ป.โท ม.กรงเทพ หล กส ตร ไม ทำว ทยาน พนธ

94

95

96

97

98

99

10

รายชอื่ อาจารย์ประจำห

สาขาวชิ าพุทธศาสตรเ์ พื่อการพัฒนา อาจารยผ์ ้รู ับผิดชอบหลักสตู ร สำหรับเป

อ.เมอื ง จ.เชียงใหม่

ลำดบั ตำแหนง่ ชอ่ื -ฉายา นามสกุล คณุ

ทางวชิ าการ (จากคุณว

1 อาจารย์ พระครูวนิ ยั ธรสัญชัย พธ.ด. (พระพุทธศ

าณวโี ร (ทพิ ยโ์ อสถ) ศน.ม. (พุทธศาสน

ปวค. (ประกาศนีย

ศน.บ. (พทุ ธศาสต

2 อาจารย์ พระมหาปณุ ณส์ มบัติ ศศ.ม. (พุทธศาสน

ปภากโร (บุญเรอื ง) ศน.บ. (ภาษาอังก

3 อาจารย์ พระมหาเจริญ กตปุญโฺ ศน.ม. (พุทธศาสน

(กระพลิ า) ศน.บ. (พุทธศาสต

4 อาจารย์ นายสมิตไธร Ph.D.(Arts.) in P

อภวิ ฒั นอมรกลุ ศศ.ม. (พทุ ธศาสน

ศน.บ. (ภาษาอังก

5 อาจารย์ นายกมล บตุ รชารี ศน.ม. (พุทธศาสน

ศน.บ. (ภาษาองั ก

สาขาวิชาการปกครอง อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร สำหรับเปิดสอน ณ ม

เชียงใหม่

ชอื่ ฉายา/นามสกุล คุณ

00

หลักสูตรแต่ละสาขาวชิ า ปดิ สอน ณ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตลา้ นนา ต.พระสิงห์

ณวฒุ ริ ะดบั อุดมศกึ ษา สำเร็จการศึกษาจาก วุฒิสูงสดุ ระดบั ปรญิ ญาตรี) สถาบัน ปี พ.ศ. ศาสนา) นาและปรัชญา) ม.มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั 2562 ยบัตรวชิ าชพี คร)ู ตร)์ (ประโยค 1-2) ม.มหามกุฏราชวิทยาลัย 2550 นศึกษา) กฤษ) (ป.ธ.7) ม.มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย 2547 นาและปรัชญา) ตร)์ (ป.ธ.6) ม.มหามกุฏราชวทิ ยาลัย 2545 Pali นศกึ ษา) ม.ธรรมศาสตร์ 2544 กฤษ) (ป.ธ.6) นาและปรชั ญา) ม.มหามกฏุ ราชวิทยาลยั 2540 กฤษ) ม.มหามกุฏราชวิทยาลยั 2556

ม.มหามกุฏราชวิทยาลัย 2549

Kolkata University 2563

ม.ธรรมศาสตร์ 2551

ม.มหามกุฏราชวทิ ยาลัย 2547

ม.มหามกุฏราชวทิ ยาลัย 2559

ม.มหามกฏุ ราชวิทยาลยั 2535

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.

ณวุฒริ ะดับอุดมศกึ ษา สำเรจ็ การศกึ ษาจาก

10

ลำดับ ตำแหน่งทาง พระครูสงั ฆรกั ษ์ วีรวฒั น์ - ศน.ม. (ร ท่ี วชิ าการ วรี วฑฺฒโน (พรหมเมอื ง) - ศน.บ. (ร 1. อาจารย์ จ่าสิบเอกวรยทุ ธ สถาปนาศุภ - ศน.ม. (ร 2. อาจารย์ กุล - ศน.บ. (ร 3. อาจารย์ นายวริ าษ ภมู าศรี - ศน.ม. (ร - ร.บ. (ทฤ 4. อาจารย์ นายสรวศิ พรมลี - ศน.บ. (ภ 5. อาจารย์ - ร.ม. (รฐั นายมงคลชยั สมศรี - ร.บ. (รฐั - ร.ม. (กา - ศน.บ. (ภ

อาจารย์ประจำหลักสตู รศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาองั กฤษ

จังหวดั เชียงใหม่

ลำดบั ตำแหนง่ วิชาการ ชอ่ื – ฉายา / นามสกุล ค

ท่ี (

1 อาจารย์ นายพิรุณ จันทวาส D.Ed.(Curric ศศ.ม.(การสอ กศ.บ.(ภาษาอ

01

สาขาวิชา สถาบัน ปี

พ.ศ.

รัฐศาสตรก์ ารปกครอง) มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั 2557

รัฐศาสตรก์ ารปกครอง) มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย 2549

รฐั ศาสตร์การปกครอง) มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย 2551

รฐั ศาสตรก์ ารปกครอง) มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย 2550

รัฐศาสตรก์ ารปกครอง) มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย 2556

ฤษฎแี ละเทคนิคทางรัฐศาสตร)์ มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช 2542

ภาษาองั กฤษ) มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย 2541

ฐศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง 2561

ฐศาสตร์การปกครอง) มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย 2558

ารเมืองและการปกครอง) มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ 2550

ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย 2544

ษ สำหรบั เปดิ สอน ณ วิทยาเขตล้านนา ตำบลพระสงิ ห์ อำเภอเมืองเชยี งใหม่

คุณวฒุ กิ ารศึกษา สำเรจ็ การศกึ ษาจาก ปี (สาขาวิชาเอก) สถาบนั พ.ศ. culum Studies) University of Hull, England อนภาษาอังกฤษ) ม.เกษตรศาสตร์ 2545 อังกฤษ) ม.ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ 2523 2521

10

2 อาจารย์ นายกมล วชั รยิ่งยง M.A.(Americ

กศ.ม.(ภาษาแ

กศ.บ.(ภาษาอ

3 อาจารย์ นายณรงศักดิ์ ลุนสำโรง Ph.D.in Engli

Phonetics)

M.A.(Linguis

พธ.บ.(ภาษาอ

4

5 อาจารย์ นายนพรัตน์ กันทะพิกุล ศศ.ม.(ภาษาอ

ศศ.บ.(ภาษาอ

สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษาสำหรับเปดิ สอน ณ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช

ลำดับ ตำแหน่งทาง ช่ือ-ฉายา นามสกลุ ค

ท่ี วชิ าการ

1 ผูช้ ว่ ย พระมหาวรี ศกั ด์ิ สุรเมธี, ดร. ปร.ด. (การบ

ศาสตราจารย์ ร.ม. (รฐั ศาส

(สาขาวชิ า ศษ.ม. (การส

การปกครอง) พธ.บ. (สังคม

2 อาจารย์ นางสาวทิตตยิ า มัน่ ดี ศษ.ม (การส ค.บ. (สังคม

3 อาจารย์ นางสาวพิมภสั สร เดด็ ขาด ศษ.ม (การส

ศษ.ม (การบ

ค.บ. (คณติ ศ

4 อาจารย์ นายเขมนิ ทรา ตนั ธิกุล ศษ.ม (การบ

02

can Literature) Marquette University, U.S.A. 2523 และวรรณคดีอังกฤษ) ม.ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ 2519 อังกฤษ) วิทยาลัยวชิ าการศกึ ษาประสานมิตร 2509 ish (Linguistics and 2555 The English and Foreign stics) Languages University, India 2547 อังกฤษ) University of Mysore, India 2538

ม.มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั

องั กฤษ) ม.ศรีนรินทรวโิ รฒ 2555 อังกฤษธุรกจิ ) ม.ราชภฏั เชียงใหม่ 2549

ชวิทยาลัย วิทยาเขตลา้ นนา ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จงั หวัดเชียงใหม่

คณุ วุฒิการศกึ ษา สำเร็จการศึกษาจาก

(สาขาวิชาเอก) สถาบัน ปีท่จี บ

บรหิ ารการพฒั นา) ม.นอรท์ -เชยี งใหม่ 2557

สตร์) ม.รามคำแหง 2558

สอนสงั คมศกึ ษา) ม.เชยี งใหม่ 2545

มศกึ ษา) (ป.ธ.9) ม.มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 2542

สอนสงั คมศึกษา) ม.เชยี งใหม่ 2561

มศึกษา) ม.ราชภัฏพบิ ลู สงคราม 2558

สอนสังคมศกึ ษา) ม.เชยี งใหม่ 2561

บริหารการศึกษา) ม.มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย 2558

ศาสตร์) ม.ราชภัฏเชียงใหม่ 2554

บริหารการศึกษา) ม.มหามกุฏราชวิทยาลัย 2558

10

5 ผู้ชว่ ย ดร.ตระกลู ชำนาญ ค.บ. (สังคมศ ศาสตราจารย์ ศศ.ด. (การพ (สาขาวชิ า M.A. (Socia สงั คมวิทยา) ศน.บ. (สังคม

สาขาวิชาการสอนภาษาไทย สำหรบั เปิดสอน ณ มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชว

ลำดบั ที่ ตำแหน่งทางวิชาการ ช่อื -ฉายา นามสกลุ

1 อาจารย์ พระครูปรยิ ตั ิกิตติวมิ ล (บุญชู สดุ โสม

2 อาจารย์ นายชมุ่ พมิ พ์ครี ี

3 อาจารย์ พระณฐกร ปฏภิ าณเมธี (ไชยบตุ ร)

4 รองศาสตราจารย์ นายอัครชยั ชัยแสวง

(สาขาวชิ าวิชาการ

ศึกษา)

5 อาจารย์ นายกิตตคิ ุณ ภลู ายยาว

03

ศกึ ษา) ม.ราชภฏั เชียงใหม่ 2553

พัฒนาสังคม) ม.นเรศวร 2551

alogy) Banaras Hindu University, 2538

มวทิ ยา) India 2536

ม.มหามกุฏราชวิทยาลยั

วทิ ยาลยั วทิ ยาเขตล้านนา ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวดั เชยี งใหม่

คณุ วุฒกิ ารศึกษา สำเร็จการศึกษาจาก

(สาขาวิชาเอก) สถาบัน ปที ีจ่ บ

ม) ปร.ด. (ภาษาไทย) ม.พะเยา 2564

ศศ.ม. (ภาษาไทย) ม.ราชภัฏเชียงใหม่ 2554

ศน.บ. (ภาษาไทย) ม.มหามกุฏราชวิทยาลัย 2538

ปร.ด. (ภาษาไทย) ม.พะเยา 2564

ศศ.ม. (ภาษาไทย) ม.นเรศวร 2548

ศน.บ. (ภาษาไทย) ม.มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย 2545

ศศ.ม. (ภาษาไทย) ม.นเรศวร 2559

ศน.บ. (การบริหาร ม.มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั 2552

การศกึ ษา)

อ.ม. (ภาษาบาลแี ละ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2526

สนั สกฤต) ม.ศรีนครนิ ทรวโิ รฒประสานมิตร 2521

กศ.บ. (ภาษาไทย)

ศษ.ม. (การบริหาร ม.รามคำแหง 2551

การศกึ ษา) สภาการศึกษามหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย 2539

10

6 อาจารย์ อาจารย์ทองสาย ศักด์วิ รี ะกลุ

สาขาวิชาภาษาอังกฤษ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเปิดสอน ณ มหาวิทย

จังหวดั เชียงใหม่

ลำดับท่ี ตำแหน่งวิชาการ ช่ือ-ฉายา นามสกุล ค

(จากคุณ

อาจารย์ พระมหาวราสะยะ วราสโย Ph.D. (Li

(วราสยานนท)์ พธ.ม. (ภา

พธ.บ. (บร

อาจารย์ พระมหาสหัสษชญั ญ์ Ph.D. (Li

สริ มิ งคฺ โล (รัตนสันติ) M.A. (Lin

ศน.บ. (ภ

อาจารย์ พระพทิ ักษ์ ฐานิสฺสโร (แฝงโกฏ)ี Ph.D. (Li

M.Ed. (En

Educatio

พธ.บ. (กา

อาจารย์ นายธรี ศกั ด์ิ แสนวงั ทอง M.A. (Lin

ศน.บ. (ภ

อาจารย์ นายประดษิ ฐ์ คำมงุ คณุ Ph.D. (Li

M.A. (Lin

04

ศน.บ. (ภาษาไทย)

ศษ.ม.(การสอนภาษาไทย) ศษ.ม.(การสอนภาษาไทย)ม. 2540

ค.บ.(ภาษาไทย) เชียงใหม่ 2523

ค.บ.(ภาษาไทย) ม. ราชภฏั เชียงใหม่

ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง

คุณวุฒิระดบั อดุ มศึกษา สถาบนั การศึกษา ปที ่ีจบ ณวุฒริ ะดับสูงสดุ ถงึ ปรญิ ญาตรี) สำเรจ็ จาก 2562 University of Mysore, India 2556 inguistics) ม.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั 2554 าษาศาสตร์) ม.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 2563 รหิ ารการศึกษา) (ป.ธ.9) Banaras Hindu University 2554 inguistics) Banaras Hindu University 2549 nguistics) ม.มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั 2561 ภาษาองั กฤษ) Banaras Hindu University 2555 inguistics) Banaras Hindu University 2553 nvironmental and Value Banaras Hindu University 2550 on), M.A. (Linguistics) ม.มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั 2550 ารสอนภาษาองั กฤษ) University of Delhi, India 2547 nguistics) ม.มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั 2561 ภาษาองั กฤษ) University of Mysore, India 2556 inguistics) University of Mysore, India nguistics)

10

พธ.บ. (ภา

สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา(โท)อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเปิดสอ

อำเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่

ลำดับ ตำแหน่งทาง ชือ่ ฉายา นามสกลุ - คณุ วฒุ ริ ะด ที่ วิชาการ (จากคุณวุฒิสูงสดุ

1 อาจารย์ นายอเุ ทน ลาพิงค์ Ph.D. (Philosophy)

M.A. (Philosophy)

M.A. (linguistics )

พธ.บ. (การสอนสังคม

2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายโผน นามณี พธ.ด. (พระพุทธศาสน

( พทุ ธศาสตร)์ M.A. (Buddhist Stu

B.A. (Buddhist Stud

3 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ นายทรงศักด์ิ พรมดี Ph.D. (Pali & Buddh

(พุทธศาสนาและ M.A.(Pali & Buddhi ปรัชญา) ศน.บ. (การสอนภาษา

4 อาจารย์ นายสงดั เชยี นจัน Ph.D.(Indian Philosop

ทึก M.A.(English Literat ศน.บ.(ภาษาองั กฤษ)

5 รองศาสตราจารย์ พระมหาวเิ ศษ ปญฺ ปร.ด.(ผู้นำทางการศึก

(พทุ ธศาสตร์) าวชิโร ทรัพยากรมนุษย์)

(เสาะพบดี) ศน.ม. (พทุ ธศาสนศึก

05

าษาอังกฤษ) ม.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 2553

อน ณ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ตำบลพระสิงห์

ดับอุดมศกึ ษา สำเร็จการศกึ ษาจาก ปี ดถงึ ระดบั ปรญิ ญาตร)ี สถาบัน พ.ศ.

ม) University of Mysore, India 2551 นา) udies) University of Mysore , India 2544 dies) hist Studies) University of Mysore, India 2557 ist Studies ) าไทย) ม.มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั 2542

phy and Religion) ม.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั 2558

ture) Buddhist and Pali University of Sri Lanka, Sri Lanka 2535 Buddhist and Pali University of Sri Lanka, Sri กษาและการพัฒนา Lanka 2534

Banaras Hindu University, India 2552

Banaras Hindu University, India 2549

มหาวทิ ยาลยั มหามกฎุ ราชวิทยาลัย 2545

Banaras Hindu University,India 2554 Banaras Hindu University,India 2546 ม.มหามกุฏราชวิทยาลัย 2543

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่ 2554

กษา) มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย 2543

10

ศษ.บ. (สังคมศึกษา ม

ป.ธ.9

สาขาวชิ าวิชาบริหารการศึกษา (ป.โท) ลำดับที่ ชอ่ื /ฉายา ชอื่ สกลุ ตำแหน่งท

อาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ณ มหาวิทยาลัย

ลำดบั ตำแหนง่ ทาง ช่ือ-สกุล คณุ วุฒ-ิ ส

วชิ าการ

1 ศาสตราจารย์ นายพศนิ แตงจวง* Ph.D.(Adult Educat

M.S. (Curriculum &

Supervision & Curri

กศ.บ.(มัธยมศึกษา)

2 อาจารย์ นายชาลี ภกั ดี* ศษ.ด.(การบรหิ ารการ

ศษ.ม.(การบริหารการ

ค.บ.(พลศกึ ษา)

3 อาจารย์ นายฉัตรชัย ศริ กิ ลุ ศษ.ด.(การบรหิ ารการ

พนั ธ*์ ศษ.ม.(การบรหิ ารการ

ค.บ.(พลศึกษา)

4 ผ้ชู ่วย พระครวู ทิ ิตศาสนาทร Ph.D. Education

ศาสตราจารย์ (เกษม) อุปสนฺโต (จมุ ปา) กศ.ม. การบริหารการศ

พธ.บ.ศาสนา

5 ผู้ช่วย พระมหาสกลุ มหาวีโร ปร.ด. การบริหารการศ

ศาสตราจารย์ (เทยี่ งไชย) ศศ.ม.การวิจัยและพฒั

ศน.บ. ภาษาอังกฤษ

06

มัธยมศึกษา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช 2530

คณะสงฆ์ไทย 2545

ทางวิชาการ คณุ วุฒิและสาขาวิชา สถานศึกษา ปีท่ีสำเร็จการศึกษาของ

ยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตล้านนา เชยี งใหม่

สาขาวิชา สำเรจ็ การศกึ ษาจาก ปที ี่

สำเรจ็

tion) The Florida State University, U.S.A. 2527

Instruction; Emporia State University, U.S.A. 2519

iculum) วิทยาลยั วชิ าการศึกษา

2515

รศึกษา) ม. กรุงเทพธนบุรี 2556

รศึกษา) ม. เชยี งใหม่ 2543

ม. ราชภฏั บรุ ีรมั ย์ 2523

รศึกษา) ม. กรงุ เทพธนบุรี 2556

รศึกษา) ม. รามคำแหง 2546

ม. ราชภัฏเชียงใหม่ 2530

University of Mysore, India 2550

ศกึ ษา ม.นเรศวร 2543

ม.มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย 2537

ศกึ ษา ม.เวสเทิรน์ 2559

ฒนาท้องถิน่ ม.ราชภัฏเชียงใหม่ 2546

สภาการศกึ ษามหามกฏุ ราชวิทยาลัย 2539

10

อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตรหลักสูตรปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศา วทิ ยาเขตล้านนา ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่

ลำดบั ตำแหน่ง ชอ่ื -ฉายา-นามสกุล คณุ วฒุ ิสูงสดุ ระดับ

ทางวชิ าการ (จากคณุ วุฒสิ ูงสดุ ถึงระ

1 อาจารย์ นายอเุ ทน ลาพิงค*์ Ph.D. (Philosophy)

M.A. (Philosophy)

M.A. ( linguistics )

พธ.บ. (การสอนสังคม)

2 ผู้ช่วย นายโผน นามณ*ี พธ.ด. (พระพุทธศาสนา

ศาสตราจารย์ M.A. (Buddhist Studi

( พทุ ธศาสตร์) B.A. (Buddhist Studie

3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายทรงศักด์ิ พรมด*ี Ph.D. (Pali & Buddhis

( ศาสนาและ M.A.(Pali & Buddhist S

ปรชั ญา) ศน.บ. (การสอนภาษาไท

4 อาจารย์ พระครูสมหุ ์ ธนโชติ พธ.ด.(พระพทุ ธศาสนา)

จริ ธมฺโม(เขอ่ื นเพชร) ศศ.ม.(การวจิ ยั และพฒั นาท้องถนิ่ ล

ศน.บ.(การศึกษานอกระ

5 รองศาสตราจารย์ พระมหาวเิ ศษ ปญฺ ปร.ด.(ผู้นำทางการศกึ ษาและการพ

(พุทธศาสตร์) าวชโิ ร ศน.ม. (พทุ ธศาสนศึกษา

(เสาะพบดี) ศษ.บ. (สังคมศึกษา มธั ย

ป.ธ.9

07

าสนาและปรชั ญา สำหรับเปดิ สอน ณ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

บอุดมศึกษา สำเร็จการศึกษา

ะดบั ปรญิ ญาตร)ี สถาบัน ปี พ.ศ. 2551 University of Mysore, India 2544 2557 University of Mysore , India 2542 2558 University of Mysore, India 2535 2534 มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย 2552 2549 า) มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย 2545 2557 ies) Buddhist and Pali University of Sri Lanka 2547 2541 es) Buddhist and Pali University of Sri Lanka 2554 2543 st Studies) Banaras Hindu University, India 2530 2545 Studies ) Banaras Hindu University, India

ทย) มหาวทิ ยาลัยมหามกฎุ ราชวิทยาลัย

) มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณาชวิทยาลัย

ลา้ นนาคดีศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่

ะบบ) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

พฒั นาทรัพยากรมนุษย)์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชียงใหม่

า) มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั

ยมศกึ ษา) มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช

คณะสงฆ์ไทย

10

ตดิ ตอ่ สอบถ

08

ถามเราไดท้ ่ี

10

09

11

10

11

11

แบบคำรอ้ งต่างๆ อยูท่ ่ตี ูต้ กึ MBU1 และดาวโหลดทางเวบ็ ไซตม์ มร

ล้านนาได้

บรกิ าร สำหรบั นกั ศึกษาใช้ในการตดิ ต่อกบั มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตลา้ นนา

ลน.01 แบบขนึ้ ทะเบียนเปน็ นักศกึ ษา(มีการเปลีย่ นแปลงในแตล่ ะปกี ารศึกษา) ลน.02 คำรอ้ งขอหนงั สอื รับรองทางการศึกษา (แบบใหมล่ ่าสุด) ลน.03 คำร้องขอทำบตั รประจำตวั นักศกึ ษา ลน.04 คำรอ้ งทั่วไป ถงึ รองอธิการบดี ลน.05 คำรอ้ งทัว่ ไป ถึงผ้อู ำนวยการสำนักงานวิทยาเขต ลน.06 คำร้องทวั่ ไป ถึงผู้อำนวยการวิทยาลัยศาสนศาสตร์ ลน.07 คำร้องทว่ั ไป ถงึ ผู้อำนวยการศูนย์บรกิ ารวิชาการ ลน.08 ลาหยุดเรยี น ลน.09 ใบแสดงผลการเรยี นแก้ I ลน.10 คำรอ้ งขอเทยี บโอนรายวิชา ลน.11 คำร้องขอเปดิ รายวชิ า ลน.12 บตั รลงทะเบียนธนาคาร(มกี ารเปลย่ี นแปลงในแตล่ ะภาคเรียน) ลน.13 คำรอ้ งขอลงทะเบยี นรายวชิ า (เพ่มิ -ลด-เพกิ ถอน) ลน.14. คำรอ้ งขอสอบหลงั กำหนด ลน.15 คำร้องขอแจ้งการเปลย่ี นสถานภาพ ลน.16 คำร้องขอแจ้งการเปลยี่ นชื่อ-นามสกุล ลน.17 ใบลาพกั การศกึ ษารักษาสถานภาพ ลน.18 คำรอ้ งขอย้ายคณะสาขาวชิ าเอก (ภายในวิทยาเขตลา้ นนา) ลน.19 คำรอ้ งขอย้ายวทิ ยาเขต ลน.20 คำรอ้ งขอหนงั สอื ผอ่ นผนั ทหาร ลน.21 คำรอ้ งขอหนังสือรับรองทาางการศึกษา กรณนี ักศกึ ษาจบไปแลว้ ลน.22 คำรอ้ งขอให้นกั ศึกษาไปศกึ ษาดูงานนอกสถานศกึ ษา ลน.23 คำรอ้ งขอแกไ้ ขผลการเรยี น(สำหรับอาจารยผ์ ูส้ อน) ลน.24 คำรอ้ งขออนมุ ัตสิ ำเร็จการศึกษาและขอรับปรญิ ญา ลน.25 คำร้องขอเปลี่ยนสถานภาพนกั ศึกษา(กรณลี าสกิ ขา) ลน.26 ใบลาออก ลน.28 คำรอ้ งขอคัดสำเนาเอกสาร ลน.29 แบบคำร้องขอคนื สภาพนกั ศึกษา ลน.31 ขอลงทะเบยี นรายกรณี ลน.32 คำรอ้ งขอทำงานวิจัยแทนวุฒนิ ักธรรมเอก ลน.33 แบบคำรอ้ งขอผ่อนผันคา่ ธรรมเนียม ถึงรองอธิการบดี

114

หมายเหตุเวลาจะตดิ ต่อราชการต้องยน่ื คำรอ้ งกับหน่วยงานภายในมหาวทิ ยาลัยประกอบการ ตดิ ตอ่ ด้วย

ปฏทิ ินการศกึ ษา 1/2565, 2/2565 ดูไดใ้ นระบบ -ระบบบริการการศกึ ษา //reg.mbu.ac.th/registrar/home.asp

115

ข่าวสารงานกจิ การนักศกึ ษา มมร วทิ ยาเขตลา้ นนา

แผนท่ีท่ีตงั้ ของ

116

มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตลา้ นนา ตามแผน Google map

117

ระเบยี บมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

วา่ ดว้ ย วินัยนักศกึ ษาคฤหสั ถ์ พ.ศ. 2549

********

โดยที่เห็นเป็นการสมควรให้มีระเบียบว่าด้วยวินัยนักศึกษาคฤหัสถ์ เพื่อความเป็นระเบียบ

เรียบร้อย ความเป็นศกั ดิศ์ รีของนกั ศึกษาและสถาบนั และเป็นการส่งเสริมการเรยี นการสอนของนกั ศึกษา

คฤหัสถ์ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 19 (2) แห่งราชบัญญัติ

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2540 และมติสภามหาวิทยาลัยในการประชุม ครั้งท่ี 5/2549

เม่อื วันท่ี 29 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2549 จึงวางระเบยี บไวด้ งั นี้

หมวดท่ี 1

ขอ้ ความท่วั ไป

ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วย วินัยนักศึกษา

คฤหสั ถ์ พ.ศ. 2549 ”

ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บงั คบั ตัง้ แตว่ ันถัดจากวนั ประกาศเปน็ ต้นไป

ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง และประกาศ อื่นใดที่ขัดหรือแย้งกับระเบียบการนี้ ให้ใช้

ระเบยี บนี้แทน

ข้อ 4 ในข้อบงั คบั น้ี

“มหาวิทยาลยั ” หมายความว่ามหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย

“อธกิ ารบดี” หมายความว่า อธกิ ารบดี มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย

“คณะ” หมายความว่า คณะ วิทยาลยั หรือหนว่ ยงานอน่ื ที่มฐี านะ

เทียบเทา่ คณะท่มี ีการจัดการเรยี น การสอน

สำหรับนกั ศกึ ษาคฤหสั ถ์

“คณบดี” หมายความวา่ คณบดีท่ีนักศึกษาสังกัดและให้หมายถึงหัวหน้า

สว่ นงานอ่ืนทม่ี ฐี านะเทยี บเท่าคณบดี

“อาจารย”์ หมายความวา่ ผู้สอน ผูบ้ รรยาย ประจำในรายวิชาต่างๆ ของ

มหาวทิ ยาลัยรวมถึง อาจารยพ์ เิ ศษ และอาจารย์

ที่ปรึกษา

“เจา้ หนา้ ท่ี” หมายความวา่ พนักงาน ลูกจ้างของมหาวิทยาลัย

“นกั ศกึ ษา” หมายความว่านักศกึ ษาฝ่ายคฤหสั ถข์ องมหาวทิ ยาลยั

“คฤหสั ถ”์ หมายความว่าบุคคลที่มิใช่ภิกษแุ ละสามเณร หรือนกั บวช

“คณะกรรมการ” หมายความว่าคณะกรรมการวนิ ยั นกั ศึกษาทีม่ หาวทิ ยาลัย

118

แตง่ ตั้งขึ้นเพ่ือดำเนินการควบคมุ ดแู ลระเบยี บ วินัยของนกั ศึกษาหรือดำเนินการสอบสวน ความประพฤตนิ ักศกึ ษา “วนิ ัย” หมายความวา่ วนิ ยั ของนักศึกษาคฤหสั ถ์ หมวดที่ 2 วนิ ยั นักศึกษาคฤหัสถ์ ข้อ 5 นกั ศกึ ษาต้องรกั ษาวินัยโดยเครง่ ครดั ผใู้ ดฝา่ ฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ัติตามให้ถือว่าผู้น้ัน กระทำผิดวินัย จะตอ้ งได้รบั โทษตามทกี่ ำหนดไวใ้ นข้อระเบยี บน้ี ข้อ 6 นักศึกษาต้องเป็นพลเมอื งดี เคารพสิทธิและเสรภี าพของบุคคลอื่น ประพฤติตนให้อยู่ใน ความ ซื่อสัตย์ สุจริต ปฏิบัติตามหลักศีลธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมอันดีงามของสังคมไทย และไม่กระทำ การใดๆท่ีก่อใหเ้ กดิ ความเสอื่ มเสยี ตอ่ วฒั นธรรมประเพณีของชาติและของมหาวทิ ยาลัย ข้อ 7 นักศึกษาต้องปฏบิ ัตติ ามกฎหมายบา้ นเมือง และกฎ ระเบียบ ประกาศ คำสง่ั ข้อบังคับ ของ มหาวิทยาลัย ข้อ 8 นักศึกษาต้องแต่งกายสุภาพ เรียบร้อย ในลักษณะสุภาพชนหรือตามแบบที่มหาวิทยาลัย กำหนดไว้ ข้อ 9 นักศึกษาต้องมีความซื่อตรง ไม่ประพฤติตนหรือปฏิบัติตนในทางที่นำมาซึ่งความเสื่อมเสีย หรือเสียหายต่อชือ่ เสียง เกียรตคิ ุณของมหาวทิ ยาลัย ข้อ 10 นักศึกษาต้องมีความสามัคคี ไม่กระทำการใดๆ ที่ก่อให้เกิดความแตกแยก หรือก่อการ ทะเลาะววิ าทระหว่างนกั ศึกษาด้วยกันหรือกบั สถาบนั การศึกษาอนื่ รวมท้ังประชาชน ข้อ 11 นักศึกษาต้องปฏิบัติตนต่ออาจารย์ เจ้าหน้าท่ี ด้วยความสุภาพ มีสัมมาคารวะ ไม่แสดง อาการกระด้างกระเดือ่ ง ลบลู่ ดูถกู ดหู มื่น เหยยี ดหยาม ข้อ 12 นักศึกษาต้องไม่สูบบุหรี่ เสพสุรา ของมึนเมา หรือสิ่งเสพติดใดๆ หรือแสดงกิริยาอันไม่ เหมาะสม เมอ่ื อยู่ภายในบริเวณมหาวิทยาลัย ข้อ 13 นักศึกษาต้องใหค้ วามร่วมมอื ไม่ขัดขนื ไม่กลา่ วข้อความอนั เป็นเทจ็ ไมป่ กปิดข้อเทจ็ จรงิ อัน ควรบอกต่ออาจารย์และเจ้าหน้าที่และแสดงบัตรประจำตัวนักศึกษา เมื่ออาจารย์หรือเจ้าหน้าท่ี มหาวิทยาลยั ขอตรวจสอบ ข้อ 14 นักศึกษาต้องไม่ลักทรัพย์ ยักยอก ฉ้อโกง หรือทำลายทรัพย์สินของผู้อื่นหรือของ มหาวทิ ยาลยั ข้อ 15 นักศึกษาต้องรักษาชื่อเสียงและเกียรติของตนเองโดยประพฤติตนมิให้เป็นผู้ที่ชื่อว่าไม่ สุจริต หรอื ประพฤตชิ ่ัว เชน่ (1) ทจุ ริตในการศึกษา การสอบ หรอื พยายามกระทำการเช่นนน้ั (2) ประพฤติหรอื กระทำการใดๆ ให้เปน็ ทเ่ี ส่ือมเสยี แก่ศีลธรรมในทางชสู้ าว (3) เลน่ หรือ สนับสนุนให้มีการพนนั

119

(4) เสพสุราเมรัย ของมึนเมา หรือสิงเสพติดใดๆ จนไม่สามารถครองสติได้ หรือเป็นต้นเหตุท่ี กระทำความเสื่อมเสียหายต่อตนเอง และมหาวทิ ยาลยั

(5) ครอบครองอาวธุ ร้ายแรง วตั ถรุ ะเบิด หรอื สง่ิ ผดิ กฎหมาย (6) ทำรา้ ยร่างกายอาจารย์ หรือเจา้ หน้าท่ีมหาวทิ ยาลยั (7) กล่าววาจาดูหมนิ่ เหยยี ดหยามอาจารยแ์ ละพระภิกษุ สามเณรหรอื นักบวช (8) กระทำความผิดกฎหมายอาญา ยกเว้นการกระทำผิดที่กระทำโดยความประมาท หรือ ความผิดลหโุ ทษ ซึง่ ลักษณะความผดิ น้ันเปน็ ความผิดไม่เปน็ ท่เี สื่อมเสียต่อเกียรตคิ ุณของมหาวิทยาลัย (9) ความผิดอื่นใดที่คณะกรรมการเสนอต่อมหาวิทยาลัย ว่าเป็นความผิดท่ีมีลักษณะที่ได้ชื่อว่าไม่ สจุ รติ หรือประพฤติชั่ว (10) ความผิดอืน่ ใดที่มหาวิทยาลัยกำหนด

หมวดท่ี 3 โทษฐานผิดวนิ ยั ของนักศกึ ษา ข้อ 16 โทษฐานผดิ วนิ ัย มี 8 สถาน คอื 16.1 ตักเตอื นดว้ ยวาจาหรอื ลายลกั ษณ์อักษร 16.2 ชดใช้ค่าเสียหาย 16.3 ตัดคะแนนความประพฤติ 16.4 ภาคทณั ฑ์ 16.5 พักการศกึ ษาต้ังแต่ 1 ภาคการศกึ ษา ถึง 2 ปีการศกึ ษา 16.6 ระงับการออกใบแสดงผลการศกึ ษา เชน่ ใบรับรอง ประกาศนียบัตร ปริญญาบัตร มีกำหนดไมเ่ กนิ 2 ปกี ารศกึ ษา 16.7 ให้พน้ สภาพจากการเป็นนกั ศึกษาโดย (1) ให้ออก (2) ลบชือ่ ออกจากมหาวิทยาลยั 16.8 โทษอ่ืนตามทีม่ หาวิทยาลัยพจิ ารณาเหน็ สมควร

หมวดท่ี 4 การลงโทษนักศกึ ษา ข้อ 17 ให้อธิการบดีหรือรองอธิการบดีที่ได้รับมอบอำนาจ สั่งให้สอบสวนหาข้อเท็จจริง หรือ แต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนนกั ศกึ ษาท่ีกระทำผิดวนิ ยั นกั ศกึ ษาของมหาวิทยาลยั ข้อ 18 ให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งมีอำนาจ เรียกขอเอกสารหลักฐานจาก นักศึกษา หรือ คกู่ รณีตลอดถงึ ของความร่วมมอื จากคณาจารย์เจา้ ที่มหาวทิ ยาลยั และนักศึกษาในการให้ข้อเทจ็ จรงิ ข้อ 19 ให้คณะกรรมการวินัยนักศึกษา หรือคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงที่มหาวิทยาลัย แต่งตั้งขึ้น สอบสวนข้อเท็จจริงให้ปรากฏด้วยความถูกต้องยุติธรรม เสนอลักษณะความผิดและขอบขา่ ย การลงโทษตอ่ มหาวิทยาลัย

120

ข้อ 20 ให้อธิการบดี หรือ รองอธิการบดีที่ได้รับมอบหมายมีอำนาจสั่งโทษนักศึกษาที่กระทำ ความผิดไดท้ ุกสถานความผิดในข้อ 16 ตามท่คี ณะกรรมการเสนอ

ข้อ 21 ให้คณบดี หรือผู้ที่คณบดีมอบหมายลงโทษนักศึกษาของตนได้ ตามข้อ 16.1, 16.2, 16.3 และ 16.4

ข้อ 22 ใหก้ องพฒั นานักศกึ ษาดำเนินการใหเ้ ปน็ ไปตามคำสง่ั ของมหาวิทยาลยั ดงั น้ี 22.1 แจง้ นกั ศึกษาผู้ถกู ลงโทษ 22.2 แจ้งผู้ปกครองนักศึกษา 22.3 แจ้งฝ่ายทะเบียนนกั ศกึ ษา 22.4 แจ้งคณะท่นี ักศึกษาสงั กัด 22.5 ตดิ ประกาศและบันทึกขอ้ มลู หมวดที่ 5 การอทุ ธรณค์ ำส่ังลงโทษ

ข้อ 23 นักศึกษาที่ถูกคำสั่งมหาวิทยาลัยลงโทษ หากไม่เห็นด้วยกับคำสั่งดังกล่าวให้ ขออุทธรณ์ คำสั่งนัน้ ต่อมหาวิทยาลัยผา่ นกองพัฒนานักศึกษา ภายใน 30 วนั นบั ตัง้ แต่วันรับทราบคำสง่ั

ข้อ 24 ให้อธิการบดีมีอำนาจวินิจฉัย หรือแต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยคำอุทธรณ์ เพิ่มโทษ ลด โทษ หรอื ยกโทษ ได้ทกุ กรณี และคำวนิ จิ ฉัยของอธกิ ารบดีถอื เปน็ ทสี่ ดุ

ข้อ 25 เมื่อผลการอุทธรณ์เป็นประการใด ให้กองพัฒนาการ แจ้งผลการวินิจฉัยนั้นให้นักศึกษา คณะท่ีนักศกึ ษาสงั กัดและฝา่ ยทะเบยี นทราบภายใน 15 วนั

ขอ้ 26 ในกรณีที่ตอ้ งมีการตีความตามระเบียบนี้ ให้อธิการบดีโดยความเห็นชอบของสภาวิชาการ เปน็ ผูว้ นิ จิ ฉัยและตดั สินชี้ขาดแล้วถือเปน็ อนั ยุติ

ขอ้ 27 ใหอ้ ธิการบดี เป็นผูร้ ักษาการตามระเบียบน้ี

ประกาศ ณ วันที่ 30 เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2549

(สมเด็จพระญาณวโรดม) อปุ นายก ปฏิบตั ิการแทน

นายกสภามหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย

121

ภาคผนวก ค คำแนะนำขน้ั ตอนการขึ้นทะเบยี น

การลงทะเบียนเรียน

122

คำแนะนำ ขั้นตอนการขน้ึ ทะเบียนเปน็ นักศกึ ษาและการลงทะเบียนเรียน สำหรับนักศึกษาใหม่

1.อาจารย์ท่ีปรกึ ษารบั เอกสารและข้อมลู การลงทะเบยี น 2.อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาพบนกั ศกึ ษาในความดูแล เพ่ือให้คำปรึกษา แนะนำ ดังนี้

อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาแนะนำเก่ียวกบั - ระเบียบ ประกาศ ข้อบังคบั ของมหาวทิ ยาลัย ฯ - ขนั้ ตอนการขึน้ ทะเบียนเป็นนักศกึ ษาและการลงทะเบียนเรยี น - จำนวนหนว่ ยกิตและรายวิชาทน่ี กั ศึกษาต้องลงทะเบยี น - ขัน้ ตอนการชำระคา่ ธรรมเนียมการศึกษา

โดยมีรายละเอยี ดของข้นั ตอนดงั ตอ่ ไปนี้

1 • เจา้ หนา้ ที่/อาจารย์ท่ีปรกึ ษาแจกเอกสารใหน้ ักศกึ ษาขึน้ ทะเบยี นและบตั รลงทะเบียน

นักศกึ ษารบั เอกสารลงทะเบยี นจากฝา่ ยทะเบียนและวัดผล หรือดาวนโ์ หลดเอกสาร ลน. ๑๒

2 • นักศกึ ษากรอกเอกสาร ครบถ้วน (ในระบบ REG)

3 • นกั ศึกษายื่นเอกสารและบตั รลงทะเบยี นใหอ้ าจารยท์ ี่ปรึกษาเพอ่ื ลงนาม เห็นชอบ

4 • นักศึกษารับเอกสารคืน แลว้ นามาย่ืนต่องานทะเบยี นและวัดผลเพ่ือลงทะเบียนเรยี น

5 • นักศึกษารับเอกสารคืนเพอ่ื ยนื่ ชาระเงนิ

• ชาระเงนิ (ใหช้ าระเงนิ ทเี่ จ้าหนา้ ทก่ี ารเงนิ หรือธนาคาร ท้งั นีใ้ หเ้ ป็นไปตามตาม 6 ประกาศทม่ี หาวทิ ยาลยั กาหนด)

123

ขอ้ ควรทราบ

• การลงทะเบียนต้องให้เรยี บรอ้ ยภายใน 2 สัปดาหข์ องภาคการศกึ ษา

• การลงทะเบียนแต่ละภาคการศึกษาปกติ ไม่ต่ำกว่า 9 หน่วยกิตและไม่เกิน 22 หน่วยกิต / กรณกี ารศกึ ษาภาคฤดรู ้อน จะลงทะเบยี นได้ไมเ้ กิน 10 หนว่ ยกิต

• กรณี นกั ศึกษาลาพกั การศึกษา ต้องยื่นคำรอ้ งขอลาพักการศึกษาเพอ่ื รกั ษาสถานภาพนักศึกษา พรอ้ มทง้ั ชำระคา่ ธรรมเนยี ม ภาคใน 30 วันนบั จากวนั เปดิ ภาคเรยี น

• ในรายวชิ าทมี่ กี ารประเมินผลว่าสอบได้ นกั ศึกษาไม่มีสทิ ธิลงทะเบียนเรยี นซ้ำในรายวิชาน้ันอีก ยกเว้นตามท่รี ะเบียบกำหนด

• อาจารยท์ ี่ปรึกษาควรแนะนำ นักศกึ ษา กรณตี อ้ งการกู้ยมื (กยศ.) • อาจารย์ที่ปรึกษาแจ้งวันหมดเขตการลงทะเบียน อัตราค่าธรรมเนียม และค่าปรับให้นักศึกษา ทราบ • เมื่อสิ้นสุดกระบวนการเรียนการสอนในแต่ละภาคการศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาจะได้รับใบแจ้ง ผลการเรยี นของนักศึกษาในความดแู ล จากงานทะเบยี นและวัดผลเพื่อประกอบการให้คำปรึกษาต่อไป

124

คำแนะนำ ขั้นตอนการลงทะเบียนเรยี นซ้ำ สำหรับนกั ศึกษาภาคปกตเิ ชา้ –ภาคปกตบิ ่าย ระดบั ปริญญาตรี

ขั้นตอนการลงทะเบยี นเรยี นซำ้

1. นักศกึ ษาตรวจสอบผลการเรียนจากงานทะเบียนและวดั ผล ในระบบ REG 2. กรณีที่ผลการเรียนเป็น “F” หรือ “D” “D+” ในรายวิชาศาสนาบังคับ รายวิชาเอก ราย วชิ าชพี ครู จะต้องลงทะเบียนเรียนซ้ำในภาคการศึกษาฤดรู อ้ น 3. นักศึกษาต้องย่ืนคำร้องขอเปิดรายวิชาที่ต้องการลงทะเบยี นเรียนซ้ำ ในวันเวลาที่มหาวิทยาลยั กำหนด โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาและต้องได้รับการอนุมัติจากผู้อำนวยการวิทยาลัยศาสน ศาสตร์ 4. นักศึกษาที่ยื่นคำร้องขอเปิดรายวิชาไว้แล้ว ติดต่องานทะเบียนและวัดผลเพื่อรักเอกสาร ลงทะเบียนเรียนซ้ำ และชำระคา่ ธรรมเนยี ม ตามวนั เวลาทม่ี หาวิทยาลยั กำหนด

 ตรวจสอบผลการเรียน

กรอกคำรอ้ งขอเปิดรายวิชา ท่ตี ้องการลงทะเบียนเรียนซ้ำ

เสนออาจารย์ท่ปี รึกษา ลงนามเห็นชอบ

ยนื่ คำร้องต่อทะเบียนและวัดผล เพือ่ เสนอ ผอ.วิทยาลยั ฯ อนุมัติ

ลงทะเบียนเรยี นซ้ำ

ชำระค่าธรรมเนียม เก็บหลักฐานการลงทะเบียน และใบเสรจ็ รับเงินไว้เป็น หลักฐาน

125

คำแนะนำ ขน้ั ตอนการลงทะเบียนเรยี นซำ้ สำหรับนกั ศึกษาภาคพเิ ศษ (เสาร์-อาทติ ย์) ระดบั ปรญิ ญาตรี

ขนั้ ตอนการลงทะเบยี นเรียนซำ้ 1. นักศึกษาตรวจสอบผลการเรียนจากงานทะเบยี นและวัดผล 2. กรณีที่ผลการเรียนเป็น “F” หรือ “D” “D+” ในรายวิชาศาสนาบังคับ รายวิชาเอก ราย

วิชาชพี ครู จะต้องลงทะเบียนเรยี นซำ้ ในภาคการศกึ ษาฤดรู อ้ น 3. นักศึกษาต้องย่ืนคำร้องขอเปิดรายวิชาทีต่ อ้ งการลงทะเบียนเรียนซ้ำ ในวันเวลาที่มหาวิทยาลัย

กำหนด โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาและต้องได้รับการอนุมัติจากผู้อำนวยการวิทยาลัยศาสน ศาสตร์

4. นักศึกษาที่ยื่นคำร้องขอเปิดรายวิชาไว้แล้ว ติดต่องานทะเบียนและวัดผลเพื่อรับเอกสาร ลงทะเบียนเรียนซำ้ และชำระค่าธรรมเนยี ม ตามวันเวลาท่ีมหาวทิ ยาลัยกำหนด

ตรวจสอบผลการเรียน

กรอกคำรอ้ งลงทะเบียน เรยี นซ้ำ

เสนออาจารย์ท่ปี รึกษา ลงนามเห็นชอบ

เสนอ ผอ.วทิ ยาลัยฯ พิจารณา อนุมตั ิ

ลงทะเบียนเรยี นซ้ำ

ชำระคา่ ธรรมเนียม เก็บหลกั ฐานการลงทะเบียน และใบเสรจ็ รับเงินไวเ้ ป็น หลักฐาน

126

คำแนะนำ

ขน้ั ตอนการแก้ผลการเรียนเป็น “I” สำหรับนกั ศกึ ษาภาคปกติเชา้ -ภาคปกติบ่าย และภาคพเิ ศษ (เสาร์-อาทิตย์)

ระดบั ปรญิ ญาตรี

ขนั้ ตอนการลงทะเบียนแกผ้ ลการเรียนเปน็ “I”

นกั ศกึ ษา ตรวจสอบผล การเรยี นที่บอร์ดงานทะเบยี นและวดั ผล

นกั ศกึ ษา ทมี่ ผี ลการเรยี นเป็น “I”

ยน่ื คำรอ้ งตามแบบฟอร์ม เพอื่ แก้ “I” ทนั ทีกบั อาจารย์ประจำวิชา การแก้ “I” ให้เสร็จสน้ิ ในภาคการศกึ ษาถัดไปหรอื ประกาศของวทิ ยาลัยฯ เท่านนั้

นักศึกษาทไ่ี ม่ดำเนินการผลการเรียนเปน็ “I” งานทะเบียนจะเปล่ียนเป็น “F” และต้องลงทะเบยี นเรียนซำ้ ในรายวิชานนั้

127

ภาคผนวก ง บทบาทหนา้ ที่ของอาจารย์

128

บทบาทหน้าที่ของอาจารย์

อาจารย์ถือได้ว่าเป็นนักวิชาการทีจ่ ะต้องเปล่ียนแปลงและพัฒนาอยู่สม่ำเสมอ ซึ่งจำเป็นต้องผลติ ตำราและบทความที่มีความสำคัญและเอกสารประกอบการสอน เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการเลื่อนตำแหน่ง ทางวิชาการ นอกจากนั้นจะต้องมีงานวิจัยตลอดเวลา ทั้งนี้ก็เพราะว่างานวิจัยเป็นฐานของก ารพัฒนา ตำแหนง่ วชิ าการทุกระดับ (ผศ.รศ. ศ) ลักษณะของงานวชิ าการ

เอกสารแนบทา้ ยประกาศ ก.พ.อ. ไดใ้ หค้ ำจำกัดความของผลงานวชิ าการไว้ 7 ประเภท 1. เอกสารประกอบการสอน 2. เอกสารคำสอน 3. บทความทางวิชาการ 4. ตำรา 5. หนังสือ 6. งานวิจยั 7. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอืน่ ๆ (ดูรายละเอียดจากประกาศ ก.พ.อ. เรื่องหลักเกณฑ์และการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรง ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ (ฉบับที่ 2, 3) พ.ศ. 2550 และดู ข้อบงั คับมหาวิทยาลัยว่าด้วยตำแหนง่ ทางวชิ าการ พ.ศ. 2565 มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ) แตถ่ งึ อยา่ งไร ก็ควรพฒั นาตนเอง เพ่ือความดีทีเ่ ป็นส่วนตวั สถาบนั และสังคมใหไ้ ด้ เช่น 1. เพ่ือการเรยี นการสอน ผลิตบัณฑิต ประมาณ 50 % 2. ทำการวิจัย 20 % 3. เพื่อพัฒนาตนเอง เพื่อผลงานทางวิชาการเช่น เอกสารประกอบการสอน งานวิจัย งานตำรา งานบทความ 10 % 4. ช่วยเหลอื บริการวิชาการแก่สงั คม 10 % 5. ทำนุบำรงุ ศลิ ปวัฒนธรรม 10 %

129

งานวิชาการของมหาวทิ ยาลัย โดยทั่ว ๆ ไปมหาวิทยาลัยจะมีงานวิชาการ 3 อย่าง เราใช้คำว่า 3 Ps คือ People Process และ

Product (ดูตารางประกอบ)

Ps

PEOPLE PEOPLE PEOPLE Instructor Search/Re-search Research work

Student Liam/Re-learn Graduated People Good Society Service/Re-service

People ก็คอื ผูส้ อน ผเู้ รยี น แลว้ กค็ นทีจ่ ะมารบั ความรู้ รบั วิชาการจากอาจารย์ คอื คนทว่ั ไป Process ก็คือ 1) Search and Re-search 2) Leam and Re-leam และ 3) Service and Re- service Product ผลที่จะได้ออกมาจากกระบวนการวิจัย ก็คืองานวิจัย (Research Work และผลที่ได้ จากการเรยี นการสอน กค็ ือ บัณฑติ Graduate เปา้ หมายของบริการวชิ าการ คอื เป็น Good Society โดยทั่วๆ ไป มหาวิทยาลัยตามหลักสากลเขาจะทำหน้าที่ 3 อย่าง แต่ว่าของบ้านเราก็จะเพิ่ม แนวคิด ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมด้วย ซึ่งหลักสากลจะไม่ค่อยพูดถึงว่าไปแล้วโดยพื้นฐานหลักก็คือ มหาวิทยาลัยทำหน้าที่ Production and Distribution of Knowledge คืออาจารย์มีหน้าที่ที่จะหา ความรู้ แล้วก็ทดสอบความรู้นี่คือกระบวนการเรียนการสอนนั่นเอง แล้วก็เผยแพร่ความรู้ เพราะฉะนั้น เนื้อหาความรู้ก็จะมีเนื้อหาใหม่ก็คือการวิจัย การทดสอบความรู้ที่อาจารย์หานั้น โดยหลักถือว่าเป็น กระบวนการเรียนการสอน เพื่อที่จะให้ผู้เรียนได้ฟัง ได้วิจารณ์ และเสนอแนะ หลังจากนั้น ความรู้ของ อาจารย์กจ็ ะถกู นำไปเผยแพร่เปน็ บรกิ ารวชิ าการ

เสน้ ทางเดนิ ในวชิ าชีพ ระยะแรก Early Career อายุประมาณ 25-35 ส่วนใหญ่จะเป็นคนกระตือรือร้น ค่อนข้างจะ

เรียนรู้และความหวังสูง แต่ก็อาจจะไม่ค่อยตระหนักถึงระบบงานนั้น ๆ มากนัก เพราะฉะนั้น อาจารย์ใน ระยะนี้จะต้องรู้งาน เข้าใจระบบ มีความมั่นใจ มีพัฒนาทักษะ มี Developmental Tasks ใน Career

130

ของอาจารย์นั้นก็คือ ใน Early Career นี้ยังอยู่ในภาวการณ์มุ่งสอน มุ่งเรียนรู้อยู่ แล้วก็ต้องพัฒนาทักษะ งานทักษะของการเป็นอาจารย์ก็คือ งานวิจัย การเรียนรู้นโยบาย การทำความเข้าใจการรู้จักตวั เอง แล้วก็ ข้อเสนอ Career ในวัยนีน้ น้ั อาจารย์น่าจะจบปริญญาเอก แลว้ กเ็ ป็นผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ให้ได้ในวัย 25-35 อันนเี้ ปน็ โดยทว่ั ๆ ไป

ระยะกลาง Mid Career อายุประมาณ 35-45 น้ัน เปน็ ชว่ งทีใ่ นระบบอุดมศึกษาคือว่าจะเป็นช่วง ที่ดีที่สุด สำหรับสถาบัน อาจารย์เริ่มที่จะสร้างอัตลักษณ์ของตัวเองมีความมั่นในการสอน มุ่งงาน เข้าใจ ระบบ มีเปา้ หมาย และมีจินตนาภาพสงู เป้าหมายของ Career ตอนนี้ตอ้ งการความสำเรจ็ ตอ้ งการยอมรับ ต้องการเป็นนักวิชาการ มีเครือข่าย มีชื่อเสียงในระดับหนึ่ง Developmental Tasks ของช่วงวัยนี้ก็คือ อาจารย์ต้องพัฒนาความชำนาญ พฒั นาการสอนใหมๆ่ เพอ่ื ใหม้ ผี ลงานเดน่ เรม่ิ มีส่วนร่วมในวงวิชาการ วง วิชาชีพ โดยทวั่ ๆ ไปคนทจ่ี ะเป็นรองศาสตราจารยจ์ ะอยใู่ นช่วงน้ี 40-45

ระยะปลาย Late Career สำหรับระยะนี้ ตั้งแต่ 45-50 เป็นต้นไป ตรงนี้ก็จะเป็นจุดอิ่มตัวแล้ว บางคนกเ็ รมิ่ สับสน ตอ้ งหลกี เล่ียงความเปน็ คนล้าสมัย แต่ Career น้ีจะได้รับความยอมรบั ในฐานะผู้อาวุโส แล้วก็เริ่มจัดความต้องการในชีวิตอาจารย์ คงต้องนึกถึงบทบาทในอนาคตว่าจะฝากอะไรไว้ในวิชาชีพ ใน Developmental Tasks อาจารย์คงต้องเริ่มมอง เริ่มทบทวนเป้าหมายหลักเกษียณ เราจะพัฒนาทักษะ อะไรใหม่ ๆ หลังจากระยะนี้แล้วบทบาทก็คือ การเป็นที่ปรึกษา การมีบทบาท ในวิชาชีพ โดยทั่วๆ ไป แลว้ การเป็นศาสตราจารยก์ อ็ ย่ใู นชว่ งนี้ เพราะวา่ ช่วงชำนาญเร่มิ เชยี่ วชาญอยา่ งจรงิ จัง

131

หลักการสอน

การเรียนการสอนเป็นการสืบสานวิชาที่เราส่งต่อให้นักศึกษา Concept หลักๆ คือสอนอย่างมี

เปา้ หมายคอื การสรา้ งบัณฑิตการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ การประเมนิ ผล ใหค้ รบทั้ง 5 ทักษะ (ดู มคอ.

  1. อาจารยด์ ตู ารางคุณลกั ษณะของ CCPR เพ่อื อนาคต ดังนี้

แนวคิดคุณลักษณะบณั ฑติ ของประเทศไทย

ระดับ (พ้นื ฐานเพียงพอ/ทำได้X (ทันสมัย/แสวงหา/ (ลกี /เช่อื มโยง/อนาคต) (เฉยี บ/เชีย่ วชาญ/ตำผลึก) เป้าหมาย พัฒนา) BASIC PROACTIVE EXCELLENT KNOWLEDGE พน้ื ฐาน ADVANCED เชิงรุก เป็นหลกั ความรู้ มคี วามรู้ท่ัวไปตามวิชาชีพ กา้ วหน้า ของตน มีความรู้สกึ สามารถ มคี วามเช่ียวชาญเข้าถึง THINKING มีความรู้ทนั สมยั และรูจ้ กั เชื่อมโยงและบรู ณาการ แกน่ ความรู้และสามารถ ความคดิ (1) สบื เสาะแสวงหาความรู้อยู่ สร้างองคค์ วามรใู้ หม่ สามารถคิดวเิ คราะห์ ความรู้ SKILL เสมอ (3) (4) ความสามารถ สงั เคราะห์ และ (2) มีความคดิ รวบยอด ตกผลกึ ประเมนิ ผล มคี วามรู้คิดสรา้ งสรรค์ มยี ุทธศาสตร์ วิสัยทศั น์ ทางความคดิ และสามารถ ETHICS สามารถคิดใหม่ไดอ้ ยา่ ง สามารถคิดไปขา้ งหน้า คุณธรรม (5) ทนั สมัย คาดการณอ์ นาคตได้ จรยิ ธรรม สามารถปฏบิ ตั ิงานไดต้ าม (6) และคดิ ไดเ้ อง (8) (7) วชิ าชพี สามารถปรับปรงุ พัฒนา มีความเชีย่ วชาญ ชำนาญ งานและแสวงหาวธิ กี าร สามารถสร้างงานใหมแ่ ละ การ และปฏิบตั ิงานได้ (9) ทำได้ด้วยตนเอง มีวินยั มคี วามรับผิดชอบ ใหมๆ่ ที่ดขี ้ึน อยา่ งแมย่ ำ (10 (11) (12) ซอื่ สัตย์เสียสละ มี สง่ เสรมิ และชี้นำสงั คมให้ วฒั นธรรมและมี เป็นแบบอยา่ งทดี่ เี ขา้ ใจ อทุ ิศตนเพ่อื สว่ นรวม มี จรรยาบรรณในวชิ าชีพ ผอู้ นื่ และเข้าใจโลก ตระหนักถึงคณุ ธรรม ความกลา้ หาญทาง จริยธรรม จริยธรรม (15) (14) (15) (16)

กระบวนทัศนข์ องการสอนท่เี ปล่ียนไป

กระบวนทศั นท์ เี่ ปลีย่ นไป

ผู้สอน ผ้เู รียน

หาความรูใ้ ห้ (Compiling-Based) หาความรเู้ อง (Self-Directed Leering)

บรรยาย (Lecture-Based) ทำวิจัย (Research-Based)

ให้ทฤษฎี (Theory-Based) วเิ คราะหป์ ัญหา (Problem-Based)

อภิปราย/ชแี้ จง (Discussion-Based) ศกึ ษาเปน็ ทมี (Team-Based)

ความร้เู ดมิ (Abstract knowledge) สร้างผลงาน (Productivity-Based)

ให้จำไว้ได้ (Memory-Based) ตกผลึก (Crystal-Based)

อยู่ในหอ้ งเรียน (Classroom-Based) อยู่ในชุมชน (Community-Based)

132

สำนึกต่อสงั คม

สองแนวทางของการบรกิ ารวิชาการ

รอใหค้ นขอมา เสนอทางเลอื ก

• ลอกฝรัง่ ไว้มากๆ • ติดตามการเปล่ยี นแปลง

• ดูตามท่เี รียน/สอน • วเิ คราะห์วจิ ารณ์

• สรุปใหง้ า่ ย/แนวปฏิบตั ิ • มที างเลือก/ทางออก

• พดู ตามที่เขาขอ • มองเหน็ การเปล่ียนแปลง

• สอดแทรกของเรา • ผลกั ดัน (วฒั นธรรมใหม)่

เอกสารประกอบการสอน หมายถึง ผลงานทางวิชาการที่ใช้ประกอบการสอน วิชารใดวิชาหนึ่ง ตามหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาที่สะท้อนให้เห็นให้เห็นเนื้อหาวิชาและวิธีการสอนอย่างเป็นระบบ จัดเปน็ เครื่องมอื สำคญั ของผเู้ สนอในการใช้ประกอบการสอน

เอกสารคำสอน หมายถึง ผลงานทางวิชาการที่ใช้สอนวิชาใดวิชาหนึ่งตามหลักสูตรของ สถาบันอุดมศึกษาที่สะท้อนให้เห็นเนื้อหาวิชาที่สอน และวิธีการสอนอย่างเป็นระบบ โดยอาจพัฒนาข้ึน จากเอกสารประกอบการสอนจนมคี วามสมบูรณ์กว่า เอกสารประกอบการสอนจัดเป็นเคร่ืองมือสำคัญของ ผู้เรยี นทีน่ ำไปศกึ ษาด้วยตนเอง หรอื เพิม่ เติมข้ึนจากการเรยี นในมิติน้ันๆ

บทความทางวิชาการ หมายถึง งานเขียนทางวิชาการซึ่งมีการกำหนดประเด็นที่ต้องการอธิบาย หรือวิเคราะห์อย่างชัดเจน ทั้งนี้มีการวิเคราะห์ประเด็นดังกล่าวตามหลักวิชาการ จนสามารถสรุปผล

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf