ กรรม - ความซอ่ื สตั ย์ ความรอบคอบ วตั ถวุ สิ ยั จากการท�ำ รายงานของกจิ กรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 6 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ 25 23.2 ความหลากหลายของสิง่ มชี วี ติ แนวการจัดการเรยี นรู้ ครใู ชค้ �ำ ถามน�ำ ของหนงั สอื เรยี นเพอ่ื น�ำ เขา้ สเู่ นอ้ื หาถามนกั เรยี นวา่ สิง่ มชี ีวติ มคี วามหลากหลายสูงแบง่ ไดเ้ ปน็ หลายกลมุ่ แตล่ ะกลมุ่ มลี ักษณะเฉพาะอยา่ งไร ค�ำ ตอบอาจมไี ดห้ ลากหลายซงึ่ นกั เรยี นจะไดค้ �ำ ตอบหลงั จากเรยี น เรอ่ื ง ความหลากหลาย ของสงิ่ มีชวี ติ จากน้ันครูอธิบายเพ่ิมเติมถึงความแตกต่างของคำ�ว่า ความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) และความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ (diversity of life) กลา่ วงา่ ย ๆ คอื ความหลากหลาย ของส่ิงมีชีวิตเป็นส่วนหน่ึงของความหลากหลายทางชีวภาพ ซ่ึงความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต คือ สง่ิ มชี วี ติ บนโลกทม่ี หี ลากหลายลกั ษณะ รปู รา่ ง การด�ำ รงชวี ติ และมบี ทบาทในระบบนเิ วศทแ่ี ตกตา่ งกนั 23.2.1 กำ�เนดิ เซลลเ์ รมิ่ แรก จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายการเกดิ เซลลเ์ รมิ่ แรก แนวการจดั การเรียนรู้ ครอู าจใชร้ ปู โลกเมอ่ื 4,600 ลา้ นปที ผ่ี า่ นมา โดยใชค้ �ำ ส�ำ คญั ในการสบื คน้ ขอ้ มลู วา่ hadean หรอื บรมยุคเฮเดียน เพ่ือแสดงให้เห็นถึงสภาพของโลกในช่วงน้ัน จากน้ันให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลกำ�เนิด เซลลเ์ รม่ิ แรกในหนงั สอื เรยี นประกอบการอภปิ ราย โดยมแี นวค�ำ ถามดงั น้ี โลกเมอ่ื 4,600 ลา้ นปที ่ีผ่านมามสี ภาพเป็นอยา่ งไร จากรูปนกั เรียนคิดวา่ มสี ิ่งมชี วี ิตอาศัยอยู่ในโลกชว่ งน้ันไดห้ รือไม่ สภาพแวดลอ้ มแบบใดจึงจะเหมาะสมต่อการกำ�เนดิ ชีวิต จากการอภปิ รายรว่ มกนั นกั เรยี นควรอธบิ ายไดว้ า่ สภาพแวดลอ้ มของโลกเมอ่ื ประมาณ 4,600 ล้านปีท่ผี ่านมาเป็นช่วงท่โี ลกโดนอุกกาบาตซ่งึ เป็นก้อนหินขนาดใหญ่พ่งุ ชนก่อให้เกิดความร้อนซ่งึ ไม่ เหมาะสมต่อการกำ�เนิดชีวิต จนกระท่ังการพุ่งชนของอุกกาบาตหยุดลงทำ�ให้บรรยากาศของโลก เปลย่ี นแปลงเกดิ ชว่ งระยะทเ่ี หมาะสมตอ่ การก�ำ เนดิ ชวี ติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

26 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชีวภาพ ชวี วิทยา เลม่ 6 ครูเช่อื มโยงกับเร่อื งวิวัฒนาการของส่งิ มีชีวิตว่าส่งิ มีชีวิตในปัจจุบันต่างมีวิวัฒนาการมาจาก บรรพบรุ ษุ เดยี วกนั สง่ิ มชี วี ติ ในปจั จบุ นั มที ง้ั สง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี วและหลายเซลล์ พรอ้ มกบั ใชค้ �ำ ถามถาม นกั เรยี นวา่ บรรพบรุ ุษแรกของสิ่งมีชีวิตเปน็ สิ่งมชี วี ติ เซลลเ์ ดียวหรือหลายเซลล์ ส่ิงมชี วี ติ เซลล์เดยี ว จากนน้ั ใชค้ �ำ ถามน�ำ ในหนงั สอื เรยี นเพอ่ื น�ำ เขา้ สเู่ นอ้ื หาถามนกั เรยี นวา่ เซลล์เริ่มแรกเกดิ ขึ้นมาบนโลกได้อย่างไร ค�ำ ตอบอาจมไี ดห้ ลากหลายซง่ึ นกั เรยี นจะไดค้ �ำ ตอบหลงั จากเรยี น เรอ่ื ง ก�ำ เนดิ เซลลเ์ รม่ิ แรก ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาขอ้ มลู สมมตฐิ านการเกดิ โปรโทเซลล์ และรปู 23.5 ซง่ึ แสดงการสงั เคราะห์ สารอนิ ทรยี ท์ ม่ี โี มเลกลุ ขนาดเลก็ จากสารอนนิ ทรยี ์ รปู 23.6 ซง่ึ แสดงการทดลองของมลิ เลอรแ์ ละยเู รย์ รปู 23.7 ซง่ึ แสดงการเกดิ สารอนิ ทรยี โ์ มเลกลุ ขนาดใหญ่ รปู 23.8 ซง่ึ แสดงการหอ่ หมุ้ สารโมเลกลุ ขนาดใหญ่ กลายเปน็ โปรโทเซลล์ รปู 23.9 ซง่ึ แสดงการก�ำ เนดิ โมเลกลุ ทส่ี ามารถจ�ำ ลองตวั เองได้ ในหนงั สอื เรยี น และอภปิ รายรว่ มกนั โดยใชค้ �ำ ถามดงั น้ี เซลล์เรม่ิ แรกมีวิวฒั นาการจากอะไร สมมตฐิ านการเกิดโปรโทเซลล์มีก่ขี ้นั ตอน อะไรบ้าง การสงั เคราะห์สารอินทรียท์ ม่ี ีโมเลกุลขนาดเลก็ จากสารอนนิ ทรียเ์ กดิ ขนึ้ ได้อย่างไร สมมติฐานเก่ียวกับการสังเคราะห์สารอินทรีย์ของโลกในระยะแรกเป็นของใคร มี สมมตฐิ านวา่ อย่างไร มีการทดลองท่ีสนับสนุนสมมติฐานข้างต้นหรือไม่ ถ้ามีเป็นการทดลองของใคร แล้ว การทดลองเปน็ อยา่ งไร เม่ือเกิดสารอินทรีย์ท่ีมีโมเลกุลขนาดเล็กแล้ว สารอินทรีย์นี้จะประกอบเป็นสารอินทรีย์ ท่ีมโี มเลกลุ ขนาดใหญ่ขน้ึ ไดอ้ ย่างไร เมอ่ื เกดิ สารอนิ ทรีย์ทีม่ โี มเลกลุ ขนาดใหญ่แลว้ ข้นั ตอนตอ่ ไปคอื อะไร เกิดอะไรข้นึ บา้ ง สมมติฐานขน้ั สุดท้ายของการเกดิ โปรโทเซลล์คืออะไร เกดิ อะไรขน้ึ บ้าง สงิ่ ส�ำ คญั ท่ีท�ำ หน้าทีถ่ ่ายทอดสารพันธกุ รรมของโปรโทเซลล์ คืออะไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 6 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชีวภาพ 27 จากการอภปิ รายรว่ มกนั นกั เรยี นควรอธบิ ายไดว้ า่ เซลลเ์ รม่ิ แรกมวี วิ ฒั นาการมาจากโปรโทเซลล์ โดยมสี มมตฐิ านการเกดิ โปรโทเซลลด์ งั น้ี 1. การสังเคราะห์สารอินทรยี ท์ ีม่ โี มเลกลุ ขนาดเล็กจากสารอนนิ ทรีย์ 2. การเช่ือมต่อกนั ของสารอินทรียโ์ มเลกลุ ขนาดเล็กเปน็ สารอินทรีย์โมเลกุลขนาดใหญ่ 3. การหอ่ หุม้ สารอินทรีย์โมเลกลุ ขนาดใหญ่กลายเปน็ โปรโทเซลล์ 4. การกำ�เนิดโมเลกุลทีส่ ามารถจำ�ลองตวั เองได้ และนกั เรยี นควรอธบิ ายการเกดิ และความส�ำ คญั ของทง้ั 4 ขน้ั ตอน ซง่ึ เปน็ เหตกุ ารณส์ �ำ คญั ท่ี เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ของการเกดิ สง่ิ มชี วี ติ ทห่ี ลากหลาย จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื ตอบค�ำ ถาม ในหนงั สอื เรยี น ตรวจสอบความเข้าใจ กระแสไฟฟา้ ในการทดลองของมลิ เลอรแ์ ละยเู รยเ์ ปรยี บไดก้ บั สง่ิ ใดในสภาพของโลกในระยะแรก ฟา้ ผา่ จากการทดลองของมลิ เลอรแ์ ละยเู รย์ เมอ่ื น�ำ สารละลายตวั อยา่ งไปวเิ คราะหผ์ ลทางเคมี จะ พบสารใดในสารละลายตัวอยา่ ง กรดแอมโิ นและสารประกอบอนิ ทรีย์ชนิดอ่นื การทดลองใดทนี่ กั วทิ ยาศาสตรท์ �ำ เพอื่ พสิ จู นว์ า่ สารอนิ ทรยี โ์ มเลกลุ ขนาดเลก็ สามารถเชอื่ ม ต่อเกิดเป็นสารอนิ ทรยี ์โมเลกุลขนาดใหญ่โดยไม่ตอ้ งอาศยั สิ่งมีชีวติ การทดลองทห่ี ยดสารละลายกรดแอมโิ นหรอื นวิ คลโี อไทดข์ อง RNA ลงบนทราย ดิน หรอื หินรอ้ น จะได้พอลิเมอร์ของกรดแอมโิ นและ RNA โครงสรา้ งทห่ี มุ้ ลอ้ มรอบกลมุ่ สารอนิ ทรยี โ์ มเลกลุ ขนาดใหญค่ ลา้ ยกบั สว่ นใดของเยอื่ หมุ้ เซลล์ ของสงิ่ มชี วี ติ ในปจั จุบัน ฟอสโฟลพิ ิดไบเลเยอร์ RNA ท่ีท�ำ หนา้ ทเ่ี ป็นเอนไซม์ในการเร่งปฏกิ ิรยิ าเคมไี ด้ เรียกวา่ อะไร และมคี วามส�ำ คัญใน สมมติฐานการก�ำ เนดิ โมเลกลุ ท่ีสามารถจำ�ลองตวั เองอยา่ งไร ไรโบไซม์ สามารถจำ�ลอง RNA แม่แบบสายสั้น ๆ ได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

28 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชีวภาพ ชวี วทิ ยา เลม่ 6 23.2.2 กลุ่มโพรแคริโอต จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายลักษณะสำ�คัญของแบคทเี รียและอารเ์ คยี พรอ้ มยกตวั อย่าง แนวการจัดการเรยี นรู้ ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี น โดยอาจใชค้ �ำ ถามน�ำ ตอ่ ไปน้ี เม่อื ใชป้ ระเภทของเซลล์แบ่งสง่ิ มีชีวติ สามารถแบ่งออกได้เปน็ กป่ี ระเภท อะไรบ้าง 2 ประเภท ได้แก่ โพรแครโิ อต และยแู ครโิ อต สิ่งมีชีวติ ใดระหวา่ งโพรแครโิ อตหรอื ยแู ครโิ อตเกิดขึน้ มาบนโลกก่อนกัน โพรแครโิ อต โพรแครโิ อตเกดิ ขนึ้ เมอื่ ใด ค�ำ ตอบอาจมไี ดห้ ลากหลาย โดยนกั เรยี นจะไดค้ �ำ ตอบหลงั จากเรยี นเรอ่ื ง โพรแครโิ อต ซง่ึ มีตวั อยา่ งคำ�ตอบดังนี้ โพรแครโิ อตเกิดขึ้นเมือ่ ประมาณ 3,500 ล้านปีมาแล้ว จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาขอ้ มลู กลมุ่ โพรแครโิ อตในหนงั สอื เรยี น และอภปิ รายรว่ มกนั โดยใช้ ค�ำ ถามดงั น้ี ทราบได้อยา่ งไรว่า โพรแคริโอตเกดิ ขน้ึ เมื่อ 3,500 ลา้ นปมี าแลว้ ทราบไดจ้ ากรอ่ งรอยของสโตรมาโทไลตซ์ งึ่ เปน็ หนิ ทเ่ี กดิ จากโพรแครโิ อตยดึ จบั กบั ตะกอน ซงึ่ มีอายุประมาณ 3,500 ล้านปี สดั สว่ นของแกส๊ ออกซเิ จนในบรรยากาศของโลกในระยะแรกเปลย่ี นแปลงจาก 1% เปน็ 10% ได้เพราะเหตุใด เพราะโพรแครโิ อตบางกลมุ่ มวี วิ ฒั นาการจนกระทง่ั สามารถสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงแลว้ สรา้ ง แก๊สออกซเิ จนได้ โพรแคริโอตท่ีสงั เคราะหด์ ้วยแสงได้คาดว่าเปน็ สงิ่ มีชีวิตใดในปัจจบุ นั ไซยาโนแบคทเี รีย การเปลยี่ นแปลงสดั สว่ นของแกส๊ ออกซเิ จนจาก 1%เปน็ 10%สง่ ผลตอ่ โพรแครโิ อตอยา่ งไร การเปลย่ี นแปลงดงั กลา่ วสง่ ผลกระทบตอ่ โพรแครโิ อตบางกลมุ่ ทปี่ รบั ตวั ไมไ่ ดจ้ ะสญู พนั ธุ์ ส่วนโพรแคริโอตที่ปรับตัวได้จะมีชีวิตรอด สำ�หรับโพรแคริโอตท่ีอยู่ในแหล่งที่ไม่ได้มี การเปล่ียนแปลงปริมาณแก๊สออกซเิ จนไมจ่ ำ�เปน็ ตอ้ งปรับตัวและยังพบไดใ้ นปัจจบุ ัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 6 บทที่ 23 | ความหลากหลายทางชีวภาพ 29 จากการอภปิ รายรว่ มกนั นกั เรยี นควรสรปุ ไดว้ า่ โพรแครโิ อตเกดิ ขน้ึ เมอ่ื ประมาณ 3,500 ลา้ นปี เน่ืองจากพบร่องรอยของส่ิงมีชีวิตท่ีพบจากหินท่ีเกิดจากโพรแคริโอตยึดจับกับตะกอน เรียกว่า สโตรมาโทไลต์ จากน้ันโพรแคริโอตบางกลุ่มมีวิวัฒนาการสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้แล้วสร้าง แก๊สออกซิเจน ทำ�ให้สัดส่วนของแก๊สออกซิเจนเปล่ยี นแปลงจาก 1% เป็น 10% ซ่งึ ส่งผลกระทบต่อ โพรแคริโอตบางกลุ่มท่ีปรับตัวไม่ได้จะสูญพันธ์ุส่วนโพรแคริโอตท่ีปรับตัวได้จะมีชีวิตรอด สำ�หรับ โพรแคริโอตท่ีอยู่ในแหล่งท่ีไม่ได้มีการเปล่ียนแปลงปริมาณแก๊สออกซิเจนไม่จำ�เป็นต้องปรับตัวและ ยงั พบไดใ้ นปจั จบุ นั จากนน้ั ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั ลกั ษณะของโพรแครโิ อตวา่ สว่ นใหญเ่ ปน็ สง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี ว ทม่ี ขี นาดเลก็ เซลลไ์ มม่ เี ยอ่ื หมุ้ นวิ เคลยี ส และไมม่ อี อรแ์ กเนลลท์ ม่ี เี ยอ่ื หมุ้ มนี วิ คลอี อยด์ และมผี นงั เซลล์ ซง่ึ สามารถใชอ้ งคป์ ระกอบของผนงั เซลลท์ แ่ี ตกตา่ งกนั ในการจ�ำ แนกโพรแครโิ อตออกเปน็ 2 กลมุ่ ไดแ้ ก่ แบคทเี รยี และอารเ์ คยี ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา่ สว่ นใหญโ่ พรแครโิ อตเปน็ สง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี วขนาดเลก็ แตส่ ามารถพบท่ี เปน็ สาย หรอื โคโลนไี ดจ้ ากไซยาโนแบคทเี รยี แบคทเี รยี ครอู าจใชร้ ปู 23.10 ซง่ึ แสดงโครงสรา้ งของแบคทเี รยี และรปู 23.11 แบคทเี รยี รปู รา่ งตา่ ง ๆ และค�ำ ถามเพอ่ื เชอ่ื มโยงเขา้ สเู่ รอ่ื งแบคทเี รยี ถามนกั เรยี นวา่ จากรปู โครงสรา้ งที่เหน็ คือสงิ่ มชี ีวิตกลุ่มใด แบคทเี รีย จากน้ันครูให้นักเรียนศึกษาข้อมูลแบคทีเรียในหนังสือเรียน แล้วอภิปรายร่วมกัน โดยใชค้ �ำ ถาม ดงั น้ี แบคทเี รยี มีลักษณะและรูปรา่ งเป็นอยา่ งไร เกณฑ์ทีใ่ ช้จำ�แนกแบคทีเรยี มีอะไรบ้าง และจ�ำ แนกไดเ้ ปน็ อย่างไร ตัวอยา่ งแบคทีเรยี มีอะไรบ้าง แตล่ ะกลุ่มมีลักษณะและมคี วามส�ำ คญั อยา่ งไร แบคทีเรยี มีบทบาทต่อระบบนิเวศและตอ่ มนุษยเ์ ป็นอย่างไร จากการอภปิ รายรว่ มกนั นกั เรยี นควรอธบิ ายและเขา้ ใจถงึ ลกั ษณะส�ำ คญั ของแบคทเี รยี กลมุ่ ของแบคทเี รยี ลกั ษณะ และความส�ำ คญั ของแตล่ ะกลมุ่ และบอกถงึ ประโยชนโ์ ดยรวมของแบคทเี รยี ทม่ี ี ตอ่ ระบบนเิ วศ และมนษุ ยไ์ ด้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

30 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชีวภาพ ชีววิทยา เลม่ 6 ความรเู้ พม่ิ เติมส�ำ หรับครู โครงสร้างท่ีแบคทีเรียบางกลุ่มใช้ในการยึดติดกับผิวสัมผัส ของแบคทเี รยี อน่ื เซลลส์ ตั ว์ และวตั ถตุ า่ ง ๆ เรยี กวา่ พไิ ล (pili) หรือ ฟมิ เบรีย (fimbriae) พไิ ล หรือฟิมเบรยี ความรเู้ พ่มิ เติมสำ�หรบั ครู การย้อมสีแกรมของแบคทีเรียสามารถใช้ประโยชน์ด้านการแพทย์ในการระบุเบ้ืองต้นว่าผู้ป่วยติดเช้ือจาก แบคทเี รยี แกรมบวกหรอื แบคทเี รียแกรมลบ เพอ่ื ใหเ้ ลือกใช้ยาปฏชิ ีวนะได้อยา่ งเหมาะสม ในการระบุว่าเป็นแบคทีเรียแกรมบวกหรือแบคทีเรียแกรมลบดูได้จากการติดสีม่วงของคริสตัลไวโอเล็ตโดย แบคทีเรียแกรมบวกจะติดสีม่วงเน่ืองจากมีโครงสร้างของผนังเซลล์เป็นช้ันเพปทิโดไกลแคนท่ีหนา ดังรูป โครงสร้างผนังเซลล์ของแบคทีเรียแกรมบวก เมื่อย้อมด้วยคริสตัลไวโอเล็ตแล้วสีจะเข้าไปในเซลล์แล้วทำ� ปฏกิ ริ ยิ ากบั ไอโอดนี เกดิ เปน็ สารประกอบเชงิ ซอ้ นขนาดใหญท่ ไ่ี มส่ ามารถผา่ นชน้ั เพปทโิ ดไกลแคนทหี่ นาออก สภู่ ายนอกไดเ้ มอื่ ใชแ้ อลกอฮอลล์ า้ งสจี งึ ยงั คงอยู่ เมอ่ื ยอ้ มดว้ ยสแี ดงซ�้ำ สที ย่ี อ้ มใหมจ่ งึ ไมส่ ามารถเขา้ ไปแทนท่ี ได้ ดังน้ันจึงเหน็ แบคทีเรียแกรมบวกติดสีมว่ ง ส่วนแบคทเี รยี แกรมลบจะติดสีแดงของซาฟรานนิ เน่ืองจากโครงสร้างของผนงั เซลล์มีช้ันเพปทิโดไกลแคนท่ี บางและมเี ยอื่ หมุ้ ชน้ั นอก ดงั รปู โครงสรา้ งผนงั เซลลข์ องแบคทเี รยี แกรมลบ เมอ่ื ยอ้ มดว้ ยครสิ ตลั ไวโอเลต็ แลว้ สีจะเข้าไปในเซลล์แล้วทำ�ปฏิกิริยากับไอโอดีนเกิดเป็นสารประกอบเชิงซ้อนขนาดใหญ่เช่นกันแต่เมื่อใช้ แอลกอฮอล์ล้างสีสามารถหลุดผ่านช้ันเพปทิโดไกลแคนท่ีบางออกมา เมื่อย้อมด้วยสีแดงหรือสีชมพูใน ขัน้ ตอนต่อมาสจี ึงเขา้ ไปแทนทีค่ ริสตัลไวโอเล็ตได้ จงึ เห็นแบคทเี รียแกรมลบติดสีแดง เย่ือห้มุ ช้นั นอก ชัน้ เพปทโิ ดไกลแคน เยอื่ หมุ้ เซลล์ โครงสรา้ งผนงั เซลล์แบคทเี รยี แกรมบวก โครงสร้างผนงั เซลล์แบคทเี รยี แกรมลบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 6 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ 31 ความรเู้ พิ่มเตมิ ส�ำ หรบั ครู อาการของโรคไลม์แบ่งเป็น 3 ระยะ ระยะแรกจะมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ อ่อนเพลีย ปวด ศรี ษะ ปวดขอ้ เป็นผืน่ แดงเปน็ วง 1 แห่งขึ้นไป ระยะแพร่กระจายจะมีอาการปวดบวมบริเวณ ข้อต่อโดยเฉพาะหัวเข่า ม้ามโต ตับและตาอักเสบ หัวใจทำ�งานผิดปรกติ ระยะสุดท้ายเป็น ระยะแฝงของโรคจะพบการอกั เสบของขอ้ ต่อขนาดใหญ่ เช่น หวั เขา่ ท่มี า: ฝ ่ายเลปโตสไปโรสิส เมดิออยโดสีสและบรูเซลโลซิส สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์. (2562). โรคไลม์ (Lyme disease). สืบคน้ เมือ่ 16 กันยายน 2562, จาก //nih.dmsc.moph.go.th/data/data/fact_sheet/8_62.pdf ความร้เู พิ่มเติมส�ำ หรบั ครู ในปจั จบุ นั มแี บคทเี รยี กอ่ โรคทด่ี อ้ื ยาซงึ่ แบคทเี รยี เหลา่ นม้ี วี วิ ฒั นาการท�ำ ใหต้ า้ นยาปฏชิ วี นะได้ หลายชนิด ข้อมูลต่อไปนี้เป็นข้อมูลท่ีได้จากการเผยแพร่ของสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการ สรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.) เกย่ี วกบั 10 พฤตกิ รรรมที่มีสว่ นท�ำ ใหเ้ ชอ้ื ดอ้ื ยา 1. เคยซ้อื ยาปฏชิ ีวนะกินตามคนอ่ืน 2. เคยหยดุ รบั ประทานยาปฏชิ ีวนะเมอื่ มีอาการดขี ึน้ 3. เคยซ้ือยาปฏิชวี นะกนิ เองตามทีเ่ คยได้รบั จากบุคลากรทางการแพทยใ์ นครง้ั ก่อน ๆ 4. เคยอมยาอมทีผ่ สมยาปฏิชวี นะ 5. เคยแกะแคปซูลเอายาปฏิชวี นะไปโรยแผล 6. เคยใชย้ าปฏชิ วี นะผสมในอาหารสัตว์ตามคำ�บอกเล่าเพื่อป้องกนั ไม่ใหส้ ัตว์เจ็บปว่ ย 7. เคยเปลย่ี นไปซอ้ื ยาปฏชิ วี นะทแ่ี รงกวา่ ทานเอง เมอ่ื รบั ประทานยาชนดิ แรกแลว้ อาการไมด่ ี ขนึ้ ทนั ใจ 8. ไม่แนะน�ำ คนทใี่ ชย้ าปฏิชีวนะอยา่ งผดิ ให้ใช้อย่างถูกต้องเหมาะสม 9. เคยไปซื้อยาแกอ้ ักเสบกนิ เอง 10. เคยใช้ยาปฏชิ ีวนะโดยไม่ทราบช่ือสามัญของยา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

32 บทที่ 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ ชวี วทิ ยา เล่ม 6 ความรูเ้ พมิ่ เตมิ ส�ำ หรบั ครู สงิ่ มชี วี ติ ทง้ั โพรแครโิ อตและยแู ครโิ อตมวี ธิ กี ารทไ่ี ดม้ าซง่ึ อาหารทห่ี ลากหลาย หากเราใชว้ ธิ กี าร ทีไ่ ดม้ าซง่ึ อาหารเป็นเกณฑจ์ ะสามารถแบ่งสิง่ มีชวี ติ ไดเ้ ป็น 2 กลุม่ หลัก โดยมขี ้อมลู ดังตาราง วธิ ีการ แหล่งพลงั งาน แหล่งคาร์บอน กลมุ่ ของสิง่ มชี วี ติ ออโตโทรฟ (autotroph) คือส่ิงมีชวี ติ ทีส่ ามารถสรา้ งอาหารจากสารอนินทรยี ไ์ ด้ โฟโตออโตโทรฟ แสง CO2, HCO และ โพรแคริโอตที่ (photoautotroph) สารประกอบที่เก่ยี วข้อง สังเคราะหด์ ว้ ยแสงได้ เชน่ ไซยาโนแบคทีเรยี ยูแคริโอต เชน่ พชื โพรทิสตก์ ลมุ่ สาหร่าย เคโมออโตโทรฟ สารอนนิ ทรีย์ เชน่ CO2, HCO และ โพรแครโิ อตบางกลุ่ม (chemoautotroph) ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) สารประกอบทีเ่ กีย่ วข้อง เชน่ อาร์เคยี จีนัส แอมโมเนีย (NH3) Sulfolobus คอปเปอร์ (ท)ู ไอออน (Fe2+) เฮเทอโรโทรฟ (heterotroph) คือ สิ่งมชี ีวิตที่ไม่สามารถสรา้ งอาหารเองได้ โฟโตเฮเทอโรโทรฟ แสง สารประกอบอนิ ทรีย์ โพรแครโิ อตท่ีอาศัยอยู่ ในแหลง่ น้ำ� และที่ชอบ เกลอื เช่น บางสปีชีส์ ของ Rhodobacter Chloroflexus เคโมเฮเทอโรโทรฟ สารประกอบอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ โพรแคริโอตสว่ นใหญ่ โพรทสิ ต์ ฟังไจ สัตว์ และพชื บางกลมุ่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เลม่ 6 บทที่ 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ 33 อารเ์ คยี จากน้ันครูใช้รูป 23.18 ซ่ึงแสดงบ่อนำ้�ท่ีเยลโลสโตนซ่ึงมีอุณหภูมิสูงมากท่ีมีส่ิงมีชีวิตกลุ่ม อารเ์ คยี อยู่ ประกอบการใชค้ �ำ ถามเพอ่ื เชอ่ื มโยงเขา้ สเู่ รอ่ื งอารเ์ คยี ถามนกั เรยี นวา่ บอ่ นำ�้ ทม่ี อี ณุ หภมู สิ งู มากนีม้ สี ิง่ มชี ีวิตทอ่ี าศยั อยู่ไดห้ รือไม่ ถ้ามสี ่งิ มชี ีวติ นน้ั คืออะไร มี ส่งิ มีชวี ติ นัน้ คอื อาร์เคยี จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาขอ้ มลู อารเ์ คยี ในหนงั สอื เรยี นแลว้ อภปิ รายรว่ มกนั โดยใชค้ �ำ ถาม ดงั น้ี อาร์เคยี มลี กั ษณะอย่างไร อารเ์ คียแตกต่างจากแบคทีเรียอยา่ งไร อาร์เคียมบี ทบาทตอ่ สิง่ มีชิวิตอน่ื และต่อมนษุ ยอ์ ยา่ งไร จากการอภปิ รายรว่ มกนั นกั เรยี นควรอธบิ ายและเขา้ ใจถงึ ลกั ษณะส�ำ คญั ของอารเ์ คยี และบอก ถงึ ประโยชนท์ ม่ี ตี อ่ สง่ิ มชี วี ติ อน่ื และมนษุ ยไ์ ด้ จากนน้ั ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั ตอบค�ำ ถามตรวจสอบความเขา้ ใจในหนงั สอื เรยี น ตรวจสอบความเขา้ ใจ แบคทีเรียและอาร์เคียแตกต่างกนั อย่างไร แบคทีเรียต่างจากอาร์เคยี ดงั นี้ - ผนงั เซลล์ของแบคทเี รยี มีสารเพปทิโดไกลแคนเปน็ องคป์ ระกอบ ในขณะท่ผี นังเซลล์ ของอารเ์ คยี ประกอบดว้ ยสารพอลแิ ซก็ คาไรดแ์ ละโปรตนี แตไ่ มม่ สี ารเพปทโิ ดไกลแคน - แบคทเี รยี ใชฟ้ อรม์ ลิ เมไทโอนนี เปน็ กรดแอมโิ นตวั แรกเสมอในกระบวนการสงั เคราะห์ โปรตนี สว่ นอารเ์ คยี ใชเ้ มไทโอนนี เปน็ กรดแอมโิ นตวั แรกเสมอในการสงั เคราะหโ์ ปรตนี - แบคทีเรียมีเอนไซม์อาร์เอ็นเอพอลิเมอเรส 1 ชนิด ส่วนอาร์เคียมีเอนไซม์อาร์เอ็นเอ พอลิเมอเรสหลายชนดิ หมายเหตุ ครสู ามารถอ่านขอ้ มูลเพม่ิ เติมเก่ยี วกับการสังเคราะหโ์ ปรตนี ได้ในบทที่ 4 หวั ขอ้ 4.3.2 การควบคุม ลักษณะทางพันธุกรรมของ DNA ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชวี วิทยา เล่ม 2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

34 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชีวภาพ ชีววิทยา เล่ม 6 นักเรียนสามารถตอบเป็นรูปแบบของตารางได้ ดังนี้ ตารางแสดงความแตกตา่ งระหวา่ งแบคทีเรียและอาร์เคีย ความแตกต่าง แบคทีเรีย อารเ์ คีย ไมม่ สี ารเพปทโิ ดไกลแคน องคป์ ระกอบของผนังเซลล์ มสี ารเพปทิโดไกลแคน เมไทโอนีน กรดแอมิโนตัวแรกท่ใี ช้ในกระบวนการ ฟอรม์ ลิ เมไทโอนนี หลายชนิด สังเคราะห์โปรตีน จำ�นวนชนดิ ของอาร์เอน็ เอพอลเิ มอเรส 1 ชนิด ยกตวั อย่างประโยชน์และโทษของแบคทเี รยี และอารเ์ คยี ทม่ี ีต่อระบบนิเวศและมนุษย์ - บทบาทของแบคทีเรียต่อระบบนิเวศ คือ แบคทีเรียมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงมีชีวิตอื่นใน หลายรปู แบบ เชน่ ภาวะพง่ึ พากัน ภาวะองิ อาศยั ภาวะปรสิต - บทบาทของแบคทเี รยี ตอ่ มนษุ ย์ เปน็ เชอื้ กอ่ โรคตา่ ง ๆ แบคทเี รยี มปี ระโยชนต์ อ่ มนษุ ย์ เช่น น�ำ มาใช้ในการก�ำ จัดขยะ ใช้ในการสลายคราบน้�ำ มันบรเิ วณชายฝั่งและในทะเล ใช้ในการก�ำ จดั สารเคมตี กคา้ งจากการเกษตร ใช้ในการแปรรปู อาหารหลายชนดิ เชน่ น�้ำ ส้มสายชู ปลาร้า ผกั ดอง ปลาสม้ นมเปรย้ี ว และเนยแขง็ - อาร์เคียบางกลุ่ม เช่น เมทาโนเจน นำ�มาใช้ประโยชน์เป็นพลังงานและสารตั้งต้นใน อตุ สาหกรรมบาง ชนดิ เมทาโนเจนบางสปชี สี อ์ าศยั อยภู่ ายในสง่ิ มชี วี ติ ในสภาพทไี่ มม่ ี ออกซิเจน เช่น ลำ�ไส้วัว ปลวก และสัตว์กินพืช ทำ�หน้าท่ีช่วยเกี่ยวกับกระบวนการ ย่อยอาหารของส่ิงมีชีวติ เหลา่ นี้ นอกจากน้ียังมปี ระโยชนใ์ นการชว่ ยยอ่ ยสลายขยะ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เลม่ 6 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ 35 23.2.3 กลมุ่ ยแู คริโอต จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายววิ ฒั นาการของสง่ิ มชี วี ติ เซลล์เดียว แนวการจัดการเรียนรู้ กำ�เนิดเซลล์ยูแครโิ อต ครใู ชค้ �ำ ถามน�ำ ในหนงั สอื เรยี นเพอ่ื น�ำ เขา้ สเู่ นอ้ื หาถามนกั เรยี นวา่ เซลลโ์ พรแครโิ อตมวี วิ ัฒนาการไปเป็นเซลลย์ ูแครโิ อตไดอ้ ยา่ งไร คำ�ตอบอาจมีได้หลากหลายซ่ึงนักเรียนจะได้คำ�ตอบหลังจากเรียน เร่ือง กำ�เนิด เซลล์ยูแครโิ อต ครูให้นักเรียนศึกษาข้อมูลเร่ืองกำ�เนิดเซลล์ยูแคริโอตและรูป 23.20 ซ่ึงแสดงกำ�เนิดเซลล์ ยแู ครโิ อต แลว้ อภปิ รายรว่ มกนั โดยใชค้ �ำ ถามดงั น้ี เซลล์ยูแคริโอตเกิดข้ึนจากเซลล์ชนิดใด มีข้ันตอนการเกิดอย่างไร และภาวะที่ท�ำ ให้เกิด เซลลย์ ูแครโิ อตเรียกวา่ อะไร ยแู ครโิ อตทเี่ กดิ ขน้ึ จากขนั้ ตอนก�ำ เนดิ ของเซลลย์ แู ครโิ อตมกี แ่ี บบ แตล่ ะแบบแตกตา่ งกนั อยา่ งไร นกั เรยี นคดิ วา่ ยูแคริโอตทเ่ี กิดข้ึนน้ีเปน็ บรรพบุรษุ ของสงิ่ มีชีวติ กลมุ่ ใดบ้าง จากการอภิปรายร่วมกันนักเรียนควรอธิบายได้ว่า เซลล์ยูแคริโอตเกิดจากเซลล์โพรแคริโอต เขา้ ไปอาศยั อยใู่ นเซลลโ์ พรแครโิ อตอกี เซลลห์ นง่ึ โดยอาศยั ภาวะอยรู่ ว่ มภายใน โดยเรม่ิ จาก - เย่อื ห้มุ เซลล์เจรญิ เข้าไปในเซลล์ลอ้ มรอบบรเิ วณท่ีมสี ารพนั ธกุ รรมอย่เู กดิ เปน็ นวิ เคลยี ส และเอนโดพลาสมิกเรติคูลมั - เซลลโ์ พรแครโิ อตขนาดเลก็ เขา้ ไปอาศยั อยภู่ ายในเซลลโ์ พรแครโิ อตขนาดใหญท่ �ำ ใหเ้ กดิ ภาวะอยู่รว่ มภายในเกดิ เป็นไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์ จากววิ ฒั นาการดงั กลา่ วท�ำ ใหม้ เี ซลลย์ แู ครโิ อต 2 รปู แบบ ไดแ้ ก่ เซลลท์ ม่ี ไี มโทคอนเดรยี ซง่ึ เปน็ บรรพบรุ ษุ ของยแู ครโิ อตทไ่ี มส่ ามารถสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงได้ และเซลลท์ ม่ี ไี มโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์ ซง่ึ เปน็ บรรพบรุ ษุ ของยแู ครโิ อตทส่ี ามารถสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

36 บทที่ 23 | ความหลากหลายทางชีวภาพ ชวี วทิ ยา เล่ม 6 ครูอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกับหลักฐานท่ีสนับสนุนสมมติฐานของกำ�เนิดเซลล์ยูแคริโอตจาก เซลล์โพรแคริโอต และอธิบายเพ่มิ เติมว่ายูแคริโอตเซลล์เดียวบางกล่มุ มีวิวัฒนาการต่อไปจนเกิดเป็น ยแู ครโิ อตหลายเซลลซ์ ง่ึ มที ง้ั สง่ิ มชี วี ติ กลมุ่ โพรทสิ ต์ พชื ฟงั ไจ และสตั ว์ ครใู ชค้ �ำ ถามเชอ่ื มโยงเขา้ สเู่ นอ้ื หาเรอ่ื งความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ กลมุ่ โพรทสิ ต์ พชื ฟงั ไจ และสตั ว์ ดงั น้ี ยแู ครโิ อตแตล่ ะกลมุ่ มลี กั ษณะอยา่ งไร และมคี วามส�ำ คญั หรอื บทบาทตอ่ ระบบนเิ วศและ มนษุ ย์อย่างไร คำ�ตอบอาจมีได้หลากหลายซ่ึงนักเรียนจะได้คำ�ตอบหลังจากเรียน เร่ือง โพรทิสต์ พืช ฟงั ไจ และสตั ว์ แนวการวดั และประเมินผล ดา้ นความรู้ - การเกดิ เซลลเ์ รม่ิ แรกและวิวัฒนาการของส่ิงมชี ีวติ เซลลเ์ ดียว - ลักษณะส�ำ คัญของแบคทีเรียและอาร์เคีย ดา้ นทกั ษะ - การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป การส่ือสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อจาก การอภิปราย ด้านจิตวทิ ยาศาสตร์ - ความมเี หตผุ ล ความใจกวา้ ง และความอยากรอู้ ยากเหน็ จากการอภปิ ราย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 6 บทที่ 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ 37 โพรทสิ ต์ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะส�ำ คัญของโพรทสิ ต์ และการแบ่งกลุม่ ของโพรทสิ ต์ พร้อมยกตวั อยา่ ง แนวการจดั การเรียนรู้ ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นไดศ้ กึ ษาลกั ษณะรปู รา่ งของโพรทสิ ตจ์ ากการท�ำ กจิ กรรมท่ี 23.2 ในหนงั สอื เรยี น กิจกรรม 23.2 สง่ิ มีชวี ติ จากแหลง่ น้ำ� จุดประสงค์ 1. ศกึ ษาลกั ษณะของสงิ่ มชี วี ติ ทสี่ งั เกตเหน็ ภายใตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงและบนั ทกึ ลกั ษณะท่ี สงั เกตได้ 2. ระบชุ อ่ื สงิ่ มชี วี ติ หรอื กลมุ่ สง่ิ มชี วี ติ ทพี่ บ และเปรยี บเทยี บลกั ษณะหรอื โครงสรา้ งทส่ี งั เกตเหน็ เวลาทใ่ี ช้ (โดยประมาณ) 1 ชัว่ โมง วัสดแุ ละอุปกรณ์ ปริมาณต่อกล่มุ รายการ ชนิดละ 1 ตวั 1. กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงเชงิ ประกอบ 10 ชุด และแบบสเตอรโิ อ 2 จาน 1 ใบ 2. สไลดแ์ ละกระจกปิดสไลด์ 1 หลอด 3. จานเพาะเชอ้ื 1 อนั 4. บกี เกอร์ขนาด 250 mL 5. หลอดหยด 6. เขม็ เขี่ย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

38 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ ชวี วิทยา เล่ม 6 แนวการจดั กิจกรรม ครูควรเตรียมนำ�้ จากแหล่งน�้ำ ธรรมชาติหลาย ๆ แหง่ เลอื กน้ำ�ท่ีมีพชื นำ้�ปะปนอยดู่ ้วย เชน่ จอก และแหน ซง่ึ จะมีโอกาสตรวจพบโพรทิสตช์ นดิ ตา่ งๆ ทอี่ าศัยอยูต่ ามรากจอกและรากแหน ครคู วรให้นกั เรยี นไดบ้ ันทกึ ลักษณะรูปร่าง โครงสรา้ งท่ีใช้ในการเคลือ่ นที่ของสง่ิ มีชีวิตนน้ั โดย การวาดภาพและบรรยายลักษณะท่ีสังเกตเห็น ครูควรเตรียมเอกสารที่เก่ียวข้องกับโพรทิสต์ ชนิดตา่ ง ๆ ที่อาจพบในแหล่งนำ�้ ไวใ้ ห้นกั เรียนได้ศกึ ษา ครูอธิบายเพ่ิมเติมว่าในน้ำ�ที่นักเรียนนำ�มาศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์น้ันนอกจาก โพรทสิ ตแ์ ลว้ นกั เรยี นอาจพบไซยาโนแบคทเี รยี ได้ โดยใชร้ ปู ของไซยาโนแบคทเี รยี และโพรทสิ ต์ มาประกอบการอธบิ ายช้ีให้เหน็ ถึงความแตกตา่ งของส่ิงมชี วี ติ ทัง้ 2 กลุ่ม จากน้ันให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงลักษณะของโพรทิสต์ที่สังเกตเห็นและตอบคำ�ถาม ท้ายกิจกรรม ซง่ึ มแี นวในการตอบค�ำ ถามดังนี้ คำ�ถามท้ายกิจกรรม ส่ิงมีชีวติ สว่ นใหญ่ทพ่ี บมีขนาดเป็นอยา่ งไร และสามารถมองเหน็ ดว้ ยตาเปลา่ ได้หรอื ไม่ สง่ิ มชี วี ติ ทพ่ี บสว่ นใหญม่ ขี นาดเลก็ และไมส่ ามารถสงั เกตเหน็ ไดด้ ว้ ยตาเปลา่ หรอื อาจสงั เกต เห็นด้วยตาเปล่าแตไ่ ม่เหน็ รายละเอยี ดอย่างชดั เจน สิ่งมีชีวติ ทพี่ บมีลกั ษณะส�ำ คัญอยา่ งไร คำ�ตอบน้ีจะขึ้นอยู่กับแหล่งนำ้�แต่ละแห่งท่ีนำ�มาศึกษา คำ�ตอบมีได้หลากหลาย เช่น ส่ิงมีชีวิตท่ีพบมีลักษณะสำ�คัญ ๆ ที่แตกต่างกัน เช่น บางชนิดมีคลอโรพลาสต์ บางชนิดมี โครงสรา้ งทใี่ ชใ้ นการเคลื่อนที่ เชน่ ซเิ ลีย แฟลเจลลมั เป็นตน้ บางชนิดเป็นเส้นสาย สง่ิ มชี วี ติ สว่ นใหญท่ พ่ี บเคลอ่ื นทไี่ ดห้ รอื ไม่ ถา้ เคลอื่ นทไี่ ดม้ โี ครงสรา้ งใดชว่ ยในการเคลอื่ นท่ี ค�ำ ตอบนจ้ี ะขน้ึ อยกู่ บั แหลง่ น�้ำ แตล่ ะแหง่ ทน่ี �ำ มาศกึ ษา ค�ำ ตอบมไี ดห้ ลากหลาย เชน่ อาจพบ สง่ิ มชี วี ติ ทเี่ คลอื่ นทไี่ ดโ้ ดยใชซ้ เิ ลยี เชน่ พารามเี ซยี ม หรอื เคลอ่ื นทไ่ี ดโ้ ดยใชแ้ ฟลเจลลมั เชน่ ยูกลีนา ฟากัส เป็นต้น หรืออาจพบพวกท่ีไม่สามารถเคล่ือนท่ีได้เช่น พวกสาหร่ายต่าง ๆ เปน็ ตน้ ครชู แ้ี จงเพม่ิ เตมิ วา่ จากการท�ำ กจิ กรรมนน้ี กั เรยี นจะเหน็ ไดว้ า่ โพรทสิ ตท์ พ่ี บมลี กั ษณะ รปู รา่ ง และการเคลอ่ื นทแ่ี ตกตา่ งกนั ดงั นน้ั การด�ำ รงชวี ติ กน็ า่ จะแตกตา่ งกนั ดว้ ย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 6 บทท่ี 23 | ความหลากหลายทางชวี ภาพ 39 จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาขอ้ มลู เกย่ี วกบั โพรทสิ ตใ์ นหนงั สอื เรยี นแลว้ อภปิ รายรว่ มกนั โดยใช้ ค�ำ ถาม ดงั น้ี โพรทสิ ต์มลี กั ษณะอย่างไร โพรทิสตส์ ามารถสร้างอาหารเองไดห้ รือไม่ อย่างไร ยกตวั อย่างโพรทิสตท์ ีส่ ร้างอาหารเองได้ ยกตวั อยา่ งโพรทิสตท์ ี่สรา้ งอาหารเองไมไ่ ด้ ยกตัวอย่างโพรทสิ ต์ที่สรา้ งอาหารเองได้และสามารถรบั อาหารจากภายนอกได้ โพรทิสตม์ กี ารสบื พันธแุ์ บบใด การด�ำ รงชวี ติ ของโพรทสิ ต์มรี ปู แบบใดบ้าง และยกตวั อย่าง จากหนงั สอื เรยี น สามารถแบง่ โพรทสิ ตไ์ ดเ้ ปน็ กก่ี ลมุ่ ไดแ้ กอ่ ะไรบา้ ง แตล่ ะกลมุ่ มลี กั ษณะ เฉพาะ มกี ารด�ำ รงชวี ิตอย่างไร โพรทสิ ตม์ บี ทบาทสำ�คัญในระบบนเิ วศอย่างไร จากการอภปิ รายรว่ มกนั นกั เรยี นควรอธบิ ายไดว้ า่ สง่ิ มชี วี ติ กลมุ่ โพรทสิ ตม์ คี วามหลากหลายสงู สง่ิ มชี วี ติ ทถ่ี กู น�ำ มารวมกลมุ่ เปน็ โพรทสิ ตค์ อื สง่ิ มชี วี ติ ทไ่ี มม่ ลี กั ษณะส�ำ คญั บางประการจงึ ท�ำ ใหไ้ มถ่ กู จดั อยใู่ นกลมุ่ พชื ฟงั ไจ และสตั ว์ โดยอาจพบโพรทสิ ตท์ เ่ี ปน็ เซลลเ์ ดยี ว โคโลนี และโพรทสิ ตห์ ลายเซลล์ ส�ำ หรบั โพรทิสต์ท่เี ป็นเซลล์เดียวมักพบโครงสร้างท่ไี ม่พบในยูแคริโอตกล่มุ อ่นื เช่น คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล ฟดู แวควิ โอล โพรทสิ ตม์ ที ง้ั ทส่ี รา้ งอาหารเองได้ สรา้ งอาหารเองไมไ่ ด้ นอกจากนย้ี งั มยี กู ลนี าทเ่ี ปน็ โพรทสิ ต์ ทส่ี รา้ งอาหารเองไดแ้ ละสามารถรบั อาหารจากภายนอกไดด้ ว้ ย สว่ นใหญโ่ พรทสิ ตม์ กี ารสบื พนั ธแ์ุ บบไมอ่ าศยั เพศโดยการแบง่ แยกตวั เปน็ สองและแบบอาศยั เพศ การด�ำ รงชวี ติ มรี ปู แบบทห่ี ลากหลาย อาจจ�ำ แนกโพรทสิ ตไ์ ดเ้ ปน็ 3 กลมุ่ ใหญ่ คอื กลมุ่ โพรโทซวั กลมุ่ สาหรา่ ย และกลมุ่ โพรทสิ ตท์ ค่ี ลา้ ยรา โดยแตล่ ะกลมุ่ มลี กั ษณะเฉพาะและมกี ารด�ำ รงชวี ติ ทแ่ี ตกตา่ งกนั บทบาทส�ำ คญั ในระบบนเิ วศของโพรทสิ ตจ์ ะเกย่ี วขอ้ งกบั สง่ิ มชี วี ติ อน่ื โดยเฉพาะโพรทสิ ตบ์ าง กล่มุ ท่มี ีการดำ�รงชีวิตแบบภาวะพ่งึ พากัน หรือแบบภาวะปรสิต ทำ�ให้โพรทิสต์มีผลต่อส่งิ มีชีวิตอ่นื ท่มี ี ปฏสิ มั พนั ธก์ นั และอาจรวมถงึ สง่ิ มชี วี ติ อน่ื ทอ่ี าศยั อยใู่ นระบบนเิ วศนน้ั ส�ำ หรบั โพรทสิ ตท์ ส่ี งั เคราะหด์ ว้ ย แสงไดท้ อ่ี ยใู่ นแหลง่ น�ำ้ จดั เปน็ ผผู้ ลติ ทม่ี คี วามส�ำ คญั ในระบบนเิ วศและยงั เปน็ แหลง่ อาหารส�ำ คญั ทอ่ี ยฐู่ าน ลา่ งสดุ ของสายใยอาหาร ดงั นน้ั เมอ่ื มปี จั จยั ใดมากระทบท�ำ ใหโ้ พรทสิ ตใ์ นแหลง่ น�ำ้ เกดิ การเปลย่ี นแปลง กจ็ ะสง่ ผลตอ่ สง่ิ มชี วี ติ ทอ่ี าศยั อยใู่ นแหลง่ น�ำ้ นน้ั ดว้ ย จากนน้ั ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั ตอบค�ำ ถามตรวจสอบความเขา้ ใจในหนงั สอื เรยี น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf