การส งเสร มด านความร ของบ คลากรทางส ขภาพให ม ค ณภาพ

การนอนไม่เพียงพอ และ นอนไม่เต็มตื่นส่งผลเสียต่อร่างกายทุก ๆ คน ทำให้เสี่ยงต่อภาวะสมองเสื่อม การเสียชีวิต และเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคไม่ติดต่ออื่น อาทิ โรคอ้วน โรคหัวใจ รวมถึงปัญหาสุขภาพจิต ซึ่งปัจจัยหนึ่งของปัญหาปริมาณและคุณภาพการนอนมาจาก ‘ความเครียดที่มาจากงาน’ โดยทั่วไป กลุ่มบุคลากรทางการแพทย์มักเป็นกลุ่มที่ประสบกับปัญหาการนอนมาตลอดและอยู่ในอันดับต้น ๆ ยิ่งปัจจุบันที่อยู่ในภาวะกดดันจากสถานการณ์โรคระบาด ทำให้ประสบกับปัญหาการนอนมากขึ้น กระทบต่อสุขภาพของตนเอง ความปลอดภัยของคนไข้ รวมถึงผลิตภาพของงานการสาธารณสุขและทางเศรษฐกิจด้วย

การศึกษาที่ผ่านมาหลายชิ้นเกี่ยวกับการนอนหลับไม่เพียงพอในกลุ่มพยาบาล มี พบว่า พยาบาล 55% ทำงานมากกว่า 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และ 30-70% นอนน้อยกว่า 6 ชั่วโมงต่อวัน ในอีกการศึกษาหนึ่งพบว่า 57% ของกลุ่มผู้ให้บริการ-ดูแลสุขภาพโดยตรง ที่ต้องดูแลสุขภาพคนไข้ ‘ระยะยาว’ อย่างผู้ช่วยพยาบาล ผู้ดูแลส่วนบุคคล ผู้ดูแลสุขภาพผู้ป่วยที่บ้าน (home health aides) และพยาบาล 68% ในโรงพยาบาลมะเร็ง ประสบกับอาการ ‘นอนไม่หลับ’ (insomnia) หรือตื่นกลางดึก อีกการศึกษาหนึ่ง ที่ศึกษาเรื่องการนอนจากหลากหลายกลุ่มอาชีพ พบว่า อาชีพผู้ให้บริการ-ดูแลสุขภาพติดอันดับที่ 2 กลุ่มอาชีพที่มีช่วงเวลาการนอน (sleep duration) น้อยมาก กล่าวคือ นอนน้อยกว่า 7 ชั่วโมง เช่นเดียวกับผลของการศึกษาเมื่อปี 2561

โดยปัญหาการนอนในมิติคุณภาพและปริมาณ ได้ส่งผลเสียต่อภาระทางเศรษฐกิจด้วยในแง่ของการสูญเสียผลิตภาพของงาน (productivity) เมื่อปี 2553 ปัญหาการนอนไม่หลับของแรงงานในสหรัฐฯ เท่ากับเสียผลิตภาพของงานคิดเป็น 252.7 วัน คิดเป็นเงิน 63.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ขณะที่ปัญหาการนอนในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์ ยังมีผลเสียต่อการสาธารณสุขด้วย กล่าวคือ ส่งผลต่อความปลอดภัยของคนไข้ คุณภาพในการให้บริการสุขภาพ รวมทั้งอาจทำให้เกิดข้อผิดพลาดการทางแพทย์และการรักษา อย่างที่การศึกษาปี 2563 ระบุว่า มีกรณีที่แพทย์ไม่ได้นอนเลย ทำให้เกิดข้อผิดพลาดในการรักษาถึง 97%

การศึกษาเหล่านี้ได้ชี้ว่า สภาพแวดล้อม/เงื่อนไขการทำงานของบุคลาการทางการแพทย์ ทั้งชั่วโมงการทำงานที่ไม่เป็นเวลา การถูกเรียกให้เข้าทำงานขณะที่เป็นเวลานอนหลับ และการที่จะต้องจัดการกับโรคภัยซึ่งเป็นความเป็นความตายเร่งด่วน ล้วนส่งผลต่อคุณภาพและปริมาณการนอนหลับของบุคลากร ไม่เพียงเท่านั้น หากบุคลากรในภาคส่วนนี้ต้องรับผิดชอบงานการดูแลนอกเหนือจากที่โรงพยาบาล ในฐานะผู้ปกครองที่ดูแลบุตร หรือบุตรที่ดูแลพ่อแม่ผู้สูงวัย ย่อมกระทบกับปัญหาการนอน ไปจนถึงปัญหาสุขภาพจิตด้วยเช่นกัน

การศึกษาของทีม Soomi Lee ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้าน Aging Studies มหาวิทยาลัย South Florida พบว่าบรรดาบุคลากรทางการแพทย์มีความต้องการรับการรักษาแก้ไขปัญหาการนอนหลับ โดยสนใจวิธีการควบคุม/จัดการกับสติ (mindfulness-based strategies) ที่ให้โฟกัสกับการกระทำ-ความเป็นไปที่เกิดขึ้น ณ ขณะปัจจุบัน สังเกต เท่าทัน และยอมรับในสิ่งที่คิด สิ่งที่รู้สึก โดยเฉพาะที่การทำสมาธิทำให้ผ่อนคลายขึ้นซึ่งจะช่วยลดความเครียดจากการทำงานและลดปัญหาการนอนไม่หลับ

อย่างไรก็ดี วิธีการรักษาปัญหาการนอนหลับนั้นมีลักษณะเฉพาะตามแต่ละปัญหาของบุคคล วิธีการอื่น ๆ ที่อาจจะสามารถช่วยปรับปรุงคุณภาพการนอนของบุคลาการทางแพทย์ได้มี อาทิ การควบคุมตารางเวลาชีวิต ไปจนถึงปัจจัยแวดล้อมอย่างการได้รับการสนับสนุนจากหัวหน้างาน และการปรับสภาพแวดล้อม/เงื่อนไขของการทำงาน เป็นต้น

ประเด็นดังกล่าวเกี่ยวข้องกับ

SDG3 สุขภาพและสุขภาวะที่ดี – (3.4) ลดการตายก่อนวัยอันควรจากโรคไม่ติดต่อให้ลดลงหนึ่งในสามผ่านทางการป้องกันและการรักษาโรค และส่งเสริมสุขภาพจิตและความเป็นอยู่ที่ดี ภายใน ปี 2573

SDG8 การเติบโตทางเศรษฐกิจและงานที่ดีสำหรับทุกคน รวมถึงในด้านผลิตภาพของแรงงาน (productivity) และ (8.8) สิทธิแรงงานและส่งเสริมสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ปลอดภัยและมั่นคงสำหรับผู้ทำงานทุกคน

แหล่งที่มา: //theconversation.com/lack-of-sleep-is-harming-health-care-workers-and-their-patients-160421

Last Updated on มิถุนายน 6, 2021

Editor | อยากรู้ความคิดของคนต่างพื้นเพ ต่างสังคมและวัฒนธรรม สนใจความเป็นไปของโลก ความมั่นคง และการพัฒนา แล้วนำมาถ่ายทอดร้อยเรียงเรื่องราวเล่าให้ฟัง

Page 155 - การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค

  1. 155

` การ​เสริมพ​ ลังใ​น​การ​ส่ง​เสริมสุข​ภาพ​และก​ ารป้องกัน​โรค 5-43 เรื่อง​ที่ 5.3.2 สมรรถนะ​ท่​ีจำเป็น​ตอ่ ก​ าร​เสริม​พลังใ​นก​ าร​ดำเนนิ ​งาน​สง่ ​เสริมสขุ ภ​ าพ แ​ ละก​ ารป้องกันโ​รค เนื่องจาก​การ​เสริม​พลัง​ชุมชน​มี​แนวคิด​และ​กระบวนการ​ดำเนิน​งาน​ที่​แตก​ต่าง​จาก​การ​ทำงาน​สาธารณสุข​ ที่​เน้น​เจ้า​หน้าที่​เป็น​ศูนย์กลาง เพราะ​การ​เสริม​พลัง​ชุมชน​จะ​ต้อง​มุ่ง​สนับสนุน​และ​ส่ง​เสริม​ความ​สามารถ​ของ​ชุมชน​ ​ใน​การ​จัดการ​ป้องกัน​และ​แก้ไข​ปัญหา​สุขภาพ​ด้วย​ตนเอง โดย​มี​เจ้า​หน้าที่​สาธารณสุข​เป็น​พี่​เลี้ยง​แทน​เป็น​ผู้​สั่ง​การ​ ดัง​นั้น​บุคลากร​สาธารณ​สุข​ที่​ปฏ​บิ​ติ​งาน​ด้าน​ส่ง​เสริมสุข​ภาพ​และ​ป้องกัน​โรค​โดย​ใช้​แนวทาง​การ​เสริม​พลัง จำเป็น​ต้อง​ มี​สมรรถนะ​ที่​จำเป็น​และ​เพียง​พอ​ต่อ​การ​เสริม​พลัง​ให้​เป็น​ไป​ตาม​หลัก​การ​และ​กระบวนการ ที่​จะ​ส่ง​ผล​ให้​ชุมชน​ได้​รับ​ การเ​สริม​พลัง​และ​พึ่งพา​ตนเอง​ในก​ าร​ส่ง​เสริมสุข​ภาพแ​ ละ​ป้องกันโ​รค​อย่าง​ยั่งยืน สำหรับส​ มรรถนะท​ ี่จ​ ำเป็นต​ ่อก​ ารเ​สริมพ​ ลังช​ ุมชนแ​ บ่งอ​ อกเ​ป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแ​ รกเ​ป็นส​ มรรถนะท​ ั่วไปใ​น​ การท​ ำงานส​ ร้างเ​สริมสุขภ​ าพ​และ​ป้องกันโ​รคใ​น​ชุมชน และก​ ลุ่มท​ ี่ 2 เป็นส​ มรรถนะใ​นก​ ารส​ ่ง​เสริม​สนับสนุนศ​ ักยภาพ​ ของ​ชุมชนต​ ามแ​ นวคิดข​ อง​การเ​สริมพ​ ลัง

  1. สมรรถนะ​ทวั่ ไปใ​นก​ ารท​ ำงาน​ส่งเ​สรมิ สขุ ​ภาพแ​ ละป​ อ้ งกนั โ​รคใ​นช​ ุมชน สมรรถนะ​นี้​ประกอบด​ ้วยค​ วามส​ ามารถท​ ี่​จำเป็น​ใน​การท​ ำงาน​ส่ง​เสริมสุข​ภาพ​และ​ป้องกัน​โรคใ​น​ชุมชนที่​เน้น​ การ​ให้​ชุมชน​ได้​มี​ส่วน​ร่วม​ใน​การ​ประเมิน​ความ​ต้องการ​ของ​ชุมชน การ​วางแผน​บริการ/โครงการ​สุขภาพ​ใน​ชุมชน​

    การ​ทำงานแ​ บบห​ ุ้นส​ ่วน​และ​สร้าง​ความ​ร่วม​มือ และ​การ​ประเมิน​ผลแ​ ละพ​ ัฒนาบ​ ริการ/โครงการ​สุขภาพ​ในช​ ุมชน 1.1 การ​ประเมิน​ความ​ต้องการ​ของ​ชุมชน เป็น​ความ​สามารถ​ของ​บุคลากร​สาธารณสุข​ใน​การ​สนับสนุน​ ให้​ชุมชน​สามารถ​ค้นหา ประเมิน และ​จัด​ลำดับ​ความ​ต้องการ​ด้าน​สุขภาพ​ของ​ชุมชน (Healey and Zimmerman,​ 2010: 42) ซึ่ง​ต้องอ​ าศัย​ความส​ ามารถใ​น​กระบวน​การย​ ่อยๆ ดังนี้ 1.1.1 การร​ วบรวมข​ อ้ มลู ท​ ส​ี่ ำคญั บุคลากรส​ าธารณสุขค​ วรส​ นับสนุนข​ ้อมูลท​ ีส่​ ำคัญใ​หแ้​ กช่​ ุมชน ในข​ ณะ​ เดียวกัน​ควร​ส่ง​เสริม​ให้​แกน​นำ​ชุมชน​สามารถ​รวบรวม​ข้อมูล​ที่​จำเป็น​สำหรับ​การ​ประเมิน​ปัญหา​สุขภาพ​ของ​ชุมชน ซึ่ง​ ประกอบด​ ้วยข​ ้อมูล​ต่อไ​ปน​ ี้

    1. ข้อมูล​ภาวะ​สุขภาพ​ของ​ประชาชน​ใน​ชุมชน ได้แก่ ข้อมูล​การ​เกิด การ​ตาย การ​เจ็บ​ป่วย​ที่​ ได้​จาก​หน่วย​งาน​ที่​เกี่ยวข้อง​เก็บ​รวบรวม​ไว้​แล้ว เช่น ข้อมูล​ทะเบียน​ราษฎร์ ข้อมูล​จำนวน​ผู้​ป่วย​ที่มา​รับ​บริการ​ของ​ โรง​พยาบาล​จำแนก​ตาม​กลุ่ม​โรค ข้อมูล​การ​ป่วย​ด้วย​โรค​ที่​ต้อง​เฝ้า​ระวัง​ที่​รวบรวม​โดย​สถานี​อนามัย สำนักงาน​ สาธารณสุขอ​ ำเภอ สำนักงาน​สาธารณสุข​จังหวัด กระทรวงส​ าธารณสุข เป็นต้น
    2. ข้อมลู ​เกยี่ วก​ ับป​ ัจจัย​เส่ยี ง ที่ส​ ่ง​ผล​ให้เ​กิดป​ ัญหา​สุขภาพ ซึ่ง​เกี่ยวข้อง​ปัจจัยท​ ี่ท​ ำให้เ​กิด​โรค เช่น เชื้อ​โรค สารเ​คมี เป็นต้น ปัจจัยด​ ้านบ​ ุคคลแ​ ละ​พฤติกรรม และป​ ัจจัย​ด้านส​ ิ่งแ​ วดล้อม ข้อมูลเ​หล่า​นี้​จะท​ ำให้​ทราบว​ ่า อะไร​เป็นป​ ัจจัยเ​สี่ยงท​ ี่ส​ ำคัญ และค​ ุณลักษณะ​ประชากร​ที่​มี​พฤติกรรม​เสี่ยง​ที่​ส่งผ​ ล​ต่อ​ปัญหาส​ ุขภาพใ​นช​ ุมชน
    3. ข้อมูล​ทรัพยากร​หรือ​ทุน​ใน​ชุมชน ซึ่ง​เป็น​ทรัพยากร​ใน​ชุมชน​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​ส่ง​เสริม​ สุข​ภาพ​ป้องกัน​โรค การ​รักษา​พยาบาล​และ​การ​ฟื้นฟู​สุขภาพ เช่น สถาน​บริการ​สุขภาพ บุคลากร​ด้าน​สุขภาพ คลินิก​ รา้ นข​ ายย​ า หมอพ​ ืน้ บ​ า้ น สถานท​ อี​่ อกก​ ำลงั ก​ าย กลุม่ ห​ รอื ช​ มรมส​ ขุ ภาพ กองทนุ ด​ า้ นส​ ขุ ภาพ รวมถ​ งึ ผ​ ูน้ ำช​ มุ ชน วฒั นธรรม และ​ภูมิปัญญา​ในท​ ้อง​ถิ่น เป็นต้น ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช `

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf