การเป ดแอร อ ณหภ ม ในห องส งกว าข างนอก

รายงาน การเพิ่มประสิทธิภาพการบ ารุงรักษาเครื่องจักรในอุตสาหกรรม เสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กุณฑล ทองศรี จัดท าโดย 1. นางสาวรัตนา จันทะเกษ รหัส 650407302725 2. นายกฤษฎา พยุงโภชน์มงคล รหัส 650407302916 3. นายธนาธร ดาวพิพัฒน์พล รหัส 650407303151 4. นายณัฐวุฒิ จันทดี รหัส 650407303194 5. นายศุภณัฐ ศิริพงศธร รหัส 650407303349 6. นายณธกร ปานภู่ รหัส 650407303353 7. นายปกรณ์ จันทรโอทาน รหัส 650407303372 8. นายเกียรติศักดิ์ อินอ๊อด รหัส 650407303415 9. นายธนาชัย อ่อนระเบียบ รหัส 650407303423 10. นายวิศิษฐ์ ไวยไมตรี รหัส 650407303495 11. นายวีรภัทร อิศรางกูร ณ อยุธยา รหัส 650407303310 รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา อท.375 เทคโนโลยีวิศวกรรมการซ่อมบ ารุง สาขวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566

ก ค ำน ำ รายงานฉบับนี้จัดท าขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา (ทอ.375) วิชาเทคโนโลยีการซ่อมบ ารุง เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพในงานอุตสาหกรรม กรณีศึกษาโรงซ่อมบ ารุง รถไฟฟ้าสายสีม่วงและได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อประโยชน์กับการเรียน คณะผู้จีดท าหวังว่ารายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านหรือนักเรียนนักศึกษาที่ก าลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะน าหรือ ข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดท าขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดท า

ข สำรบัญ เรื่อง หน้ำ ค ำน ำ ก สำรบัญ ข บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ประวัติความเป็นมารถไฟไทย 1 1.2 ลักษณะโครงการ 8 1.3 ความส าคัญของปัญหา 11 1.4 วัตถุประสงค์ 11 1.5 ขอบเขตการด าเนินงาน 11 1.6 วิธีการด าเนินโครงงาน 12 1.7 แผนการด าเนินงาน 12 1.8 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 12 บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1 ความหมายการบ ารุงรักษา 14 2.2 จุดมุ่งหมายของการบ ารุงรักษา 15 2.3 วิวัฒนาการของการบ ารุงรักษา 15 2.4 ประเภทของการบ ารุงรักษา (Type of Maintenance) 17 บทที่ 3 วิธีกำรด ำเนินงำน 3.1 ข้อมูลเบื้องต้น 22 3.2 ลักษณะประเภทธุรกิจ 23

ค สำรบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้ำ 3.3 ข้อมูลเบื้องต้นของระบบปรับอากาศทั่วไป 23 3.4 ระบบปรับอ าก าศภ ายในรถยนต์ 38 3.5 ชนิดของสารท าความเย็น 48 3.6 ข้อมูลระบบปรับอากาศก่อนปรับปรุง 53 3.7 การจัดท าระบบบ ารุงรักษาเชิงป้องกัน 57 3.8 ขั้นตอนก ารล้างระบบปรับอากาศประจ าปี 58 3.9 การปรับปรุงประสิทธิภาพการบ ารุงรักษาระบบปรับอากาศ 67 3.10 ความปลอดภัยในการบ ารุงรักษา 69 บทที่ 4 ผลกำรเพิ่มประสิทธิภำพ 4.1 วัดผลหลังการปรับปรุง 70 4.2 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 76 4.3 กฏระเบียบด้านความปลอดภัยในการท างาน 78 4.4 หลักปฏิบัติและข้อบังคับด้านความปลอดภัย 80 บทที่ 5 สรุปผลกำรด ำเนินงำน 5.1 สรุปผลการด าเนินงาน 86 บรรณำนุกรมอ้ำงอิง 87 ภำคผนวก คู่มือกำรซ่อมบ ำรุง 88

ง สำรบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้ำ สำรบัญตำรำง ตารางที่ 1.1 แผนการด าเนินงาน 12 ตารางที่ 3.1 คามาตรฐานของเครื่องปรับอากาศ 26 ตารางที่ 3.2 ตารางเปรียบเทียบคาไฟฟาที่ใชตอเดือน เมื่อใชเครื่องปรับอากาศขนาด 2 ตัน 38 ตารางที่ 3.3 MTBF, MITR และ ร้อยละ % Machine Availabilityของเดือน ช่วงเดือน พฤษภาคม 2566 ถึงกรกฎาคม 2566 ก่อนปรับปรุง 53 ตารางที่ 3.4 ตารางวิเคราะห์สาเหตุปัญหา ความสะอาดของหน้า Contact (CFCPK) มาตรการแก้ไขและป้องกัน 69 ตารางที่ 4.1 แสดงการท างานของระบบปรับอากาศก่อนและหลังปรับปรุง 72 สำรบัญภำพ ภาพที่ 1.1 รถม้าลากจูง 1 ภาพที่ 1.2 รถจักรไอน้ าที่มีชื่อว่า Rocket 2 ภาพที่ 1.3 รถไฟฟ้า BTS 3 ภาพที่ 1.4 รถไฟฟ้าสายสีม่วง ส่วนต่อขยาย 5 ภาพที่ 1.5 แผนที่ระบบรถไฟฟ้าใน กทม.และปริมณฑล 7 ภาพที่ 1.6 แสดงศูนย์ซ่อมบ ารุงรถไฟฟ้าสถานีคลองบางไผ่ 9 ภาพที่ 1.7 บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จ ากัด (มหาชน) หรือ BEM 10 ภาพที่ 1.8 สถานีรถไฟฟ้าสายสีม่วง 13 ภาพที่ 3.1 รถไฟฟ้าสายสีม่วงหรือสายฉลองรัชธรรม MRT 22

จ สำรบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้ำ ภาพที่ 3.2 ลักษณะประเภทธุรกิจ 23 ภาพที่ 3.3 ระบบปรับอากาศแบบแยกสวน (Split Type) 25 ภาพที่ 3.4 ระบบปรับอากาศแบบแพ็คเกจ (Package Type) โดยใชท่อส่งลมเย็น 27 ภาพที่ 3.5 Variable Air Volme 28 ภาพที่ 3.6 การระบายอากาศของคอล์ยร้อน 31 ภาพที่ 3.7 ต าแหนงที่เหมาะสมติดตั้งคอลยรอน 32 ภาพที่ 3.8 ถังผลิตและเก็บน้ ารอนจากเครื่องปรับอากาศ 36 ภาพที่ 3.9 ระบบปรับอากาศภายในรถยนต์ 38 ภาพที่ 3.10 คอมเพรสเซอร์(Compressor) 41 ภาพที่ 3.11 คอนเดนเซอร์(Condenser) 42 ภาพที่ 3.12 เอ็กเพ็นชั่นวาล์ว (Expansion Valve) 43 ภาพที่ 3.13 อีวาโปเรเตอร์(Evaporator) 44 ภาพที่ 3.14 รีซีฟเวอร์ไดร์เออร์ ( Receive-Drier ) 45 ภาพที่ 3.15 โบลต์ละลาย 46 ภาพที่ 3.16 ส่วนประกอบของซีฟเวอร์-ไดร์เออร์( Receive-Drier ) 47 ภาพที่ 3.17 การเดินทางของสารท าความเย็นในระบบท าความเย็น 48 ภาพที่ 3.18 ลักษณะการท างานของระบบปรับอากาศในขบวนรถไฟฟ้า 51 ภาพที่ 3.19 Air Condition Unit , TCMS Display 52

ฉ สำรบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้ำ ภาพที่ 3.20 CAHU , Switch ปิด-เปิด CAHU 52 ภาพที่ 3.21 Air condition unit 63 ภาพที่ 3.22 การถอดโบลเวอร์(Blower) 63 ภาพที่ 3.23 ภาพการล้างคอล์ยร้อนด้วยไฮเพรสเชอร์ 64 ภาพที่ 3.24 ภาพการล้างคอล์ยร้อนด้วยไฮเพรสเชอร์ 64 ภาพที่ 3.25 ภาพการถอด(cover air) 65 ภาพที่ 3.26 ภาพการฉีดน้ ายาNogif 65 ภาพที่ 3.27 ภาพการล้างคอล์ยร้อนด้วยไฮเพรสเชอร์ 66 ภาพที่ 3.28 ภาพการล้างคอล์ยเย็นด้วยไฮเพรสเชอร์ 66 ภาพที่ 3.29 Before clean(CFCPK) 67 ภาพที่ 3.30 After clean(CFCPK) 67 ภาพที่ 3.31 .Return air filter 68 ภาพที่ 3.32 Cleaning Fresh air filter 68 ภาพที่ 3.33 แท็กเอาท์ (Lock out - tag out) 69 ภาพที่ 4.1 หลักปฏิบัติและข้อบังคับด้านความปลอดภัย 80 ภาพที่ 4.2 หมวกนิรภัย 81 ภาพที่ 4.3 รองเท้านิรภัย 82

ช สำรบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้ำ ภาพที่ 4.4 สภาพอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่ไม่ควรน ามาใช้งาน 83 ภาพที่ 4.5 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลตามลักษณะความเสี่ยงของงาน 84 ภาพที่ 4.6 การตระหนักถึงความเป็นอันตราย 85

1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 ประวัติควำมเป็นมำรถไฟไทย รถไฟเริ่มเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศอังกฤษ สร้างขึ้นเพื่อใช้บรรทุกถ่านหิน รถนั้นมีล้อ แล่นไป ตามรางและใช้ม้าลาก ต่อมาในปี พ.ศ. 2357 จอร์จ สตีเฟนสัน (George Stephenson) ชาวอังกฤษ ได้ ประดิษฐ์รถจักรไอน้้า ชื่อว่า ร็อคเก็ต (Rocket)ซึ่งสามารถแล่นได้ด้วยตนเองเป็นผลส้าเร็จ น้ามาใช้ลากจูง รถแทนม้าในเหมืองถ่านหิน ภายหลังจากนั้นก็ได้มีผู้ประดิษฐ์รถจักรไอน้้าและรถจักรชนิดอื่นๆ ขึ้นอีก หลายแบบ รถไฟได้เปลี่ยนสภาพจากรถขนถ่านหินมาเป็นรถส้าหรับขนส่งผู้โดยสารและสินค้า ดังเช่นใน ปัจจุบัน ภาพที่ 1.1 รถม้าลากจูง

2 ภาพที่ 1.2 รถจักรไอน ้าที่มีชื่อว่า Rocket กิจการรถไฟของไทย ได้เกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2429 ตรงกับรัตนโกสินทร์ศกที่ 105 ไทยได้ให้สัมปทาน แก่บริษัทชาวเดนมาร์กสร้างทางรถไฟสายแรกจาก กรุงเทพมหานคร ถึงสมุทรปราการ เป็นระยะทาง 21 กิโลเมตร ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2433 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าให้ตั้งกรม รถไฟหลวงขึ้น โดยสังกัดกระทรวงโยธาธิการ เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2439 พระองค์เสด็จประกอบพระราชพิธีเปิดการเดินรถไฟระหว่าง กรุงเทพมหานครถึงอยุธยา เป็นระยะทาง 71 กิโลเมตร ซึ่งทางการได้ถือเอาวันนี้เป็นวันสถาปนากิจการ รถไฟหลวง ปัจจุบันทางรถไฟที่ส้าคัญของประเทศไทยมีอยู่ด้วยกันทั้งสิ้นรวมสี่สาย รวมเป็นระยะทาง 3,855 กิโลเมตร คือ 1.1.1 สายเหนือ ถึงจังหวัดเชียงใหม่และสุโขทัย 1.1.2 สายใต้ถึงประเทศมาเลเซีย สายตะวันออก ถึงจังหวัดสระแก้ว 1.1.3 สายตะวันออกเฉียงเหนือ 1.1.4 รถไฟฟ้าบีทีเอส เป็นรถไฟฟ้าสายแรกของประเทศไทย ด้าเนินการบริหารงานโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จ้ากัด (มหาชน) เปิดให้บริการครั้งแรก เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2542 ใน 2 เส้นทาง รวมทั้งสิ้น 23 สถานี

3 1.1.5 สายสุขุมวิท ได้รับชื่อพระราชทานว่า "รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบพระชนมพรรษา สาย ๑" ด้วยระยะทาง 17 กม. จากสถานีหมอชิต ถึงสถานีอ่อนนุช 1.1.6 สายสีลม ได้รับชื่อพระราชทานว่า "รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบพระชนมพรรษา สาย ๒" ระยะทาง 6.5 กม. จากสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ ถึงสถานีสะพานตากสิน 1.1.7 ระบบรถไฟฟ้าบีทีเอส เป็นระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ความจุสูงแบบมาตรฐานสากล ที่ ใช้กันแพร่หลายในเมืองใหญ่ทั่วโลก สามารถให้บริการแก่ผู้โดยสาร ได้มากกว่า 1,000 คน ต่อขบวน ในขณะที่การเดินทางโดยรถยนต์ ต้องใช้รถยนต์จ้านวนมาก ถึง 250 คัน เพื่อขนส่งผู้โดยสาร ในจ้านวนที่ เท่ากัน ใช้มอเตอร์ไฟฟ้าในการขับเคลื่อน วิ่งบนรางคู่ยกระดับ แยกทิศทางไป และกลับ โดยมีรางป้อน กระแสไฟฟ้าอยู่ด้านข้าง (Third Rail System) นับได้ว่าการให้บริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส เป็นการพลิก โฉม รูปแบบการเดินทางที่สะดวกสบายและเป็นการยกระดับ มาตรฐานการให้บริการของระบบขนส่ง มวลชน ตลอดระยะเวลา 20 ปี ที่ผ่านมา ภาพที่ 1.3 รถไฟฟ้า BTS

4 นอกจากการให้บริการที่ครอบคลุมพื นที่ส่วนใหญ่ใจกลางกรุงเทพมหานครซึ่งเป็นศูนย์รวม ของธุรกิจ การค้า ย่านที่พักอาศัย และแหล่งช้อปปิ้งชั นน้าแล้ว เรายังมีโครงการส่วนต่อขยายเพื่อขยายพื นที่ส้าหรับ ให้บริการ และเข้าถึงผู้โดยสารได้มากยิ่งขึ นครอบคลุมการเดินทางถึง 3 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ และปทุมธานี ในอนาคตอันใกล้การเดินทางจากชานเมืองเข้าสู่ใจกลางกรุง จะยิ่งมีความสะดวก รวดเร็วมากขึ น หลังการเกิดขึ นของรถไฟฟ้าสีต่างๆในหลากหลายเส้นทาง ซึ่งปัจจุบันการก่อสร้างโครงการ รถไฟฟ้ามีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง และหลังการเปิดใช้สถานีกลางบางซื่อ ที่จะกลายเป็นศูนย์กลางระบบ คมนาคมขนส่ง โดยเฉพาะเส้นทางการขนส่งทางรางจะเป็นอีกจุดหมายของการเชื่อมต่อการเดินทางใน หลายระบบ สายสีเขียว รถไฟฟ้าบีทีเอส หรือรถไฟฟ้าสายสีเขียว ถือได้ว่าเป็นรถไฟฟ้าสายแรกของไทย ซึ่ง เปิดให้บริการตั งแต่ปี 42 เริ่มจากเส้นทางสายสุขมวิท เริ่มตั งแต่เส้นหมอชิต-อ่อนนุช และสนามกีฬา-ตาก สิน (สายสีลม) จากนั นได้ขยายเส้นทางสายสีลม ได้ถึงสถานีบางหว้า และเส้นสุขุมวิทมีส่วนต่อขยายไปอีก จนปัจจุบันเรียกได้ว่าเป็นสถานีรถไฟฟ้าเชื่อม 3 จังหวัด จากสถานีคูคต ถึงสถานีเคหะ สมุทรปราการ - สายสีน ้าเงิน รถไฟฟ้าสายสีน ้าเงิน หรือรถไฟฟ้าใต้ดินสายแรกของไทย เริ่มที่สายเฉลิมรัชมงคล มีระยะทางทั งสิ น 20 กิโลเมตร จากสถานีรถไฟหัวล้าโพง ถึงสถานีบางซื่อ รวมทั งสิ น 18 สถานี ได้เปิดให้ ประชาชนทดลองใช้งาน เมื่อวันที่ 13 เม.ย.47 และเปิดใช้จริงอย่างเป็นทางการในวันที่ 3 ก.ค. 47 รถไฟฟ้าสายเฉลิมรัชมงคล ยังมีส่วนต่อขยายเชื่อมต่อเป็นวงแหวน จากสถานีหัวล้าโพง ไปยังสถานีหลัก สอง เปิดใช้เมื่อปี 62 และจากสถานีบางซื่อ เชื่อมสถานีเตาปูน และต่อไปถึงสถานีท่าพระ ซึ่งเปิดใช้ปี 63 นอกจากนี ยังมีโครงการต่อขยาย ช่วงบางแค-พุทธมณฑลสาย 4 เพื่อเชื่อมต่อสายสีน ้าเงินช่วง หัวล้าโพงบางแค และ บางซื่อ-ท่าพระ โดยจะเป็นเส้นคู่ขนานไปกับถนนเพชรเกษม ตามแผนคาดเปิดให้บริการในปี 72 - สายสีม่วง รถไฟฟ้าสายสีม่วง บางใหญ่ - บางซื่อ โดยมีชื่ออย่างเป็นทางการคื รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม มีระยะทาง 23 กิโลเมตร ถือเป็นอีกเส้นทางที่ เชื่อมต่อการเดินทางจากชานเมืองฝั่งนนทบุรี เข้าสู่เมือกงรุง โดยเป็นสถานียกระดับตลอดเส้น โดยได้เปิด ใช้เมื่อปี 59 ยังมีโครงการส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน – ราษฎร์บูรณะ (วงแหวนกาญจนา ภิเษก) ที่เรียกว่า สายสีม่วงใต้ ระยะทางประมาณ 23.6 กิโลเมตร เส้นทางนี มีความน่าสนใจเพราะจะมีทั งสถานีใต้ดิน ซึ่งจะก่อสร้างอุโมงค์ทางวิ่ง ตั งแต่สถานีเตา ปูน ถึง ดาวคะนอง ผ่านหอสมุดแห่งชาติ

5 ถนนผ่านฟ้า สะพานพระพุทธยอดช้า ก่อนจะท าเป็นทางยกระดับจากดาวคะนองถึง ครุใน วางเป้าหมาย เริ่มก่อสร้างปี 65 แล้วเสร็จและเปิดให้บริการปี 70 ภาพที่ 1.4 รถไฟฟ้าสายสีม่วง ส่วนต่อขยาย - สายสีทอง รถไฟฟ้าสายสีทอง ถือถือเป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนขนาดรอง เพื่อแก้ไขปัญหา การสร้างรถไฟฟ้าสายหลัก และเพื่อขยายเส้นทางการคมนาคมไปยังพื นที่ชุมชนและเศรษฐกิจ ย่านคลอง สาน โดยเฉพาะการเชื่อมต่อสู่ศูนย์การค้าขนาดใหญ่ฝั่งธนบุรี คือ "ไอคอนสยาม" นอกจากนี รถไฟฟ้าสาย สีทอง ยังเป็นรถไฟฟ้ารางเบา ใช้รถไฟฟ้าระบบไร้คนขับสายแรกของประเทศ ด้วยความเร็วสูงสุด 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง เนื่องจากเป็นเส้นทางระยะสั น 2.8 กิโลเมตรจึงมีรถน้ามาใช้รับส่งผู้โดยสารจ้านวน 2 ขบวน และส้ารองในระบบ 1 ขบวน ได้เปิดให้บริการแล้วเมื่อปลายปี 63 ที่ผ่านมา - สายสีแดง หลังเกิดการแพร่ระบาดโควิด-19 ท้าให้การเดินหน้าโครงการรถไฟฟ้าสายต่างๆ มี ความล่าช้าไปจากแผนเดิม แต่ล่าสุด รถไฟฟ้าสายสีแดง ซึ่งถือเป็น โครงการระบบรถไฟชานเมือง โดยการ ดูแลของการรถไฟฟ้าแห่งประเทศไทยก็สามารถเปิดให้บริการได้เป็นเส้นทางล่าสุด แม้รถไฟฟ้าสายสีแดง ถือเป็นโครงการมหากาพย์ที่ใช้เวลาก่อสร้างและด้าเนินโครงการยาวนานถึง 14 ปี แต่ในที่สุดก็สามารถ เปิดให้บริการเดินรถได้แล้วเมื่อ วันที่ 2 ส.ค. 64 โดยจะเปิดให้ประชาชนทดลองใช้บริการฟรีเป็นเวลา 3

6 เดือน ในเส้นทาง ตลิ่งชัน-บางซื่อ และบางซื่อ-รังสิต รถไฟฟ้าสีนี ยังมีแผนขยายเส้นทางต่อไปอีก โดยจาก รังสิต จะมีส่วนต่อขยายไปถึง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รังสิต ซึ่งตามแผนคาดจะเปิดให้บริการในปี 69 เช่นเดียวกับส่วนต่อขยายจากตลิ่งชัน ที่จะเชื่อมต่อไปยังศาลายา และโรงพยาบาลศิริราช ที่คาดว่าจะแล้ว เสร็จในปี 69 เช่นกัน และยังมีแผนขยายต่อในเส้นทางที่เรียกว่า Missing Lin ช่วงบางซื่อ – หัวล้าโพง และช่วงบางซื่อ - หัวหมาก ระยะทาง 25.9 ที่วางเป้าจะเปิดบริการในปี 71 - สายสีชมพูรถไฟฟ้าสายสีชมพู เส้นทางนี เชื่อมต่อจากแครายไปถึงมีนบุรี ด้วยระยะทาง 34.5 กิโลเมตร เป็นอีกเส้นทางที่น่าจับตา เพราะเป็นระบบขนส่งมวลชนสาย รองประเภทรถไฟฟ้ารางเดี่ยว (โม โนเรล) สายนี มีเส้นทางเชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีส้มในอนาคตได้อีกด้วย คาดว่าจะเปิดให้บริการในปี65 ซึ่ง ล่าช้ากว่าแผนเดิม - สายสีเหลือง รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-ส้าโรง เป็นอีกเส้นทางที่เป็นระบบขนส่ง มวลชนแบบโมโนเรล โครงสร้างยกระดับตลอดแนวเส้นทาง มีระยะทาง 30.4 กิโลเมตร รวม 23 สถานี มี เป้าหมายเชื่อมโยงระบบขนส่งสาธารณะสายสีน ้าเงินที่สถานีรัชดา และอีก 4 สาย คือ สายสีเทาของ กรุงเทพ สายสีส้มบริเวณทางแยกล้าสาลี รถไฟเชื่อมแอร์พอร์ต เรลลิงค์ บริเวณทางแยกต่างระดับพระราม 9 และสายสีเขียวที่สถานีส้าโรง เป้าหมายคาดว่าจะเปิดให้บริการในปี 65 เช่นกัน - สายสีส้ม รถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ – มีนบุรี (สุวินทวงศ์) มีระยะทางรวมทั งสิ น 35.9 กิโลเมตร เส้นทางนี มีความพิเศษ เนื่องจากมีเส้นทางวิ่งลอดใต้แม่น ้าเจ้าพระยา จากสถานีศิริราชขนานไป กับสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า โครงการนี แบ่งการด้าเนินงานออกเป็น 2 ส่วน คือ เส้นทางตะวันออกช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยมีนบุรี ปัจจุบันอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 67 ส่วนโครงการช่วงตะวันตก ศูนย์ วัฒนธรรม-บางขุนนนท์ ยังอยู่ระหว่างการคัดเลือกเอกชนเข้าด้าเนินการ หลังจากได้มีการยกเลิกการ ประมูลรอบแรกไป และเตรียมเปิดประมูลใหม่ จึงคาดว่าจะเปิดใช้งานได้อย่างเป็นทางการในปี 7 - สายสีน ้าตาล รถไฟฟ้าสายสีน ้าตาล คราย - ล้าสาลี (บึงกุ่ม) ถือเป็นอีกเส้นทางที่เป็นระบบ รถไฟฟ้าแบบรางโมโนเรล เป็นเส้นทางที่มีการเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนทางรางได้ถึง 7 เส้นทาง ได้แก่รถไฟฟ้าสายสีม่วง รถไฟฟ้าสายสีชมพู บริเวณแยกแคราย รถไฟฟ้าสายสีแดง ที่แยกบางเขน รถไฟฟ้าสายสีเขียว ที่แยกเกษตร รถไฟฟ้าสายสีเทา ที่แยกทางต่างระดับศรีรัช รถไฟฟ้าสายสีส้ม และสี เหลืองฯ ที่แยกล้าสาลี เส้นทางนี ยังมีความพิเศษของระบบการก่อสร้าง เนื่องจากจะใช้ตอม่อเดียวกับ โครงการทางด่วนขั นที่ 3 สายเหนือ ตอน N2 การก่อสร้างทางวิ่งจึงเป็นคานคอนกรีตที่วางบนคานขวาง และBearing Shoe และออกแบบให้มีเสาตอม่อสายสีน ้าตาลแทรกระหว่างเสาทางด่วนที่ก่อสร้างไว้แล้ว โครงการนี วางเป้าหมายจะแล้วเสร็จและเปิดให้บริการในปี 68

7 - สายสีเทา รถไฟฟ้าสายสีเทา เส้นทาง วัชรพล-ทองหล่อ และ พระโขนง-ท่าพระ ถือเป็นโครงการ เส้นทางระบบขนส่งมวลชนรองในพื นที่กรุงเทพฯเชื่อมเส้นทางจากชานเมืองฝั่งเหนือ เข้าสู่ใจกลางเมือง แก้ไขปัญหาการจราจรบนถนนสุขุมวิท สาทร ถนนพระรามที่ 3 โดยเส้นทางสีเทาเหนือ (วัชรพล-ทอง หล่อ) มีแผนจะเปิดให้บริการในปี 70 ส่วนสีเทาใต้ (พระโขนง-ท่าพระ)ยังอยู่ในแผนแม่บท เส้นทางนี การ ก่อสร้างจะเป็นระบบโมโนเรล มีจุดเชื่อมต่อระบบคมนาคมขนส่งระบบรางในหลายเส้นทาง โดยเชื่อมต่อ รถไฟฟ้าสายสีชมพู ที่สถานีวัชรพล เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าสายสีเหลืองที่สถานีลาดพร้าว 83 เชื่อมต่อ รถไฟฟ้าสายสีส้มที่สถานีวัดพระราม 9 และเชื่อต่อรถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน ช่วง Missing Link บางซื่อ - หัวหมาก ส่วนสถานีทองหล่อเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท นอกจากนี ยังมีจุดเชื่อมต่อ รถไฟฟ้าใต้ดินสายสีน ้าเงินที่สถานี ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์สถานีคลองเตย และสถานีลุมพินีและ สามารถเชื่อมต่อรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม ที่สถานีช่องนนทรี สถานีตลาดพลู - ส า ย สี ฟ้ า โ ค รง ก า รถไฟฟ้าสายสีฟ้า เส้นทาง ดินแดง-สาทร มีเป้าหมายรองรับการพัฒนาพื นที่ย่านดินแดง ซึ่งมีโครงการ พัฒนาย่านมักกะสัน เคหะชุมชนดินแดง และการเปิดใช้ศาลาว่าการกรุงเทพฯ 2 ระยะที่ 2-4 เชื่อมต่อย่าน ธุรกิจบนถนนวิทยุ สาทร รวมระยะทาง 9.5 กิโลเมตร ตามแผนแม่บทคาดว่าจะเปิดให้บริการในปี 72 เส้นทางนี การก่อสร้างจะเป็นระบบโมโนเรล เริ่มต้นต้นที่ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 จากสถานี ประชาสงเคราะห์ ผ่านเคหะชุมชนดินแดง สถานีมักกะสัน แยกอโศก-เพชรบุรีซอยนานาเหนือ เข้าสู่ถนน วิทยุ แยกเพลินจิต ก่อนเข้าสู่ถนนสาทร ภาพที่ 1.5 แผนที่ระบบรถไฟฟ้าใน กทม.และปริมณฑล

8 1.2 ลักษณะโครงกำร แนวเส้นทางโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง โดยจะเริ่มต้นจากสถานีเตาปูน จากนั นจะเลี ยวขวาไป ตามแนวถนน ง.8 พร้อมกับลดระดับลดสู่ใต้ดิน จากนั นจะเลี่ยวซ้ายเข้าสู่ถนนสามเสน บริเวณแยก เกียกกาย ไปตามถนนสามเสนจนถึงแยกบางล้าพู แล้วเลี ยวซ้ายไปตามถนนพระสุเมรุ จนถึงแยกผ่านฟ้า ตรงเข้าถนนมหาไชย บริเวณย่านป้อมมหากาฬ ผ่านสถานีสามยอด ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างสายสีม่วง กับสายสีน ้าเงิน จากนั นจะลอดใต้แม่น ้าเจ้าพระยา บริเวณสะพานพุทธ เข้าสู่ประชาธิปก ผ่านวงเวียนใหญ่ ไปตามถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน ผ่านแยกมไหสวรรย์ จากนั นจะยกระดับสู่เส้นทางยกระดับไปตามถนน สุขสวัสดิ์ ผ่านแยกดาวคะนอง ไปจนถึงสถานีครุใน ซึ งตั งอยู่บริเวณปากซอยสุขสวัสดิ์ 70 รวมระยะทาง ทั งสิ น 23.6 กิโลเมตร (เส้นทางใต้ดิน 12.6 กิโลเมตร และเส้นทางยกระดับ 11 กิโลเมตร) โดยมี Transition Ramp ส้าหรับเปลี่ยนระดับจากช่วงยกระดับสู่ช่วงใต้ดิน อยู่บริเวณด้านทิศใต้ของสถานีเตา ปูน และหน้าศูนย์การค้า บิ๊กซี ดาวคะนอง... ในเส้นทางสายม่วงใต้นี จะมีสถานีทั งหมด 17 สถานี แบ่งเป็นสถานีใต้ดิน 10 สถานี และสถานียกระดับ อีก 7 สถานี มีสถานีเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าสายอื่นๆ จ้านวน 3 สถานี ได้แก่ 1.2.1 สถานีผ่านฟ้า ซึ่งเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าสายสีส้ม ตลิ่งชัน - ศูนย์วัฒนธรรมฯ – มีนบุรี 1.2.2 สถานีสามยอด เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าสายสีน ้าเงิน 1.2.3 สถานีวงเวียนใหญ่ เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าสายสีลม (สายสีเขียวเข้ม) และรถไฟชานเมืองสายสี แดง มีศูนย์ซ่อมบ้ารุงระบบรถไฟฟ้า 1 แห่ง อยู่ที่บริเวณข้างด่านเก็บค่าผ่านทางถนนกาญจนาภิเษก ศูนย์ซ่อมบ้ารุง มีพื นที่ประมาณ 170 ไร่ ประกอบด้วยกลุ่มอาคาร ได้แก่ อาคารโรงซ่อมบ้ารุงรักษาหลัก อาคารศูนย์ควบคุมการเดินรถไฟฟ้า พื นที่จอดรถไฟฟ้า อาคารล้างรถไฟฟ้า อาคารเก็บวัสดุมีพิษ อาคาร เก็บวัสดุเหลือใช้ พื นที่ส้าหรับรางทดสอบรถไฟฟ้า อาคารส้านักงานบริหาร อาคารสถานีไฟฟ้า และอาคาร จอด ในโครงการมีลานจอดรถและอาคารจอดแล้วจร จ้านวน 4 แห่ง ได้แก่ สถานีคลองบางไผ่ สถานีสาม แยกบางใหญ่ สถานีบางรักน้อยท่าอิฐ และสถานีแยกนนทบุรี 1

9 ภายในโครงการสายม่วงใต้ จะมีอาคารจอดแล้วจร (Park and Ride) ทั งหมด 2 อาคาร โดย 1 อาคารจะ อยู่ที่สถานีบางปะกอก เป็นอาคาร 10 ชั น รองรับรถได้ประมาณ 1,700 คัน และอีก 2 อาคารจะอยู่ที่ สถานีราษฎร์บูรณะ เป็นอาคารสูง 8 และ 10 ชั น สามารถรองรับรถได้ 800 และ 900 คัน ทางรถไฟฟ้า เป็นรางมาตรฐาน UIC 60 กว้าง 1.435 เมตร จ่ายกระแสไฟฟ้าโดยรางที่ 3 ภาพที่ 1.6 แสดงศูนย์ซ่อมบ้ารุงรถไฟฟ้าสถานีคลองบางไผ่ ขบวนรถไฟฟ้ารถไฟฟ้าที่น้ามาให้บริการเป็นรถไฟฟ้าประเภทรางหนัก (Heavy Rail) ขนาดกว้าง 3.15 เมตร ยาว 21.5 – 22.14 เมตร สูงประมาณ 3.92 เมตร ขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้ากระแสตรงแรงดัน 750 โวลต์จากรางที่ 3 (Third rail) ผ่านอุปกรณ์รับไฟฟ้า (Current Collector Shoes) และควบคุมการเดินรถ ด้วยระบบอัตโนมัติจากศูนย์ควบคุมการเดินรถ โดยสามารถท้าความเร็วได้สูงสุด 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ปัจจุบันรถไฟฟ้าในโครงการมีทั้งหมด 21 ขบวน มีความจุผู้โดยสารสูงสุดต่อ 3 ตู้: 1,185 คน โดยรถไฟฟ้า ใน 1 ขบวน จะประกอบไปด้วย 3 ตู้ ซึ่งในอนาคตสามารถเพิ่มได้สูงสุด 6 ตู้

10 ระบบโดยรวมส้าหรับงานระบบรถไฟฟ้า ระบบอาณัติสัญญาณ ระบบจ่ายไฟฟ้าและระบบควบคุม และจัดเก็บข้อมูล อุปกรณ์ซ่อมบ้ารุงระบบรถไฟฟ้า ระบบประตูกั้นชานชาลา ระบบสื่อสารโทรคมนาคม และระบบการจัดเก็บค่าโดยสารอัตโนมัติ จะมีลักษณะเดียวกันกับโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัช มงคล รูปแบบ ระบบขนส่งมวลชนเร็ว ระบบ รถไฟฟ้ามหานคร ด้าเนินการเดินรถโดย บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จ้ากัด (มหาชน) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่ มีทั้งโครงสร้างใต้ดินและยกระดับ ด้าเนินการโดย บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จ้ากัด (มหาชน) ในลักษณะของการจ้างเดินรถจากการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย มีแนวเส้นทางที่เชื่อมโยงการ เดินทางในแนวเหนือ-ใต้ เริ่มต้นจากอ้าเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ชานเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียง เหนือของกรุงเทพมหานคร ผ่านอ้าเภอบางใหญ่และอ้าเภอเมืองนนทบุรี เข้าสู่ใจกลางกรุงเทพมหานคร ย่านบางซื่อ ผ่านย่านที่ส้าคัญในพื้นที่เมืองเก่าเขตดุสิตและเขตพระนคร เช่น โครงการก่อสร้างรัฐสภาแห่ง ใหม่ที่เกียกกาย ย่านถนนสามเสน, บางล้าพู, ผ่านฟ้า, วังบูรพา จากนั้นลอดใต้แม่น้้าเจ้าพระยามายังใจ กลางพื้นที่ฝั่งธนบุรีที่ วงเวียนใหญ่ ผ่านย่านส้าเหร่, จอมทอง, ดาวคะนอง, บางปะกอก, แยกประชาอุทิศ, ผ่านเขตราษฎร์บูรณะ ชานเมืองด้านทิศใต้ของกรุงเทพฯ ก่อนเข้าสู่อ้าเภอพระประแดง จังหวัด สมุทรปราการ สิ้นสุดที่บริเวณถนนกาญจนาภิเษก (ใกล้สะพานกาญจนาภิเษก) รวมระยะทาง 46.6 กิโลเมตร นับเป็นเส้นทางที่ผ่านสถานที่ส้าคัญมากมายทั้งในพื้นที่จังหวัดนนทบุรีและกรุงเทพมหานคร ทั้ง ยังช่วยเชื่อมต่อการเดินทางจากชานเมืองทั้งด้านจังหวัดนนทบุรีและอ้าเภอพระประแดง จังหวัด สมุทรปราการ ให้สามารถเข้าสู่ใจกลางกรุงเทพมหานครได้อย่างรวดเร็ว ภาพที่ 1.7 บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จ้ากัด (มหาชน) หรือ BEM

11 1.3 ควำมส ำคัญของปัญหำ ระบบปรับอากาศในรถไฟฟ้ามีความส้าคัญอย่างยิ่งในการเดินรถไฟฟ้า โดยเฉพาะประเทศไทยที่ตั้งอยู่ ในเขตซึ่งมี ภูมิอากาศแบบร้อนชื้น เพื่อการบริการใแก่ผู้มาใช้บริการ ให้ได้รับอากาศที่เย็นสบาย สะอาด บริสุทธิ์ ไร้กลิ่น และเชื้อโรคต่างๆ การดูแลบ้ารุงรักษาให้ระบบปรับอากาศในรถไฟฟ้า จึงมีความส้าคัญ อย่างมาก ที่จะต้องรักษาความเย็น โดย Set อุณหภมิไว้ที่ 22 องศา ด้วยระบบแอร์ Inverter ใช้ไฟ 110 V เป็นวงจรปรับแอร์ 2 วัฎจักร ใช้น้้ายาแอร์ R-407C เป็นแอร์ขนาดใหญ่ ขบวนตู้ละ 8 ตัว ได้ท้างานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ อากาศที่ร้อน ท้าให้เครื่องปรับอากาศท้างานหนักเกิดปํญหาการช้ารุด ท้างานไม่เม ประสิทธิภาพบ่อยครั้ง จึงเป็นที่มาของการปรับปรุงบ้ารุงรักษาเพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งจะช่วยให้ ประหยัดพลังงานและลดค่าใช้จ่าย โดยมีการจัดแผนการดูแลบ้ารุงรักษาตรวจเช็ค ทุก 10 วัน 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี 1.4 วัตถุประสงค์ - ศึกษาและตรวจสอบการท้างานของระบบปรับอากาศในรถไฟฟ้า เพื่อลดต้นทุนและหาวิธีการ บ้ารุงรักษาที่ถูกต้อง 1.5 ขอบเขตกำรด ำเนินงำน - การศึกษาค้นคว้าการท้างานของระบบรถไฟฟ้าเพื่อการบ้ารุงรักษา - เพื่อตรวจสอบการท้างานของระบบลมในรถไฟฟ้าสายสีม่วง - ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ - รูปแบบและความเข้าใจการบ้ารุงรักษาและป้องกันการช้ารุดเสียหายของรถไฟฟ้า - สามารถจัดระบบการซ่อมบ้ารุงได้อย่างมีประสิทธิภาพ - น้าไปประยุกต์ให้การบ้ารุงรักษารถไฟฟ้าหรืออุปกรณ์อื่นๆได้

12 1.6 วิธีกำรด ำเนินโครงงำน 1.6.1 เก็บข้อมูล 1.6.2 ศึกษาปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา 1.6.3 เสนอปัญหาต่อคณะกรรมการ 1.6.4 วิเคราะห์ปัญหาเชิงลึกและก้าหนกมาตรการแก้ไข 1.6.5 วางแผนวิธีการด้าเนินการติดตามผล 1.6.6 ทบทวนปรับปรุงแก้ไข 1.6.7 ประเมินผลเปรียบเที่ยบเป้าหมายและสรุป 1.6.8 จัดท้ารายงานน้าเสนอ 1.7 แผนกำรด ำเนินงำน ตารางที่ 1.1 แผนการด้าเนินงาน 1.8 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ - สามารถใช้เพื่อเป็นกรณีศึกษากับหน่วยงานหรือบริษัทอื่นๆที่มีลักษณะงานที่คล้ายคลึงกันและ น้าไปใช้ประโยชน์วิเคราะห์ พฤศจิกายน 2565 ธันวาคม 2565 มกราคม 2566 กุมภาพนัธ์ 2566 มนีาคม 2566 เมษายน 2566 เมษยน 2566 เก็บข้อมลู ศกึษาปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา เสนอปัญหาตอ่คณะกรรมการ วิเคราะห์ปัญหาเชิงลึกและก าหนกมาตรการแก้ไข วางแผนวิธีการด าเนินการตดิตามผล ทบทวนปรับปรุงแก้ไข ประเมนิผลเปรียบเที่ยบเป้าหมายและสรุป ระยะเวลาด าเนินการ การด าเนินการ

13 - สามารถยึดอายุการใช้งานของระบบแอร์ให้สามารถท้างานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ - สามารถลดปัญหาของระบบแอร์ที่ส่งผลต่อการเดินรถได้ - ช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพการท้างานของแอร์ในรถไฟฟ้า ภาพที่ 1.8 สถานีรถไฟฟ้าสายสีม่วง

14 บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1 ควำมหมำยกำรบ ำรุงรักษำ การบ้ารุงรักษา (Maintenance) หมายถึง การพยายามรักษาสภาพของเครื่องมือเครื่องจักรต่างๆ ให้มีสภาพที่พร้อมจะใช้งานอยู่ตลอดเวลา” การบ้ารุงรักษานั้นครอบคลุมไปถึงการซ่อมแซมแซม (Repair) เครื่องด้วย ในงานบริหารการผลิตหรือการบริการ มักจะหลีกเลี่ยงงานเพิ่มเติมที่ส้าคัญงานหนึ่งคือ การ ซ่อมและบ้ารุงรักษา ไปไม่ได้ ถึงแม้ว่างานซ่อมและบ้ารุงรักษาไม่ใช่งานผลิตโดยตรง แต่งานซ่อมและ บ้ารุงรักษาก็มีบทบาทช่วยให้การผลิตและการบริการขององค์กรนั้นเป็นไปอย่างราบรื่น โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในโลกปัจจุบันที่การผลิตและการบริการจ้าเป็นที่จะต้องอาศัยอุปกรณ์และเครื่องจักรมากขึ้น การที่ เครื่องจักรเกิดขัดข้องขึ้นมากะทันหันหรือไม่สามารถใช้งานได้ จะท้าให้มีผลกระทบโดยตรงต่อ ประสิทธิภาพการผลิตและการบริการนั้นๆ การที่จะได้มาซึ่งเครื่องจักรที่มีคุณภาพนั้น ต้องประกอบด้วย 2.1.1 มีการออกแบบที่ดีและตรงตามความประสงค์ต่อการใช้งาน มีความเที่ยงตรงแม่นย้า รวมทั้ง สามารถท้างานได้เต็มก้าลังความสามารถที่ออกแบบไว้ 2.1.2 มีการผลิต (หรือสร้าง) ที่ให้ความแข็งแรงทนทาน สามารถท้างานได้นานที่สุด และ ตลอดเวลา 2.1.3 มีการติดตั้งในสถานที่ที่เหมาะสมและสะดวกต่อการใช้งาน 2.1.4 มีการใช้เป็นไปตามคุณสมบัติและสมรรถนะของเครื่อง 2.1.5 มีระบบการบ้ารุงรักษาที่ดีเนื่องจากเครื่องมือเครื่องใช้เมื่อถูกใช้งานไปนาน ๆ ก็ต้องมีการ เสื่อมสภาพ ช้ารุด สึกหรอ เสียหายขัดข้อง ดังนั้น เพื่อให้อายุการใช้งานเครื่องมือเครื่องใช้ยืนยาว สามารถ ใช้งานได้ตามความต้องการของผู้ใช้ ไม่ช้ารุดหรือเสียบ่อยๆ ต้องมี “การบ้ารุงรักษา เครื่องจักรเครื่องมือ เครื่องใช้” ในระบบการด้าเนินงานด้วย จึงจะสามารถควบคุมการท้างานของเครื่องมือได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

15 2.2 จุดมุ่งหมำยของกำรบ ำรุงรักษำ 2.2.1 เพื่อให้เครื่องมือใช้ท้างานได้อย่างมีประสิทธิผล (Effectiveness) คือ สามารใช้เครื่องมือ เครื่องใช้ได้เต็มความสามารถและตรงกับวัตถุประสงค์ที่จัดหามามากที่สุด 2.1.2 เพื่อให้เครื่องมือเครื่องใช้มีสมรรถนะการท้างานสูง (Performance) และช่วยให้เครื่องมือ เครื่องใช้มีอายุการใช้งานยาวนาน เพราะเมื่อเครื่องมือได้ใช้งานไประยะเวลาหนึ่งจะเกิดการสึกหรอ ถ้า หากไม่มีการปรับแต่งหรือซ่อมแซมแล้ว เครื่องมืออาจเกิดการขัดข้อง ช้ารุดเสียหายหรือ ท้างาน ผิดพลาด 2.1.3 เพื่อให้เครื่องมือเครื่องใช้มีความเที่ยงตรงน่าเชื่อถือ (Reliability) คือ การท้าใหเครื่องมือ เครื่องใช้มีมาตรฐาน ไม่มีความคลาดเคลื่อนใด ๆ เกิดขึ้น 2.1.4 เพื่อความปลอดภัย (Safety) ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายที่ส้าคัญ เครื่องมือเครื่องใช้จะต้องมีความ ปลอดภัยเพียงพอต่อผู้ใช้งาน ถ้าเครื่องมือเครื่องใช้ท้างานผิดพลาด ช้ารุดเสียหาย ไม่สามารถท้างานได้ ตามปกติ อาจจะก่อให้เกิดอุบัติเหตุ และการบาดเจ็บต่อผู้ใช้งานได้ การบ้ารุงรักษาที่ดีจะช่วยควบคุม การผิดพลาด 2.1.5 เพื่อลดมลภาวะของสิ่งแวดล้อม เพราะเครื่องมือเครื่องใช้ที่ช้ารุดเสียหาย เก่าแก่ ขาดการ บ้ารุงรักษา จะท้าให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เช่น มีฝุ่นละอองหรือไอของสารเคมีออกมา มีเสียงดัง เป็นต้น ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง 2.1.6 เพื่อประหยัดพลังงาน เพราะเครื่องมือเครื่องใช้ส่วนมากจะท้างานได้ต้องอาศัยพลังงาน เช่น ไฟฟ้า น้้ามันเชื้อเพลิง ถ้าหากเครื่องมือเครื่องใช้ได้รับการดูแลให้อยู่ในสภาพดี เดินราบเรียบไม่มี การรั่วไหลของน้้ามัน การเผาไหม้สมบูรณ์ ก็จะสิ้นเปลืองพลังงานน้อยลง ท้าให้ประหยัดค่าใช้จ่ายลงได้ 2.3 วิวัฒนำกำรของกำรบ ำรุงรักษำ ในทางเทคนิคแล้ว การบ้ารุงรักษาทวีผลไม่ใช่รูปแบบการบ้ารุงรักษาด้วยตัวของมันเอง แต่เป็น การรวมเอาการบ้ารุงรักษาแบบต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน ได้แก่ การบ้ารุงรักษาเมื่อขัดข้อง การบ้ารุงรักษาเชิง ป้องกัน การบ้ารุงรักษาเชิงแก้ไขปรับปรุง และการป้องกันการบ้ารุงรักษา ทั้งนี้เพื่อให้เกิดผลมากขึ้นในการ

16 เตรียมความพร้อม การป้องกัน การปรับปรุง และการออกแบบเพื่อหลีกเลี่ยงการบ้ารุงรักษา ดังชื่อที่ว่า "ทวีผล" 2.2.1 ความจ้าเป็นในการบ้ารุงรักษาทวีผล วิวัฒนาการในการบ้ารุงรักษาตั้งแต่การบ้ารุงรักษา เมื่อขัดข้องมาจนถึงการบ้ารุงรักษาทวีผล ยังไม่มีการบ้ารุงรักษารูปแบบใดที่สามารถใช้ได้โดยล้าพังเพียง อย่างเดียว กล่าวคือ การบ้ารุงรักษาเมื่อขัดข้องก็ไม่สามารถใช้ได้กับกระบวนการผลิตที่ไม่มีเครื่องจักร ส้ารอง และไม่สามารถใช้ได้กับกระบวนการผลิตแบบต่อเนื่อง จึงต้องมีการบ้ารุงรักษาเชิงป้องกัน แต่ก็ ไม่ได้หมายความว่าเครื่องจะไม่มีโอกาสเสียอีกเลย ดังนั้นอย่างไรก็ทิ้งการบ้ารุงรักษาเมื่อขัดข้องไม่ได้การ บ้ารุงรักษาเชิงป้องกันนอกจากจะต้องมีการบ้ารุงรักษาเมื่อขัดข้องเพื่อเป็นการเตรียมพร้อมแล้ว ก็ยังต้องมี การบ้ารุงรักษาเชิงแก้ไขปรับปรุงเพื่อความสะดวก ในการบ้ารุงรักษา แต่ถึงจะปรับปรุงเครื่องจักรจนใช้ งานได้สะดวกเพียงใดก็ยังคงต้องใช้เวลาในการบ้ารุงรักษา ในที่สุดก็มีการป้องกันการบ้ารุงรักษาตามมา เพื่อหาทางท้าให้เครื่องจักรไม่ต้องการการบ้ารุงรักษาหรือต้องการน้อยที่สุด 2.2.2 การบ้ารุงรักษาเกินความจ้าเป็น (Over Maintenance) การบ้ารุงรักษาเชิงป้องกันที่ เข้มข้นตั้งแต่ซื้อเครื่องจักรมาจนตลอดอายุการใช้งานสามารถท้าให้เครื่องจักรเสียน้อยลงได้หรือแทบไม่มี เลย แต่บางครั้งก็เกินความจ้าเป็น ท้านองว่า "เครื่องจะเสียได้อย่างไร ในเมื่อตลอดเวลาใช้ไปกับ การบ้ารุงรักษา" หรือเรียกว่า Over Maintenance การบ้ารุงรักษาทวีผลสามารถป้องกันการบ้ารุงรักษา เกินความจ้าเป็นได้ 2.2.3 องค์ประกอบของการบ้ารุงรักษาทวีผล การบ้ารุงรักษาทวีผลประกอบด้วย การบ้ารุงรักษาเมื่อขัดข้อง เพื่อความพร้อมหากเครื่องจักรเสียหาย การบ้ารุงรักษาเชิงป้องกันเพื่อไม่ให้เครื่องเกิดเสียหายในขณะก้าลังท้าการผลิต การบ้ารุงรักษาเชิงแก้ไข ปรับปรุงเพื่อให้เครื่องจักรใช้งานง่าย และการป้องกันการบ้ารุงรักษาเพื่อให้ลดเวลาที่ต้องใช้ในการ บ้ารุงรักษา ดังนั้น การบ้ารุงรักษาทวีผล คือ การบ้ารุงรักษาเชิงป้องกันที่มีความพร้อมหากเครื่องจักรเกิด เสียหาย ในขณะเดียวกันก็มีการศึกษาวิเคราะห์เพื่อหาวิธีการท้าให้เครื่องจักรใช้งานง่าย ดูแลง่าย ซ่อมแซมง่าย และต้องการการดูแลรักษาน้อยลง

17 2.2.4 การบ้ารุงรักษาทวีผล คือ การน้าผลการบ้ารุงรักษารูปแบบต่างๆ มารวมเข้าด้วยกัน และนี่ คือที่มาของค้าว่า "ทวีผล" อย่างไรก็ตามยังไม่มีการรวมความร่วมมือของทุกฝ่ายเข้าด้วยกัน ดังนั้น จึงต้อง มีอีกค้าหนึ่ง คือ ค้าว่า "การบ้ารุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม" 2.4 ประเภทของการบ้ารุงรักษา (Type of Maintenance) งานบ้ารุงรักษาสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท 2.3.1 Breakdown Maintenance (การบ้ารุงรักษาโดยการซ่อมแซมส่วนที่เสีย) 2.3.2 Planned/Preventive maintenance (การบ้ารุงรักษาตามแผน) 2.3.4 Predictive maintenance (การบ้ารุงรักษาโดยการคาดคะเน) 2.3.5 Proactive maintenance (เป็นแนวคิดใหม่ในวงการบ้ารุงรักษา โดยการแก้ที่สาเหตุที่ แท้จริงของปัญหา) 2.3.6 Breakdown maintenance (การซ่อมบ้ารุงโดยการซ่อมแซมส่วนที่เสีย) การบ้ารุงรักษา วิธีนี้ถือได้ว่าเป็นแนวคิดในงานการบ้ารุงรักษา ที่เก่าแก่ที่สุด ในต้าราบางเล่มให้นิยามวิธีการบ้ารุงรักษา แบบนี้ว่า “ ด้าเนินการโดยไร้การบ้ารุงรักษา” เพราะในความเป็นจริงฝ่ายซ่อมบ้ารุงจะไม่ต้องปฏิบัติงาน ใด ๆ เลยจนกว่าจะมีรายงานว่าเครื่องจักรช้ารุด ใช้งานต่อไปไม่ได้ อย่างไรก็ตามการบ้ารุงรักษาประเภท นี้ก็ยังคงมีใช้ในบางสถานการณ์ เช่น ในอาคารที่ไม่สลับซับซ้อน หรือมีอุปกรณ์อะไหล่ทดแทนพร้อมอยู่ เสมอ หรือสามารถสั่งซื้อได้อย่างทันทีทันใด โดยที่ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการบ้ารุงรักษาประเภทนี้ ควร น้อยกว่าการประยุกต์ใช้วิธีการบ้ารุงรักษาแบบอื่น เช่น การบ้ารุงรักษาหลอดไฟฟ้าที่ปล่อยทิ้งไว้จนหลอด ขาด หรือก็อกน้้าประปาช้ารุด ข้อเสียของการบ้ารุงรักษาประเภทนี้ได้แก่ - ไม่มีส้ญญาณใด ๆ บอกเป็นการเตือนล่วงหน้าเมื่อเครื่องจักรเริ่มช้ารุด - ไม่สามารถยอมรับได้ ในระบบที่ต้องการความเชื่อมั่นสูง เช่น ระบบลิฟท์ - ต้องเก็บชิ้นส่วนอะไหล่ไว้เป็นจ้านวนมาก ซึ่งหมายความว่ามีค่าใช้จ่ายในการเก็บ อะไหล่คงคลังสูง

18 - ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายในการปฏิบัติตามแผนการผลิตได้ตามประสงค์ - ไม่สามารถวางแผนงานในการบ้ารุงรักษาได้ 2.3.7 Planned/ Preventive maintenance (การบ้ารุงรักษาตามแผน) เพื่อเป็นการลบล้าง ข้อบกพร่องในการบ้ารุงรักษาเมื่อช้ารุด จึงได้มีการพัฒนางานทางด้านการบ้ารุงรักษาตามแผนขึ้นมา กล่าวโดยย่อก็คือ การบ้ารุงรักษาอาคารและอุปกรณ์ตามระยะเวลาที่ก้าหนดขึ้นโดยอาจจะได้มาจาก ประสบการณ์หรือจากคู่มือการใช้งานของระบบและอุปกรณ์นั้น ๆ อย่างไรก็ตามการช้ารุดของอาคารและ อุปกรณ์โดยไม่คาดฝันก็ไม่สามาถขจัดออกไปได้ เพราะว่าในทางสถิติแล้ว การช้ารุดของอาคารและ อุปกรณ์ไม่ได้เป็นการกระจายตัวแบบสม่้าเสมอ หรือมีรูปแบบที่แน่นอน ดังนั้นจึงเป็นการยากที่จะ เลือก ช่วงการบ้ารุงรักษาตามแผนที่เหมาะสม และในบางกรณีถึงแม้ว่าได้ปฏิบัติการบ้ารรุงรักษาตามแผนแล้วก็ ตาม ก็ยังคงมีโอกาสที่จะเกิดการช้ารุดของเครื่องจักร และอุปกรณ์โดยไม่คาดคิดอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สรุปได้ว่าการบ้ารุงรักษาแบบนี้จะท้าให้เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการผลิตทั้งทางตรงและทางอ้อม ตัวอย่างการบ้ารุงรักษาแบบนี้ได้แก่ การตรวจเช็คระดับน้้ามันลิฟท์โดยสารที่บริเวณช่องตรวจระดับน้้ามัน การเปลี่ยนถ่ายน้้ามันตามระยะเวลาการถอดเปลี่ยนชิ้นส่วนที่ส้าคัญบางชิ้นตามระยะเวลา ปัญหาหนึ่งที่ พบเสมอในการท้าการบ้ารุงรักษาตามระยะเวลาคือ ท้าการเปลี่ยนชิ้นส่วนบางชิ้นโดยไม่จ้าเป็น และใน บางกรณีอาจจะเป็นการรบกวนชิ้นส่วน ในระบบอื่นโดยไม่จ้าเป็นรวมถึงอาจจะมีการประกอบกลับชิ้นส่วน ไม่ถูกต้อง ซึ่งนับว่าเป็นผลเสียมากว่าผลดีเสียอีก ในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาจึงมีวิธีการบ้ารุงรักษาแบบใหม่ ที่เรียกว่า Reliability centered maintenance (RCM) โดยมีการด้าเนินการย่อ ๆ ดังนี้ - ตรวจวิเคราะห์หาอุปกรณ์วิกฤต - ตรวจสอบอุปกรณ์วิกฤตตามระยะเวลาที่ก้าหนด - ถอดอุปกรณ์ออกเพื่อปรับสภาพ - ถอดเปลี่ยนอุปกรณ์วิกฤต - ในกรณีของอุปกรณ์ที่ไม่วิกฤต ก็ให้ใช้ต่อไปจนช้ารุด - ในบางกรณีที่จ้าเป็นให้ท้าการออกแบบอุปกรณ์บางชิ้นใหม่

19 2.3.8 Predictive maintenance (การบ้ารุงรักษาโดยการคาดคะเน) เครื่องจักรสมัยใหม่มีกลไก ที่ละเอียด และซับซ้อนกว่าเครื่องจักรในสมัยก่อน ๆ รวมทั้งเป็นการยากที่จะท้าการถอดเปลี่ยน หรือท้า การตรวจเช็คตามจุดที่ส้าคัญของงานบ้ารุงรักษาตามแผน (PM) วิธีการในการบ้ารุงรักษาโดยการคาดคะเน นับได้ว่าเป็นปรัชญาใหม่ในศาสตร์ของการบ้ารุงรักษาเครื่องจักร แนวความคิดโดยสรุปก็คือการใช้วิธีการ หรือเทคนิคใหม่ ๆ ของเครื่องมือวัดชนิดต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์ในการวัดแรงสั่นสะเทือน กล้องอินฟาเรด เทอร์โมกราฟฟี่ เป็นต้น โดยพื้นฐานแล้วพอที่จะจัดแบ่งการบ้ารุงรักษาแบบนี้ออกเป็นวิธีย่อย ๆ คือ Vibration analysis, Oil/ wear particle analysis, Performance monitoring, Temperature monitoring 2.3.9 การศึกษาติดตามสภาพเครื่องจักร (Condition monitoring) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าการ ติดตามสุขภาพเครื่องจักร (Machine health monitoring) ก็จัดได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของการบ้ารุงรักษแบบ คาดคะเน ความจริงแล้วการท้า CM (Condition monitoring) หรือ MHM (Machine health monitoring) ไม่ใช่ของใหม่ เพราะโดยทั่วไปแล้ว วิศวร หรือผู้ควบคุมเครื่อง ก็ใช้สามัญส้านึกในการ บ้ารุงรักษาเครื่องจักรอยู่แล้ว เช่น การใช้สายตาตรวจดูลักษณะทั่วไป การใช้จมูกดมกลิ่นไหม้ การใช้หู ฟังเสียงที่ผิดปกติ และการใช้นิ้วสัมผัส (ความร้อน) เป็นต้น อย่างไรก็ตามวิธีการตรวจสอบดังกล่าวจะ เป็นลักษณะการประเมินสภาพเครื่องจักรที่ไม่มีข้อยุติที่แน่นอน ทั้งนี้เนื่องจากความไม่เที่ยงตรงของ ประสาทสัมผัสของคนแต่ละคนไม่เหมือนกัน ดังนั้นการใช้เครื่องมือวัดเชิงปริมาณส้าหรับการบ้ารุงรักษา แบบคาดคะเนจึงเป็นสิ่งส้าคัญ ทั้งนี้เพราะท้าให้ได้ข้อสรุที่ไม่มีการบิดเพริ้วได้ในการปะรเมินสภาพของ เครื่องจักร ดังนั้นความหมายของ Predictive maintenance ก็พอที่จะสรุปได้ว่า เมื่อสามารถทราบถึง ลักษณะของต้นทุนของการช้ารุด จึงพอที่จะสามารถจัดเตรียมการล่วงหน้าส้าหรับแรงงาน ชิ้นส่วนอะไหล่ และก้าหนดช่วงเวลาการท้างานที่ไม่ขัดกับแผนการผลิตหลักได้ ในกรณีที่มีการประยุกต์ใช้ Predictive maintenance ที่เหมาะสมแล้วผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับคือ - ลดค่าใช้จ่ายการบ้ารุงรักษา - ลดสถิติการช้ารุดของเครื่องจักรและอุปกรณ์ - ลดเวลาการช้ารุดของเครื่องจักรและอุปกรณ์

20 - ลดปริมาณอะไหล่คงคลังในการบ้ารุงรักษา - เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต - วางแผนการบ้ารุงรักษาได้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น - ท้าให้การหยุดชะงักในการผลิตน้อยลง 2.3.10 Proactive maintenance (การบ้ารุงรักษาแบบป้องกันล่วงหน้า) นับเป็นวิธีบ้ารุงรักษา อาคารและเครื่องจักรที่ค่อนข้างใหม่ต่อวงการ ทั้งนี้เพราะแนวคิดดังกล่างเพิ่งถูกตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ประมาณ ค.ศ. 1985 โดยย่อแล้วงานบ้ารุงรักษาแบบนี้จะมุ่งพิจารณารากของปัญหา (Root cause of failure) โดยที่ root cause สามารถแบ่งย่อยออกเป็นหกอย่างคือ - Chemical stability - Physical stability - Temperature stability - Wear stability - Leakage stability - Mechanical stability เมื่อใดที่มีการไม่สมดุลย์ในระบบของเครื่อง (อาจจะเกิดความไม่มี Stability ในหนึ่งใน Root cause ที่กล่าวมา หรืออาจจะมีความไม่สมดุลย์ในระบบมากกว่าหนึ่งสาเหตุก็เป็นได้) ตัวอย่างที่เห็นได้ง่าย ๆ ในระบบไฮดรอลิคก็คือ การที่มีสิ่งสกปรก (Contaminants) หลุดลอดเข้าไปในระบบ ซึ่งอาจจะเกิด จากการเติมน้้ามันที่สกปรกเข้าไปในระบบ การเสื่อมสภาพของไส้กรองอากาศ การช้ารุดเสียหายของซีล และสิ่งสกปรกตังกล่าวก็เป็นสาเหตุหลักที่ท้าให้ระบบขาดความสมดุลย์ไป เมื่อวิศวรหรือผู้ช้านาญได้ ทราบถึงสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา (Root cause) ก็จะท้าการแก้ไขให้ระบบกลับคืนสู่สมดุลย์ เช่น ใช้ไส้ กรองที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น เปลี่ยนซีลที่ขาด หรือท้าการกรองน้้ามันที่สงสัยว่ามีสิ่งสกปรกผสมอยู่ เป็นต้น

21 อย่างไรก็ตามเนื่องจากจ้าเป็นต้องใช้ทั้งเครื่องมือ บุคคลากรที่มีความช้านาญสูงในการค้นหา Root cause แนวความคิดในการซ่อมบ้ารุงแบบนี้ยังไม่แพร่หลายมากนัก

22 บทที่ 3 วิธีการด าเนินงาน 3.1 ข้อมูลเบื้องต้น ภาพที่ 3.1 รถไฟฟ้าสายสีม่วงหรือสายฉลองรัชธรรม MRT บริษัท เจแปน ทรานสปอร์เตชั่น เทคโนโลยี (ไทยแลนด์) จ้ากัด เป็นบริษัทที่ให้บริการซ่อมบ้ารุง ส้าหรับโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วงช่วงบางใหญ่-เตาปูน ให้แก่ บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จ้ากัด (BEM) เพื่อใช้ในการขนส่งสาธารณะ ก่อตั งโดยการรวมตัวกันของ 3 บริษัทผู้ถือหุ้นได้แก่ - East Japan Railway Company - Marubeni Corporation - Toshiba Corporation

23 3.2 ลักษณะประเภทธุรกิจ บริษัท เจแปน ทรานสปอร์เตชั่น เทคโนโลยี (ไทยแลนด์) ให้บริการซ่อมบ้ารุงเกี่ยวกับตัวรถไฟฟ้า ทั งหมด เพื่อส่งมอบรถให้แก่ บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จ้ากัด (BEM) เพื่อให้บริการแก่ประชาชนในพื นที่จังหวัดนนทบุรีและกรุงเทพมหานคร ให้เดินทางเข้า-ออก ระหว่างเมืองในช่วงเวลา 05:30-00:00 ของวัน และมีการจัดตั งทีมช่วยเหลือฉุกเฉิน (ERT) Emergency Recovery Team ไว้หากมีเหตุการณ์ฉุกเฉินเช่น รถไฟตกราง ภาพที่ 3.2 ลักษณะประเภทธุรกิจ 3.3 ข้อมูลเบื้องต้นของระบบปรับอำกำศทั่วไป ระบบปรับอากาศคือระบบการถายเทความรอนจากบริเวณที่ต้องการปรับอากาศโดยทั่วไปมักจะ มีอุณหภูมิต่้ากวาภายนอกมาทิ้งยังแหลงที่มีอุณหภูมิสูงกวาโดยทั่วไประบบปรับอากาศนอกจากท้า หนาที่ ในการท้าความเย็นใหไดอุณหภูมิตามที่ตองการแลวยังท้าหนาที่ลดความชื้นที่มีอยูในอากาศระบบปรับ อากาศโดยทั่วไปมีหลายประเภทแตหากแบ่ง ตามวัตถุประสงคการใชงานสามารถแบ่งไดเปน 2 ประเภท

24 - การปรับอากาศเพื่อความเย็นสบาย เปนการปรับอากาศที่มุงสงเสริมความเย็นสบาย และ เพิ่ม ประสิทธิภาพในการท้างานของผูคนที่อาศัยหรือท้างานอยูในที่บริเวณนั้นๆ เชน การปรับอากาศภายในบ าน ส้านักงาน รานอาหาร โรงเรียน โรงพยาบาล ฯลฯ - การปรับอากาศเพื่อการอุตสาหกรรม เปนการปรับอากาศเพอื่ ควบคุมภาวะบรรยากาศใน กระบวนการผลิต การท้างานวิจัย และการเก็บรักษาผลตางๆ เชน การปรับอากาศในอุต สาหกรรม คอมพิวเตอร โรงงานทอผา โรงงานผลิตอาหาร ฯลฯ 3.3.1 หลักการท้าความเย็นของเครื่องปรับอากาศการท้าความเย็นของเครื่องปรับอากาศ โดยทั่วไปตองอาศัยสารท้าความเย็นที่ไหลอยูในระบบทอปิดโดยมีเครื่องอัดไอสารท้าความเย็นหรือคอม เพรสเซอรท้าหนาที่เพิ่มความดันใหแกสารท้าความเย็น ซึ่งเปนไอใหมีความดันและอุณหภูมิสูงขึ้น (สูงกวา อากาศภายนอก) แลวระบายทิ้งที่แผงทอระบายความรอน (คอลยร้อนหรือคอนเดนเซอร) ซึ่งติดตั้งอยู่ ภายนอกห้องโดยมีพัดลมท้าหนาที่เปาระบายความรอน ที่แผงระบายความรอนนี้ สารท้าความเย็น ภายหลังผานคอลยรอนจะมีสถานะเปนของเหลวที่ความดันสูง จะไหลผานเข้าชุดลดความดัน กอนจะไหล เขาไปยังแผงทอท้าความเย็น (คอลยเย็นหรือแฟนคอลย) ซึ่งติดตั้งอยูภายในหอง สารท้าความเย็นจะดูด ความรอนจากอากาศบริเวณโดยรอบของแผงทอท้าความเย็นท้าใหอากาศที่ไหลผานมีอุณหภูมิต่้าลงและ ถูกสงผานลมเย็นโดยพัดลมที่ติดตั้งอยูที่แผงท้าความเย็น นี้ไปสูบริเวณหองเพื่อใหไดอุณหภูมิตามตองการ สารท้าความเย็นภายหลังผานทางแผงคอลยท้าความ เย็นแลวจะมีสถานะเปนไอความดันต่้ากอนจะไหล เขาสูเครื่องอัดไอสารท้าความเย็น ท้าใหเกิดการท้างานวัฏจักรไปเรื่อยๆ 3.3.2 ระบบปรับอากาศแบบแยกสวน (Split Type) ส้าหรับบานพักอาศัยที่ตองการปรับอากาศ ใหกับหองตางๆที่มีขนาดไม่ใหญมากและจ้านวนหองไมมากหรือหากมีจ้านวนหองที่จะปรับอากาศหลายห องแตอาจมีการใชงานแตละหองปรับอากาศไม พรอมๆกัน อาจติดตั งเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน โดยทั่วไปขนาดท้าความเย็นจะไมเกิน 40,000 บีทียูตอชั่วโมง ซึ่งสามารถเลือกเปด-ปดเครื่องปรับอากาศ ตามความตองการใชงาน

25 ภาพที่ 3.3 ระบบปรับอากาศแบบแยกสวน (Split Type) เครื่องปรับอากาศของบานพักอาศัยประกอบดวยชิ นสวนตางๆที่ส้าคัญ 9 อยางดังนี - แผงทอท้าความเย็น (Cooling coil) - คอมเพรสเซอร (Compressor) - แผงทอระบายความรอน (Condenser coil) - พัดลมสงลมเย็น (Blower) - พัดลมระบายความรอน (Condenser fan) - แผนกรองอากาศ (Air filter) - หนากากเครื่องที่มีแผนเกล็ดกระจายลมเย็น (Louver) - อุปกรณควบคุมส้าหรับการควบคุมอุณหภูมิหอง - อุปกรณปอนสารท้าความเย็น (Metering device) โดยทั่วไปประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศขนาดเล็กมักจะระบุค่าเปน EER (Energy Efficiency Ratio) มี

26 หนวยเปนบีทียูตอชั่วโมงตอวัตต (Btu/h/W) ซึ่งหมายถึงคาความสามารถในการท้าความเย็น (บีทียูตอชั่ว โมง) ตอพลังงานไฟฟาที่ใช (วัตต) ดังนั้นหากเครื่องปรับอากาศตัวใดมีคา EER สูงจะบงบอกถึงประสิทธิภาพที่ดี หรือประหยัดพลังงาน ส้าหรับคามาตรฐานตางๆของเครื่องปรับอากาศ มีดังนี้ ตารางที่ 3.1 คามาตรฐานของเครื่องปรับอากาศ 3.3.3 ระบบปรับอากาศแบบแพ็คเกจ (Package Type) โดยใชท่อส่งลมเย็นระบบปรับอากาศ ชนิดนี จะมีขนาดใหญ่ขึ นเหมาะส้าหรับบานพักอาศัยขนาดใหญ่มีพื นที่ตองการ ปรับอากาศมาก อาจมี จ้านวนห องที่จ้าเป นตองปรับอากาศหลายห อง หลายโซน หรือหลายชั นส่วน ประกอบของ เครื่องปรับอากาศแผงคอลยเย็น คอลยร้อน และคอมเพรสเซอร จะรวมอยู่ในชุด แพ็คเกจเดียวกัน ซึ่ง โดยทั่วไปจะติดตั งวางตามหลังคา หรือพื นคอนกรีตของบาน เครื่องปรับอากาศชนิดนี โดยสวนมากจะใชใน อาคารธุรกิจขนาดเล็ก โดยมีทอสงลมเย็นและทอลมกลับซึ่งจะติดตั งอยูด้านใน แลวตอผานทะลุออกมา ตามผนังดานนอกหรือตามหลังคาของบาน แลวตอเชื่อมเขากับตัว เครื่องปรับอากาศแพ็คเกจ ซึ่งจะติดตั ง อยูดานนอกของตัวบาน ท่อสงลมเย็น (Supply Air Duct) ท้าหนาที่จายลมเย็นไปยังพื นที่ปรับอากาศ และทอลมกลับ (Return Air Duct) ท้าหนาที่น้าลมเย็นที่ได แลกเปลี่ยนความเย็นใหกับหองปรับอากาศ กลับมายังแผงท้าความเย็นอีกครั งนอกจากนี ยังมีการติดตั ง อุปกรณควบคุมการจายปริมาณลมเย็น มาตรฐาน เครื่องปรับอากาศ ค่า EER เบอร 1 6.6 เบอร 2 7.6 เบอร 3 8.6 เบอร 4 9.6

27 (Variable Air Volume, VAV) เพื่อควบคุมใหปริมาณลมเย็น เหมาะสมกับภาระการท้าความเย็นที่ ต้องการโดยเฉพาะกรณีที่มีภาระลดลงโดยที่อุณหภูมิยังคงที่แตท้า ใหเกิดการประหยัดพลังงาน ภาพที่ 3.4 ระบบปรับอากาศแบบแพ็คเกจ (Package Type) โดยใชท่อส่งลมเย็น ส่วนประกอบของระบบสงจ่ายลมเย็นของระบบปรับอากาศ ประกอบดวย - แผงทอท้าความเย็น (Cooling coil) - คอมเพรสเซอร (Compressor) - แผงทอระบายความรอน (Condenser coil) - พัดลมสงลมเย็น (Blower) - พัดลมระบายความรอน (Condenser fan) - แผนกรองอากาศ (Air filter) - หนากากเครื่องที่มีแผ่นเกล็ดกระจายลมเย็น (Louver) - อุปกรณควบคุมส้าหรับการควบคุมอุณหภูมิหอง - อุปกรณปอนสารท้าความเย็น (Metering device)

28 - ทอสงลมเย็นและทอน้ากลับลมเย็น (Supply และ Return Air Duct) - หัวกระจายลมเย็น (Diffusers และ Return Grilles) พรอม Flexible Duct และ Handle Volume Damper - ตัวควบคุมปริมาณลมเย็น (Variable Air Volume, VAV) - ตัวปรับความเร็วรอบของพัดลมสงลมเย็น (Variable Speed Drive, VSD) ภาพที่ 3.5 Variable Air Volme นอกจากความเย็นที่ไดรับจากแผงคอลยเย็นที่ติดตั งอยูภายในบานแลว บางครั งหากมีความ จ้า เปนตองใชน ้ารอนภายในบานพัก ที่อยูอาศัย ความรอนที่ระบายทิ งที่คอลยร้อนนั นสามารถน้ามาผลิตและ เก็บน ้ารอนไวใช้งานภายในบานไดท้า ใหลดการใช้พลังงานลงในเครื่องปรับอากาศ 3.3.4 การประยุกตใชงานเทคโนโลยีสภาพที่เหมาะสมในการใช้งาน เนื่องจากประเทศไทยตั งอยู ในเขตภูมิอากาศที่มีอากาศรอนชื นเกือบตลอดทั งป ดังนั นการใช เครื่องปรับอากาศเพื่อท้าความเย็นใหเกิด ความรูสึกสบายแกผูอาศัยในบานพักจึง ไดรับความนิยม มากแตเนื่องจากเครื่องปรับอากาศเปนอุปกรณที่ ใชไฟฟา ดังนั นในการใชเครื่องปรับอากาศจ้าเป็น ต้องทราบถึงการเลือกชนิดและขนาดของเครื่องให เหมาะสม การติดตั งการใชงานและกาบ้ารุงรักษาที่ถูกวิธีด้วย

29 3.3.5 การออกแบบระบบปรับอากาศในบาน เพื่อใหเครื่องปรับอากาศท้างานไดอยางประหยัด และมีประสิทธิภาพ ควรมีการออกแบบหรือปรับ ปรุงสิ่งแวดลอมรอบตัวบานและบริเวณหองที่จะติดตั ง เครื่องปรับอากาศ ดังนี - หากหองที่ท้าการปรับอากาศมีกระจกสวนใหญหันไปทางทิศตะวันออก ทิศตะวันตก หรือทิศใตควรปลูกต้นไมใหญบังแดดใหกับกระจก เพื่อปองกันแสงแดดสองมายังบริเวณพื นที่ปรับอากาศ โดยตรง นอกจากนี ตนไมยังท้าให้อากาศนอกอาคารมีอุณหภูมิต่้าลงชวยลดปริมาณความรอนที่ถายเทเขาสู ห้องอีกดวย - หากไมสามารถปลูกตนไมได ควรติดตั้งกันสาดที่ดานนอกอาคารหรือติดผามานหรือมูลี่ สีออนที่ สามารถปรับมุมใบเกล็ดไวด้านหลังกระจกดานทิศตะวันออก ทิศตะวันตกและ ทิศใต เพื่อปองกัน ไม่ใหแสงแดดสอง ผานแผนกระจกเขามาในหอง - เหนือฝาเพดานที่เปนหลังคาหากสามารถปูแผนใยแกวที่มีความหนา 1 นิ ว ชนิดมีแผ นอลูมิเนียมฟอยลหุ้มแผนใยแกวไวทั งหมดเหนือแผนฝา จะชวยลดการสงผานรังสีความรอนจากดวงอา ทิตยเข้าสูห้องที่มีการปรับอากาศได - พัดลมระบายอากาศของหองอาหาร หองรับแขก หองนั่งเลน ที่มีการปรับอากาศ ตอง มีขนาดไม เกิน 6 นิ ว และเปดเฉพาะกรณีที่จ้าเปนเทานั นเชน เพื่อระบายกลิ่นอาหาร หรือควันบุหรี่ เพื่อป องกันไม่ใหมีการดูดเอาอากาศเย็นภายในหองทิ งออกไปมากเกินควรท้าใหหองไมเย็น และครื่องปรับ อากาศตองท้างานหนัก ควรสูบบุหรี่นอกหองปรับอากาศเพื่อปองกันไม่ใหอากาศภายในหองสกปรก - ภายในหองนอนไมควรติดตั งพัดลมระบายอากาศ หากมีหองน ้าติดกับหองนอน อาจติด พัดลม ระบายอากาศที่มีขนาดไมเกิน 6 นิ วไวภายในหองน ้าก็ได แตควรเปดเฉพาะเมื่อมีการใชหองน ้า เท่านั น - ควรอุดรูรั่วรอบหองใหสนิท เพื่อปองกันมิใหอากาศรอนภายนอกรั่วซึมเขาสูหอง หนาต างบานเกล็ดไมว่าจะเปนบานเกล็ดไมหรือเกล็ดกระจก มักมีชองวางระหวางแผนเกล็ดมาก ควรแกไขหรือ เปลี่ยนใหม

30 - ควรทาสีผนังภายนอกอาคารดวยสีขาวหรือออน จะชวยลดการดูดซับความรอน ผาน ผนังไดดีหรือสะทอนรังสีความรอนออกใหมากที่สุด - เลือกเครื่องปรับอากาศที่ประหยัดไฟ หรือติดฉลากเบอร 5 ซึ่งมีคา EER สูงที่สุด เพราะจะท้าใหประหยัดไฟมากกวาในการความเย็นที่เทากัน - เลือกขนาดของเครื่องปรับอากาศใหพอเหมาะกับขนาดของหองและภาระการท้างาน เครื่องปรับอากาศขนาดใหญเกินไปท้าใหเครื่องคอมเพรสเซอรตัดตอการท้างานบอยครั ง เปน สาเหตุให เครื่องคอมเพรสเซอรสึกหรอเร็ว สวนการเลือกเครื่องปรับอากาศที่มีขนาดเล็กเกินไป ท้าใหคอมเพรสเซอร ไมท้างานตลอด อุณหภูมิ หองอาจไมเย็นตามที่ตองการ ขนาดของเครื่องปรับอากาศที่ใชท้าความเย็นใหแกหองตางๆ ภาย ในบานโดยเฉลี่ยความสูงของหอง โดยทั่วไปที่ 2.5-3 เมตร อาจประมาณคราวๆ จากคาตอไปนี - ห้องรับแขก ห้องอาหาร ประมาณ 15 ตร.ม./ตันความเย็น - ห้องนอนทเพดานหองเปนหลังคาประมาณ 20 ตร.ม./ตันความเย็น - ห้องนอนที่เพดานหองเปนพื นของอีกชั นหนึ่ง ประมาณ 23 ตร.ม./ตันความเย็น( 1 ตัน ความเย็น มีคาเทากับ 12,000 บีทียูตอชั่วโมง) - เลือกต้าแหนงส้าหรับการติดตั งสวนท้าความเย็น (คอลยเย็น) ในต้าแหนงที่การกระจาย ลมเย็นทั่วทั งหอง - เลือกต้าแหนงส้าหรับการติดตั งสวนระบายความรอน (คอลยร้อน) ในต้าแหนงที่ เหมาะสมงาย ตอการบ้ารุงรักษาและอากาศถายเทได้สะดวก 3.3.6 การติดตั งระบบปรับอากาศ การติดตั งเครื่องปรับอากาศที่ไมถูกตองจะสงผลใหสิ นเปลือง พลังงานสูงขึ น ดังนั นควรพิจารณาถึง หลักเกณฑโดยทั่วไปในการติดตั งเครื่องปรับอากาศที่เหมาะสมดังนี - สวนคอลยรอน (Condensing Unit) ควรติดตั งหางจากชองเปดหรือบริเวณหนาตาง เพื่อปองกันเสียงรบกวนและความรอนเขาสูภายในบ้าน

31 ภาพที่ 3.6 การระบายอากาศของคอล์ยร้อน - ควรติดตั งสวนระบายความรอนของเครื่องปรับ - อากาศโดยหลีกเลี่ยงการระบายความรอนเขาหากัน - ควรติดตั งใกลกับสวนจายลมเย็น (คอลยเย็น) เพื่อจ้ากัดระยะของท่อน ้ายาใหสั นที่สุด - ควรติดตั งทอระบายน ้าทิ งใหมีความลาดเอียงเพื่อปองกันการเออลนของน ้าทิ ง - ควรหุมทอสารท้าความเย็นจากคอลรอนไปยังแผงทอท้าความเย็น (Cooling coil) ข เครื่องแบบ แยกสวนดวยฉนวนที่มีความหนาประมาณ 0.5 นิ ว หรือตามที่ผูผลิตแนะน้า เพื่อปองกัน มิใหมีสารท้าความเย็นภายในท่อแลกเปลี่ยนความร้อนกับอากาศภายนอกตามเส้นท่อ - ต้าแหนงติดตั งคอลยรอน (หรือเครื่องแบบหนาตาง) ควรอยูในที่รมไมถูกแสงแด

32 ภาพที่ 3.7 ต้าแหนงที่เหมาะสมติดตั งคอลยรอน 3.3.7 สวนคอลยเย็น (Fan Coil Unit) - ควรติดตั้งในต้าแหนงของคอลยเย็นที่สามารถกระจายลมเย็นไดสม่้าเสมอทั่วทั้งหองอย าติดตั้งเครื่องในมุมอับ - อยาใหสิ่งของกีดขวางทางไหลของอากาศเพราะจะท้าใหอากาศหมุนเวียนไมสะดวก - บริเวณที่ติดตั้งเครื่องต้องแข็งแรงสามารถรับน้้าหนักและแรงสั่นสะเทือนจากการ ท้างานได้หลีกเลี่ยงการวางแผงคอลยเย็นใกลกับประตูหนาตางหรือพัดลมดูดอากาศ - ควรวางแผงคอลยเย็น ในบริเวณที่สามารถตรวจซอมภายหลังไดอยางสะดวก - อยาตั้งชิดผนังที่โดนแดดจัดเพราะจะท้าใหไดรับความรอนจากภายนอกไดงาย - พยายามติดตั้งคอยลเย็นใหอยูใกลกับคอลยร้อนจะท้าใหประสิทธิภาพสูงสุด

33 3.3.8 การใชงานเครื่องปรับอากาศ การใชงานเครื่องปรับอากาศอยางถูกตอง ชวยใหเครื่อง ท้างานอยางมีประสิทธิภาพ และประหยัดพลังงานไฟฟา สามารถท้าโดยวิธีการดังตอไปนี้ - ปรับตั้งอุณหภูมิของหองใหเหมาะสม หองรับแขก หองนั่งเลน และหองอาหาร อาจตั้ง อุณหภูมิไมใหต่้ากว่า 25 องศาเซลเซียล ส้าหรับหองนอนนั้นอาจตั้งอุณหภูมิสูงกวานี้ได ทั้งนี้เพราะราง กายมนุษย ขณะหลับมิไดเคลื่อนไหว อีกทั้งการคายเหงื่อก็ลดลง หากปรับอุณหภูมิ เปน 26-28 oC ก็ไม ท้าใหรูสึกรอนเกินไปแตจะช่วยลดการใชไฟฟาไดประมาณรอยละ 15-20 - ปดเครื่องปรับอากาศทุกครั้งที่เลิกใชงาน หากสามารถทราบเวลาที่แนนอน ควรตั้ง เวลาการท้างานของตัวเครื่องไวลวงหนา เพื่อใหเครื่องหยุดเองโดยอัตโนมัติ - อยาน้าสิ่งของไปกีดขวางทางลมเขาและลมออกของคอนเดนซิ่งยูนิตจะท้าให เครื่อง ระบายความร้อนไมออกและตองท้างานหนักมากขึ้น - อยาน้ารูปภาพหรือสิ่งของไปขวางทางลมเขาและลมออกของคอยลเย็นจะท้าใหการ กระจายของ ลมไมดี เปนสาเหตุท้าใหห้องไมเย็น - ควรเปดหลอดไฟและอุปกรณไฟฟาตางๆ ภายในหองเฉพาะเทาที่จ้าเปนตอการใชงาน เทานั้น และปดทุกครั้งเมื่อใชงานเสร็จ เพราะหลอดไฟและอุปกรณไฟฟาบางชนิดขณะเปดใชงาน จะมี ความรอนออกมาท้าใหอุณหภูมในหองสูงขึ้น - หลีกเลี่ยงการน้าเครื่องครัว หรือภาชนะที่มีผิวหนารอนจัด เชน เตาไฟฟา กะทะรอน หมอตมน้้า หมอตม สุกี้ เขาไปในหองที่มีการปรับอากาศ ควรปรุงอาหารในครัว แลวจึงน้าเขามา รับประทานภายในหอง - ในชวงเวลาที่ไมใชหองหรือกอนเปดเครื่องปรับอากาศสัก 2 ชั่วโมง ควรเปดประตูหน าตางทิ้งไว เพื่อใหอากาศบริสุทธิ์ภายนอกเขาไปแทนที่อากาศเกาในหอง จะชวยลดกลิ่นตาง ๆ ใหนอยลง โดยไมจ้าเปนตองเปิดพัดลมระบายอากาศซื่งจะท้าใหเครื่องปรับอากาศท้างานหนักขึ้น - ควรปดประตูหนาตางใหสนิทขณะใชงานเครื่องปรับอากาศ เพื่อปองกันมิใหอากาศร อนชื้นจากภายนอกเข้ามา จะทาใหเครื่องต้องท้างานมากขึ้น

34 - ไมควรปลูกตนไม หรือตากผาภายในหองที่มีเครื่องปรับอากาศเพราะความชื น จากสิ่ง เหลานี จะท้าใหเครื่องตองท้างานหนักขึ น เนื่องจากการลดความชื นจะใชพลังงานมากกวาการท้าให อุณหภูมิอากาศเย็นลง - เพิ่มการจายลมเย็นส้าหรับพื นที่ที่มีกิจกรรมมากๆ เช น ห้องรับแขกและหอง รับประทานอาหาร - ลดการจายลมเย็นและปรับตั งอุณหภูมิไมใหเย็นมากส้าหรับพื นที่ที่มีกิจกรรมนอยๆเช นห้องนอนและห้องนั่งเล่น 3.3.9 การบ้ารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ การบ้ารุงรักษาที่ถูกตองและสม่้าเสมอ ท้าให เครื่องปรับอากาศมีอายุใชงานไดยาวนาน มีประสิทธิภาพสูง และประหยัดพลังงานไฟฟาตลอดเวลา ซึ่ง ควรปฏิบัติดังนี้ - ควรท้าความสะอาดแผนกรองอากาศทุกๆ 2 สัปดาห เนื่องจากแผนกรองอาจอุดตัน จากฝุนผง เปนสาเหตุท้าใหการไหลของอากาศที่ไมสะดวก ท้าใหเครื่องปรับอากาศไมสามารถจายความ เย็นไดเต็มที่ตลอดเวลา - ควรท้าความสะอาดแผงทอท้าความเย็นดวยแปรงนิ่มๆ และน ้าผสมสบูเหลวอยางออน ทุก 6 เดือน เพื่อใหเครื่องท้าความเย็นไดอยางมีประสิทธิภาพอยูเสมอ - ท้าความสะอาดพัดลมสงลมเย็นดวยแปรงขนาดเล็ก เพื่อขจัดฝุนละอองที่จับกันเปนแผ นแข็งและ ติดกันอยูตามซี่ใบพัดทุกๆ 6 เดือน จะท้าใหพัดลมสงลมไดเต็มสมรรถนะ และนอกจากนี ฝุนผง ที่ เกาะบนพัดลมอาเป็นสาเหตุท้าใหพัดลมสั่นหรือท้างานหนัก - ท้าความสะอาดแผงทอระบายความรอน โดยการใชเแปรงนิ่มๆ และน ้าฉีด ลางทุกๆ 6 เดือน เพื่อใหเครื่องสามารถน้าความรอนภายในหองออกไปทิ งใหแกอากาศภายนอกไดอยางมี ประสิทธิภาพ โดยการถายเท ความรอนที่สูง

35 - หากปรากฏวาเครื่องไมเย็นเพราะสารท้าความเย็นรั่วตองรีบตรวจหารอยรั่วแลว ท้า การแกไข พรอมเติมใหเต็มโดยเร็ว มิฉะนั นเครื่องจะใชพลังงานไฟฟาโดยไมท้าใหเกิดความเย็นแตอยางไร - ตรวจสอบฉนวนหุมทอสารท้าความเย็นอยางสม่้าเสมอ อยาใหเกิดฉีกขาด - ตรวจสอบฉนวนหุมทอสงลมเย็นของระบบปรับอากาศแบบแยกสวน ชนิดแพคเกจ (Package Type) โดยใชทอสงลมเย็น 3.3.10 การใชประโยชนจากความรอนทิ้งของระบบปรับอากาศ ถังผลิตและเก็บน้ํารอนจาก เครื่องปรับอากาศ โดยการน้าทอสารท้าความเย็นที่ออกจากคอนเดนเซอรซึ่งมีอุณหภูมิสูงไปต่อเขากับถัง ผลิตและเก็บน้้ารอนเพื่อ ถายเทความรอนใหกับน้้าในถัง ท้าใหน้้าในถังรอนขึ้น กอนจะสงทอสารท้าความ เย็นเขา เครื่องระบายความรอน การถายเทความรอนจากทอสารท้าความเย็นใหกับน้้าในถังดังกลาวท้าให เครื่องปรับอากาศท้างานน้อยลงชวยในการประหยัดพลังงาน การใชงานถังผลิตและเก็บน้้ารอนจาก เครื่องปรับอากาศเหมาะส้าหรับบานพักอาศัย ที่มีการใชเครื่องปรับอากาศซึ่งสามารถผลิตน้้ารอนไดโดยไม ตองใชพลังงานเพิ่มน้้ารอนที่ผลิตไดสามารถเก็บสะสมไวในถังซึ่งมีฉนวนปองกันการสูญเสียความรอนเพื่อ จะน้าไปใช้ในกิจกรรมตางๆเชนอาบน้้าซักลาง ลางถวยและชาม เปนตน 3.3.11 การผลิตน้้าร้อนจากความรอนเหลือทิ้งของเครื่องปรับอากาศ ส้าหรับการผลิตน้้ารอนจาก ความรอนเหลือทิ้งของเครื่องปรับอากาศ โดยการติดตั้งเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนตรงชวงระหวางคอม เพรสเซอรกับคอนเดนซิ่ง จากผลการศึกษาพบวาคุณลักษณะเชิงเทคนิค มีดังนี้ - สามารถผลิตน้้ารอนไดที่อุณหภูมิประมาณ 40-90 oC โดยขึ้นอยูกับอัตราการไหลที่ใช - สามารถผลิตน้้ารอนได้เฉพาะในชวงเวลาที่อุปกรณ ผลิตความรอนท้างาน (คอมเพรสเซอร์) - ตองการสถานที่ติดตั้งเล็กน้อยเทานั้น - ไมกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม - ตองการการดูแลบ้ารุงรักษาบางเพียงเล็กนอย - สามารถผลิตน้้ารอนที่อุณหภูมิจาก 25 ถึง 60 องศาเซลเซียล ไดประมาณ 33.5-45.5 ลิตร/ตัน-ชม.

36 3.3.12 ถังผลิตและเก็บน้้ารอนจากเครื่องปรับอากาศ - ถังหุมภายนอกสแตนเลส - ถังแรงดันภายในสแตนเลส - ฉนวนกันความรอน, - ทอแลกเปลี่ยนความรอนสแตนเลส (ตอกับวงจรน ้ายาของคอนเดนซิ่งยูนิต) - ทอน ้ารอนออก - ทอน ้าเย็นเขา - ชองฮีทเตอรไฟฟา (อุปกรณเสริมกรณีไมได้เปิดเครื่องปรับอากาศ) ภาพที่ 3.8 ถังผลิตและเก็บน้้ารอนจากเครื่องปรับอากาศ 3.3.13 ประสิทธิภาพและคุณสมบัติพิเศษ - เครื่องปรับอากาศที่ติดตั งระบบเครื่องท้าน ้ารอนแบบใชความรอนเหลือทิ งจาก เครื่องปรับอากาศ สามารถใหความเย็นไดมากกวาเครื่องปรับอากาศทั่วไป เนื่องจากน ้าจะชวยระบาย ความรอนใหกับสารท้าความเย็นไดดีกวาอากาศในขณะอากาศรอน - ประหยัดคาใช้จ่ายในการผลิตน ้ารอนเนื่องจากไดน ้ารอนฟรี

37 - ลดการใชไฟฟาของเครื่องท้าความเย็นหรือเครื่องปรับอากาศลงกวาปกติประมาณ 5- 10% ซึ่งจะประหยัด คากระแสไฟฟาอีก 30-40 % เมื่อเทียบกับเครื่องปรับอากาศทั่ว ๆ ไป 3.3.14 หลักเกณฑการเลือกซื้อเครื่องปรับอากาศ - ควรเลือกซื้อเครื่องปรับอากาศจากผูผลิตและผูจ้าหน่ายที่เชื่อถือได เพราะ เครื่องปรับอากาศที่ ขายในทองตลาดมีทั้งที่ไดมาตรฐานและไมไดมาตรฐาน สวนใหญจะมีก้าลังความเย็น (BTU) น้อยกวาที่แสดงไวบนฉลาก หรือที่ภาษาชางแอร เรียกวาไม่เต็มบีทียู เครื่องปรับอากาศจาก ผูผลิต ที่ไมได้มาตรฐานสวนใหญมีก้าลังความเย็นเพียง 70-80% ของที่โฆษณาไวนอกจากจะมีก้าลังความเย็นไม เต็มบีทียูแล้วยังมีเสียงดังแลวยังเสียเร็วด้วย - ควรเลือกใชเครื่องปรับอากาศ ที่มีฉลากประหยัดไฟเบอร 5 หรือเบอร 4 และได มาตรฐานอุตสาหกรรม(มอก.) เพราะไดรับการทดสอบความสามารถในการท้าความเย็นแลว ซึ่งท้าใหท านแนใจไดว่าจะได้เครื่องปรับอากาศทที่ประหยัดไฟฟาและมีประสิทธิภาพเต็มบีทียู นอกจากนี้ ควร พิจารณาประกอบกับผูผลิตที่มีความน่าเชื่อถือดวยเนื่องจากวาอาจจะมีผูผลิตบางรายปลอมฉลากเบอร 5 ด้วย - เลือกใชเครื่องปรับอากาศของผูผลิตและผูจัดจ้าหนายที่มีบริการหลังการขายที่ดีเปนค วามส้าคัญมากและผูใหบริการนั้นจะตองมีความช้านาญและไดมาตรฐาน - มีมาตรฐานรับรองเชน มอก. CE JIS ISO เปนตน - การเลือกเครื่องตองเหมาะกับหองปรับอากาศ เนื่องจากการใชงานติดตอกันไมนอยก ว่า18ปีและอากาศจะมีอุณหภูมิสูงขึ้นทุกป - ส้าหรับกรณีที่เปนระบบปรับอากาศแบบแยกสวน ชนิดแพคเกจ (Package Type) โดย ใชทอส่งลมเย็นตองมีการออกแบบและติดตั้งระบบทอ อุปกรณวัดอุณหภูมิที่เหมาะสม - ศักยภาพการประหยัดพลังงาน การเลือกเครื่องปรับอากาศประสิทธิภาพสูง (เบอร 5) ซึ่งมีคา EER ไมต่้ากวา 10.6 จะประหยัด กวาเครื่องปรับอากาศทั่วไปซึ่งมีคา EER ประมาณ 7.0-8.0 เท านั้น

38 3.3.15 ตารางเปรียบเทียบคาไฟฟาที่ใชตอเดือนเมื่อใชเครื่องปรับอากาศขนาด 2 ตัน มาตรฐาน เครื่องปรับ อากาศ ค่า EER คา ก าลังไฟฟา (กิโลวัตต) กิโลวัตต ต่อตัน ความ เย็น คาไฟฟา (บาทต่อเดือน) 6 ชั่วโมง/ วัน 8 ชั่วโมง/ วัน 24 ชั่วโมง/ วัน เบอร์ 1 6.6 3.64 1.82 1,466 1,955 5,865 เบอร์ 2 7.6 3.16 1.58 1,273 1,698 5,093 เบอร์ 3 8.6 2.79 1.40 1,125 1,500 4,501 เบอร์ 4 9.6 2.50 1.25 1,008 1,344 4,032 เบอร์ 5 10.6 2.26 1.13 913 1,217 3,652 ตารางที่ 3.2 ตารางเปรียบเทียบคาไฟฟาที่ใชตอเดือนเมื่อใชเครื่องปรับอากาศขนาด 2 ตัน หมายเหตุ : ก้าหนดให 1 เดือนเทากับ 30 วัน ค่าไฟฟา 2.8 บาทตอหนวย Load Factor เทากับ 80 % 3.4 ระบบปรับอำกำศภำยในรถยนต์ ภาพที่ 3.9 ระบบปรับอากาศภายในรถยนต์

39 3.4.1 ระบบปรับอากาศภายในรถยนต์ เป็นระบบท้าความเย็นแบบอัดไอหรือก๊าซ (Vapor Compression System) โดยที่คอมเพรสเซอร์ (Compressor) จะดูดสารท้าความเย็นจากอีวาโปเรเตอร์ (Evaporator) หรือเปรียบเสมือนปั้มน้้าภายในบ้านต่างกันเพียงแต่ปั้มน้้าจะดูดน้้าที่เป็นของเหลว แต่ คอมเพรสเซอร์แอร์จะดูดสารท้าความเย็นซึ่งมีสถานะเป็นไอหรือก๊าซ โดยคอมเพรสเซอร์ (Compressor) จะท้าหน้าที่อัดสารท้าความเย็นออกไปที่คอนเดนเซอร์ (Condenser) ท้าให้สารท้าความเย็นมีอุณหภูมิ และความดันเพิ่มสูงขึ้น และเมื่อมีแรงดันที่เพียงพอคอมเพรสเซอร์จะถูกตัดการท้างานโดยเทอร์โมสตัท (Thermostat) หรือเทอร์มิสเตอร์ (Thermister) เป็นตัวชี้วัดว่าเวลาไหนคอมเพรสเซอร์ต้องท้างานและ เมื่ออุณหภูมิในห้องโดยสารต่้าจนได้อุณหภูมิที่อยู่ในระดับพอดี เทอร์โมสตัท (Thermostat) หรือเทอร์ มิสเตอร์ (Thermister) จะสั่งให้คอมเพรสเซอร์หยุดการท้างาน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดแรงดันที่สูงจนเกินไป ซึ่งอาจจะเป็นอันตราย อาจเกิดการระเบิดของท่อทางต่าง ๆ ของระบบน้้ายาได้ แต่ในระบบของรถรุ่นใหม่ จะมีเซนเซอร์ที่ตรวจจับแรงดันและมีตัวระบายน้้ายาออกหากเกิดแรงดันที่สูงเกินค่าก้าหนด จากนั้นเมื่อ สารท้าความเย็นไหลผ่านแผงคอนเดนเซอร์ (Condenser) ที่อยู่ในต้าแหน่งด้านหน้าของรถ หรือที่ทางช่าง เรียกว่า “แผงรังผึ้ง” ซึ่งจะท้าหน้าที่ให้อุณหภูมิของสารท้าความเย็นลดต่้าลง จากนั้นสารท้าความเย็นจะ ควบแน่นกลายเป็นของเหลว และไหลต่อไปยังรีซีฟเวอร์ (Receiver) หรือไดร์เออร์ (Drier) เพื่อกรองสิ่ง สกปรกและความชื้นที่ปนเปื้อนในสารท้าความเย็น หรือตัวกรองสารท้าความเย็น ซึ่งตัวกรองนี้จะต้องมี การเปลี่ยนไส้กรองตามระยะทางที่ก้าหนด หรือเมื่อมีการเปิดระบบของท่อทางน้้ายาแอร์ เพื่อป้องกันการ อุดตันของท่อทางน้้ายาแอร์ที่จะต้องไหลไปที่เอ็กเพ็นชั่นวาล์ว (Expansion Valve) หรือวาล์วแอร์ ซึ่งจะ ท้าหน้าที่ฉีดสารท้าความเย็นหรือน้้ายาแอร์ให้เป็นฝอยละอองเข้าไปในอีวาโปเรเตอร์ (Evaporator) หรือตู้ แอร์ เพื่อท้าให้สารท้าความเย็นมีความดันต่้าและเกิดการแลกเปลี่ยนความร้อนภายในห้องโดยสารให้มี อุณหภูมิที่ต่้าลง จากนั้นเมื่อน้้ายาแอร์มีสถานะกลายเป็นก๊าซก็จะถูกดูดเข้าไปในคอมเพรสเซอร์ (Compressor) เพื่อเริ่มต้นการท้างานใหม่อีกครั้ง เครื่องปรับอากาศรถยนต์มีอยู่ 2 แบบ - .แบบเทอร์โมสตัท เทอร์โมสตัทประกอบด้วยส่วนประกอบส้าคัญ 2 ส่วน คือ สวิตซ์ ปรอท (mercury switch) และขดลวดเทอร์โมมิเตอร์ สวิตซ์ปรอทเป็นหลอดแก้วขนาดเล็กที่มีปรอทบรรจุ อยู่เล็กน้อย ภายในหลอดแก้วมีเส้นลวด 3 เส้น เส้นแรกพาดไปตามความยาวที่ก้นหลอด ส่วนอีก 2 เส้น ต่ออยู่กับปลายด้านซ้ายและขวาของหลอดแก้ว ส่วนขดลวดเทอร์โมมิเตอร์ประกอบขึ้นจากโลหะ 2 ชนิด

40 ซึ่งมีการขยายหรือหดตัว เมื่อได้รับความร้อนแตกต่างกันมาประกบกันและม้วนเป็นก้นหอย โดยปลายข้าง หนึ่งจะติดกับสวิตซ์ปรอท เมื่อต้องการให้เครื่องปรับอากาศท้างานจะต้องสับสวิตซ์ท้าให้สวิตซ์ไปหมุน ขดลวดและสวิตซ์ปรอทและปรอทจะไหลไปในทิศทางตรงกันข้ามกันจนกระทั่งสัมผัสกับเส้นลวด ท้าให้ กระแสไฟฟ้าครบวงจรและเครื่องปรับอากาศท้างาน ท้าให้อุณหภูมิในห้องเย็นลงขดลวดเทอร์โมมิเตอร์ก็ จะหดตัวเข้าอย่างช้า ๆ ดึงให้สวิตซ์ปรอทเอียงไปอีกทางจนกระทั่งปรอทไม่สัมผัสกับเส้นลวด วงจรก็จะ ขาดและเครื่องปรับอากาศก็จะหยุดท้างาน หรือที่เรียกว่า “ตัด” อุณหภูมิในห้องก็จะอุ่นขึ นเรื่อย ๆ จากนั นขดลวดเทอร์โมมิเตอร์ก็จะเริ่มคลายตัวออกและวงจรติดเครื่องปรับอากาศก็จะกลับท้างานอีกครั ง - เทอร์มิสเตอร์ เป็นสารกึ่งตัวน้าที่การเปลี่ยนแปลงค่าความต้านทาน โดยเมื่ออุณหภูมิ เพิ่มสูงขึ นค่าความต้านทานจะลดต่้าลง และเมื่ออุณหภูมิลดลงค่าความต้านทานของเทอร์มิสเตอร์จะสูงขึ น เทอร์มิสเตอร์จะยึดตัวอยู่กับครีบของอีวาโปเรเตอร์และจะรับอุณหภูมิจากผิวของครีบ อุณหภูมิจะถูก ควบคุมโดยการเปรียบเทียบสัญญาณจากเทอร์มิสเตอร์และสัญญาณจากความต้านทานที่ควบคุมอุณหภูมิ จากนั นแอมพริฟลายเออร์จะส่งผลไปยังคลัทช์แม่เหล็กให้จับและปล่อย ดังนั นจึงเป็นเหตุให้สารท้าความ เย็นไหลจากคอมเพรสเซอร์ไปยังอีวาโปเรเตอร์หรือตัดการไหลของสารท้าความเย็น จากผลอันนี อุณหภูมิ ของอีวาโปเรเตอร์จึงมีการเปลี่ยนแปลง ดังนั น จึงเป็นการควบคุมอุณหภูมิของอากาศที่ผ่านออกจากอีวา โปเรเตอร์และการท้างานแต่ละส่วนของส่วนประกอบต่างๆดังนี 3.4.2 ส่วนประกอบของระบบปรับอากาศรถยนต์ - คอมเพรสเซอร์ (Compressor) - คอนเดนเซอร์ (Condenser) - เอ็กเพ็นชั่นวาล์ว (Expansion Valve) - อีวาโปเรเตอร์ (Evaporator) - รีซีฟเวอร์ไดร์เออร์ (Receive-Dryer) 3.4.2.1 คอมเพรสเซอร์(Compressor) ทีใช้ในเครื่องปรับอากาศติดรถยนต์ จะเป็นแบบ เปิด และจะยึดติดอยู่กับเครื่องยนต์โดยใช้ก้าลังของเครื่องยนต์มาหมุนให้คอมเพรสเซอร์ท้างาน โดยใช้ สายพานและจะมีแมกเนติคคลัทช์ในการควบคุมให้คอมเพรสเซอร์ท้างานและหยุดงาน เป็นอุปกรณ์ที่ท้า หน้าที่สูบฉีดสารท้าความเย็นให้ไหลวนในระบบปรับอากาศ โดยดูดสารท้าความเย็นสถานะไอความดันต่้า

41 จากตู้แอร์ และเพิ่มความดันเพื่อเปลี่ยนสถานะสารท้าความเย็นเป็นไอความดันสูงก่อนที่จะส่งต่อไปที่ คอนเดนเซอร์ ในปัจจุบันคอมเพรสเซอร์รุ่นใหม่จะประกอบไปด้วยหลายลูกสูบซึ่งโดยปกติแต่ละลูกสูบก็จะ มี 1 suction และ 1 discharge โดย Suction คือวาวล์ด้านดูดซึ่งจะดูดสารท้าความเย็นมาจากตู้แอร์ และ Discharge คือวาวล์ด้านปล่อย ซึ่งจะปล่อยสารท้าความเย็นไปที่คอนเดนเซอร์ ภาพที่ 3.10 คอมเพรสเซอร์(Compressor) 3.4.2.2 คอนเดนเซอร์ (Condenser) ท้าหน้าที่ ปรับสารท้าความเย็นที่มีความดันสูง อุณหภูมิสูง ในสถานะแก๊ส จากคอมเพรสเซอร์ (Compressor) แล้วจะเข้าคอนเดนเซอร์ซึ่งท้าหน้าที่เป็น ตัวถ่ายเทความร้อนของสารท้าความเย็นที่ได้รับความร้อนมาจากที่อีวาโปเรเตอร์และจากกระบวนการอัด ท้าให้สารท้าความเย็นมีอุณหภูมิต่้าลง ในสถานะของผสม (แก๊สผสมของเหลว) และส่งต่อไปยังรีซีฟเวอร์ ไดร์เออร์ (Receive-Dryer) เนื่องจากคอนเดนเซอร์ติดตั้งอยู่หน้าหม้อน้้ารถยนต์ ขณะวิ่งอากาศจะปะทะ คอนเดนเซอร์ก่อน ดังนั้นโอกาสที่จะมีฝุ่นละออง หรือตัวแมลงติดคอนเดนเซอร์จะมีมาก จะท้าให้ คอนเดนเซอร์ระบายไม่ดี น้้ายาแก๊สจะเปลี่ยนเป็นน้้ายาเหลวไม่หมด ท้าให้แอร์ไม่ค่อยเย็น จึงควรท้าความ สะอาดคอนเดนเซอร์บ่อย ๆ โดยใช้น้้าล้างและใช้แปรงถูตลอดจนใช้ลมเป่าด้วยการระบายความร้อนออก จากคอนเดนเซอร์ในงานปรับอากาศรถยนต์ นั้นขึ้นอยู่กับการวางเครื่องยนต์หรือระบบการขับเคลื่อนของ รถยนต์แต่ละแบบ แต่ละชนิด ซึ่งสามารถจ้าแนกได้ดังนี้

42 - ระบายความร้อนด้วยพัดลมไฟฟ้า ซึ่งจะอยู่ในรถยนต์ที่มีการวางเครื่องยนต์ด้านหลัง หรือรถยนต์ที่มีเครื่องยนต์ขับระบบปรับอากาศโดยตรง เช่น รถโดยสารขนาดใหญ่ (รถทัวร์) - การระบายความร้อนด้วยพัดลมไฟฟ้าและอากาศ ซึ่งจะอยู่ในรถยนต์ที่มีการวาง เครื่องยนต์ด้านหน้าและขับเคลื่อนล้อหน้า โดยที่อากาศนั้นจะวิ่งปะทะในกรณีที่รถเคลื่อนที่ - การระบายความร้อนด้วยพัดลมเครื่องยนต์และอากาศ ซึ่งจะอยู่ในรถยนต์ที่มีการวาง เครื่องยนต์ด้านหน้าและขับเคลื่อนล้อหลัง โดยที่อากาศนั้นจะวิ่งปะทะในกรณีที่รถเคลื่อนที ภาพที่ 3.11 คอนเดนเซอร์ (Condenser) 3.4.2.3 เอ็กเพ็นชั่นวาล์ว (Expansion Valve) หรือ ตัวควบคุมน้้ายา (Refrigerant Control) ท้าหน้าที่ ควบคุมอัตราการไหลของสารท้าความเย็นก่อนเข้าอีวาโปเรเตอร์ โดยการลดความดัน ของสารท้าความเย็นที่เป็นของเหลวความดันสูงให้เป็นก๊าซที่มีความดันต่้า เพื่อรักษาความเย็นให้มี ประสิทธิภาพสูงที่สุดโดยการควบคุมปริมาณน้้ายาเดือดหมดพอดีในอีวาโปเรเตอร์ ตัวควบคุมน้้ายา เครื่องปรับอากาศติดรถยนต์นิยมใช้แบบใช้เทอร์โมสแตติคเอ็กเพ็นชั่นวาล์ว (Thermostatic Expansion Valve) เรียกย่อๆว่า TEV,TXV มีอยู่ 2 แบบ คือ แบบ Internal Equalizer และ แบบ External Equalizer แต่ที่นิยมใช้มากคือแบบ External Equalizer

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf