หลักธรรมในพุทธศาสนาข้อใดที่สามารถแก้ปัญหาการทุจริตได้

(๑) พลังศรัทธา เป็นพลังแห่งความเชื่อ ซึ่งเชื่อมั่นในคุณพระรัตนตรัย ว่าเป็นที่พึ่งที่ก าจัดภัย ได้จริง

การตระหนักในคุณค่านี้มีผลให้เกิดพลังศรัทธา ที่ภาษาพระเรียกว่า “สัทธาพละ” เมื่อมีความศรัทธาในพระรัตนตรัย
จะท าให้ไม่เบื่อหน่ายการสวดมนต์ ยิ่งคนใดสวดบ่อยเข้า จิตของเขาก็จะตั้งมั่นเป็นสมาธิ จิตที่เป็นสมาธินี่เองจะเป็น
ผลบุญที่ส่งผลให้พบความส าเร็จได้อย่างน่าอัศจรรย์

(๒) พลังปัญญา เป็นพลังแห่งความรู้แจ้งเห็นจริง เพราะการสวดมนต์ก็คือการบริกรรมภาวนา


หลักธรรมค าสอนอย่างหนึ่ง การท่องบ่นอยู่ซ้ าๆ จนจ าได้ จะท าให้เราน าข้อธรรมนั้นไปคิดพจารณาเป็นการพฒนา
พลังปัญญาให้เกิดมีในตน จนสามารถน าไปประยุกต์ใช้ได้ในวิถีชีวิตประจ าวัน ภาษาพระเรียกว่า “ปัญญาพละ” มีผล
ท าให้เราเกิดทักษะในการแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างมีเหตุมีผล จึงด ารงตนในสังคมได้อย่างปลอดภัย ความศรัทธา
ในการท าสิ่งดีงาม มีผลช่วยให้เกิดแรงบันดาลใจในการด ารงชีวิตอย่างมีคุณค่าและท าให้เกิดปัญญา ช่วยขจัดปัญหาที่เกิด

แก่ชีวิตได้อย่างถูกต้องเหมาะสม การสวดมนต์ไหว้พระ จึงเป็นอีกวิธีการหนึ่งซึ่งสามารถป้องกันการทุจริตอย่างได้ผล
๔.๒ การรักษาศีล

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ได้แบ่งศีลเป็น ๒ ระดับ คือ ระดับทั่วไป ได้แก่ ระดับธรรม
หรือระดับที่ยังเป็นธรรม คือ เป็นข้อแนะน าสั่งสอน หรือหลักความประพฤติที่แสดงและบัญญัติไปตามกฎธรรมดา
แห่งความดีความชั่ว ที่เรียกว่ากฎแห่งกรรม ผู้ท าดีท าชั่วหรือรักษาศีลละเมิดศีล ย่อมได้รับผลดีผลชั่วเองตามธรรมดา

ของเหตุปัจจัยหรือตามกฎแห่งกรรมนั่น ระดับเฉพาะ ได้แก่ ระดับวินัยหรือระดับที่เป็นวินัยคือเป็นแบบแผน
ข้อบังคับที่บัญญัติคือวางหรือก าหนดขึ้นไว้ เป็นท านองประมวลกฎหมายส าหรับก ากับความประพฤติของสมาชิก
ในหมู่ชนหรือชุมชนหนึ่ง โดยสอดคล้องกับความมุ่งหมายของหมู่คณะหรือชุมชนนั้นโดยเฉพาะผู้ละเมิดบทบัญญัติ

ิ่
แห่งศีลประเภทวินัยนี้ มีความผิดตามอาญาของหมู่ซ้อนเข้ามาอกขั้นหนึ่ง เพมจากอกุศลเจตนาที่จะได้รับผล
ตามกฎแห่งกรรมของธรรมชาติ


ศีล ได้เป็นกฎระเบียบอยู่คู่กับสังคมพทธของไทยมาก่อนที่จะมีการร่างกฎหมายขึ้นมา

ื่
ื้
เพอบังคับใช้ซึ่งตัวศีลเอง นอกจากจะเป็นพนฐานธรรมของปัจเจกบุคคลแล้ว ศีลยังถือได้ว่าเป็นหมวดธรรมที่ว่าด้วย
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกบุคคลกับสังคมอีกด้วย ดังนั้น ศีลจึงครอบคลุมเรื่องการจัดระเบียบชีวิตด้านนอกทั้งหมด

เท่าที่จะช่วยท าสภาพความเป็นอยู่โดยทั่วไป กิจการทั้งหลายของหมู่ชนความสัมพนธ์กับสภาพแวดล้อม
และสภาพแวดล้อม ที่ควรจัดได้ให้มีสภาวะที่เกื้อกูลแกความเจริญงอกงามของชีวิตด้านใน จึงสอดคล้องกับการที่ชีวิต

ด้านในที่เจริญงอกงามนั้น จะสะท้อนผลดีงามออกมาแก่ชีวิตด้านนอกคือเหมาะแก่การที่ทุกๆ คนจะพากันปฏิบัติ
ื่
ตามหลักศีล สมาธิ ปัญญาโดยเฉพาะ จะได้สามารถฝึกจิตและปัญญาให้เจริญเพอจะได้ประสบชีวิตที่มีความสุข

แท้จริง พร้อมด้วยจิตใจที่เป็นอสระผ่องใสเบิกบาน ในท่ามกลางสังคมและสภาพแวดล้อมที่สงบเรียบร้อยรื่นรมย์
และร่มเย็นเป็นสุข

ื่
การประพฤติปฏิบัติตามศีลธรรมจึงเป็นการประพฤติปฏิบัติ เพอลดช่องว่างระหว่างชนชั้น
ในสังคมลงได้และสามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับคนรอบข้างตลอดถึงสังคมที่ตนเองอาศัยอยู่ ด้วยศีลขั้นสูง
คือ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ ซึ่งเป็นองค์ของมรรคได้แก่การพดการกระท าการประกอบอาชีพ

ื่
ที่มีเจตนาปราศจากความทุจริตหรือความคิดที่เบียดเบียน ฉะนั้น เพอควบคุมบุคคลในสังคมให้อยู่ในกฎระเบียบ

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๔๑


ที่สังคมได้ก าหนดขึ้น พระพทธศาสนาจึงมุ่งสอนไปที่ให้มนุษย์ไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกันให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติ
และสงบสุข

๔.๓ การเจริญจิตตภาวนา

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ได้อธิบายความหมายของภาวนาว่าคือ “การฝึกปรือจิต
และปัญญาคือการฝึกอบรมจิตให้เจริญด้วยคุณธรรมต่างๆ ให้เข้มแข็งมั่นคงหนักแน่น และให้มีปัญญา รู้เท่าทัน

สังขารพดอย่างสมัยใหม่ว่ารู้เท่าทันโลกและชีวิตหรือมีโลกทัศน์และชีวทัศน์ที่ถูกต้อง ภาวนานี้ก็คือสมาธิ
และปัญญาในไตรสิกขาพูดเต็มว่าสมาธิภาวนาและปัญญาภาวนานั่นเอง


พจนานุกรมพทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ อธิบายไว้ว่า ภาวนา หมายถึง การท าให้มีขึ้น เป็นขึ้น
การท าให้เกิดขึ้นการเจริญ การบ าเพญ การฝึกอบรมตามหลักของพระพทธศาสนา มี ๒ อย่าง คือ สมถภาวนา


ฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบ และวิปัสสนาภาวนาคือการฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความรู้ความเข้าใจตามเป็นจริง

อกนัยหนึ่งจัดเป็น ๒ เหมือนกัน คือ จิตตภาวนาการฝึกอบรมจิตใจให้เจริญงอกงาม ด้วยคุณธรรมมีความเข้มแข็ง

มั่นคง เบิกบาน สงบสุข ผ่องใส พร้อมด้วยความเพยรสติและสมาธิและปัญญาภาวนา การฝึกอบรมเจริญปัญญา
ให้รู้เท่าทันเข้าใจสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง จนจิตใจเป็นอิสระ ไม่ถูกครอบง าด้วยกิเลสและความทุกข์


พระสัมมาสัมพทธเจ้าตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย อานาปานสติสมาธิแม้นี้ ที่เจริญแล้ว ท าให้มากแล้ว
ย่อมเป็นสภาพสงบประณีต สดชื่น เป็นธรรมเครื่องอยู่เป็นสุข และท าอกุศลธรรมชั่วร้ายที่เกิดขึ้นแล้วให้อนตรธานไป


สงบไปโดยเร็ว เปรียบเหมือนฝุ่นละอองที่ฟุ้งขึ้นท้ายฤดูร้อน ถูกฝนใหญ่นอกฤดูกาลท าให้อนตรธานไปสงบไปโดยเร็ว
อานาปานสติสมาธิที่เจริญแล้วอย่างไร ท าให้มากแล้วอย่างไร จึงเป็นสภาพสงบประณีต สดชื่น เป็นธรรมเครื่องอยู่
เป็นสุขและท าอกุศลธรรมชั่วร้ายที่เกิดขึ้นแล้ว ให้อนตรธานไป สงบไปโดยเร็ว”บุคคลพงรีบขวนขวายในความดี


พึงห้ามจิตเสียจากบาป เพราะว่าเมื่อบุคคลท าความดีช้าอยู่ ใจจะยินดีในบาป

ทาน ศีล ภาวนา เมื่อท าแล้วย่อมได้อานิสงส์ คือ ผลอนดีงามแก่เหล่าชนทั้งหลายดังกล่าวมาแล้ว
แม้พระโพธิสัตว์ผู้ปรารถนาที่จะเป็นพระสัมมาสัมพทธเจ้าในอนาคตเบื้องหน้า ก็มีอธยาศัยรักในการบ าเพญทาน



รักษาศีลและเจริญภาวนาทุกภพทุกชาติ สิ่งที่ท่านเหล่านั้นท าแล้ว จะสั่งสมเกิดเป็นบุญ และบุญที่สั่งสม มากขึ้นๆ
ย่อมน าไปสู่วิถีทางที่เข้าถึงความเป็นเลิศ คือ บารมี

มนุษย์ทุกคนเมื่อเกิดมาแล้ว มีความจ าเป็นต้องสั่งสมบุญเพราะทางมาแห่งบุญทั้ง ๓ ประเภท คือ
การท าทาน การรักษาศีล และการเจริญภาวนา มีความส าคัญมากต่อการบรรลุเป้าหมายชีวิตหรือประโยชน์ทั้ง ๓ ระดับ
(๑) ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ก็คือ ประโยชน์ปัจจุบันหรือประโยชน์อย่างที่เห็นๆ เช่น การมีปัจจัย ๔

มีอาหารเครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย มีฐานะ มีลาภ มีเกียรติ มียศ มีสรรเสริญ
(๒) สัมปรายิกัตถประโยชน์ ก็คือ ประโยชน์ที่เลยออกไปหรือต่อออกไปก็คือ ภพหน้า ชาติหน้า
จะไปเกิดที่ดีๆ ไม่ไปเกิดที่ชั่วๆ นี่เป็นประโยชน์หรือ
(๓) ปรมัตถประโยชน์ ก็คือ ประโยชน์สูงสุด ถ้าพดกันง่ายๆ ก็คือเรื่องนิพพาน หรือความมีใจ

เป็นอสระ ความมีจิตหลุดพน มีจิตใจปลอดโปร่งผ่องใสเบิกบานอยู่ได้ตลอดเวลา เพราะปราศจากกิเลส ดังนั้น ทาน


ศีล ภาวนา จึงถือเป็นงานของชีวิต เป็นหน้าที่ที่ทุกคนจะต้องลงมือกระท าใดเป็น และต้องประพฤติปฏิบัติ
เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต

๔๒ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)

๕. กฎหมายและกรณีศึกษาการกระท าผิดทุจริต


ปหานปธานนั้นเป็นแนวคิดทางพระพทธศาสนาที่ส่งเสริมให้เกิดความเพยรในการลดละการทุจริต
ที่เกิดขึ้นแล้วให้มลายหายไป โดยหากจะลดละการทุจริตได้ จ าต้องยึดองค์ธรรมตามหลักหิริโอตตัปปะให้มั่น เพื่อเป็น
เครื่องควบคุมความประพฤติทางกาย วาจา ใจให้ดี ส่วนทางโลก มีแนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายบางมาตราได้ เช่น

ื่
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๘๘ ผู้ใดฆ่าผู้อน ต้องระวางโทษประหารชีวิต จ าคุก ตลอดชีวิต
หรือจ าคุกตั้งแต่สิบห้าปีถึงยี่สิบปี

ื่
ื่
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๓๔ ผู้ใดเอาทรัพย์ของผู้อน หรือที่ผู้อนเป็นเจ้าของรวม อยู่ด้วย
ไปโดยทุจริต ผู้นั้นกระท าความผิดฐานลักทรัพย์ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินสามปี และปรับไม่เกินหกหมื่นบาท


ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๔๑ ผู้ใดทุจริต หลอกลวงผู้อนด้วยการแสดงข้อความอนเป็นเท็จ
ื่
หรือปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้งและโดยการหลอกลวง ดังว่านั้น ได้ไปซึ่งทรัพย์สินจากผู้ถูกหลอกลวง
หรือบุคคลที่สาม หรือท าให้ผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สาม ท า ถอนหรือท าลายเอกสารสิทธิ ผู้นั้นกระท าความผิด
ฐานฉ้อโกง ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๖ ผู้ใดข่มขืนกระท าช าเราผู้อนโดยขู่เข็ญด้วยประการใดๆ
ื่
โดยใช้ก าลังประทุษร้ายโดยผู้อนนั้นอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้ หรือโดยท าให้ผู้อนนั้นเข้าใจผิดว่าตนเป็นบุคคลอน
ื่
ื่
ื่
ต้องระวางโทษจ าคุก ตั้งแต่สี่ปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่แปดหมื่นบาทถึงสี่แสนบาท
จากประมวลกฎหมายอาญามาตราดังกล่าวข้างต้นพบว่า มีส่วนคล้ายคลึงกับการปฏิบัติตามหลัก

ศีล ๕ ที่ส่งเสริมให้เป็นคนดีทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ซึ่งศีล ๕ ดังกล่าวนี้ก็มีจุดเริ่มต้นมาจากอนทรียสังวร

คือ การเฝ้าระวังตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจของตนให้ดี และเมื่อพจารณาย้อนหลังไปอกก็จะพบว่า มีจุดเริ่มต้นมาจาก

การปฏิบัติตามหลักปหานปธานอนมีหิริโอตตัปปะหรือความละอายชั่วเกรงกลัวบาปเป็นจุดตั้งต้นให้เกิดความอาย

และความไม่ทนต่อการทุจริตทั้งมวล ดังนั้น หากบุคคลประพฤติทุจริตเป็นประจ าโดยไม่ค านึงถึงหลักปหานปธาน
ย่อมก่อให้เกิดโทษจากการทุจริตได้เป็นแน่แท้ โทษจากการทุจริตนี้สามารถส่งผลได้ ๒ ทิศทาง กล่าวคือ โทษจาก
การทุจริตในชาตินี้และโทษจากการทุจริตที่ส่งผลข้ามภพข้ามชาติ มีรายละเอียดดังนี้

๕.๑ โทษจากการทุจริตในชาตินี้

ส านักข่าวอศรา ได้ทวนความจ าคดีโกงระดับชาติ ที่ย้ าเตือนเหตุการณ์ของความเลวร้ายแห่งกลโกง

ที่เกิดขึ้นจากคนไทย เช่น

สน.อร่อยชัวร์ (เปิบพสดารโรงพักทวประเทศ) หรือคดีทุจริตโรงพัก ซึ่งเป็นข่าวเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๕
ั่


มูลค่าความเสียหาย ๕,๘๔๘ ล้านบาท เป็นการรวบสัญญาให้ผู้รับเหมาเจ้าเดียวสร้างโรงพก ๓๙๖ แห่งทั่วประเทศ
แต่ทุกวันนี้ก็ยังไม่มีโรงพกที่ไหนสร้างเสร็จ แถมยังจับตัวคนผิดยังไม่ได้ งบประมาณแผ่นดินถูกทิ้งเป็นซากปรักหักพง ั

เป็นหลักฐานของความอดสูของคนไทย

โกงโฆษณ์ (เมื่อเงินอยู่เหนือจรรยาบรรณ) หรือที่คุ้นหูกัน คดีนกน้อยในไร่ส้ม ซึ่งเป็นข่าวใหญ่
ในวงการสื่อเมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๙ เมื่อผู้ที่เรียกตัวเองเป็นสื่อกลางที่จะชี้น าสังคมไปในทางที่ถูกต้องดันโกงเอง
ด้วยการรับโฆษณาเกินเวลาแล้วซุกเข้ากระเป๋า พอโดนจับก็คืนแบบไร้ความรับผิดชอบ มูลค่าความเสียหายไม่มาก

ไม่น้อย แค่ ๑๓๘ ล้านบาทเท่านั้นเอง !

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๔๓

Slow Life Thailand (คดีเนิบช้าถ้ามีตังค์) หรือคดีบางกอกฟล์ม เป็นข่าวเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๒ มูลค่า

ความเสียหาย ๖๑.๒ ล้านบาท ซึ่งเป็นคดีที่โลกเกือบลืม ลืมไปแล้วว่าเขาโกง เนื่องจากความล่าช้าของผู้บังคับ

ใช้กฎหมายไทย จากกรณีการรับสินบนข้ามชาติในการจัดเทศกาลหนัง “บางกอกฟล์มเฟสติวัล” ซึ่งสองสามีภรรยา

ชาวอเมริกาผู้ติดสินบน ถูกประเทศเขาตัดสินจับติดคุกจนทุกวันนี้ออกมาแล้ว แต่คนโกงบ้านเรากลับเพิ่งถูกสั่งฟ้อง

One Stop Corrupted (ท าเองกินเอง โกงเอง จบ) นั่นก็คือคดีคลองด่าน นับเป็นคดีที่เหม็นเน่า
ของประเทศ โกงคนเดียวเสร็จสรรพ ด้วยการอุปโลกน์จัดตั้งทุกอย่างเอง ใช้อานาจตั้งแต่เสนอโครงการบ าบัดน้ าเสีย

ื้
จัดซื้อที่ดินต าบลคลองด่านของบริษัทที่เป็นคนในครอบครัวตัวเองด้วยราคาที่สูงกว่าปกติ แถมยังเป็นพนที่
เขตป่าอนุรักษ์ที่ได้มาโดยมิชอบ สุดท้ายก็เซ็นสัญญาอนุมัติเงินกันเอง ยิ่งไปกว่านั้นระบบบ าบัดน้ าเสียที่ว่าก็ยังไม่เกิดขึ้น
สร้างความเสียหายเป็นจ านวนเงิน ๒๑,๐๐๐ ล้านบาท

แพะ Stadium (เมื่อครูเป็นแพะแต่คนโกงลอยตัว) หรือคดีสนามฟตซอลโรงเรียน

สร้างความเสียหาย ๖๐๐ ล้านบาท โดยผู้มีอานาจท าเป็นหวังดีสร้างสนามกีฬากลางแจ้งให้แก่เด็กๆ ในโรงเรียน



สังกัด สพฐ. กว่า ๑๗ จังหวัดฟรีๆ แต่สิ่งที่ได้คือการสร้างสนามฟตซอลในร่ม สร้างไม่ได้มาตรฐาน ใช้ไม่นานก็พง

ไม่เป็นท่า ส่วนคนที่โกงก็พดแค่ลมปากลอยตัวสบาย เหลือทิ้งไว้เพยงความทรงจ าที่แสนเจ็บปวด ส่วนคดีความ

ก็ให้ครูผู้หวังดีที่เซ็นรับงานเป็นแพะรับบาปแทนกันไป
โจรมหาโจร (คดีนี้ต้องกราบขอบคุณโจร) หรือคดีปลัดคมนาคม โดยข้าราชการรายนี้ร่ ารวย
ผิดปกติ ยื่นบัญชีทรัพย์สินกี่ที่ก็ไม่มีปัญหา ใครๆต่างก็หาความผิดปกติไม่เจอ กระทั่งโจรกระจอกปีนขึ้นบ้าน

ซึ่งโจรก็ไม่คิดว่าจะเข้าไปเจอทรัพย์สมบัติมหาศาลถึงขั้นเสียดายที่ไม่ได้เอารถบรรทุกมาขน
พริตตี้ ขรก. (สามัคคีเมื่อมีผลประโยชน์) คดีรถหรูน าเข้าเกรย์มาเก็ต โดยกรมศุลกากร

กรมสรรพสามิต กรมการขนส่งทางบก และส านักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม ร่วมกนโกงเป็นทีม โกงแบบบูรณาการ

ื้
อาศัยช่องว่างทางกฎหมายเออประโยชน์ให้เอกชนแสดงรายการส่วนประกอบรถยนต์ไม่ครบถ้วน และแจ้งราคา
น าเข้ารถยนต์หรูต่ ากว่าที่เป็นจริง ท าให้รัฐสูญเสียภาษีกว่า ๖๐,๐๐๐ ล้านบาท

เมตตามหาโกง (ต้นแบบประชานิยมปล้นชาติ) คดีโกงล าไย ความเสียหายมูลค่า ๕,๐๐๐ ล้านบาท


มีการแทรกแซงราคาพชผลทางการเกษตรแบบไม่ปฏิเสธการโกง ตั้งแต่การคัดเลือกบริษัทเอกชนที่ไม่เคยท าล าไย
อบแห้งมารับงาน เปิดช่องน าล าไยเก่า คุณภาพต่ ามาวนขายซ้ า การสวมสิทธิ์ เป็นคดีที่เกิดขึ้นมานมนาม แต่ไม่มี
ความคืบหน้าในการหาตัวต้นเหตุของการกระท าผิด


พระพทธเจ้าจึงตรัสสอนให้ทุก ๆ คน หมั่นนึกคิดอยู่เสมอๆ ว่าเรามีกรรมเป็นของตน
เป็นกรรมทายาทคือเป็นผู้ได้รับผลของกรรม มีกรรมเป็นก าเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพนธุ์ มีกรรมเป็นที่อาศัยเฉพาะ

(ตนเป็นคนๆ ไป) นอกจากนี้ พระพทธเจ้ายังตรัสไว้ว่า กรรมย่อมจ าแนกสัตว์ให้เลวและดีต่างๆ กัน เป็นต้น


(กมม สตฺเต วภชติ ยทิท หีนปฺปณีตตาย) ในทางพระพทธศาสนามีหลักการให้ผลของกรรม คือ ท าดีได้ดี ท าชั่วได้ชั่ว


ดังในพุทธศาสนสุภาษิตที่ว่า “บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนั้น คนท าดีย่อมได้ดี ท าชั่วย่อมได้ชั่ว”
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ได้กล่าวถึงผลของกรรมว่า ในระดับสังคมกรรมที่บุคคล
และคนทั้งหลายกระท ามีผลต่อความเป็นไปของสังคมอย่างไรบ้าง เช่น ท าให้เกิดความเสื่อมความเจริญ

ความร่มเย็นเป็นสุข ความทุกข์ยากเดือดร้อนร่วมกันของมนุษย์ทั้งหลาย รวมทั้งผลจากการที่มนุษย์กระท า
ต่อสภาพแวดล้อมอื่นๆ แล้วย้อนกลับมาหาตัวมนุษย์เอง

๔๔ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)

๕.๒ โทษจากการทุจริตที่ส่งผลข้ามภพข้ามชาติ

สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า ยังทรงมีพระทิพยจักษุแจ่มแจ้งเป็นพเศษ เพราะเหตุที่ทรงสามารถเห็น

จุติและปฏิสนธิแห่งสัตว์ทั้งปวง คือ ทรงเห็นหมู่สัตว์ที่ก าลังจุติ ก าลังอปบัติ เป็นสัตว์เลวทราม ประณีต
มีผิวพรรณงาม มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอนบริสุทธิ์ล่วงจักษุของสามัญมนุษย์ ย่อมทรงทราบ

หมู่สัตว์ทั้งหลาย ซึ่งเป็นไปตามกรรมว่าสัตว์เหล่านี้ ประกอบกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยเจ้า

เป็นมิจฉาทิฐิ ยึดถือการท าด้วยอานาจมิจฉาทิฐิ เมื่อตายแล้ว ย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรกส่วนสัตว์เหล่านี้
ประกอบด้วย กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นสัมมาทิฐิ ยึดถือการท าด้วยอานาจสัมมาทิฐิ


เมื่อตายแล้วย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ จากพทธฎีกา ปรากฏโดยชัดแจ้งว่า คนเราก่อนเกิดมาในชาตินี้ย่อมมีชาติ
ก่อนที่ผ่านมาอีกหลายๆ ชาติ และเมื่อตายลงไปย่อมมีชาติต่อๆ ไปอีกซึ่งเป็นไปตามกรรม

หากในชาติปัจจุบันประกอบกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นมิจฉาทิฐิ

ยึดถือการท าด้วยอานาจมิจฉาทิฐิ เมื่อตายแล้ว ย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรกแต่หากในชาติปัจจุบัน ประกอบ
กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นสัมมาทิฐิ ยึดถือการท าด้วยอานาจสัมมาทิฐิ เมื่อตายแล้ว

ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์

การกระท ากายทุจริตด้วยอทินนาทานก่อให้เกิดโทษแสดงในทุจริตวิปากสูตร ดังนี้ “อทินนาทาน

(การลักทรัพย์) ที่บุคคลเสพเจริญท าให้มากแล้ว ย่อมอานวยผลให้ไปเกิดในนรก อานวยผลให้ไปเกิดในก าเนิดสัตว์

ดิรัจฉาน อานวยผลให้ไปเกิดในเปรตวิสัย วิบากแห่งอทินนาทานอย่างเบาที่สุด ย่อมอานวยผลให้เป็นผู้เสื่อมโภค

ทรัพย์ แก่ผู้เกิดเป็นมนุษย์” ส าหรับโทษหนักเบาในการกระท าอทินนาทานสามารถพจารณาได้ดังแสดงในอรรถกถา


สีลขันธวรรค ว่าพจารณาจากราคาของวัตถุ ถ้าลักทรัพย์มีราคามาก ย่อมมีโทษมาก และพจารณาจากคุณธรรม

ของเจ้าของทรัพย์ ถ้าลักทรัพย์ที่เจ้าของทรัพย์ เป็นผู้มีคุณธรรม ย่อมมีโทษมาก
ผลจากการกระท าทุจริตหรือกรรมชั่วมีผลต่อจิตใจ บุคลิกภาพ วิถีชีวิตของบุคคล สังคม

การล่วงละเมิด เป็นบ่อเกิดแห่งเวรภัยโดยประการต่างๆ ผู้กระท าทุจริตมีโทษ ๕ ประการดังกล่าวนั้น กรรมวิบากมี
คือมีผลดีของความดี มีผลชั่วของความชั่ว กรรมเป็นของผู้ท า คือใครท ากรรมอย่างใดก็ได้รับผลกรรมอย่างนั้น
การกระท าความดีหรือความชั่ว ผลย่อมแตกต่างกันไปในแต่ละคน ผลที่เกิดมีทั้งเกิดผลในทันทีทันใด ในภพนี้
ในชาตินี้ หรือจะติดตามตัวเมื่อตายไปแล้วในชาติภพหน้า จะลงนรกหรือได้รับผลสุขในสวรรค์ ย่อมเป็นไปตามการกระท า

คนเราที่กระท าทุจริตประพฤติชั่ว ย่อมได้รับโทษจากการกระท าชั่วนั้น แม้ทั้งขณะยังคงมีชีวิตอยู่และเมอตายไปแล้ว
ื่
จากชาติปัจจุบัน ย่อมได้รับผลกรรมจากการประพฤติชั่วในชาติต่อๆ ไป ผลจากการกระท าทุจริตนอกจากผู้กระท า
จะรับโทษอนเป็นผลจากการกระท าแล้ว ยังก่อให้เกิดความเสียหายต่อบุคคลอน ๆ ต่อสังคม ส่วนรวมที่จะต้องได้รับ

ื่
ผลจากการกระท าทุจริตของคนในสังคม ไม่ว่าจะเป็นครอบครัว ชุมชน หน่วยงานจนกระทั่งความเสียหาย เกิดเป็น
โทษภัยแก่ประเทศชาติหรือแม้แต่คนทั้งโลกนั่นเอง

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๔๕

๖. สรุปความ

ความอายของบุคคลเป็นเกราะป้องกันให้การท าความผิดยากขึ้น ซึ่งต้องสร้างการตื่นรู้
ต่อความน่ารังเกียจ และพิษภัยของการทุจริต ที่มีต่อตัวของผู้กระท า บุคคล ครอบครัวและชุมชน ความผิดในบาป
ซึ่งในที่สุดกรรมที่ก่อจะเกิดผลต่อตนเองและผู้ที่เกี่ยวข้อง ความไม่ยั่งยืนของการได้มาซึ่งเงินทองหรือทรัพย์
ได้มาง่ายก็เสียไปเร็ว และที่ส าคัญคือการเสียชื่อเสียงของตนเองและวงศ์ตระกูล

ส่วนความรู้สึกที่ไม่ทน เมื่อเห็นหรือรู้ว่าก าลังมีการทุจริตเกิดขึ้น มักเกิดกับผู้ที่มีความอาย

ในใจต่อการท าผิดทุจริตเป็นฐานที่เข้มแข็งอยู่แล้ว ประกอบกับความกล้าหาญ ท าให้มีความพร้อมในการแสดง
ปฏิกิริยาทางใดทางหนึ่งเพื่อยับยั้งไม่ให้เกิดการทุจริตขึ้น

ทั้งสองความรู้สึกนี้ สามารถสร้างเสริมให้เกิดขึ้นกับบุคคลด้วยหลักปหานปธาน เพยรละบาป

อกุศลธรรมที่เกิดขึ้น ประกอบไปด้วยองค์แห่งคุณธรรม ๒ ประการ คือ ความละอายและความไม่อดทน
หรือที่เรียกว่าหิริและโอตตัปปะนั่นเอง

ปหานปธานสามารถแก้ปัญหาการทุจริต เพอให้สังคมอยู่ได้ โดยช่วยกันเป็นหูเป็นตา
ื่
ื่

คอยสอดส่องปัญหาทุจริตต่าง ๆ ในบ้านเมืองและคอยแจ้งเหตุเภทภัยที่อาจจะเกิดขึ้นในชุมชน เพออานวย

ความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ เช่น เมื่อเกิดหตุไม่พงประสงค์ต่าง ๆ ขึ้นในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นการประท้วง
หรือการท าผิดกฎหมายนานัปการ เมื่อเราทราบปัญหาแล้วจะต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบ เมื่อเกิดปัญหา
ในบ้านเมืองจะต้องไม่นิ่งดูดาย แต่ต้องช่วยกันแก้ปัญหา ไม่ยอมทนและนิ่งเฉยต่อสรรพปัญหา ช่วยกันแก้ไข

ปัญหาทุจริตเพื่อให้คนในสังคมยึดมั่นในสิ่งที่ถูกต้อง อันจะเป็นการป้องปรามตามหลักปหานปธาน

๔๖ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)

บทที่ ๔

ภาวนาปธาน


เพียรท าสุจริตธรรมทียังไม่เกด ให้เกิดมีขึ้นมา :
พัฒนาจิตพอเพียงต้านทุจริต ด้วยโมเดล STRONG

๑. ความน า
ภูมิต้านทานการทุจริตคดโกงในทุกสังคม คือ การด าเนินชีวิตของประชาชนมีวัฒนธรรมซื่อสัตย์

สุจริต มีความพอเพยงที่เหมาะสมตามสถานะ มีวิธีคิดที่สามารถแยกแยะผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์
ส่วนรวม ได้อย่างเป็นอัตโนมัติ เป็นสังคมที่ให้ความส าคัญต่อความโปร่งใส ภูมิต้านทานการทุจริตคดโกง

ที่น าเสนอด้วย โมเดลจิตพอเพียงต้านทุจริต (STRONG Model) จะเป็นปัจจัยส าคัญในการพัฒนาประเทศ
ให้มีความเจริญรุ่งเรือง

๒. ภาวนาปธาน การเพียรท าสุจริตธรรมที่ยังไม่เกิด ให้เกิดมีขึ้นมา

ภาวนาปธาน เป็นหลักธรรมหนึ่งใน ปธาน ๔ อันหมายถึง ความเพียรที่ชอบเป็นสัมมาวายามะ
(มี ๔ ประการ ได้แก่ สังวรปธาน, ปหานปธาน, ภาวนาปธาน และอนุรักขนาปธาน) โดย ภาวนาปธานนั้น
เป็นหลักธรรมข้อที่ ๓ อันหมายถึง การเพียรเจริญท ากุศลธรรมที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น หรือ เพียรเจริญ เพียรท า

กุศลธรรมที่ยังไม่มียังไม่เกิด ให้มีขึ้น ดังที่ปรากฏในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓
องคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต ความว่า

“....ก็ภาวนาปธานเป็นไฉน
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมยังฉันทะให้เกิด พยายาม ปรารภความเพียร
ประคองจิต ตั้งจิตไว้ เพื่อให้กุศลกรรมที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้น

นี้เรียกว่า ภาวนาปธาน...”


ทั้งภาวนาปธานและโมเดล STRONG นั้น ล้วนกอปรด้วยหลักการอนเป็นจุดมุ่งหมายเช่นเดียวกัน
คือ “มุ่งการสร้างสรรค์ และพฒนาสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น ให้เกิดขึ้น” ทั้งในมุมของปัจเจกบุคคล รวมถึงแง่มุมของ

ื่
การสร้างวัฒนธรรมใหม่ให้เกิดขึ้นแก่สังคม โดย โมเดล STRONG นั้น มีจุดมุ่งหมายเพอสร้างให้เกิด “สุจริตธรรม”
เพื่อต่อต้านการทุจริต
ในที่นี้ จึงขอเสนอหลักธรรมน าแนวทางไว้ ๒ ประการ ได้แก่ ธรรมสายหลักน าแนวทางคือภาวนาปธาน

และธรรมส่งเสริมเพมเติมคุณธรรม มีรายละเอียดดังนี้
ิ่
๒.๑ ธรรมสายหลักน าแนวทาง
พระราชด ารัส พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
รัชกาลที่ ๙ ณ พระต าหนักจิตรลดารโหฐาน ในวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๓๐ ว่า “ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐาน


ของความดีทุกอย่าง จึงต้องฝึกฝนอบรมให้เกิดในตัวเอง เพื่อจักได้เป็นคนดีมประโยชน์ และมชีวตที่สะอาด


ั่
ที่เจริญมงคง” จากพระราชด ารัสนี้ท าให้พบประเด็นของชุดความคิดใน ๒ ประเด็นใหญ่ คือ (๑) ความซื่อสัตย์
สุจริตเป็นพื้นฐานของความดีทุกอย่าง และ (๒) ชีวิตที่สะอาด

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๔๗

หากเชื่อม ๒ ชุดความคิดนี้เข้าด้วยกัน จะพบว่า ความซื่อสัตย์สุจริต นอกจากจะเป็นพื้นฐาน
ของความดีทุกอย่างแล้ว ยังส่งผลต่อเนื่องให้ชีวิตมนุษย์มีความสะอาดด้วย ซึ่งความสะอาดนั้นมีค่าเท่ากับ

ความซื่อสัตย์สุจริต สรุปได้ว่า บุคคลใดก็ตามด าเนินชีวิตด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ชีวิตของบุคคลนั้นย่อมนับถือ
ว่าสะอาด และเจริญมั่นคง

สุจริตธรรม เป็นธรรมที่มุ่งให้เกิดขึ้นแก่ทั้งปัจเจกบุคคลอนจะน าไปสู่การสร้างสังคมที่สุจริต

เฉกเช่นเดียวกับแนวทางและจุดมุ่งหมายของโมเดล STRONG ค าว่า “สุจริต” นั้นมาจากค าบาลีที่ว่า “สุ บทหน้า”


อนแปลว่า “ดี งาม และง่าย” และ “จร ธาตุ” อนแปลว่า “ประพฤติ” รวมความเป็น“สุจริต” อนแปลรวมกันว่า

“ความประพฤติดี, ความประพฤติงาม, และการประพฤติปฏิบัติในวิถีที่เรียบง่าย” การประพฤติดี งาม และง่าย
สุจริตธรรมประกอบด้วยองค์ประกอบ ๓ ประการ ได้แก ่

(๑) กายสุจริต หมายถึง ความประพฤติชอบด้วยกาย (good conduct in act) เป็นการประพฤติดี
และงดงามทางกายโดยงดเว้นจากการไม่เบียดเบียน และฆ่าสัตว์ (ปาณาติบาต) การไม่แย่งชิง คดโกง ยักยอก

และลักพาสิ่งของที่เจ้าของมิได้อนุญาต (อทินนาทาน) และการประพฤติผิดในเรื่องกามคณจนขาดความส ารวมระวัง

(กาเมสุมิจฉาจาร)

(๒) วจีสุจริต หมายถึง ความประพฤติชอบด้วยวาจา (good conduct in word) เป็นการประพฤติดี

และงดงามทางกาย โดยการงดเว้นจากการพดเท็จ และบิดเบือนเพอให้มา หรือให้บุคคลอนในทางที่ผิด (มุสาวาท)
ื่
ื่
ื่

ื่
ื่

การพดจาเหน็บแนมและส่อเสียดบุคคลอน (ปิสุณวาจา) การพดค าหยาบคายเพอให้คนอนเจ็บใจ (ผรุสวาจา)
และการพูดจาเพ้อเจ้อ หาสาระมิได้จากการพูดเหล่านั้น (สัมผัปปลาปะ)
(๓) มโนสุจริต หมายถึง ความประพฤติชอบด้วยใจ (good conduct in thought) เป็นการประพฤติดี
ื่

และงดงามทางจิตใจ โดยการไม่เพงเล็งที่จะแสวงหาช่องทางเพอให้ทรัพย์สมบัติของคนอน (อนภิชฌา) การไม่ผูก
ื่
พยาบาทจองเวรคนอ่น (อพยาบาท) และการมีความคิดในทางที่ถูกต้องเหมาะสม มีปัญญาคิดพิจารณา

สิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง (สัมมาทิฐิ)
“...ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐำนของควำมดีทุกอย่ำง จึงต้องฝึกฝนอบรมให้เกิดในตัวเอง เพื่อจักได้เป็นคนดีมีประโยชน์
และมีชีวิตที่สะอาด ที่เจริญมั่งคง...”
พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศร มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร รัชกำลที่ ๙
พระรำชทำน ณ พระต ำหนักจิตรลดำรโหฐำน ๑๘ พฤศจิกำยน ๒๕๓๐

กำยสุจริต หมู่บ้ำนสุจริต
ชีวิตสะอาด คือ วจีสุจริต

ชีวิตที่ม ี ครอบครัว ประเทศชำติสะอำด
สุจริต สุจริต
ควำมซื่อสัตย์ มโนสุจริต สอดรับกับพระบรม

สุจริต รำโชวำท

“... ในประเทศชำติน ก็มีคนทสุจริต และมีคนที่ทุจริต ถ้ำคนที่สุจริตซึ่งมีมำก ไม่สำมำรถที่จะป้องกันตัวจำกทุจริตชน ก็ท ำใหประเทศชำตล่มจม...”

ี่
ี้
พระรำชทำนในโอกำสที่ประธำนศำลฏีกำน ำผู้พิพำกษำประจ ำกระทรวง
เฝ้ำฯ ถวำยสัตย์ปฏิญำณตน ก่อนเข้ำรับหน้ำที่ ณ ศำลำดุสิดำลัย
๒๑ ตุลำคม ๒๕๔๐

๔๘ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)

จากแผนภูมิข้างต้น จะพบประเด็นของการพัฒนาหมู่บ้านช่อสะอาดดังที่ได้กล่าวแล้วในเบื้องต้นว่า

มีจุดเริ่มต้นมาจากพระราชด ารัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพตร
รัชกาลที่ ๙ ที่กล่าวว่า “ชีวิตสะอาดคือชีวิตที่มีความซื่อสัตย์สุจริต” และหากขยายความของค าว่า “ซื่อสัตย์สุจริต” นั้น
หมายถึง ความสุจริตทั้งกาย พฤติกรรม จิตใจ และปัญญา เพราะเมื่อกายมีอาชีพที่สุจริต พฤติกรรมไม่มุ่งแย่งชิง
หรือทุจริตคดโกง จิตใจไม่ละโมบโลภมาก และปัญญาที่ไม่แสวงหาช่องทางทุจริต ย่อมส่งผลถึงความสุจริต
ของครอบครัว ทั้งพอ แม่ และลูกด้วย ความสะอาดของแต่ละครอบครัวจึงส่งผลต่อความสุจริตของหมู่บ้าน

ในภาพรวมอนเป็นหน่วยนับรวมของครอบครัว และจะส่งผลต่อสังคม ประเทศชาติให้มีความสะอาดต่อไป ดังนั้น

หากหมู่บ้านสะสมความซื่อสัตย์สุจริตได้มากขึ้น ย่อมส่งผลต่อประเทศชาติในฐานะที่จะมีภูมิคุ้มกันการทุจริตคดโกง
ต่อไป


เมื่อพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพตร รัชกาลที่ ๙
ทรงมีพระประสงค์ที่จะเห็นชีวิตของแต่ละบุคคลในชุมชนและสังคมมีความซื่อสัตย์สุจริต ดังที่พระองค์ทรงเน้นว่า

“...ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐานของความดีทุกอย่าง” ความซื่อตรงจึงเป็นเกณฑ์วัดส าคัญในการบ่งชี้ว่า
“ความดีที่มีอยู่ในแต่ละชีวิต”

“...ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐำนของควำมดีทุกอย่ำง จึงต้องฝึกฝนอบรมให้เกิดในตัวเอง เพื่อจักได้เป็น
คนดีมีประโยชน์ และมีชีวิตที่สะอาด ที่เจริญมั่งคง...”

ี่

พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศร มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพตร รัชกำลท ๙
พระรำชทำน ณ พระต ำหนักจิตรลดำรโหฐำน
๑๘ พฤศจิกำยน ๒๕๓๐

ชีวิตสะอาด คือ

ชีวิตที่มี
ควำมซื่อสัตย์สุจริต

ครอบครัว ชุมชน ประเทศชำติ

สะอำดสุจริต สะอำดสุจริต สะอำดสุจริต

สอดรับกับพระบรมรำโชวำท

“... ในประเทศชำตินี้ ก็มีคนที่สุจริต และมีคนที่ทุจริต ถ้ำคนที่สุจริตซึ่งมีมำก ไม่สำมำรถที่จะป้องกันตัว

จำกทุจริตชน ก็ท ำให้ประเทศชำติล่มจม...”
พระรำชทำนในโอกำสที่ประธำนศำลฏีกำน ำผู้พิพำกษำประจ ำกระทรวง
เฝ้ำฯ ถวำยสัตย์ปฏิญำณตน ก่อนเข้ำรับหน้ำที่ ณ ศำลำดุสิดำลัย

๒๑ ตุลำคม ๒๕๔๐

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๔๙


จากแผนภูมิจะเห็นว่า เมื่อประชาคมในหมู่บ้านร่วมกันพฒนาชีวิตให้อยู่บนเส้นทางของความดี
โดยด ารงมั่นอยู่ในความซื่อสัตย์สุจริตแล้ว ย่อมเชื่อมั่นได้ว่าความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐานส าคัญในการพัฒนาชุมชน

และสังคมประเทศชาติให้มีความสุจริตมากยิ่งขึ้นด้วยเช่นกัน เพราะเมื่อประเทศชาติสะอาด ย่อมจะท าให้ประชาชน
ช่วยเหลือและแบ่งปันซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น อันจะท าให้สังคมอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขต่อไป

จากพระราชด ารัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช

บรมนาถบพตร รัชกาลที่ ๙ ที่ได้น าเสนอในเบื้องต้นว่า “ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐานของความดีทั้งปวง” ความซื่อสัตย์
สุจริตจึงถือได้ว่า เป็นหลักการพนฐานของการพฒนา เพอให้ชุมชนและสังคมได้ใช้เป็นหลักปฏิบัติในชีวิตประจ าวัน
ื่

ื้
ทั้งในการด าเนินชีวิต การประกอบสัมมาชีพ การท างานและการเข้าไปเกี่ยวข้องกับคนอนในชุมชน ซึ่งหลักการ
ื่

ดังกล่าวสอดรับกับหลักการทางพระพุทธศาสนาที่เน้นให้เห็นถึงคุณค่า และความส าคัญดังพทธศาสนสุภาษิตว่า
“บุคคลพงประพฤติธรรมให้สุจริต ไม่พงประพฤติธรรมให้ทุจริต ผู้มีปกติประพฤติธรรม ย่อมอยู่เป็นสุข



ในโลกนี้ และโลกหน้า”
เมื่อน าพระพทธศาสนสุภาษิตมาเชื่อมโยงกับพระราชด ารัสของพระบาทสมเด็จ

พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพตร รัชกาลที่ ๙ จะพบประเด็นที่สอดรับ

และเชื่อมโยงกันอย่างมีนัยส าคัญ ดังนี้

มโนสุจริต ไม่ละโมบอยำกได้ของคนอื่น

ธมฺม จเร สุจริต สุจริต วจีสุจริต ไม่พูดเท็จ/บิดเบือนเพื่อให้ได้มำ
พึงประพฤติธรรมให้สุจริต

กำยสุจริต ไม่ประพฤตทุจริต/แย่งชิง

ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐำนของควำมดีทุกอย่ำง

“...ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐำนของควำมดีทุกอย่ำง จึงต้องฝึกฝนอบรมให้เกิดในตัวเอง เพื่อจักได้เป็นคนดีมี
ประโยชน์ และมีชีวิตที่สะอาด ที่เจริญมั่งคง...”
พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศร มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพตร รัชกำลท ๙

ี่
พระรำชทำน ณ พระต ำหนักจิตรลดำรโหฐำน ๑๘ พฤศจิกำยน ๒๕๓๐

ชีวิตที่สะอาด


แผนผังดังกล่าวได้สะท้อนให้เห็นถึงการด าเนินชีวิตด้วยหลัก “สุจริตธรรม” หรือ “ความซื่อสัตย์สุจริต” อนเป็น


แนวทางที่พระพทธเจ้าทรงย้ าเตือนให้พทธศาสนิกชนได้ตระหนักรู้ว่า การด ารงตนอยู่ในครรลองของสุจริตธรรมนั้น

๑ ธมฺม จเร สุจริต น ต ทุจฺจริต จเร
ธมฺมจำรี สุข เสติ อสฺมึ โลเก ปรมฺหิ จ ฯ

๕๐ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)

ื่

ธรรมะจะรักษาคนที่คิด พด และท าอย่างสุจริตให้มีความสุขทั้งในโลกนี้ และโลกอน ตลอดเวลาในการด าเนินชีวิต
และความซื่อสัตย์สุจริตจะเป็นพื้นฐาน หรือตัวชี้วัดความดีงามในการใช้ชีวิตร่วมกันกับคนอื่นๆ ในสังคม
ปัจจัยส าคัญของการด ารงตนด้วยความสุจริต คือ ต้องเป็นผู้มีสติ

๒.๒ ธรรมส่งเสริมเพิ่มเติมคุณธรรม (สติไม่มา จึงหาสุจริตไม่เจอ)

กระบวนการในการบ่มเพาะ และปลูกฝังพลังแห่งสุจริตธรรมนั้น จ าเป็นต้องเริ่มต้นจากการพัฒนา
สติให้เกิดขึ้นในเรือนใจ (Cultivating Mindfulness Harvesting Integrity) เพราะสติจะท าหน้าที่ประดุจมารดา
ที่จะเป็นศูนย์กลางหรือแหล่งท าคลอดตัวสุจริต โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลูกฝังมโนสุจริต การที่จิตใจ
ื่
จะเกิดความสุจริตได้นั้น สติจะท าหน้าที่ในการสร้างความตื่นรู้เพอให้เกิดการรู้เท่าทันอารมณ์ของความโลภ หรือความอยากได้
สิ่งต่างๆ ที่มิใช่ของตัวเอง ที่มีการกระตุ้นจากปัจจัยภายนอก

แนวทางในการพัฒนาสติเพื่อให้เกิดภูมิคมกันมิให้เกิดมโนทุจริต หรือคิดอยากจะคดโกงสมบัติสาธารณะ
ุ้
ที่มิควรมีควรได้มาเป็นของตนเองนั้น จะต้องพฒนาสติให้เกิดการรู้ลึกบนฐานทั้ง ๔ คือ การมีสติระลึกรู้วัตถุ

หรือผลประโยชน์ต่างๆ ที่มีผู้คนมุ่งจะตอบแทนในรูปแบบอย่างใดอย่างหนึ่ง การมีสติรู้เท่าทันอารมณ์ของความโลภ
อยากจะได้สิ่งของต่างๆ ตามแรงยั่วยุหรือกระตุ้นจากปัจจัยภายนอก การมีสติรู้เท่าทันจิตใจของตนเองมิให้หลงไหล หรือคล้อย

ตามความอยากส่วนตน และมีสติรู้เท่าทันเมื่อตาเห็นผลประโยชน์ที่เข้ามาล่อลวงและหูได้ยินแรงกระตุ้น เป็นต้น

การที่ผู้คนได้รับการฝึกฝนและพัฒนาจิตใจ โดยมีสติเป็นเครื่องมือส าคัญในการฝึกนั้น จะช่วยให้เกิด
การปลูกฝังสุจริตวัฒนธรรม โดยเริ่มจากการมีมโนสุจริตที่แข็งกล้าจนมิอาจคล้อยตามแรงกระตุ้นต่างๆ ที่เข้ามา
กระทบให้ใจสั่งกายให้กายออกไปท าหน้าที่ทุจริตคดโกง หรือพูดจาสื่อสารรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งเพอให้กลุ่มคนต่างๆ
ื่
ให้ผลตอบแทนที่มิควรมีควรได้แก่ตนเอง ทั้งหมดนั้น รากฐานส าคัญคือ การใช้สติเป็นรากฐานในการพฒนาพลัง

แห่งสุจริตธรรมให้เกิดขึ้นในเรือนใจเป็นปฐม ก่อนที่จะส่งผลต่อพฤติกรรมและการสื่อสารของตนเอง

๓. พัฒนาจิตพอเพียงต้านทุจริต ด้วยโมเดล STRONG
โมเดลจิตพอเพียงต้านทุจริต (STRONG Model) เป็นสาระส าคัญในหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา
ื่
พ.ศ. ๒๕๖๑ เพอสร้างภูมิต้านทานการทุจริต โดยน าหลักการส าคัญต่างๆ เพอเสริมสร้างบุคคลและสังคม
ื่
ให้มีพฤติกรรมสุจริต รวมทั้งต่อต้านการทุจริต ตามที่ก าหนดไว้เป็นยุทธศาสตร์สร้างสังคมที่ไม่ทน

ต่อการทุจริต ของยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกนและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔)
พัฒนา โดย รศ. ดร. มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ ที่ปรึกษาประธานกรรมการ ป.ป.ช. ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒
โมเดล STRONG ประกอบด้วย

(๑) S (Sufficient) – พอเพียง
(๒) T (Transparent) – โปร่งใส
(๓) R (Realise) – ตื่นรู้
(๔) O (Onward) – มุ่งไปข้างหน้า

(๕) N (Knowledge) – ความรู้
(๖) G (Generosity) – เอื้ออาทร

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๕๑

สุจริตธรรมในฐานะที่เป็นรากฐานของการพัฒนา STRONG Model
จากการน าเสนอแง่มุมของสุจริตธรรมข้างต้นนั้น พบว่า แนวทางดังกล่าวเป็นรากฐานส าคัญ


ในการเสริมสร้างและพัฒนาวัฒนธรรม STRONG ให้เกิดขึ้นอย่างเข้มแขงและทรงพลังในแต่ละองค์ประกอบ
ทั้งในมิติการแสดงออกทางกาย การสื่อสารทางวาจา และพนฐานทางจิตใจ
ื้

๕๒ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)

ดังจะได้อธิบายความเชื่อมโยงกับสุจริตธรรม และข้อธรรมอนๆ ที่สอดคล้องของโมเดล STRONG
ื่
ทั้ง ๖ องค์ประกอบต่อไปนี้

(๑) Sufficient : พอเพียง


S (Sufficient) สุจริตธรรมจะน าไปสู่การเสริมสร้างพลังของความพอเพยง ซึ่งจะท าให้สามารถ
แยกแยะผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวมได้อย่างเป็นอัตโนมัติ (ง่าย, ไม่ยากต่อการตัดสินใจ)
ในระดับของความคิด (มโนสุจริต) อันจะน าไปสู่การกระท าที่ไม่กอบโกยผลประโยชน์สาธารณะ หรือทรัพย์สินอันมิใช่

ของตนมาเป็นของตน (กายสุจริต) และยังสามารถถ่ายทอดความคิด ค่านิยม อนสามารถร่วมกันสื่อสารผลักดัน
ให้เกิดสังคมที่สุจริต เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมเป็นส าคัญได้ (วจีสุจริต)

หากกล่าวโดยประณีต Sufficient: พอเพยง คือ หลักความพอเพยง โดยบุคคลสามารถแยกแยะ



ผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวมอย่างเป็นอตโนมัติ กล่าวขยายความตามโมเดล คือ ความพอเพยงนั้น

มิอาจเกิดขึ้นได้โดยแท้ หากปราศจากบันไดขั้นแรกที่ส าคัญคือ การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์
ส่วนรวมได้อย่างอตโนมัติในมโนธรรม ความนึกคิด จิตส านึก ก็จะท าให้น าไปสู่การกระท าที่ไม่กอบโกยผลประโยชน์


สาธารณะมาเป็นของตนเองอย่างเป็นอัตโนมัติเช่นกัน โดยมิต้องยับยั้งชั่งใจเลยในการพจารณากระท าคุณความสุจริต
หรือหักห้ามใจในการทุจริตอันสืบเนื่องจากความเป็นอัตโนมัตินั้นแล

การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวมอย่างเป็นอตโนมัติ จึงเป็น

ื้
พนฐานส าคัญของคุณงามความดีในระดับที่สูงยิ่งๆ ขึ้นไป ทั้งความพอเพียง คุณธรรมในใจ จริยธรรมในการกระท า

จึงเป็นความส าคัญยิ่งในการสร้างให้เกิดขึ้นในจิตใจของปุถุชนอนจะน าไปสู่ความดีงามในระดับที่สูงขึ้น ทั้งยังเกิด
ประโยชน์ต่อสาธารณะ คือ ไม่เบียดเบียนสาธารณะ ไม่ทุจริต และยังเป็นรูปธรรมที่จับต้องได้ เห็นผลชัดเจน

และมีความส าคัญอย่างเท่าเทียมกันไม่ว่าจะในฐานะของผู้น า ผู้มีอานาจในบ้านเมือง ที่ต้องแยกผลประโยชน์

ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวมได้ ไม่ใช้อานาจกอบโกยประโยชน์เข้าสู่ตนเอง หรือในฐานะของประชาชนทั่วไป
ที่สามารถแยกแยะผลประโยชน์ตัวและผลประโยชน์ส่วนรวมได้ ไม่ละเมิดประโยชน์สาธารณะ



ในมุมมองของพระพทธศาสนา หลักพอเพยงอนเกิดจากการแยกแยะผลประโยชน์ส่วนบุคคล

และผลประโยชน์ส่วนรวมดังกล่าว สอดคล้องกับหลักธรรม เรื่อง “ประโยชน์ ๓ (อัตถะ ๓)” อันประกอบไปด้วย
(๑) อัตตัตถะ – ประโยชน์ตน
(๒) ปรัตถะ – ประโยชน์ผู้อื่น
(๓) อุภยัตถะ – ประโยชน์ร่วมกัน, ประโยชน์ส่วนรวม


การจ าแนกประโยชน์ทั้ง ๓ ประการนั้น พระพุทธองค์ ทรงชี้ให้เห็นถึงความแตกต่างกนของรูปแบบ
ทั้ง ๓ ประโยชน์ และยังทรงชี้ให้เห็นถึงโทษแห่งการไม่รู้ประโยชน์ ดังพระสูตรที่ว่า

“ลุทฺโธ อตฺถํ น ชานาติ ความว่า คนผู้โลภแล้วย่อมไม่รู้อัตถะ คือ ประโยชน์เกื้อกูลมีประโยชน์ตนและประโยชน์ผู้อื่นเป็นต้นตามความจริง...
... ดูก่อนพราหมณ์ คนผู้กําหนัดแล้วแล อันราคะครอบงําแล้ว มีจิตถูกราคะกลุ้มรุมแล้ว ย่อมไม่รู้ประโยชน์ตนตามความจริงบ้าง
ย่อมไม่รู้ประโยชน์ผู้อื่นตามความจริงบ้าง ย่อมไม่รู้ทั้งประโยชน์ตน และประโยชนผู้อื่น ทั้งสองอย่างตามความจริงบ้าง ดังนี้ ...”

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๕๓

อนึ่ง พอเพยง ยังสอดคล้องกับหลักธรรมส าคัญอกประการ คือ “สันโดษ” อนหมายถึงความยินดีด้วย



ิ่
ของของตนด้วยเรี่ยวแรง และความเพยรโดยความชอบธรรม ความยินดีด้วยปัจจัย ๔ ตามมีตามได้ ความรู้จักอม

รู้จักพอ สันโดษแบ่งออกได้เป็น ๓ ประการดังนี้
(๑) ยถาลาภสันโดษ - ยินดีตามที่ได้ หมายความว่า ตนหาสิ่งใดได้มาด้วยความเพยร

อันชอบธรรม ก็ยินดีในสิ่งนั้น ไม่ติดใจอยากได้สิ่งอื่น ทั้งไม่เดือดร้อนเพราะสิ่งที่ตนไม่ได้มา และไม่ริษยาคนอื่นเขา

(๒) ยถาพลสันโดษ – ยินดีตามก าลัง คือ ตนท าเต็มที่ตามศักยภาพที่มีอยู่ และได้มาแค่ไหน
ก็ยินดีแคนั้น ไม่ยินดีอยากได้เกินก าลัง

(๓) ยถาสารุปปสันโดษ – ยินดีตามสมควร หมายถึง ยินดีตามที่เหมาะสมกับตน ทั้งในแง่ของ

เพศภาวะ ฐานะทางสังคมและแนวทางการด าเนินชีวิต


การสามารถแยกแยะผลประโยชน์ทั้ง ๓ ประการ (อตถิ ๓) ได้โดยอตโนมัติ รวมถึงมีความสันโดษ
ในจิตใจ (ยถาลาภสันโดษ, ยถาพลสันโดษ, และยถาสารุปปสันโดษ) ย่อมยังให้เกิดความพอเพียงที่แท้จริงทั้งทางกาย
วาจา และจิตใจอย่างยั่งยืนต่อไป

(๒) Transparent : โปร่งใส


T (Transparent) สุจริตธรรมจะช่วยให้สามารถสร้างค่านิยมของความโปร่งใส อนเริ่มมาจาก

ความคิดความองอาจกล้าหาญที่พร้อมจะเปิดเผย (มโนสุจริต) อนเนื่องมาจากกระท าที่สุจริต โปร่งใส และถูกต้อง
ื่
(กายสุจริต) และยังสามารถถ่ายทอดเพอสร้างสรรค์ให้เกิดวัฒนธรรมของความเปิดเผย โปร่งใส และรับผิดชอบ
ให้เกิดขึ้นทั้งในระดับองค์กรและระดับสังคม (วจีสุจริต)

หากกล่าวโดยประณีต Transparent : โปร่งใส คือ บุคคลและหน่วยงานปฏิบัติงาน
บนฐานของความโปร่งใส ความโปร่งใสอาจมิใช่ตัวรับประกันความสุจริตของบุคคลหรือหน่วยงาน แต่ความโปร่งใส

เป็นเครื่องมือส าคัญอนจะน าไปสู่การพฒนาและแก้ไขปัญหาต่างๆ ของหน่วยงานให้น าไปสู่ความเจริญและพฒนา


มากยิ่งขึ้น แนวคิดเกี่ยวกับความโปร่งใสนั้น ไม่มีนิยามที่ตายตัว ขึ้นอยู่กับความเข้าใจของผู้ที่น าไปใช้ รวมทั้งบริบท
ของสังคม วัฒนธรรม ค่านิยมและวิถีชีวิต รวมถึงประเภทขององค์กรด้วย ทั้งนี้ กล่าวโดยสรุป ความโปร่งใส
(Transparent) นั้น หมายถึง การกระท าใดๆ ที่แสดงออกถึงความชัดเจน ตรงไปตรงมา มีการเปิดเผยข้อมูล
ต่อสาธารณชนการประพฤติปฏิบัติของบุคลากรตั้งอยู่บนฐานคติของความซื่อสัตย์สุจริต มีจิตส านึกที่ดี

ต่อหน้าที่ ทั้งนี้ การกระท าใดๆ นั้น ต้องสามารถตรวจสอบและชี้แจงได้เมื่อมีขอสงสัย



โปร่งใส เป็นเครื่องมือส าคัญที่มีความจ าเป็นไม่ใช่เพยงเรื่องต่อต้านการทุจริตเท่านั้น แต่รวมถงในมิติ
ของการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นด้วย เหตุเพราะความโปร่งใสนั้น จะน าไปสู่การตรวจสอบได้

และความรับผิดชอบอกด้วย ความโปร่งใสจึงมิใช่เรื่องของการพฒนาในเชิงระบบเพยงอย่างเดียว แต่หากหมายถึง





การพฒนาเชิงค่านิยม ความกล้าหาญ ความเปิดเผย และความรับผิดชอบอกด้วย และยังหมายถึงการพฒนา
ให้เกิดค่านิยมในการพฒนากระบวนการจัดการงานให้เป็นระบบอยู่เสมอ ทั้งในมิติในเชิงปัจเจก รวมถึงในมุม

ของค่านิยมร่วมของสังคม กล่าวโดยสรุปนั้น ความโปร่งใส เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการต่อต้านการทุจริต หากมีความ
โปร่งใสมาก การตรวจจับการทุจริตรวมถึงการตรวจพบข้อบกพร่องก็จะมีความง่ายยิ่งขึ้น และการสร้างความโปร่งใส

๕๔ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)



มิใช่เพยงการพัฒนาเชิงระบบ แต่การพัฒนาให้เกิดเป็นค่านิยม เป็นวัฒนธรรม ก็ส าคัญไม่แพกัน ในการสร้างทัศนคติ
ทางบวกต่อความโปร่งใส ความรับผิดชอบ อันจะน าไปสู่การร่วมพัฒนางานและต่อต้านการทุจริตต่อไป

ในมุมมองของพระพทธศาสนา ค่านิยมของความโปร่งใส สอดคล้องกับหลักธรรมที่ชื่อว่า “อนวชชสุข”

อันเป็นหนึ่งในสุขของคฤหัสถ์ ๔ ประการ ดังพระพุทธองค์ตรัสไว้ใน อันนนาถสูตร ดังนี้

“...สุข ๔ ประการเป็นไฉน คือ สุขเกิดแต่ความมีทรัพย์ ๑
สุขเกิดแต่การจ่ายทรัพย์บริโภค ๑ สุขเกิดแต่ความไม่เป็นหนี้ ๑

สุขเกิดแต่ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ ๑...”

กล่าวคือ อนวัชชสุข คือ สุขอันเกิดจากการประกอบการงานที่ปราศจากโทษ สุขอนเกิดจากความสุจริต


คือ การประกอบกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อนหาโทษมิได้ บุคคลผู้นั้นย่อมได้รับความสุขโสมนัสว่า
เราประกอบด้วยกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อันหาโทษมิได้ อันพระพุทธองค์ได้ยกไว้ว่าเป็นสุขสูงสุดตามพระสูตรที่ว่า

“...นรชนผู้มีอันจะตายเป็นสภาพ รู้ความไม่เป็นหนี้ว่าเป็นสุขแล้ว
พึงระลึกถึงสุขเกิดแต่ความมีทรัพย์ เมื่อใช้สอยโภคะเป็นสุขอยู่
ย่อมเห็นแจ้งด้วยปัญญา ผู้มีเมธาดี เมื่อเห็นแจ้ง ย่อมรู้

ส่วนทั้ง ๒ ว่า สุขแม้ทั้ง ๓ อย่างนี้ ไม่ถงเสี้ยวที่ ๑๖ อัน

จําแนกแล้ว ๑๖ ครั้ง ของสุขเกิดแต่การประกอบการงานที่ปราศจากโทษ ฯ...”

ความโปร่งใสเป็นเครื่องมือทางโลกในระดับสากลที่ใช้ในการป้องกัน ยับยั้ง การทุจริต ในเชิงของระบบ

กฎหมาย การบริหารงาน โดยมุ่งสร้างจากภายนอกเข้าสู่ภายใน หากแต่ทางพระพทธศาสนานั้น สร้างทั้งจาก
ภายนอกสู่ภายใน (เช่น ศีล เป็นต้น) และยังสร้างภายในสู่ภายนอกด้วย เช่น สุขอันเกิดจากความสุจริตนี้ (อนวัชชสุข)


หากมุ่งสร้างระบบ สร้างกฎเกณฑ์ กลไก ให้เกิดความโปร่งใสมากสักเพยงใด ตัวมนุษย์ผู้อยู่ใต้ร่มนั้นมิได้มีทรรศนะ

ความเห็นถึงประโยชน์ซึ่งเกดจากความสุขอนเกิดจากความสุจริต ความโปร่งใสในระดับวัฒนธรรมย่อมยากที่จะสร้าง

ให้เกิดได้โดยยั่งยืน
(๓) Realise : ตื่นรู้
R (Realise) สุจริตธรรมจะช่วยเสริมสร้างให้เกิดความตื่นรู้ต่อปัญหาการทุจริต (มโนสุจริต)

อนจะน าไปสู่ความพร้อมที่จะลงมือแก้ไขปัญหาการทุจริต (กายสุจริต) และร่วมกันสร้างให้สังคมทุกภาคส่วนตื่นรู้

และร่วมกันแก้ไขปัญหาการทุจริตให้ส าเร็จได้จริง (วจีสุจริต)


หากกล่าวโดยประณีต Realise : ตื่นรู้ คือ การรู้และพร้อมลงมือป้องกันทุจริต ตื่นรู้มิใช่เพยง

การมีความรู้สึกตระหนักถึงพษภัยหรือปัญหาของการทุจริต แต่เป็นความรู้สึกที่หนักแน่นว่าการทุจริตเป็นสิ่งที่ต้อง
ื่
แก้ไข และเป็นรากเหง้าแห่งความชั่วร้ายทั้งปวงที่จะส่งผลร้ายให้เกิดกับทั้งตนเองและต่อผู้อน การตื่นรู้นั้น
นอกเหนือจะเป็นความรู้สึกที่ว่า ตนเองไม่ควรท าทุจริตและจะต้องไม่ท าทุจริต แล้วยังต้องรู้สึกว่าการทุจริตที่เกิดขึ้น
ในสังคมเป็นสิ่งที่ไม่ควรเกิดขึ้นและเป็นสิ่งที่เป็นต้นตอของปัญหาอกหลายประการที่จะตามมา เหนือไปกว่านั้น


ยังต้องรู้สึกอกว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งที่สามารถลงมือแก้ไขปัญหาการทุจริตให้ลดลงได้และยังพร้อมที่จะลงมือกระท า
เมื่อมีโอกาสที่กระท าได้เต็มที่เต็มก าลังของตน

ตื่นรู้ เป็นการสร้างแนวคิดความเห็นที่ถูกต้อง รู้ชัดรากเหง้าแห่งทุจริตและสุจริต เป็นกระบวนการ
ที่มุ่งเน้นให้เกิดขึ้นในความรู้สึกนึกคิดของคนในสังคม ที่ไม่ใช่เพยงการสร้างค่านิยมว่าการทุจริตเป็นสิ่งที่ไม่ดี

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๕๕

ไม่สมควรกระท า แต่ยังต้องสามารถเชื่อมโยงและบูรณาการได้ว่าปัญหาหลายประการที่เป็นความเสื่อมที่เกิดขึ้น
ี่
ในปัจจุบัน ทุกๆ ปัญหาล้วนมีความเกยวข้องกับการทุจริตอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกจากนี้ ยังต้องสามารถเชื่อมโยง
ื่
เหตุและผลให้สอดคล้องกันเพอเปลี่ยนถ่ายค่านิยมเดิมว่า“การทุจริตเป็นเรื่องไกลตัว” ด้วยการรู้และแสดง
ข้อเท็จจริง เช่น “แม้จะไม่ได้จ่ายภาษีเงินได้บุคคลแต่ทุกคนก็ต้องจ่ายภาษีในรูปแบบภาษีมูลค่าเพม ๗% ในทุกครั้งที่
ิ่
มีการใช้จ่าย”, “งบประมาณแผ่นดินมีมากเพียงพอที่จะพัฒนาสิ่งต่าง ๆ ได้มากมาย แต่กลับพัฒนาได้
ไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วยเพราะการทุจริต”, “การให้สินบนหรือสมประโยชน์กันระหว่างข้าราชการและเอกชนแม้จะดู

ไม่เกี่ยวข้องกับตน แต่ในท้ายที่สุดแล้วผลประโยชน์ที่ควรตกแก่สาธารณะก็กลับกลายเป็นประโยชน์ส่วนบุคคล
ของคนบางคน” เป็นต้น

ในมุมมองของพระพทธศาสนา การตื่นรู้ สอดคล้องกับหลักธรรมที่ชื่อว่า “สัมมาทิฏฐิ” อนเป็น



หนึ่งองค์ธรรมของ “มรรคมองค์ ๘” (หนทาง, ทาง) ที่พระพทธองค์ได้ตรัสไว้ ๘ ประการ คือ ๑. สัมมาทิฏฐิ - เห็นชอบ,
๒. สัมมาสังกัปปะ - ด าริชอบ, ๓. สัมมาวาจา - เจรจาชอบ, ๔. สัมมากัมมันตะ - ท าการชอบ, ๕. สัมมาอาชีวะ - เลี้ยงชีพชอบ,
๖. สัมมาวายามะ - เพียรชอบ, ๗. สัมมาสติ - ระลึกชอบ, และ ๘. สัมมาสมาธิ - ตั้งจิตมั่นชอบ

ื้
หากจะกล่าวโดยละเอียด สัมมาทิฏฐิ – เห็นชอบ เป็นข้อแรกของข้อธรรมที่หากปราศจากพนฐาน

ของความเห็นชอบแล้วนั้น ย่อมยากยิ่งที่จะถึงจุดหมายปลายทาง โดยสัมมาทิฏฐิ คือปัญญาอนเห็นชอบ
ตามความเป็นจริง ตามครรลองคลองธรรม ปัจจัยให้เกิดสัมมาทิฏฐิ คือ ทางเกิดแห่งแนวคิดที่ถูกต้อง, ต้นทาง
ของความดีงามทั้งปวงมี ๒ ประการ

๑. ปรโตโฆสะ คือ การหมั่นรับฟังค าแนะน า ข่าวสาร สนทนาซักถาม ฟังค าบอกเล่าจากผู้อื่น
ผู้เป็นกัลยาณมิตร (การกระตุ้นจากภายนอก)

๒. โยนิโสมนสิการ คือ กระท าในใจโดยแยบคาย มองสิ่งทั้งหลายด้วยความคิดพจารณา

รู้จักสืบสาวหาเหตุผล แยกแยะสิ่งนั้นๆ หรือปัญหานั้นๆ ออก ให้เห็นตามสภาวะและตามความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัย

(การใช้ความคิดถูกวิธี ความรู้จักคิด คิดเป็น)

การตื่นรู้ในการต่อต้านการทุจริตอันมีพื้นฐานจากสุจริตธรรมทั้งทาง กาย วาจา ใจ นั้น จะเกิดขึ้นได้



ยากยิ่ง หากปราศจากแนวทางและวิธีการที่แยบคายอนพระพทธศาสนาได้ก าหนดไว้แล้วคือ สัมมาทิฏฐิ ปัญญาอนเห็นชอบ
ตามความเป็นจริงที่เกิดจากการหมั่นรับข้อมูลข่าวสาร (ปรโตโฆสะ) แล้วน ามาคิดวิเคราะห์ไตร่ตรองตามสภาวะ
แห่งเหตุปัจจัยของความเป็นจริง (โยนิโสมนสิการ) อันจะน ามาสู่แนวคิดความเห็นที่ถูกต้อง รู้ชัดรากเหง้าแห่งทุจริต
และสุจริต ซึ่งจะน าไปสู่การพร้อมร่วมกันลงมือป้องกันทุจริต

(๔) Onward: มุ่งไปข้างหน้า
O (Onward) สุจริตธรรมจะเสริมสร้างให้เกิดการขับเคลื่อนสังคมไปสู่ความเจริญ อนมีจุดเริ่มต้น

จากการมีวิสัยทัศน์และความเชื่อความศรัทธาที่ว่าสังคมสามารถเปลี่ยนไปสู่ความเจริญได้ และเราทุกคนล้วนมีหน้าที่
ต้องรับผิดชอบต่อสาธารณะ (มโนสุจริต) เมื่อรู้แล้วก็พร้อมลงมือเปลี่ยนแปลง แก้ไข สร้างสิ่งที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น

(กายสุจริต) และยังสามารถเป็นผู้น าแก่บุคคลอน โน้มน้าว สังคม ให้เชื่อและร่วมมุ่งไปข้างหน้าโดยสามัคคีกัน
ื่
(วจีสุจริต)
หากกล่าวโดยประณีต Onward: มุ่งไปข้างหน้า คือ การมุ่งพฒนาให้เกิดความเจริญโดยการต่อสู้

กับการทุจริตอย่างไม่ย่อท้อ โดยมีพื้นฐานจากความเชื่อ ความศรัทธา ในการเปลี่ยนแปลงสังคมให้น าไปสู่ความเจริญ

๕๖ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)



โดยการต่อสู้กับการทุจริต ภายใต้ความเชื่อที่ว่า หากตนเองดีเพยงส่วนเดียวนั้นก็อาจไม่เพยงพอที่จะเป็นพลัง
ื่
ในการเปลี่ยนแปลงสังคมได้ ต้องโน้มน้าว จูงใจ ชักน า หรือลงมือกระท าตามก าลังที่ตนมีเพอปรับปรุงสังคม
ให้ดียิ่งขึ้น เพื่อสร้างแนวร่วมแห่งความสุจริตให้เกิดขึ้นมาเพื่อต่อสู้กับการทุจริตที่เป็นรากเหง้าส าคัญแห่งปัญหาอื่นๆ

การมุ่งไปข้างหน้า ยังหมายถึง การเพยรพยายามแก้ไขสิ่งที่ผิดปรับปรุงให้กลายเป็นสิ่งที่ถูกต้อง



ดีงาม โดยไม่เพกเฉย หรืออดทนต่อความทุจริตนั้นๆ โดยการแสวงหาหนทาง เพยรพยายาม มีศรัทธาความเชื่อ

ในเป้าหมายว่าสามารถท าให้เกิดขึ้นได้จริงๆ อย่างไม่ย่อท้อต่ออปสรรค และมีวิริยะอตสาหะเพยรพยายาม


ในการรักษาคุณความดีที่เกิดขึ้นแล้วให้คงอยู่อย่างสม่ าเสมอ

ในมุมมองของพระพทธศาสนา การมุ่งไปข้างหน้า สอดคล้องกับหลักธรรมที่ชื่อว่า “จักขุมา”
อนเป็นหนึ่งองค์ธรรมของ “ปาปณิกธรรม ๓” ที่ประกอบไปด้วย ๑. จักขุมา, ๒. วิธูโร, และ ๓. นิสสยสัมปันโน

องค์ธรรมของปาปณิกธรรมนั้น ปรากฏในปาปณิกสูตร ในสูตรที่ ๑ ตรัสไว้ว่า

“...องค์ ๓ ประการเป็นไฉน ภิกษุทั้งหลาย
พ่อค้าในโลกนี้ เวลาเช้าจัดแจงการงานโดยเอื้อเฟื้อ เวลาเที่ยงจัดแจง
การงานโดยเออเฟื้อ เวลาเย็นจัดแจงการงานโดยเอื้อเฟอ ภิกษุทั้งหลาย
ื้
ื้
พ่อค้าผู้ประกอบด้วยองค์ ๓ ประการนี้แล สมควรจะได้โภคทรัพย์ที่ยังไม่ได้
หรือเพอทําโภคทรัพย์ที่ได้แล้วให้ทวีมากขึ้น...”
ื่
โดยได้เชื่อมโยงมาถึงกบภิกษุทั้งหลายว่า ภิกษผู้ประกอบด้วย ธรรม ๓ ประการ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน


ื่
สมควรจะได้บรรลุกุศลธรรมหรือสุจริตธรรมที่ยังไม่ได้บรรลุ หรือเพอท ากุศลธรรมหรือสุจริตธรรมที่ได้บรรลุแล้วให้เจริญ
มากขึ้น กล่าวคือ ความเพียร ไม่ย่อท้อต่อ และท าอย่างต่อเนื่องอยู่เป็นนิจเป็นเหตุปัจจัยให้น าไปสู่ความส าเร็จ
ทั้งทางโลกและทางธรรม

นอกจากนี้ องค์ ๓ ประการในสูตรที่ ๒ ยังได้กล่าวข้อธรรมที่เหนือไปกว่านั้นว่า หากผู้ใด
ประกอบด้วยองค์ ๓ ประการนี้ “...จะถึงความมีโภคทรัพย์มากมายเหลือเฟอไม่นานเลย...” กล่าวคือ ไม่ใช่เพียงแค่ได้


โภคทรัพย์มากขนตามพระสูตรที่ ๑ แต่จะได้โภคทรัพย์มากมายในเวลาไม่นาน (อย่างรวดเร็ว) ในองค์ธรรมขอแรกคอ

ึ้
จักขุมา อันพระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า

“... ภิกษุทั้งหลาย พ่อค้าชื่อว่าเป็นคนมีตาดีอย่างไร ภิกษทั้งหลาย

พ่อค้าในโลกนี้ย่อมรู้สิ่งที่จะพงซื้อขายว่า สิ่งที่พึงขายนี้ ซื้อมาเท่านี้ ขายไป
เท่านี้ จักได้ทุนเท่านี้ มีกําไรเท่านี้ ดังนี้ ภิกษุทั้งหลาย พ่อค้าชื่อว่าเป็น

คนมีตาดี ด้วยอาการอย่างนี้แล...”

กล่าวคือ การมีปัญญามองการณ์ไกล รู้ว่าต้องท าอย่างไรถึงจะบรรลุตามเป้าหมาย สามารถวางแผน

และฉลาดในการอ่านคน

จักขุมา (ปาปณิกธรรม) และมุ่งไปข้างหน้า (Onward) จึงเชื่อมโยงสอดคล้องกันในความที่ว่า

เป็นความเพยรพยายามอย่างต่อเนื่อง มีปัญญา มีศรัทธา มองการณ์ไกล มีวิสัยทัศน์ มุ่งพฒนาให้เกิดความเจริญ

โดยการต่อสู้ทุจริตไปสู่เป้าหมายอย่างไม่ย่อท้อ ตามความที่กล่าวข้างต้นนั้นเอง

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๕๗

(๕) Knowledge : ความรู้
N (kNowledge) สุจริตธรรมจะเสริมสร้างให้เกิดค่านิยมความใฝ่รู้ แสวงหาข้อมูล ข้อเท็จจริง

เป็นฐานในการประกอบกิจการงานต่างๆ (มโนสุจริต) และแสวงหาความรู้ทั้งสิ่งที่ล่วงมาแล้ว สิ่งที่เกิดขึ้น
ณ ปัจจุบันขณะ และคาดการณ์หนทางที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตอย่างเท่าทัน (กายสุจริต) และยังร่วมถ่ายทอด
ให้สังคมเป็นสังคมที่ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้อยู่เสมอให้เท่าทันต่อสถานการณ์การทุจริต (วจีสุจริต)

หากกล่าวโดยประณีต Knowledge: ความรู้ คือ การแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง เพอให้เท่าทัน
ื่
ต่อสถานการณ์การทุจริต ความรู้เป็นพนฐานส าคัญในการกระท าทุกสิ่งในชีวิตประจ าวัน การก าหนดเรื่องความรู้
ื้
ในโมเดล STRONG นั้น มีความส าคัญมาก ด้วยเพราะการทุจริตโดยธรรมชาติ เป็นเรื่องที่ต้องปกปิด ซุกซ่อนอ าพราง
และที่ส าคัญคือมีความซับซ้อนและมีพฒนาการอย่างรวดเร็วอย่างยิ่งในแต่ละยุคแต่ละสมัย

การมีความรู้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงทั้งในปัจจุบันขณะที่เกิดขึ้น ความรู้เท่าทันแนวโน้ม

ในอนาคตที่อาจจะเกิดขึ้น รวมถึงความรู้ในอดีตอนอาจจะวนกลับมาเกิดขึ้นอกในปัจจุบัน จึงเป็นสิ่งที่ส าคัญอย่างยิ่ง

ื่
เพอให้เท่าทันและสามารถรับมือและแก้ไขปัญหาการทุจริตทั้งที่จะเกิดกับตนเองหรือเกิดต่อส่วนรวมได้อย่างเท่าทัน
สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้โดยยั่งยืนจะต้องเกิดจากความใฝ่รู้ ค่านิยมในการแสวงหาความรู้ และความรู้ในการค้นคว้า
แหล่งความรู้นั้น ๆ

ในมุมมองของพระพุทธศาสนา ความรู้ สอดคล้องกับหลักธรรมที่ชื่อว่า “วิธูโร” อันเป็น
หนึ่งองคธรรมของ “ปาปณิกธรรม ๓” ที่ประกอบไปด้วย ๑. จักขุมา, ๒. วิธูโร, และ๓. นิสสยสัมปันโน ปาปณิกสูตร

ในพระสูตรที่ ๑ ที่กล่าวถึงความสม่ าเสมอนั้นได้อรรถาธิบายในหัวข้อก่อนหน้าแล้ว ในหัวข้อนี้ จะมุ่งเน้นเฉพาะ
ข้อธรรม วิธูโร

วิธูโรนั้น หมายถึง จัดการธุระได้ดี มีความเชี่ยวชาญ มีความช านาญด้านเทคนิค ในพระสูตร
ได้บัญญัติไว้ว่า

“... ภิกษุทั้งหลาย พ่อค้าชื่อว่ามีธุระดีอย่างไร

ภิกษุทั้งหลาย พอค้าในโลกนี้ เป็นคนฉลาดที่จะซื้อและขายสิ่งที่ตนจะพึง
ซื้อขาย ภิกษุทั้งหลาย พ่อค้าชื่อว่าเป็นคนมีธุระดี ด้วยอาการอย่างนี้แล ...”

วิธูโร (ปาปณิกธรรม) และความรู้ (Knowledge) ตามโมเดล STRONG นั้น จึงเชื่อมโยงสอดคล้องกัน
ในแง่ที่ว่า มีความเพียรพยายาม มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง นั้นแล

(๖) Generosity: เอื้ออาทร
ื้
G (Generosity) สุจริตธรรมจะเสริมสร้างสังคมให้เกิดความเอออาทรต่อกัน มีเมตตาต่อกัน


ภายใต้ความถูกต้องของกฎหมาย จริยธรรม ไม่น าประโยชน์อนควรเป็นสาธารณสมบัติมาเป็นของตนหรือพวกพอง
(มโนสุจริต) มีความกรุณาต่อกันอย่างบริสุทธิ์ใจโดยไม่หวังการตอบแทน (กายสุจริต) และร่วมสร้างสังคมที่กอรปด้วย
ความเอื้ออาทรต่อกัน บนพื้นฐานของจริยธรรมอันถูกต้อง (วจีสุจริต)


ื้
ื้
กล่าวโดยประณีต Generosity: เอออาทร คือ ร่วมพฒนาให้เกิดความเอออาทรต่อกันบนพนฐาน
ื้

ของจริยธรรมและจิตพอเพยง ความเอออาทรเป็นพนฐานส าคัญของการอยู่ร่วมกันในสังคมมนุษย์อนต้องการ
ื้
ื้

ความเออเฟอเผื่อแผ่ เมตตากรุณา มีน้ าใจซึ่งกันและกัน แต่จากข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ความเอออาทรที่เกินขอบเขต
ื้
ื้
ื้

๕๘ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)

เกินหลักของเหตุและผล ที่นอกจากจะน าไปสู่ความเดือดร้อนในระดับบุคคลเองแล้วยังน าไปสู่สิ่งที่เรียกว่า
“ระบบอุปถัมภ์” ในทางที่ไม่ถูกต้องอันจะส่งผลกระทบต่อบุคคลอื่น รวมถึงสังคมในวงกว้างอีกด้วย

การปลูกฝังความเอื้ออาทรต่อกันในทางที่ถูกต้อง จึงยังจะให้เกิดประโยชน์ทั้งในแง่มุมของการอยู่ร่วมกัน

อย่างเป็นสุขของคนในสังคม อีกทั้งยังเป็นการก าหนดขอบเขตที่ว่าเอื้ออาทรต่อกันในกรอบจริยธรรมไหน ที่จะไม่เป็น

ื่
การเดือดร้อนต่อตนเองและผู้อน หรือไม่เป็นการแสวงหาผลประโยชน์อนมิชอบมาเป็นของตน สร้างค่านิยม
ี่
ความเอื้ออาทรต่อกันในขอบเขตทถูกที่ควรเพื่อลดค่านิยมระบบอุปถัมภ์อันเป็นรากเหง้าของปัญหาการทุจริต และยัง
สามารถน าไปสู่ความเป็นน้ าหนึ่งใจเดียวกันในการร่วมกันต่อต้านการุทจริต สร้างแนวร่วมความสุจริตได้อีกด้วย

ในมุมมองของพระพทธศาสนา เอออาทร สอดคล้องกับหลักธรรมที่ชื่อว่า “นิสสยสัมปันโน”
ื้
อนเป็นหนึ่งองค์ธรรมของ “ปาปณิกธรรม ๓” ที่ประกอบไปด้วย ๑. จักขุมา, ๒. วิธูโร, และ ๓. นิสสยสัมปันโน

ปาปณิกสูตรในพระสูตรที่ ๑ ที่กล่าวถึงความสม่ าเสมอนั้นได้อรรถาธิบายในหัวข้อก่อนหน้าแล้ว ในหัวข้อนี้ จะมุ่งเน้น
เฉพาะข้อธรรม นิสสยสัมปันโน

ึ่
นิสสยสัมปันโน หมายถึง การเป็นที่พงได้ การพร้อมถึงความเชื่อถือ ไว้วางใจ ในหมู่คณะ
การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ดังในพระสูตรที่กล่าวไว้ว่า

“... ภิกษุทั้งหลาย พ่อค้าชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยคนซึ่งจะเป็นที่พึ่งได้อย่างไร
ภิกษุทั้งหลาย พอค้าในโลกนี้ อันคฤหบดีหรือบุตรคฤหบดีผู้มั่งคั่ง ผู้มีทรัพย์มาก

มีโภคะมาก ทราบได้เช่นนี้ว่าท่านพอค้าผู้นี้แล เป็นคนมีตาดี มีธุระดี สามารถ

ที่จะเลี้ยงบุตรภรรยา และใช้คืนให้แก่เราตามเวลาได้ เขาต่างก็เชื้อเชิญ
พ่อค้านั้นด้วยโภคะว่า แน่ะท่านพ่อค้าผู้สหาย แต่นี้ไปท่านจงนําเอาโภคะไปเลี้ยงดู

บุตรภรรยา และใช้คืนให้แก่เราตามเวลา ภิกษุทั้งหลาย พ่อค้าชื่อว่าเป็น
ผู้ถึงพร้อมด้วยบุคคลซึ่งเป็นที่พึ่งได้ด้วยอาการอย่างนี้แล ...”


นิสสยสัมปันโน (ปาปณิกธรรม) และเอ้ออาทร (Generosity) ตามโมเดล STRONG นั้น

ื้
จึงเชื่อมโยงสอดคล้องกันในความหมายนี้ คือการมีมนุษยสัมพนธ์ดี เป็นที่พงพงได้ นิสัยดี มีความเอออาทรต่อกัน
ึ่

บนพื้นฐานจริยธรรมและความพอเพียงนั่นเอง
๔. วงล้อสุจริตธรรมแห่ง STRONG Model

หลักธรรมค าสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพทธเจ้าล้วนเป็นสัจธรรมความเป็นจริงที่เชื่อมโยง
สอดคล้องกันอนจะน าไปสู่การเจริญงอกงามของผู้ปฏิบัติตามพระสัจธรรมเหล่านั้น ความเชื่อมโยงอนเป็นสัจธรรม


ของพระสัจธรรม ถูกแสดงออกผ่านพระธรรมเทศนาทั้งแบบอนุโลม – ปฏิโลม ของพระบรมศาสดารวมถึง
พระอปัชฌาครูบาอาจารย์ที่ได้พรรณาไว้แต่บรรพกาลมา เช่นว่าความเชื่อมโยงสัมพนธ์กันของสุจริตธรรม


อันมีกายสุจริต วาจาสุจริต และมโนสุจริต เป็นต้น
กายสุจริต และวาจาสุจริต ด้วยอานาจของศีลและการปฏิบัติย่อมเป็นสิ่งขัดเกลาจิตใจให้มีความสุจริต

มโนสุจริต อนเกิดจากการฝึกจิตที่ดีแล้วก็จะน าไปสู่การแสดงออกทางกายที่สุจริตและวจีที่สุจริตเช่นกัน

ในทางกลับกัน กายหรือวาจาที่ทุจริต ก็จะน าไปสู่ความมัวหมองของใจ ความคิดหรือมโนที่ทุจริต ก็จะแสดงออก

ผ่านกายและวาจาที่ทุจริตเฉกเช่นเดียวกัน การเชื่อมโยงกันในข้อธรรมลักษณะนี้ปรากฏเป็นลักษณะเดียวกัน

ในข้อธรรมของพระพทธศาสนาหลายหลักธรรม เช่น อริยสัจ ๔ ความเชื่อมโยงของทุกข์ เหตุทุกข์ ความพนทุกข์


ทางพนทุกข์, พรหมวิหาร ๔ ความเชื่อมโยงของการสงสาร การช่วยเหลือ การยินดี และการวางเฉยเมื่อเกินก าลัง,

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๕๙



อทธิบาท ๔ ความเชื่อมโยงของความพอใจ ความพยายามท า ความตั้งใจ และการใคร่ครวญพจารณาในสิ่งที่ท า
อย่างสม่ าเสมอ เป็นต้น

โมเดล STRONG ก็เฉกเช่นเดียวกัน นัยยะของโมเดลแต่ละตัวล้วนถ่ายทอดอดมคติที่เชื่อมโยง
ร้อยเรียงอย่างมีแบบแผน เริ่มจาก พอเพยง (S-Sufficient) แยกแยะผลประโยชน์ส่วนบุคคลได้แล้ว หากถูกต้อง

ก็ต้องกล้าที่จะเปิดเผย โปร่งใส มุ่งสร้างความโปร่งใส ความรับผิดรับชอบ (T-Transparent) เมื่อเปิดเผยแล้ว
สิ่งที่ปรากฏ ตรงไหนมีปัญหาต้องแก้ไข ส่วนใดมีผลกระทบตรงไหนบ้าง ก็ต้องตื่นรู้ และพร้อมลงมือแก้ไขสิ่งนั้น (R-Realise)
เมื่อรู้ชัดถึงแนวทางก็มุ่งแก้ไขพัฒนาอย่างไม่ย่อท้อ (O-Onward) สิ่งที่ส าคัญคือต้องไม่ประมาทโดยการแสวงหา

ื่
ความรู้อย่างเท่าทันเพอพัฒนาตนเองอยู่เสมอ (N-kNowledge) และยังต้องแสวงหาแนวร่วมความดีผ่านการสร้าง
ค่านิยมของความเอื้ออาทรในทางที่ดีงาม (G-Generosity)



หากกล่าวโดยพสดารไปอกขั้น จะสามารถเชื่อมโยงให้เห็นถึงโมเดลคู่ตรงข้ามกันที่เป็นความสมดุล
ซึ่งกันและกันของโมเดลตามเส้นเชื่อมโยงที่แสดง คือ
(๑) S-Sufficient พอเพียง และ O-Onward มุ่งไปข้างหน้า
ความพอเพยง การแยกผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวมโดยอตโนมัติ (+S)


หากบุคคลสร้างให้เกิดในจิตใจได้แล้ว แต่ไม่ร่วมกันมุ่งสร้างสรรค์ให้เกิดขึ้นในสังคมส่วนรวม (-O) ความเจริญงอกงาม
ในสังคมภาพรวมก็เกิดขึ้นได้โดยยาก ในทางกลับกัน หากบุคคลมุ่งแต่จะพฒนา (+O) โดยหลงลืมการแก้ไขจัดการ


ความโลภของตน กิเลสของตน กอบโกยโดยไม่พจารณาว่าสิ่งใดเป็นสิ่งที่ตนพงได้สิ่งใดเป็นประโยชน์สาธารณะ (-S)




จากผู้พฒนาก็จะกลายเป็นผู้ที่เน้นการกอบโกย เพราะฉะนั้น การพฒนาจึงควรท าให้เกิดทั้งความพอเพยง
การแยกแยะฯ (+S) และปลูกฝังให้เกิดจิตส านึกสาธารณะ มุ่งแก้ไข (+O) ไปโดยพร้อมเพรียงกัน
(๒) T-Transparent โปร่งใส และ N-kNowledge ความรู้
หากมีข้อก าหนดให้มีการเปิดเผยเกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง ในทุกส่วนของสังคม มีการวางระบบ
กฎหมาย และค่านิยมในการสนับสนุนการเปิดเผยอย่างประสบความส าเร็จ (+T) แต่สังคมไม่รู้เท่าทัน ขาดความรู้

ความเข้าใจในสิ่งเหล่านั้น จึงไม่รู้ว่าสิ่งที่เปิดเผยนั้นผิดถูกอย่างไร ต้องแก้ไขในจุดไหน (-N) การเปิดเผยนั้นก็เปล่า
ประโยชน์เสมือนลิงได้แก้ว ในทางกลับกัน สังคมมีความรู้มากมาย มีการแสวงหาความรู้อยู่สม่ าเสมอ (+N)
แต่หน่วยงานหรือองค์กรไม่มีค่านิยมหรือกฎหมายในการเปิดเผย โปร่งใส (-T) ความไว้เนื้อเชื่อใจกันก็จะเกิดขึ้นได้
โดยยาก เพราะฉะนั้น การพัฒนาจึงควรมุ่งให้เกิดทั้งความเปิดเผย โปร่งใส รับผิดชอบ (+T) และต้องสร้างสรรค์

ให้สังคมเกิดความรู้ และค่านิยมในการแสวงหาความรู้อยู่เสมอ (+N) ไปควบคู่กัน

(๓) R-Realise ตื่นรู้ และ G-Generosity เอื้ออาทร
สังคมที่มีความตื่นรู้ มุ่งเฝ้าระวังและคอยจับตามองหรือจับผิดคนที่กระท าสิ่งที่ไม่ถูกต้องเป็นสังคม
ที่ทรงคุณค่าด้านการตรวจสอบซึ่งกันและกัน (+R) แต่หากเมื่อใดสังคมนั้นขาดมิติของความช่วยเหลือเกื้อกูลกัน



เอ้ออาทร ต่อกันและกัน บนพ้นฐานของความเป็นเพ่อมนุษย์แล้วนั้น (-G) สังคมนั้น ย่อมเป็นสังคมที่ไม่น่าอยู่
ในทางกลับกัน สังคมที่ช่วยเหลือเกื้อกูลกันอย่างมาก (+G) โดยที่ไม่สนใจว่าการช่วยเหลือนั้น จะเป็นสิ่งที่ถูกกฎหมาย
หรือจริยธรรมหรือไม่ และไม่สนใจรอบตัวว่าจะเกิดสิ่งที่ไม่ถูกต้องขึ้นมาอย่างไร (-R) สังคมนั้นก็เป็นสังคมที่หย่อนยาน

เพราะฉะนั้น การพฒนาจึงควรมุ่งให้เกิดทั้งมิติของการอยู่ร่วมกันแบบมีกฎเกณฑ์ แบบแผน เป็นสังคม (+R) รวมถึง
มิติของความเป็นมนุษย์ (+G) ไปพร้อมๆ กัน

๖๐ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)


จากที่ยกตัวอย่างข้างต้น น าไปสู่ข้อสรุปที่ว่า โมเดล STRONG อนจะน าไปสู่การสร้างตัวบุคคล
ที่เข้มแข็ง องค์กรที่เข้มแข็ง สังคมที่เข็มแข็งได้นั้น ต้องเดินหน้าไปพร้อมกันในทุกองค์ประกอบ จึงจะน าไปสู่

ี่
ปลายทางของความส าเร็จได้อย่างยั่งยืน หากองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งเสียสมดุลลงไป ก็ยากทจะหมุนวงล้อ
ื่
ของโมเดลได้อย่างเต็มก าลัง ในลักษณะเดียวกันกับ สุจริตธรรม และข้อธรรรมอนๆ ที่มีองค์ประกอบที่ต้อง
ขับเคลื่อนที่ส าคัญไม่ต่างกัน

การขับเคลื่อนวงล้อของ STRONG Model อย่างต่อเนื่อง เสมือนกับการหมุนของวงล้อแห่งมรรค

ทั้ง ๘ จะสร้างเสริมความเจริญและเข้มแขงยิ่งขึ้น โดยการหมุนกงล้อพนฐานของ STRONG อย่างต่อเนื่อง มีการปรับ
ื้
เปลี่ยนแปลง (R - Reformity) มิติ STRONG ทั้ง ๖ อย่างดีเลิศ (E - Excellence) เป็นก้าวสู่ระดับ STRONGER
และก้าวสู่ระดับสูงสุด STRONGEST เมื่อทั้ง ๖ มิติ ก้าวสู่ความยั่งยืน (S - Sustainability) ไปสู่วิถีจริยธรรม
(E - Ethics) เป็นสังคมในรูปแบบใหม่ ค่านิยมใหม่ ความจริงใหม่ อนเป็นจุดหมายคือสัจธรรม (T - Truth) นั่นเอง

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๖๑

๕. สรุปความ

ดังที่ได้กล่าวแล้วว่า หลักสุจริตธรรมนั้นจัดได้ว่าเป็นรากฐานความดีทุกประการ เพราะหากบุคคลใด
มีหลักสุจริตธรรมภายในจิตใจ ย่อมเป็นบุคคลที่มีชีวิตที่สะอาด ทั้งทางจิตใจ ทางกาย และทางวาจา ซึ่งความสะอาด

ของชีวิตทั้ง ๓ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากมีความเข้มแข็ง( STRONG) ทั้งความคิด การกระท า และค าพด จะส่งผล

ต่อการเป็นอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขภายในครอบครัว ชุมชน องค์กร สังคม และประเทศชาติต่อไป


ด้วยเหตุนี้ การพฒนาความสุจริต จึงจ าเป็นต้องเริ่มต้นมาจากฐานรากของชุมชนคือทุกชีวิตที่อาศัย

อยู่ร่วมกันด้วยเหตุผลดังกล่าว พระพทธเจ้าจึงตรัสว่า จงตั้งมั่นอยู่ในคุณธรรมความดี โดยการประพฤติธรรมให้สุจริต
อย่าประพฤติธรรมให้ทุจริต เพราะสิ่งที่จะรักษามนุษย์และสังคมให้อยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขคอสุจริตธรรมนั่นเอง

สุจริตธรรมจึงเป็นหลักการส าคัญที่มนุษย์จะต้องปลุก และปลูกขึ้นในเรือนใจ เพอจะส่งผล
ื่
ต่อการปรับ และเปลี่ยนพฤติกรรม และการสื่อสารที่น าไปสู่การทุจริตคดโกง หรือแย่งชิงสมบัติสาธารณะ


หรือของผู้อนๆ มาเป็นของตนเอง เมื่อมนุษย์พฒนาหลักการดังกล่าวได้ ก็จะท าให้เกิดความเข้มแข็ง (STRONG) ขึ้น
ื่

ผลที่จะตามมาคือจะท าให้เกิดพลังของการใช้ชีวิตแบบพอเพยง มีความโปร่งใสในการใช้ชีวิตและการท างานต่างๆ
เกิดความรู้เท่าทันต่อสภาพปัญหาการทุจริตคดโกงและช่วยกันขับเคลื่อนมาตรการในการป้องกันและปราบปราม
ื่
การทุจริต โดยการใช้องค์ความรู้เข้ามาเป็นฐานส าคัญในการท างานด้วยความทุ่มเทและเสียสละ เพอชุมชน
และสังคมส่วนรวม

ดังที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

ื้
รัชกาลที่ ทรงย้ าเตือนว่า “ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพนฐานของความดีทุกอย่าง จึงต้องฝึกฝนอบรมให้เกิด
ในตัวเอง เพื่อจักได้เป็นคนดีมีประโยชน์ และมีชีวิตที่สะอาด ที่เจริญมั่งคง...”

สร้างให้เกิดความพอเพียง แยกแยะประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวมได้อย่างเปน

ิ่


ในระดับของความคิด (มโนสุจรต) อันจะน าไปสู่การกระท าที่ไม่กอบโกย สร้างให้เกิดค่านิยมของความโปรงใส อันเรม
สร้างสังคมให้เกิดความเอื้ออาทรต่อกัน มี ผลประโยชน์สาธารณะ หรอทรัพย์สินอันมิใช่ของตนมาเปนของตน (กาย ๖๒


มาจากความคิดความองอาจกล้าหาญที่พร้อม


เมตตาต่อกัน ภายใต้ความถูกต้องของกฎหมาย สุจรต) และยังสามารถถายทอดความคิด ค่านิยม อันสามารถรวมกันผลักดัน

จะเปดเผย (มโนสุจรต) อันเนื่องมาจากกระท า







จรยธรรม ไม่น าประโยชน์อันควรเปนสาธารณ ให้เกิดสังคมที่สุจรต เหนแก่ประโยชน์ส่วนรวมเปนส าคัญ(วจีสุจรต)

ที่สุจรต โปร่งใส และถูกต้อง (กายสุจรต) และ



สมบัติมาเปนของตนหรือพวกพ้อง (มโนสุจรต)

ยังสามารถถ่ายทอดเพื่อสร้างสรรค์ให้เกิด

มีความกรุณาต่อกันอย่างบรสุทธิใจโดยไม่หวัง ประโยชน์ 3


Sufficient วัฒนธรรมของความเปดเผย โปรงใส และ
การตอบแทน (กายสุจรต) และรวมสร้างสังคม


รับผิดชอบให้เกิดขึ้นทั้งในระดับองค์กรและ
ที่กอรปด้วยความเอื้ออาทรต่อกัน บนพื้นฐาน พอเพยง สันโดษ ระดับสังคม (วจีสุจรต)


ของจรยธรรมอันถูกต้อง (วจีสุจรต)


Generosity ปาปณกธรรม S อนวัชชสุข Transparent

(นสัยสัมปันนะ) สุขของคฤหัสถ์ 4

เอออาทร G T โปร่งใส


สุจริตธรรม
Integrity หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)

kNowledge ปาปณกธรรม N R Realise

สัมมาทฏธ

(วธุโร)

ความรู ้ O ตนรู ้
ื่


สร้างให้เกิดค่านิยมความไฝรู แสวงหา




ข้อมูล ข้อเทจจรง เปนฐานในการประกอบ ปาปณกธรรม Onward สร้างให้เกิดความตื่นรูต่อปญหาการทุจรต



(มโนสุจรต) อันจะน าไปสูความพร้อมที่จะลง


กิจการงานต่างๆ (มโนสุจริต) และแสวงหา (จักขุมา)


ความรูทั้งสิ่งที่ล่วงมาแล้ว สิ่งที่เกิดขึ้น ณ มุ่งไปข้างหน้า มือแก้ไขปญหาการทุจริต (กายสุจรต) และ

รวมกันสร้างให้สังคมทุกภาคส่วนตื่นรูและ


ปจจุบันขณะ และคาดการณ์หนทางที่อาจจะ




รวมกันแก้ไขปญหาการทุจริตให้ส าเรจได้

ิ่
เกิดขึ้นในอนาคตอย่างเท่าทัน (กายสุจริต) สร้างให้เกิดการขับเคลื่อนสังคมไปสู่ความเจรญ อันมีจุดเรมต้น จรง (วจีสุจรต)



และยังร่วมถ่ายทอดให้สังคมเปนสังคมที่ใฝ ่ จากการมีวสัยทัศน์และความเชื่อความศรัทธาที่วาสังคมสามารถ ิ ิ
เปลี่ยนไปสู่ความเจรญได้ และเราทุกคนล้วนมีหน้าที่ต้อง



รู แสวงหาความรูอยูเสมอให้เท่าทันต่อ

สถานณการณ์การทุจริต (วจีสุจริต) รับผิดชอบต่อสาธารณะ (มโนสุจรต) เมื่อรูแล้วกพร้อมลงมือ




เปลี่ยนแปลง แก้ไข สร้างสิ่งที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น (กายสุจรต) และ

ยังสามารถเปนผู้น าแก่บุคคลอื่น โน้มน้าว สังคม ให้เชื่อและรวม

มุงไปข้างหน้าโดยสามัคคีกัน (วจีสุจรต)

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๖๓

บทที่ ๕

อนุรักขนาปธาน

เพียรรักษาสุจริตธรรมที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อมและบ าเพ็ญให้เจริญยิ่งขึ้นไปจนไพบูลย์ :

พลเมืองและความรับผิดชอบต่อสังคม

๑. ความน า
กำรทุจริตคอร์รัปชันเป็นปัญหำที่แก้ไขได้ยำก รัฐธรรมนูญจึงได้บัญญัติให้เป็นหน้ำที่ของปวงชนชำวไทย

ที่จะต้องร่วมมือต่อต้ำนกำรทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ ทั้งบัญญัติให้รัฐต้องส่งเสริม และสนับสนุน
ื่
ให้ประชำชนรวมตัวกัน หรือผนึกก ำลัง (Synergy) คนดีรวมกลุ่มเป็นเครือข่ำย (Networking) เพอยกระดับธรรมำภิบำล

ในมิติของภำคประชำชนซึ่งเป็นเฟองตัวใหญ่ เพื่อให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงทำงสังคมไปเป็นสังคมพลเมือง (Civil Society)
หรือพลเมืองกับควำมรับผิดชอบต่อสังคม คือ พลเมืองมีจิตส ำนึกสำธำรณะร่วมกัน เพอแกปัญหำกำรทุจริตใน

ื่
ื่

สังคมไทย หรือสังคมที่พลเมืองในระดับต่ำงๆ มีกำรรวมตัวกันอย่ำงแขงแกร่ง เพอที่จะเข้ำมีส่วนร่วมในกำรต่อต้ำน


กำรทุจริต ที่มีผลกระทบต่อพฒนำกำรในด้ำนต่ำงๆ ของท้องถิ่นและประเทศโดยรวม เพอพทักษ์ผลประโยชน์
ื่

และสำธำรณะทรัพย์สมบัติของแผ่นดินให้ตกไปถึงลูกหลำนโดยสมบูรณ์สืบไป อนสอดคล้องกับหลักกำร

ในพระพทธศำสนำ คือ “อนุรักขนาปธาน” เพยรรักษำสุจริตธรรมที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อม อีกทั้งยังต้องรู้จักบ ำเพญ


ให้เจริญยิ่งขึ้นไปตรำบนำนเท่ำนำน
๒. อนุรักขนาปธาน : การเพียรรักษาสุจริตธรรมที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อมและบ าเพ็ญให้เจริญยิ่งขึ้นไปจนไพบูลย ์
อนุรักขนำปธำนตำมที่ปรำกฏใน “ปธานสูตร” ได้ระบุไว้ว่ำ อนุรักขนำปธำน คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้

สร้ำงฉันทะ พยำยำม ปรำรภควำมเพยร ประคองจิตมุ่งมั่นเพอควำมด ำรงอยู่ ไม่เลือนหำย ภิญโญภำพ ไพบูลย์
ื่
เจริญเต็มที่แห่งกุศลที่เกิดขึ้นแล้วนี้เรียกว่ำ อนุรักขนำปธำน


ในที่นี้ขยำยควำมได้ว่ำ อนุรักขนำปธำน หมำยถึง กำรเพยรรักษำสุจริตธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว


ไม่ให้เสื่อมและบ ำเพญให้เจริญยิ่งขึ้นไปจนไพบูลย์ ซึ่งกำรรักษำให้เจริญยิ่งขึ้นไปนี้ มิได้หมำยเอำเพยงกำรดูแลอย่ำง

เดียวเท่ำนั้นหำกแต่หมำยรวมไปถึงกำรสอดส่อง กำรส ำรวจตรวจสอบ กำรพนิจพจำรณำ กำรส่งเสริมให้ท ำควำมดี

อย่ำงต่อเนื่อง ไม่ปล่อยให้เกิดอำกำรช ำรุดทรุดโทรม ไม่ปล่อยให้เกิดรูรั่ว ไม่ปล่อยให้เกิดควำมเสียหำยด้วยประกำรใดๆ
เมื่อพบสิ่งที่ไม่เหมำะไม่ควร อันอำจก่อให้เกิดควำมเสียหำย ไม่ว่ำแก่ตน แก่ประชำคม แก่สังคมส่วนรวมตลอดถึงชำติ
บ้ำนเมือง จะต้องไม่นิ่งดูดำยเฉยเมย แต่ต้องแสดงควำมกล้ำหำญทำงจริยธรรมออกมำท ำหน้ำที่ปกป้องจนเต็ม

สติปัญญำและควำมรู้ควำมสำมำรถ เฉกเช่นพระบรมศำสดำสัมมำสัมพทธเจ้ำทรงใช้ควำมกล้ำหำญอย่ำงเด็ดเดี่ยว

ในกำรเสด็จออกพระรำชวัง เพื่อไปแสวงหำหนทำงแห่งกำรพ้นจำกควำมทุกข์ทั้งปวงสืบไป



กำรที่พระพทธองค์ทรงค้นพบสัจจธรรมอนประเสริฐที่ส ำคัญแก่ชีวิต หรือที่เรียกว่ำ อริยสัจ ๔ นั้น

มีควำมส ำคัญมำกเป็นอย่ำงยิ่ง เพรำะต้องอำศัยควำมเพยรอย่ำงแรงกล้ำและควำมตั้งใจอย่ำงเด็ดเดี่ยวที่จะต่อสู้กับ

๖๔ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)

ั้
สัพพกิเลสที่พบเจอมำทงหมดในชีวิต เช่น กำรยึดมั่นถือมั่นว่ำสิ่งต่ำงๆ เป็นของเรำ อัตตภำพหรือขันธ์ ๕ เป็นของเรำ

กำรหลงใหลใคร่รู้ในกำมคุณ ๕ อนเป็นเหตุน ำพำสู่ควำมหลงผิด เป็นต้น ทั้งหมดนี้นับเป็นสัพพกิเลสที่เกิดขึ้นกับ
มนุษย์มำอย่ำงช้ำนำน ไม่ว่ำในยุคสมัยใด มวลมนุษยชำติก็ประสบกับกิเลสเหล่ำนี้มำทุกยุคสมัย ด้วยเหตุนี้


พระพทธองค์จึงเป็นตัวแทนของเหล่ำมนุษย์ที่มีควำมหำญกล้ำท้ำสู้กับกิเลสทั้งมวลที่วนเวียนอยู่ในชีวิตและชักน ำ



ไปสู่อบำย ควำมเพยรที่ตั้งมั่นด้วยควำมกล้ำหำญเช่นนี้ส่งผลให้เกิดพทธคุณ ๒ ด้ำน กล่ำวคือ อตตหิตสมบัติ และปรหิตปฏิบัติ
ซึ่งพุทธคุณทั้ง ๒ ด้ำนจะส่งผลให้เกิดประโยชน์นำนัปกำรต่อตนเองและสังคมอย่ำงยั่งยืนสืบไป



อตตหิตสมบัติ หมำยถึง กำรที่พระพทธเจ้ำทรงบ ำเพญประโยชน์ส่วนพระองค์ให้แล้วเสร็จบริบูรณ์
เรียบร้อยดีเสียก่อน เป็นข้อที่มุ่งหมำยเอำพระปัญญำเป็นหลัก เพรำะเป็นเครื่องให้ส ำเร็จพทธภำวะ คือ ควำมเป็นพระพทธเจ้ำ


และควำมเป็นอตตนำถะ คือ พึ่งตนเองได้เสียก่อน เมื่อตนเองเป็นที่พงพำอำศัยให้ตนเองได้อย่ำงดีแล้ว จึงจะมีควำม
ึ่


เหมำะสมในกำรสงเครำะห์ชำวโลกต่อไปในอนำคตซึ่งปรำกฏต่อเนื่องในหลักธรรมที่ ๒ อนมีชื่อว่ำ ปรหิตปฏิบัติ


ื่

หมำยถึง กำรปฏิบัติเพอประโยชน์แกผู้อื่น โดยทรงบ ำเพญพทธจริยำเพอประโยน์แก่ผู้อนเป็นที่ตั้ง เป็นข้อที่มุ่งหมำย
ื่
ื่
เอำพระกรุณำเป็นหลัก เพรำะเป็นเครื่องส่งเสริมให้ส ำเร็จพุทธกิจ คือ หน้ำที่ของพระพทธเจ้ำ และควำมเป็นโลกนำถ

หรือที่เรียกว่ำ เป็นที่พึ่งของชำวโลกได้
ด้วยเหตุดังกล่ำวข้ำงต้น จึงขอเสนอหลักธรรมน ำแนวทำงไว้ ๒ ประกำร ได้แก่ ธรรมสำยหลักน ำแนวทำง
คือ อนุรักขนำปธำน และธรรมส่งเสริมเพิ่มเติมคุณธรรม มีรำยละเอียดดังนี้
๒.๑ ธรรมสายหลักน าแนวทาง (สุจริตธรรมกถา)
“สุจริตธรรมกถา” เป็นเครื่องมือป้องกันกำรทุจริตคอร์รัปชันในสังคมไทยปัจจุบัน โดยมุ่งเน้น

กำรประพฤติตำมหลักธรรมที่ว่ำ “ธมม จเร สุจริต ” แปลควำมว่ำ “พึงประพฤติธรรมให้สุจริต” หมำยถึง ควรปฏิบัติ


หน้ำที่ให้สุจริต ๓ ประกำร คือ
๑) มโนสุจริต (คิดดี) สัมมำทิฏฐิ คือ คุณธรรม

๒) วจีสุจริต (พูดดี) สัมมำวำจำ
๓) กำยสุจริต (ท ำดี) สัมมำกัมมันตะ

อธิบำยขยำยควำมได้ว่ำ หลักสุจริตธรรมกถำ เป็นแนวทำงกำรท ำควำมดีที่สะท้อนผ่ำนหลักอนุรักขนำ
ปธำน ๓ มิติ กล่ำวคือ มโนสุจริต (คิดดี) เป็นกำรท ำควำมดีผ่ำนทำงมโนควำมคดเป็นล ำดับแรกทมีควำมส ำคัญที่สุด
ี่

เหตุเพรำะว่ำ กำรกระท ำทั้งปวงของมนุษย์ทั้งทำงกำยหรือวำจำ ล้วนที่บ่อเกิดมำจำกใจทั้งสิ้น หำกใจตั้งมั่นในควำมดีงำม

อย่ำงสุจริตยุติธรรมแล้ว ก็จะส่งผลให้ควำมประพฤติทำงกำยและวำจำเป็นควำมดีงำมสุจริตตำมไปด้วย ดังพทธศำสน

สุภำษิตว่ำ

ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ ส าเร็จด้วยใจ
ถ้าคนมีใจดี ก็จะพูดดีหรือท าดีตามไปด้วย

เพราะความดีนั้น สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนั้น

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๖๕

ด้วยเหตุนี้ มโนสุจริต จึงเป็นจุดเริ่มต้นแห่งกำรท ำควำมดีทงปวง หำกมีจิตใจตั้งมั่นในกำรท ำควำมดี
ั้
โดยเริ่มต้นที่ใจในเบื้องต้นก่อนแล้ว ก็ย่อมส่งผลไปถึงกำรแสดงออกทำงกำยและวำจำตำมไปด้วย ดังนั้น มโนสุจริตจึง
มีควำมส ำคัญมำกที่สุด เพรำะเป็นตัวก ำหนดควำมประพฤติที่ถูกต้องดีงำมได้ทั้งหมด ซึ่งมโนสุจริตนี้หรือกำรคิดดีนี้


อำจเรียกอกอย่ำงหนึ่งได้ว่ำ กำรมีคุณธรรมประจ ำใจก็ได้ เพรำะคุณธรรมที่เกิดขึ้นทำงใจนี้ จะส่งผลต่อกำรควบคุม
ควำมประพฤติทำงกำยและวำจำ หรือที่เรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ จริยธรรมทำงกำยและวำจำนั่นเอง

เมื่อมโนสุจริตมีควำมส ำคัญเช่นนี้ จึงควรพิจำรณำถึงองค์ธรรมที่ส่งผลให้เกิดมโนสุจริต


อย่ำงเป็นรูปธรรมด้วย นั่นคือ สัมมำทิฏฐิ ซึ่งเป็นองค์ธรรมที่ส่งผลให้เกิดมโนสุจริตควบคู่กันไป และเมื่อพจำรณำถึง
สัมมำทิฏฐิย่อมค้นพบข้อเท็จจริงได้ว่ำ สัมมำทิฏฐิ เป็นอริยมรรคข้อแรกที่มีควำมส ำคัญยิ่ง เพรำะเป็นควำมเห็นชอบ

ที่กอปรด้วยหลักคิดทำงปัญญำอย่ำงแท้จริง เมื่อมีควำมเห็นชอบที่ดีงำม ย่อมส่งผลให้เกิดพลังควำมคิดในด้ำนบวก
และมีควำมสร้ำงสรรค์ในทำงที่ดีงำมต่อองค์กรและสังคมได้ ดังนั้น มโนสุจริต จึงเป็นเหมือนเข็มทิศในกำรก ำหนดหัวเรือ

ให้เดินหน้ำไปสู่เส้นทำงที่ถูกต้องและปลอดภัยได้ด้วยกำรพิจำรณำไตร่ตรองตำมกระบวนกำรแห่งปัญญำที่งดงำม

เมื่อมโนสุจริตท ำหน้ำที่ได้อย่ำงดีเพยงพอแล้ว ย่อมส่งผลต่อ วจีสุจริต ซึ่งเป็นกำรประพฤติดีงำม


ทำงวำจำ ด้วยกำรพดคุยแต่สิ่งที่ดีมีประโยชน์ และงดเว้นจำกกำรพดเท็จและบิดเบือนควำมจริงเพอให้บุคคลอื่น
ื่

ื่


ื่

ื่
เข้ำใจผิด กำรพดจำเหน็บแนมและส่อเสียดต่อบุคคลอน กำรพดค ำหยำบคำยเพอท ำร้ำยจิตใจผู้อน ซึ่งค ำพดที่ไม่พงประสงค์

เหล่ำนี้นับเป็นวจีทุจริตที่ส่งผลเสียหำยต่อจิตใจของผู้ฟัง กำรจะงดเว้นจำกวจีทุจริตได้ จ ำเป็นต้องเริ่มต้นที่มโนสุจริต
ื่
ที่แรงกล้ำ กอรปด้วยสติและปัญญำที่ตั้งมั่น เพอคอยยับยั้งควำมคิดและกำรกระท ำในทำงที่ชั่วไม่ให้หลุดลอด
ออกจำกสมองและส่งตรงออกทำงวำจำ จึงจะส่งผลต่อกำรควบคุมควำมประพฤติทำงวำจำให้ดีงำมได้ เมื่อควบคุม
ควำมประพฤติทำงวำจำได้เป็นอย่ำงดีด้วยกำรมีสติและปัญญำก ำกับอยู่ตลอดเวลำแล้ว จึงเรียกได้ว่ำ สัมมำวำจำ
หรือกำรเจรจำชอบ
เมื่อมโนสุจริตท ำหน้ำที่น ำแนวทำงแห่งควำมคิดดี และส่งผลมำสู่กำรควบคุมควำมประพฤติทำงวำจำ


ในทำงที่ดีเรียบร้อยแล้ว ล ำดับถัดจำกนี้จึงส่งผลโดยตรงต่อ กายสจริต หรือกำรควบคุมควำมประพฤติทำงกำยต่อไป
ซึ่งกำยสุจริตนี้ มุ่งหมำยให้มีประพฤติที่ดีงำมทำงกำย โดยเว้นห่ำงจำกกำรประพฤติชั่วทำงกำย ๓ อย่ำง ได้แก่ งดเว้น

จำกกำรเบียดเบียนและฆ่ำสัตว์อย่ำงไร้ควำมปรำณี งดเว้นจำกจำกคดโกง ยักยอก และลักพำสิ่งของที่เจ้ำของมิได้อนุญำต

และงดเว้นจำกกำรประพฤติผิดในเรื่องกำมคุณจนขำดควำมส ำรวมระวัง กำรงดเว้นจำกควำมประพฤติชั่วทำงกำยนี้
นับว่ำเป็นหนทำงแห่งกำรส่งเสริมให้เกิดกำยสุจริต เรียกอกอย่ำงหนึ่งว่ำ เป็นหนทำงของหนึ่งในมรรคมีองค์แปดที่เรียกว่ำ

สัมมำกัมมันตะ (ท ำกำรชอบ)

แนวทำงแห่งสุจริตธรรมกถำนี้ พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต), ศ.ดร. ได้น ำเสนอไว้เป็น

แนวทำงแห่งกำรพฒนำพลเมืองเพอเสริมสร้ำงควำมรับผิดชอบร่วมกันต่อสังคม โดยให้ควำมส ำคัญกับกำรพฒนำ


ื่
มนุษย์ที่เป็นทรัพยำกรที่มีค่ำและเป็นหน่วยย่อยแห่งกำรพฒนำประเทศชำติบ้ำนเมืองให้ยิ่งใหญ่ได้ต่อไปในอนำคต

ดังค ำกล่ำวที่ว่ำ “พัฒนำชำติให้เริ่มที่ประชำชน พัฒนำคนให้เริ่มที่ใจ จะพฒนำอะไร ให้เริ่มที่ตัวเรำเองกอน” นั่นคือ

๖๖ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)


กำรพฒนำประเทศชำติเริ่มจำกกำรพัฒนำประชำชนให้เป็นคนดีคนเกงและมควำมสุข ทั้งนี้ เพรำะประชำชนที่พัฒนำ


ดีแล้ว ย่อมกลำยเป็นพลังขับเคลื่อนสังคมทุกภำคส่วนให้เจริญก้ำวหน้ำไปด้วยกัน

สิ่งส ำคัญในกำรพฒนำสังคมอยู่ที่กำรพฒนำคนให้เป็นสัปบุรุษคือเป็นคนดี คนดีคือคนเช่นไร



พระพทธเจ้ำตรัสว่ำ คนดี คือ คนที่เกิดมำบ ำเพญประโยชน์แก่ชำวโลก ดังข้อควำมว่ำ “ภิกษทั้งหลำย ก้อนเมฆใหญ่

ื่
ื่
เมื่อตกลงมำให้ข้ำวกล้ำทั้งปวงเจริญงอกงำม ย่อมตกเพอประโยชน์ เพอเกื้อกูล เพอสุขแก่คนหมู่มำก ฉันใด ภิกษุ
ื่
ื่
ทั้งหลำย สัตบุรุษเมื่อเกิดในตระกูล ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ย่อมเกิดเพอประโยชน์ เพอเกื้อกูล เพอสุขแก่คนหมู่มำก
ื่
ื่
ื่
ื่
คือ ย่อมเกิดเพอประโยชน์ เพอเกื้อกูล เพอสุขแก่มำรดำบิดำ ย่อมเกิดเพอประโยชน์ เพอเกื้อกูล เพอสุขแก่บุตร
ื่
ื่
ื่
ื่
ื่
ื่
ื่
ื่
ภรรยำ ย่อมเกิดเพอประโยชน์ เพอเกื้อกูล เพอสุขแก่ทำส กรรมกร และคนใช้ ย่อมเกิดเพอประโยชน์ เพอเกื้อกูล
ื่
ื่

เพอสุขแก่มิตรและอำมำตย์ ย่อมเกิดเพอประโยชน์ เพอเกื้อกูล เพอสุขแก่สมณพรำหมณ์” รวมควำมได้ว่ำ สัตบุรุษ
ื่
ื่
ื่
หรือคนดีนั้นเกิดมำแล้วย่อมท ำประโยชน์ ๓ ประกำรให้บริบูรณ์ คือ ๑) อัตตัตถะ ประโยชน์ตน ๒) ปรัตถะ ประโยชน์คนอื่น
๓) อุภยัตถะ ประโยชน์ส่วนรวม


คนดีสำมำรถบ ำเพญประโยชน์ทั้ง ๓ ประกำรให้บริบูรณ์แก่คนเป็นอนมำก เพรำะเขำท ำหน้ำที่
ได้อย่ำงไม่ขำดตกบกพร่อง ถ้ำสมำชิกในสังคมใดพร้อมใจกันท ำหน้ำที่ได้อย่ำงครบถ้วนสมบูรณ์ สังคมนั้นก็จะมีควำมมั่นคง
มั่งคั่ง ยั่งยืน ดังนั้น กำรปฏิบัติหน้ำที่ให้สมบูรณ์จึงเป็นสิ่งส ำคัญส ำหรับกำรพฒนำสังคมและประเทศชำติ แท้ที่จริง

กำรปฏิบัติหน้ำที่ก็คือกำรปฏิบัติธรรม ดังพทธศำสนสุภำษิตที่มีใจควำมว่ำ “พงประพฤติสุจริตธรรม ไม่พงประพฤติ



ทุจริตธรรม ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุขทั้งในโลกนี้และโลกหน้ำ” พระพทธเจ้ำทรงประทำนพทธศำสนสุภำษิตนี้



แก่พระเจ้ำสุทโธทนะในโอกำสที่เสด็จไปกรุงกบิลพสดุ์ครั้งแรกภำยหลังจำกกำรตรัสรู้ ในพทธศำสนสุภำษิตนี้ค ำว่ำ

“ธรรม” หมำยถึง หน้ำที่ กล่ำวคือ พระเจ้ำสุทโธทนะทรงมีหน้ำที่ในกำรปกครองซึ่งจัดเป็นวรรณะธรรม คือ หน้ำที่



ประจ ำวรรณะกษัตริย์ พระพทธเจ้ำทรงมีพทธธรรมคือหน้ำที่ประจ ำของพระพทธเจ้ำทั้งหลำยที่จะต้องออก
บิณฑบำตโปรดเวไนยสัตว์ ใครมีธรรมคือหน้ำที่อะไร ควรท ำหน้ำที่นั้นให้สุจริตด้วยลักษณะ ๓ ประกำร ได้แก่
๑) ไม่บกพร่องต่อหน้ำที่ ๒) ไม่ละเว้นหน้ำที่ และ ๓) ไม่ทุจริตต่อหน้ำที่


ไมบกพร่องต่อหน้าที่ หมำยถึง กำรทุ่มเทอทิศตนในกำรปฏิบัติหน้ำที่อย่ำงเต็มก ำลังควำมสำมำรถ
ื่
เมื่อได้รับมอบหมำยให้ท ำหน้ำที่ใด เขำจะท ำหน้ำที่นั้นอย่ำงดีที่สุดเพอไม่ให้เกิดควำมบกพร่องเสียหำยแก่งำน
ในหน้ำที่ เข้ำท ำนองที่ว่ำ “ร้องให้สุดค ำ ร ำให้สุดแขน แพนให้สุดปีก” ดังที่ขงจื้อกล่ำวไว้ว่ำ “เมื่อได้รับมอบหมำย

ให้ท ำหน้ำที่ใด จงท ำหน้ำที่นั้นให้ดีที่สุด ถ้ำเขำให้เลี้ยงม้ำ ม้ำจะต้องอวน ถ้ำเขำให้เป็นเสนำบดีกระทรวงกำรคลัง
เงินจะต้องเต็มคลัง”
ไมละเวนหน้าที่ หมำยถึง ควำมรับผิดชอบต่อหน้ำที่ เขำจึงไม่ละทิ้งหน้ำที่หรือผลักภำระหน้ำที่


ของตนไปให้คนอื่น เช่น ผู้เป็นทหำรย่อมไม่หนีทัพ ผู้เป็นบิดำมำรดำย่อมไม่ละทิ้งหน้ำที่ในกำรอบรมสั่งสอนบุตรธิดำ
ในนิทำนอสปมีเรื่องเล่ำเกี่ยวกับมำรดำที่ไม่ท ำหน้ำที่ว่ำกล่ำวตักเตือนบุตรของตน เมื่อพบว่ำเขำชอบลักขโมย

ในวัยเด็ก พอบุตรเติบใหญ่ก็กลำยเป็นโจร อีสปสรุปว่ำ เมื่อบุตรเป็นโจร บิดำมำรดำย่อมมีส่วนในกำรสร้ำงควำมเป็นโจร
ให้กับบุตร เหตุเพรำะละเว้นกำรปฏิบัติหน้ำที่ในกำรอบรมสั่งสอนบุตรของตน

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๖๗

ไมทุจริตต่อหน้าที่ หมำยถึง กำรไม่ปฏิบัติหน้ำที่ไปในทำงที่มิชอบด้วยกฎหมำยและหลักศีลธรรม

ื่
กล่ำวคือ เขำไม่ใช้อำนำจหน้ำที่ไปในกำรแสวงหำประโยชน์ให้กับตนเองหรือคนอนในทำงที่ผิดกฎหมำย
และผิดท ำนองคลองธรรม ประโยชน์ในที่นี้หมำยรวมทั้งทรัพย์สินเงินทอง ต ำแหน่งหน้ำที่ ชื่อเสียงเกียรติยศ

หรือสิทธิอื่นใดที่ไม่สมควรได้มำแต่ได้ใช้อำนำจหน้ำที่ในทำงมิชอบจนกระทั่งได้มำตำมที่ต้องกำร นี้เรียกว่ำกำรทุจริต
ต่อหน้ำที่

กำรทุจริตต่อหน้ำที่เป็นเหมือนสนิมที่กัดกร่อนชีวิตและสังคมให้พงพนำศไปในที่สุด ชีวิตของบุคคล



ผู้บกพร่องต่อหน้ำที่ ละเว้นหน้ำที่ และทุจริตต่อหน้ำที่ ย่อมมแต่ควำมออนแอเสื่อมโทรม อำณำจักรที่ยิ่งใหญ่ในอดีต



ไม่ได้ล่มสลำยเพรำะภัยจำกภำยนอกเพยงอย่ำงเดียว หำกแต่บำปทุจริตภำยในก็มีส่วนสร้ำงควำมออนแอให้กับ
อำณำจักรนั้นๆ จนต้องล่มสลำยเมื่อภัยจำกภำยนอกมำรุกรำน สอดคล้องกับพทธศำสนสุภำษิตที่ว่ำ “สนิมเกิดขึ้น

จำกเหล็ก ครั้นเกิดขึ้นแล้ว ย่อมกัดเหล็กนั่นเอง ฉันใด กรรมทั้งหลำยของตน ย่อมน ำคนผู้ไร้ปัญญำไปสู่ทุคติ
ฉันนั้น” สมดังโคลงโลกนิติที่ว่ำ

สนิมเหล็กเกิดแต่เนื้อ ในตน

กินกัดเนื้อเหล็กจน กร่อนขร้ า

บาปเกิดแต่ตนคน เป็นบาป
บาปย่อมท าโทษซ้ า ใส่ผู้บาปเอง

มีเรื่องเล่ำเกี่ยวกับกำรทุจริตของคนไทยในอดีตว่ำ สวนสัตว์แห่งหนึ่งได้เสือโคร่งใหม่มำตัวหนึ่ง

ผู้อำนวยกำรสวนสัตว์แห่งนั้นตั้งงบประมำณเป็นค่ำอำหำรเสือตัวนี้วันละ ๑ บำทซึ่งเป็นเงินจ ำนวนมำกในสมัยนั้น
ผู้คุมเบิกเงินวันละ ๑ บำทไปซื้อเนื้อมำเลี้ยงเสือ แต่เขำท ำกำรทุจริตต่อหน้ำที่ด้วยกำรเบียดบังเงิน ๑ สลึงไปเป็นของตน

เขำใช้เงินเพยง ๓ สลึงไปซื้อเนื้อมำเลี้ยงเสือทุกวัน ผลปรำกฏว่ำเสือไม่อวนสักที คนที่มำชมสวนสัตว์จึงฟองไปที่

ิ่

ผู้อำนวยกำรสวนสัตว์ว่ำงบประมำณค่ำอำหำรเสือคงไม่พอขอให้ตั้งงบประมำณเพม ผู้อำนวยกำรสวนสัตว์

เป็นคนรอบคอบสุขุม เขำส่งผู้ตรวจกำรคนหนึ่งไปตรวจดูว่ำท ำไมเสือจึงไม่อวน ผู้ตรวจกำรคนนี้ไปตรวจดูอยู่สำมวัน
ก็รู้ควำมจริงว่ำเงินค่ำอำหำรเสือถูกเบียดบังไป ๑ สลึง เขำจึงขอส่วนแบ่งเป็นค่ำปิดปำกอก ๑ สลึง เสือได้ค่ำอำหำร

แค่วันละ ๒ สลึง เสือจึงผอมลงอย่ำงเห็นได้ชัด

ผู้ชมสวนสัตว์เห็นว่ำเสือผอมจึงร้องเรียนไปยังผู้อำนวยกำรสวนสัตว์ให้ตั้งงบประมำณค่ำอำหำร
ิ่
เพมผู้อ ำนวยกำรสวนสัตว์ก็ส่งผู้ตรวจกำรระดับสูงไปตรวจดูว่ำท ำไมเสือจึงผอม ผู้ตรวจกำรคนนี้ไปตรวจดูอยู่สำมวัน

ก็รู้ควำมจริงว่ำเงินค่ำอำหำรเสือถูกเบียดบังไป ๒ สลึง เขำจึงขอส่วนแบ่งเป็นค่ำปิดปำกอก ๑ สลึง ตกลงว่ำ
คนสำมคนเบียดบังค่ำอำหำรเสือไปถึง ๓ สลึง เสือได้ค่ำอำหำรแค่วันละ ๑ สลึง เสือจึงผอมมำกเหลือแต่หนังหุ้มกระดูก

ผู้ชมสวนสัตว์เห็นว่ำเสือผอมมำกจึงร้องเรียนไปยังผู้อ ำนวยกำรสวนสัตว์ให้ตั้งงบประมำณค่ำอำหำร

ิ่
เพมโดยด่วนแต่ผู้อำนวยกำรสวนสัตว์กลับส่งผู้ตรวจกำรระดับสูงสุดไปตรวจดูว่ำท ำไมเสือจึงผอมมำก ผู้ตรวจกำรคนนี้

๖๘ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)

ไปตรวจดูอยู่สำมวันเสือก็ตำย เพรำะเขำขอสลึงสุดท้ำยเป็นค่ำปิดปำก นั่นคือ คน ๔ คนเบียดบังค่ำอำหำรเสือไปจนหมด

เสือจึงตำย โคลงโลกนิติได้สรุปเหตุกำรณ์นี้ไว้ว่ำ

เบิกทรัพย์วันละบาทซื้อ มังสา

นายหนึ่งเลี้ยงพยัคฆา ไป่อ้วน
สองสามสี่นายมา ก ากับ กันแฮ

บังทรัพย์สี่ส่วนถ้วน บาทสิ้นเสือตาย

ปัญหำทุจริตดังกล่ำวข้ำงต้นเป็นตัวอย่ำงหนึ่งที่น ำมำเสนอไว้เท่ำนั้น แท้จริงแล้วปัญหำทุจริต

ั้

คอรัปชั่นยังมีอกหลำกหลำยรูปแบบ เช่น กำรร่วมกับประชำชนบุกรุกป่ำสงวนหรือตัดไม้ท ำลำยป่ำ กำรฮวกำรประมูล
กำรท ำสัญญำชนิดที่ท ำให้รัฐเสียเปรียบคู่สัญญำ รวมทั้งกำรซื้อสิทธิ์ขำยเสียงในกำรเลือกตั้งทุกระดับ ปัญหำเหล่ำนี้
เกิดจำกกำรที่ประชำชนให้ควำมร่วมมือในกำรทุจริตและประพฤติมิชอบเพรำะหวังผลประโยชน์ตอบแทน ดังนั้น

องค์กำรสหประชำชำติจึงกำหนดให้วันที่ ๙ ธันวำคมของทุกปีเป็นวันต่อต้ำนกำรทุจริตคอรัปชันของโลก โดยรณรงค์

ให้ประชำชนทั่วโลกพร้อมใจกันที่จะไม่จ่ำยและไม่รับสินบน

๒.๒ ธรรมส่งเสริมเพิ่มเติมคุณธรรม
หลักธรรมที่ส่งเสริมเพมเติมคุณธรรมประจ ำใจให้เกิดขึ้นแก่พลเมืองดีในสังคมและเพมเติม
ิ่
ิ่
ควำมรับผิดชอบต่อสังคมให้มำกยิ่งขึ้นนี้ ประกอบหลักธรรม ๓ แนวทำง ได้แก่ หลักกำรเพมอำนำจคนดี บีฑำคนชั่ว,

ิ่
ลักอปริหำนิยธรรม สร้ำงสังคมไทยห่ำงไกลควำมเสื่อม และหลักสำรำณียธรรม น ำไทยมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
มีรำยละเอียดดังนี้

๑) หลักการเพิ่มอ านาจคนดี บีฑาคนชั่ว

ิ่
ิ่
กำรส่งเสริมเพมคุณธรรมให้เกิดขึ้นแก่ผู้คนในสังคมนั้น จ ำเป็นต้องน ำหลักกำรเพมอำนำจคนดี

และบีฑำคนชั่วไปใช้ เพรำะเป็นหลักที่รู้จักป้องกันและควบคุมคนไม่ดี ไม่ให้มีอำนำจไปข่มเหงรังแกคนอนในสังคม
ื่

ื่

และท ำกำรยกย่องเชิดชูคนดี ให้ท ำหน้ำที่เพอส่วนร่วมต่อไปอย่ำงยั่งยืน หลักกำรนี้ตรงกบพทธศำสนสุภำษิตบทหนึ่ง
ที่ว่ำ “นิคฺคณฺเห นิคฺคหารห ปคฺคณฺเห ปคฺคหารห ” แปลควำมว่ำ “พึงข่มคนที่ควรข่ม พึงยกย่องคนที่ควรยกย่อง”
หลักกำรนี้มีควำมสอดคล้องตรงกับแนวคิดทฤษฎีกำรเสริมแรง (Reinforcement Theory) ซึ่งเป็นทฤษฎีกำรจูงใจ
ที่พฒนำมำจำกทฤษฎีกำรเรียนรู้ของสกินเนอร์ (B.F. Skinner) ที่มีหลักคิดว่ำ เรำสำมำรถควบคุมพฤติกรรมของคนได้


โดยวิธีกำรเสริมแรงทำงบวกและทำงลบ ด้วยเหตุนี้ จึงแยกพจำรณำออกเป็น ๒ ประเด็น เพอให้เกิดควำมชัดเจน
ื่
ในกำรน ำไปใช้ชีวิตประจ ำวันยิ่งขึ้น ดังนี้

๑.๑) เพิ่มอ านาจคนดี

หลักกำรเพมอำนำจคนดีนี้ ตรงกับพทธศำสนสุภำษิตที่ว่ำ “ปคฺคณฺเห ปคฺคหารห ” แปลควำมว่ำ
ิ่

“พึงยกย่องคนที่ควรยกย่อง” ตรงกับหลักคิดทฤษฎีทำงจิตวิทยำที่ว่ำด้วย “ทฤษฎีเสริมแรงทางบวก (Positive
Reinforcement)” เป็นกำรเสริมควำมต่อเนื่องของพฤติกรรมโดยกำรให้ผลกรรมเป็นตัวเสริมแรงบวก คือ สิ่งตอบ

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๖๙

แทนที่ดึงดูดใจหรือน่ำพอใจเป็นรำงวัล เมื่อบุคคลนั้นมีพฤติกรรมหรือปฏิบัติกำรเป็นที่ต้องกำร เช่น พนักงำนคนหนึ่ง

ิ่
มำท ำงำนหรือเข้ำประชุมตรงเวลำสม่ ำเสมอ ตัวเสริมแรงบวกที่ใช้จูงใจในกำรท ำงำนอำจเป็นกำรให้เงินเดือนเพม

ิ่
กำรเลื่อนต ำแหน่ง กำรได้รับสิทธิพเศษ กำรได้วันหยุดเพมเติม เป็นต้น กำรเสริมแรงบวกนี้เป็นตัวจูงใจที่ใช้ได้ผลดี
ที่สุดในกำรเพิ่มประสิทธิภำพในกำรปฏิบัติงำน

ดังนั้น หลักกำรเพมอำนำจคนดีที่สอดคล้องกันกับทฤษฎีเสริมแรงทำงบวกนี้ จึงเป็นแนวทำง
ิ่

ิ่
แห่งกำรสร้ำงคนดีให้มีจ ำนวนมำกขึ้นในสังคม เป็นหลักกำรแห่งกำรเพิ่มกำรท ำดีหรือเพมสุจริตรำยบุคคลให้มีมำกขึ้น

ในสังคม ด้วยกำรให้อำนำจ มอบหมำยหน้ำที่ หรือให้รำงวัลในกำรท ำควำมดีเช่นนั้นแก่คนดีไปเรื่อยๆ เมื่อคนดี
เห็นคุณค่ำของกำรท ำควำมดีแล้ว ก็ช่วยกันผลักดันสังคมในภำพรวมให้เป็นสังคมอุดมสุขได้ด้วย นับเป็นกระบวนกำร

เสริมแรงจูงใจทำงบวกให้เกิดขึ้นแก่ผู้คนในสังคม ท ำให้สังคมตื่นตัว สร้ำงพลังด้ำนบวกเชิงสร้ำงสรรค์ และสร้ำงสังคม
ที่ร่วมกันรับผิดชอบในควำมดีงำมให้เกิดขึ้นแก่สังคมด้วย

๑.๒) บีฑาคนชั่ว

หลักกำรบีฑำคนชั่ว ตรงกับพทธศำสนสุภำษิตที่ว่ำ “นิคฺคณฺเห นิคฺคหารห ” แปลควำมว่ำ
“พึงข่มคนที่ควรข่ม” ตรงกับหลักคิดทฤษฎีทำงจิตวิทยำที่ว่ำด้วย “ทฤษฎีเสริมแรงทางลบ (Negative

Reinforcement)” เป็นกำรเสริมควำมต่อเนื่องของพฤติกรรมโดยบุคคลสำมำรถหลีกเลี่ยงผลกรรมทำงลบได้
เมื่อมีพฤติกรรมหรือปฏิบัติกำรเป็นที่ไม่พงประสงค์ ท ำให้เกิดกำรเรียนรู้พฤติกรรมป้องกันหรือหลีกเลี่ยงสิ่งที่ไม่พอใจ

หรือกำรท ำโทษ เช่น พนักงำนมำท ำงำนหรือเข้ำประชุมตรงเวลำ เพรำะไม่อยำกได้ยินค ำต ำหนิจำกหัวหน้ำหน่วยงำน
มักมีกำรตั้งกฎหรือข้อห้ำม อะไรควรหรือไม่ควรกระท ำ มีระเบียบวินัยและก ำหนดกำรลงโทษไว้ให้ชัดเจน

เพื่อคอยควบคุมควำมประพฤติของที่ไม่พงประสงค์ของพนักงำน

ดังนั้น หลักกำรบีฑำคนชั่วที่มีควำมสอดคล้องกับทฤษฎีเสริมแรงทำงลบนี้ จึงเป็นแนวทำง

แห่งกำรควบคุมคนไม่ดี ซึ่งกำรควบคุมนี้มีหลำยลักษณะ เช่น กำรท ำโทษ หรือกำรออกข้อบังคับ เพอเป็นแนวทำง
ื่
แห่งกำรจ ำกัดอำนำจหน้ำที่หรือขอบเขตกำรท ำงำนของคนชั่ว ให้อยู่ในกรอบแห่งควำมดีงำมที่สังคมก ำหนดร่วมกัน

มิเช่นนั้น คนชั่วจะมอ ำนำจมำกเกินไปและจะคอยบีบคั้นคนดีให้เกิดควำมล ำบำกในกำรด ำเนินชีวิต แนวทำงนี้ใช้หลัก

ของกระบวนกำรกลุ่มของคนในสังคมมำก ำกับดูแลสุขทุกข์ของผู้คนในสังคมกันเอง เพรำะในแต่ละชุมชนนั้น

จะทรำบและรู้กันดีว่ำ ใครเป็นคนดีหรือไม่ดีในสังคม เมื่อมีคนไม่ดีเกิดขึ้นในชุมชน เรำในฐำนะพลเมืองคนหนึ่ง
ในสังคม จึงต้องแสดงควำมรับผิดชอบต่อสังคมด้วยกำรช่วยกันเป็นหูเป็นตำในกำรดูแลสอดส่องควำมประพฤติ

ของผู้คนในสังคมร่วมกัน เพื่อเป็นกำรก ำกับดูแลคนชั่ว ไม่ให้ท ำควำมเดือดร้อนขึ้นแก่ชุมชน และเมื่อควบคุมได้ดีแล้ว

ก็ถือเป็นกำรร่วมแสดงควำมรับผิดชอบต่อสังคมในทำงออมด้วย

๗๐ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)

๒) หลักอปริหานิยธรรม สร้างสังคมไทยห่างไกลความเสื่อม

หลักอปริหำนิยธรรมนี้ เป็นหลักที่พระพทธเจ้ำตรัสถึงควำมเข้มแข็งของชำวแคว้นวัชชีที่ประพฤติ


ปฏิบัติตำมค ำสอนที่พระพทธองค์ทรงประทำนไว้ให้อย่ำงแข็งขัน เมื่อชำวแคว้นวัชชีปฏิบัติตำมหลักอปริหำนิยธรรมนี้
ย่อมได้ชื่อว่ำ มีแต่ควำมเจริญ ไม่มีควำมเสื่อมเลย ซึ่งหลักอปริหำนิยธรรมนี้มีทั้งหมด ๗ ข้อ ดังนี้

๒.๑) หมั่นประชุมกันเนืองนิตย์

๒.๒) พร้อมเพรียงกันประชุม พร้อมเพรียงกันเลิกประชุม พร้อมเพรียงกันท ำกิจทั้งหลำยที่
ควรท ำร่วมกัน หรือพร้อมเพรียงกันลุกขึ้นปกป้องบ้ำนเมืองด้วยควำมสำมัคคี

๒.๓) ไม่บัญญัติสิ่งที่ขัดกับหลักกำรเดิม ไม่ล้มล้ำงสิ่งที่บัญญัติไว้ตำมหลักกำรเดิมที่ดีอยู่แล้ว
ถือปฏิบัติมั่นตำมหลักกำรเดิมที่วำงไว้ ในกรณีเช่นนี้หมำยเอำหลักกำรเดิมที่มีควำมถูกต้องดีงำมอยู่ก่อนแล้ว

หำกหลักกำรเดิมมีข้อบกพร่อง ก็ให้พิจำรณำร่วมกันเพื่อสร้ำงบัญญัติใหม่ให้มีควำมเหมำะสมต่อผู้คนในชุมชนต่อไป

๒.๔) ท่ำนเหล่ำใดเป็นผู้ใหญ่ในชุมชน ให้เคำรพนับถือท่ำนเหล่ำนั้น เห็นถ้อยค ำของท่ำนว่ำ

เป็นสิ่งที่ควรรับฟง เพรำะผู้ใหญ่ในชุมชนถือเป็นผู้มีประสบกำรณ์ผ่ำนชีวิตมำมำก ดังนั้น ท่ำนย่อมแนะน ำสิ่งที่ดี

และคอยป้องกันสิ่งที่ไม่ดีที่จะส่งผลต่อชุมชนของเรำเป็นแน่แท้

๒.๕) อย่ำข่มเหงท ำร้ำยกุลสตรีทั้งหลำยในชุมชนด้วยกำรท ำร้ำยจิตใจ ให้ช่วยสงเครำะห์กุลสตรี

เหล่ำนั้นให้อยู่อย่ำงเป็นสุข มิให้ถูกข่มเหงท ำร้ำยไม่ว่ำในกรณีใดก็ตำม

๒.๖) เคำรพสักกำรบูชำปูชนียสถำนและปูชนียวัตถุต่ำงๆ ที่มีควำมส ำคัญต่อจิตใจของผู้คนในชุมชน

มิปล่อยให้รกร้ำงว่ำงเปล่ำหรือเสื่อมโทรมขำดคนดูแล เพรำะสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหล่ำนี้มีผลต่อศรัทธำและขวัญก ำลังใจของ
ผู้คนในชุมชนเป็นอย่ำงยิ่ง

๒.๗) จัดให้ควำมอำรักขำ คุ้มครอง ป้องกันอนชอบธรรม แก่เหล่ำพระสงฆ์ผู้เป็นบรรพชิตที่ปฏิบัติ

ตำมหลักธรรมและเป็นผู้น ำจิตใจของประชำชน โดยตั้งใจว่ำ จะบ ำรุงท่ำนเหล่ำนั้นให้มีควำมผำสุกในปฏิบัติ

สมณธรรมสืบไป


อปริหำนิยธรรมทั้ง ๗ ประกำรนี้ พระพทธเจ้ำตรัสแสดงแก่เจ้ำแคว้นวัชชีทั้งหลำยซึ่งเป็นผู้ปกครองรัฐ
โดยมุ่งเน้นให้เกิดควำมสำมัคคีขึ้นในหมู่คณะ และสร้ำงระบอบสำมัคคีธรรม (Republic) ให้เกิดขึ้นในแคว้นวัชชี
หำกแคว้นวัชชียังประพฤติปฏิบัติตำมหลักอปริหำนิยธรรมเช่นนี้อยู่ตลอด จะไม่ประสบกับควำมเสื่อมเลย

จะมีแต่ควำมเจริญเท่ำนั้นที่จะเกิดขึ้นในแว่นแคว้นนี้

หลักอปริหำนิยธรรมนี้ เป็นหลักกำรที่ส่งเสริมให้ประชำชนมีส่วนร่วมในควำมรับผิดชอบต่อสังคม

แม้ตนเองจะเป็นเพยงพลเมืองคนหนึ่งที่ถือเป็นหน่วยย่อยที่สุดในสังคม แต่เมื่อตนเองเป็นผู้ปฏิบัติตำมหลักกำรนี้


ย่อมถือได้ว่ำเป็นผู้มีส่วนร่วมในกำรช่วยเหลือสังคมโดยภำพรวมให้มีควำมเข้มแข็งมำกยิ่งขึ้น เมื่อสังคมเกิดควำมเข้มแขง

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๗๑


ในกำรดูแลปกป้องขอบเขตขันธสีมำของตนเองเป็นอย่ำงดีแล้ว ย่อมส่งผลให้เกิดกำรพฒนำสังคมอย่ำงรอบด้ำน
เป็นกำรพัฒนำที่สร้ำงมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนให้เกิดแก่สังคมโดยภำพรวมอีกด้วย

๓) หลักสาราณียธรรม น าไทยมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน


หลักสำรำณียธรรมนี้ เป็นหลักธรรมอนเป็นที่ตั้งแห่งควำมให้ระลึกถึงกัน เป็นหลักกำรแห่งกำรอยู่
ร่วมกันด้วยบำรมีแห่งเมตตำและควำมรักที่มีให้ต่อกันและกันของผู้คนในสังคม หลักกำรนี้มีทั้งหมด ๖ ข้อ ได้แก่

๓.๑) เมตตำกำยกรรม คือ กำรตั้งเมตตำกำยกรรมในเพอน ทั้งต่อหน้ำและลับหลัง ให้ช่วยเหลือ
ื่
กิจธุระของผู้ร่วมคณะด้วยควำมเต็มใจ แสดงกิริยำอำกำรสุภำพ เคำรพนับถือกัน ให้เกียรติกันและกัน ทั้งต่อหน้ำ

และลับหลัง

ื่
๓.๒) เมตตำวจีกรรม คือ กำรตั้งเมตตำวจีกรรมในเพอน ทั้งต่อหน้ำและลับหลัง ให้ช่วยเหลือด้วย
กำรบอกแจ้งสิ่งที่เป็นประโยชน์ แนะน ำตักเตือนและสั่งสอนด้วยควำมหวังดี กล่ำววำจำสุภำพ แสดงควำมเคำรพนับ

ถือต่อกันและกัน ทั้งต่อหน้ำและลับหลัง

๓.๓) เมตตำมโนกรรม คือ กำรตั้งเมตตำมโนกรรมในเพอน ทั้งต่อหน้ำและลับหลัง ด้วยกำรตั้งจิต
ื่
ปรำรถนำดี คิดท ำสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่กันและกัน มองกันในแง่ดี มีควำมคิดด้วยพลังด้ำนบวกอย่ำงสร้ำงสรรค์ต่อกน

และกัน มีหน้ำตำยิ้มแย้มแจ่มใสต่อกันและกัน


๓.๔) สำธำรณโภคี คือ เมื่อได้สิ่งของใดมำโดยชอบธรรม แม้สิ่งของนั้นจะเป็นของเล็กน้อยเพยงใด

ก็ไม่หวงแหนไว้เป็นของตนเองแต่เพยงผู้เดียว กลับน ำมำแบ่งปันเฉลี่ยช่วยเหลือเจือจำน ให้มีส่วนร่วมในกำรใช้สอย
ื่
บริโภคโดยทั่วกัน เรียกว่ำ มีน้ ำใจในกำรแบ่งปันให้แก่คนอน หรือมีจิตสำธำรณะพร้อมช่วยเหลือคนอนในยำมที่เขำ
ื่
ประสบควำมเดือดร้อน

ื่
๓.๕) สีลสำมัญญตำ คือ มีศีลบริสุทธิ์เสมอกันกับเพอน ทั้งต่อหน้ำและลับหลัง มีควำมประพฤติ

สุจริตดีงำมต่อกัน มีควำมปฏิบัติถูกต้องตำมระเบียบวินัย ไม่ท ำตนให้เป็นที่น่ำรังเกียจของหมู่คณะ เรียกอกอย่ำงหนึ่งว่ำ

มีควำมเท่ำเทียมกันภำยใต้กฎหมำยเดียวกัน ไม่มีใครได้รับสิทธิพเศษจำกกำรปฏิบัติภำยใต้กฎระเบียบเดียวกัน
เพรำะควำมเสมอภำคนี้เป็นสิ่งที่มนุษย์ควรมีเท่ำเทียมกัน

ื่
๓.๖) ทิฏฐิสำมัญญตำ คือ มีทิฏฐิดีงำมเสมอกันกับเพอน ทั้งต่อหน้ำและลับหลัง มีควำมเห็นชอบ
ร่วมกันในข้อที่เป็นหลักกำรส ำคัญที่จะน ำไปสู่กำรแก้ปัญหำร่วมกันอย่ำงยั่งยืน เป็นกำรปรับควำมคิดเห็น
ให้อยู่ในทิศทำงเดียวกัน กล่ำวคือ มีควำมเห็นชอบร่วมกัน รับฟงควำมคิดเห็นของผู้อนด้วยใจที่เป็นธรรม
ื่

ทั้งควำมเห็นที่ตรงกันและต่ำงกัน

หลักสำรำณียธรรมทั้ง ๖ ประกำรนี้ เป็นหลักธรรมที่ท ำให้เป็นที่ระลึกถึงกัน ท ำให้เป็นที่รัก

และที่เคำรพต่อกันและกัน เป็นไปเพอควำมสงเครำะห์ ไม่ก่อควำมวิวำทต่อกัน เสริมสร้ำงควำมสำมัคคีและควำมเป็นน้ ำหนึ่ง
ื่
ใจเดียวกันให้เกิดขึ้นแก่หมู่คณะ

๗๒ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)

อย่ำงไรก็ดี หลักสำรำณียธรรมนี้มีควำมสอดคล้องกับพระรำชด ำรัสของพระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศร


มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพตร รัชกำลที่ ๙ ที่ตรัสแก่พระบรมวงศำนุวงศ์ ข้ำรำชกำร และพสกนิกรนับแสน
ที่เข้ำเฝ้ำถวำยพระพรชัยมงคล ณ สีหบัญชร พระที่นั่งอนันตสมำคม เนื่องในวโรกำสทรงครองสิริรำชสมบัติครบ ๖๐ ปี

เมื่อวันที่ ๙ มิถุนำยน พ.ศ.๒๕๔๙ มีใจควำมว่ำ

“ความเป็นอนหนึ่งอนเดียวกันของทุกคนทุกฝ่าย ท าให้ข้าพเจ้าเห็นแล้วมีก าลังใจมากขึ้น นึกถึง


คุณธรรมซึ่งเป็นที่ตั้งของความรักความสามัคคี ที่ท าให้คนไทยเราสามารถร่วมมือร่วมใจกันรักษาและพฒนาชาติ

บ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อกันไปได้ตลอดรอดฝั่ง

ประการแรก คือ การให้ทุกคนคิด พูด ท า ด้วยความเมตตา มุ่งดีมุ่งเจริญต่อกัน

ประการที่สอง คือ การที่แต่ละคนต่างช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ประสานงานประสานประโยชน์กัน

ให้งานที่ท าส าเร็จผลทั้งแก่ตนแก่ผู้อื่นและประเทศชาติ

ประการที่สาม คือ การที่ทุกคนประพฤติปฏิบัติอยู่ในความสุจริต ในกฎกติกาและในระเบียบ

แบบแผนโดยเท่าเทียมเสมอกัน

ประการที่สี่ คือ การที่ต่างคนต่างพยายามท าน าความคิดความเห็นของตนให้ถูกต้องเที่ยงตรง

อยู่ในเหตุในผล

หากความคิดจิตใจ และการประพฤติปฏิบัติที่ลงรอยเดียวกันในทางที่ดี ที่เจริญนี้ ยังมีพร้อมมูล

ในกาย ในใจของคนไทย ก็มั่นใจได้ว่าประเทศชาติไทยจะด ารงมั่นคงอยู่ตลอดไปได้ จึงขอให้ท่านทั้งหลาย

ในมหาสมาคมแห่งนี้ ทั้งประชาชนชาวไทยทุกหมู่เหล่าได้รักษาจิตใจและคุณธรรมนี้ไว้ให้เหนียวแน่น”

จำกพระรำชด ำรัสข้ำงต้นนี้ พบว่ำ


พระรำชด ำรัสประกำรที่หนึ่ง ที่ว่ำ “กำรให้ทุกคนคิด พด ท ำ ด้วยเมตตำ มุ่งดีมุ่งเจริญต่อกัน”
มีควำมสอดคล้องกับหลักสำรำณียธรรมข้อที่ ๑-๓ ที่ว่ำ “เมตตำกำยกรรม เมตตำวจีกรรม เมตตำมโนกรรม”

พระรำชด ำรัสประกำรที่สอง ที่ว่ำ “กำรที่แต่ละคนต่ำงช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ประสำน งำนประสำน

ประโยชน์กันให้งำนที่ท ำส ำเร็จผลทั้งแก่ตนแก่ผู้อนและประเทศชำติ” มีควำมสอดคล้องกับหลักสำรำณียธรรม
ื่
ข้อที่ ๔ ที่ว่ำ “สำธำรณโภคี”

พระรำชด ำรัสประกำรที่สำม ที่ว่ำ “กำรที่ทุกคนประพฤติปฏิบัติอยู่ในควำมสุจริต ในกฎกติกำ

และในระเบียบแบบแผนโดยเท่ำเทียมเสมอกัน” มีควำมสอดคล้องกับหลักสำรำณียธรรมข้อที่ ๕ ที่ว่ำ “สีลสำมัญญตำ”

พระรำชด ำรัสประกำรที่สี่ ที่ว่ำ “กำรที่ต่ำงคนต่ำงพยำยำมท ำน ำควำมคิดควำมเห็นของตนให้

ถูกต้องเที่ยงตรงอยู่ในเหตุในผล” มีควำมสอดคล้องกับหลักสำรำณียธรรมข้อที่ ๖ ที่ว่ำ “ทิฏฐิสำมัญญตำ”

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๗๓

จำกควำมสอดคล้องกันของพระรำชด ำรัสของในหลวงรัชกำลที่ ๙ กับหลักสำรำณียธรรม ๖

ประกำรข้ำงต้นนี้ นับว่ำเป็นกำรสร้ำงควำมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ให้เกิดขึ้นแก่ประชำชนในสังคมได้เป็นอย่ำงดี

๓. อนุรักขนาปธาน : การสร้างพลเมืองดีและความรับผิดชอบต่อสังคม

ดังที่ทรำบกันในเบื้องต้นว่ำ อนุรักขนำปธำน หมำยถึง กำรเพียรรักษำสุจริตธรรมที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้

เสื่อมถอย และบ ำเพญให้เจริญยิ่งขึ้นไปจนไพบูลย์ หำกเปรียบไปแล้วอนุรักขนำปธำนนี้ สำมำรถสงเครำะห์เข้ำกับ
พระปฐมบรมรำชโองกำร ของพระบำทสมเด็จพระปรเมนทรรำมำธิบดีศรีสินทรมหำวชิรำลงกรณ พระวชิรเกล้ำ

เจ้ำอยู่หัว รัชกำลที่ ๑๐ ที่ได้พระรำชทำนให้ไว้ในวันที่ ๔ พฤษภำคม พ.ศ.๒๕๖๒ ดังมีใจควำมว่ำ

“เราจะสืบสาน รักษา และต่อยอด

และครองแผ่นดินโดยธรรม
เพื่อประโยชน์สุขแห่งอาณาราษฎรตลอดไป”

จำกพระปฐมบรมรำชโองกำรข้ำงนี้ พบว่ำ ค ำว่ำ “ต่อยอด” นี้ สอดคล้องกับหลักอนุรักขนำปธำน

เป็นอย่ำงยิ่ง เพรำะอนุรักขนำปธำนมุ่งหมำยเอำกำรเพยรรักษำสุจริตธรรมที่เกิดขึ้นแล้วด ำรงคงอยู่ต่อไปเรื่อยๆ

ั้

ตรำบนำนเท่ำนำน อกทงยังต้องรักษำควำมดีเช่นนี้ให้คงอยู่ต่อไปโดยไมยอมให้เสื่อมสูญหำยไปด้วย ดังนั้น จึงตรงกับ
ค ำว่ำ “ต่อยอด” ที่มุ่งหมำยเอำกำรรักษำพระปณิธำนของในหลวงรัชกำลที่ ๙ ให้ด ำรงอยู่คู่กับแผ่นดินไทย
ไปตรำบนำนเท่ำนำน ดังนั้น กำรใช้หลักอนุรักขนำปธำนเพอสร้ำงพลเมืองดีและให้เกิดควำมรับผิดชอบต่อสังคม
ื่
จึงเป็นเรื่องที่ต้องพิจำรณำให้ดีเพื่อให้เกิดควำมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ยิ่งขึ้นสืบไป

๓.๑ การใช้หลักอนุรักขนาปธานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง


หลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพยงนี้ เป็นแนวพระรำชด ำริของพระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศร

มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพตร รัชกำลที่ ๙ เป็นผู้ทรงน ำมำปฏิบัติโดยน ำมำใช้เป็นหลักกำรพื้นฐำนของ
นโยบำยกำรพัฒนำประเทศ จึงประกอบหลักวิชำ และหลักธรรมหลำยประกำร ได้แก่
(๑) เป็นปรัชญำแนวทำงกำรด ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชำชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ

ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ

(๒) เป็นปรัชญำในกำรพัฒนำและบริหำรประเทศให้ด ำเนินไปในทำงสำยกลำง
ื่
(๓) จะช่วยพฒนำเศรษฐกิจให้ก้ำวทันโลกยุคโลกำภิวัตน์ เพอให้สมดุล และพร้อมต่อกำร รองรับ

กำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงรวดเร็วกว้ำงขวำง ทั้งด้ำนวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจำกโลก ภำยนอกได้อย่ำงดี


(๔) ควำมพอเพยง หมำยถึง ควำมพอประมำณ ควำมมีเหตุผล รวมถึงควำมจ ำเป็นที่ จะต้องมี
ระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อกำรมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงทั้ง ภำยนอกและภำยใน

(๕) จะต้องอำศัยควำมรอบรู้ ควำมรอบคอบ และควำมระมัดระวังอย่ำงยิ่งในกำรน ำ วิชำกำรต่ำง ๆ
มำใช้ในกำรวำงแผนและกำรด ำเนินกำรทุกขั้นตอน

๗๔ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)

(๖) จะต้องเสริมสร้ำงพนฐำนจิตใจของคนในชำติ โดยเฉพำะเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ นักทฤษฎี
ื้
และนักธุรกิจในทุกระดับให้มีส ำนักในคุณธรรม ควำมซื่อสัตย์สุจริต และให้ มีควำมรอบรู้ที่เหมำะสม ด ำเนินชีวิต
ด้วยควำมอดทน ควำมเพียร มีสติปัญญำ และควำมรอบคอบ


ในที่นี้ มีพระบรมรำโชวำท ในพธีพระทำนปริญญำบัตรของพระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศร
มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร รัชกำลที่ ๙ หอประชุมมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์

ในวันพฤหัสบดีที่ ๑๘ กรกฎำคม พ.ศ.๒๕๑๗ มีใจควำมว่ำ
“...การพัฒนาประเทศจ าเป็นต้องท าตามล าดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมีพอกิน พอใช้

ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและใช้อปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา

เมื่อได้พนฐานมั่นคงพร้อมพอควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจ
ื้
ุ่
ขั้นที่สูงขึ้นโดยล าดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทมเทสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็วแต่ประการเดียว
โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพนธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้องด้วย ก็จะเกิด

ความไม่สมดุลในเรื่องต่างๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด...”


เศรษฐกิจพอเพยงเป็นปรัชญำที่ยึดหลักทำงสำยกลำง ที่ชี้แนวทำงกำรด ำรงอยู่และปฏิบัติของประชำชน

ในทุกระดับให้ด ำเนินไปในทำงสำยกลำง มีควำมพอเพยง และมีควำมพร้อมที่จะจัดกำรต่อผลกระทบจำกกำรเปลี่ยนแปลง

ซึ่งจะต้องอำศัยควำมรอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง ในกำรวำงแผนและด ำเนินกำรทุกขั้นตอน ทั้งนี้ เศรษฐกิจพอเพยง
เป็นกำรด ำเนินชีวิตอย่ำงสมดุลและยั่งยืน เพื่อให้สำมำรถอยู่ได้แม้ในโลกยุคโลกำภิวัตน์ที่มีกำรแข่งขันสูงได้อย่ำงมั่นคง

ในที่นี้ ขอน ำหลักธรรม ๔ ประกำร มำอธิบำยพอสังเขป ได้แก่ ๑) พอดี ๒) พอเหมำะ ๓) พอตัว

๔) พอใจ มีรำยละเอียดดังต่อไปนี้

(๑) พอดี

ค ำว่ำ “พอดี” นี้ หมำยเอำกำรด ำเนินชีวิตตำมหลักทำงสำยกลำง หรือที่เรียกว่ำ มัชฌิมำปฏิปทำ
เป็นกำรด ำเนินชีวิตอย่ำงเป็นกลำงโดยไม่ยึดติดวัตถุนิยมมำกเกินไป และไม่ใช้ชีวิตโดยท ำตนเองให้ล ำบำกเกินไป แต่

ให้ด ำเนินชีวิตอยู่บนพนฐำนของควำมพอมีพอกิน พออยู่พอใช้ เป็นกำรใช้ชีวิตที่ประกอบด้วยหลักกำรทำงปัญญำ
ื้
ื่
กล่ำวคือ รู้จักน ำหลักอนุรักขนำปธำนไปใช้ในกำรด ำเนินชีวิต เพอคอยรักษำสุจริตธรรมและควำมดีงำมที่เกิดขึ้นแล้ว
ไม่ให้เสื่อมสลำยไป และท ำให้ตั้งมั่นยั่งยืนต่อไปในอนำคตด้วย

(๒) พอเหมำะ

ค ำว่ำ “พอเหมำะ” หมำยเอำกำรด ำเนินชีวิตตำมหลักมัตตัญญุตำ หรือที่เรียกว่ำ รู้ประมำณ

ในกำรด ำเนินชีวิต กล่ำวคือ รู้ประมำณในกำรใช้จ่ำยและรู้ประมำณในกำรเก็บรักษำทรัพย์ที่แสวงหำมำโดยชอบธรรม
กำรรู้ประมำณตนเองนี้ เป็นแนวทำงแห่งอนุรักขนำปธำนที่ส ำคัญในกำรด ำเนินชีวิต เพรำะหำกเรำทรำบถึง

ควำมพอเหมำะที่เกิดขึ้นแก่ตนเองได้อย่ำงดีเพยงพอ จะท ำให้เรำสำมำรถควบคุมกำรด ำเนินชีวิตให้อยู่ในกรอบแห่ง

ควำมดีงำมได้ โดยไม่ใช้ชีวิตโดยท ำตนให้มัธยัสถ์ล ำบำกเกินไปและไม่ท ำตนให้ฟุ้งเฟอฟมเฟอยจนเกินไป


ุ่

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๗๕

(๓) พอตัว

ึ่
ค ำว่ำ “พอตัว” หมำยเอำกำรด ำเนินชีวิตตำมหลัก “อตตนำถะ” หรือกำรใช้ชีวิตที่มีกำรพงพำ

ึ่
ตนเองเป็นหลัก เพรำะตนเป็นที่พึงของตนเองได้อย่ำงประเสริฐ กำรจะคอยหวังพงผู้อื่นอยู่เสมอนั้น เป็นแนวทำงของ
กำรดูถูกควำมสำมำรถของตนเอง ดังพทธศำสนสุภำษิตที่ว่ำ “ตนแล เป็นที่พงของตน คนอนใครเล่ำจะเป็นที่พงได้

ึ่
ื่
ึ่
ึ่
ก็บุคคลมีตนฝึกฝนดีแล้ว ย่อมได้ที่พงที่หำได้ยำก” ดังนั้น กำรพงพำตนเองจึงเป็นเสมือนกำรฝึกฝนตนเองให้มีควำมพร้อม
ึ่
ในกำรเป็นที่พงพงของตนเองและคนอนอยู่เสมอด้วย ด้วยเหตุนี้ พระพทธองค์จึงตรัสว่ำ “พวกเธอจงมีตนเป็นเกำะ
ึ่


ื่
มีตนเป็นที่พึ่ง จงมีธรรมเป็นเกำะ มีธรรมเป็นที่พึ่ง มิใช่มีสิ่งอื่นเป็นที่พึ่ง”
(๔) พอใจ
ค ำว่ำ “พอใจ” หมำยเอำกำรด ำเนินชีวิตตำมหลักกำมโภคีสุข หรือที่เรียกว่ำ สุขของชำวบ้ำน

ิ่

ผู้อยู่ครองเรือนมี ๔ ประกำร ได้แก่ ๑) อตถิสุข หมำยถึง สุขที่เกิดจำกควำมมีทรัพย์ เป็นควำมภูมิใจ อมเอบใจว่ำ


ตนมีโภคทรัพย์ที่ได้มำด้วยน้ ำพกน้ ำแรงและควำมขยันหมั่นเพยรของตนและโดยชอบธรรม ๒) โภคสุข หมำยถึง
ื่
สุขที่เกิดจำกกำรใช้จ่ำยทรัพย์ที่ตนแสวงหำมำโดยชอบนั้น เพอไว้ใช้ในกำรเลี้ยงชีพตนเองและผู้อน รวมไปถึง
ื่
กำรบ ำเพ็ญประโยชน์ต่อสำธำรณะด้วย ๓) อนณสุข หมำยถึง สุขที่เกิดจำกควำมไม่เป็นหนี้สินติดค้ำงใคร มีควำมภำคภูมิใจ

ว่ำตนมีควำมเป็นใหญ่ในทรัพย์สิน มีอสระในกำรด ำเนินชีวิตโดยไม่ตกเป็นทำสของสิ่งของหรือทรัพย์สมบัติ
๔) อนวัชชสุข หมำยถึง สุขที่เกิดจำกควำมประกอบอำชีพที่สุจริต เป็นอำชีพที่ไม่มีโทษและสร้ำงควำมเดือดร้อน


ให้แก่ผู้อื่น สร้ำงควำมภำคภูมิใจให้ตนเองและผู้อื่นก็ติเตียนไมได้ทั้งทำงกำย วำจำ และใจ
๓.๒ การใช้หลักอนุรักขนาปธานเพื่อสร้างพลเมืองดีและให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคม

ื่
อนุรักขนำปธำนสำมำรถน ำมำใช้เพอส่งเสริมให้เกิดมิติของกำรสร้ำงพลเมืองที่ดีและมีควำมรับผิดชอบ

ต่อสังคมมำกยิ่งขึ้นด้วย เพรำะอนุรักขนำปธำนหมำยเอำกระบวนกำรเพยรรักษำสุจริตธรรมที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อม

ซึ่งเป็นขั้นตอนของกำรสร้ำงพลเมืองดีให้เกิดขึ้นในสังคม ต่อจำกนั้นอนุรักขนำยังหมำยเอำกระบวนกำรบ ำเพญ
ให้เจริญยิ่งขึ้นไปจนไปไพบูลย์ ซึ่งเป็นขั้นตอนของกำรมีควำมรับผิดชอบต่อสังคม ดังนั้น จะแบ่งแนวคิดในส่วนนี้

ออกเป็น ๒ ด้ำน เพื่อประกอบกำรศึกษำให้ครบถ้วนสืบไป

๑) การสร้างพลเมืองดี

พลเมืองดี หมำยถึง ประชำชน หรือรำษฎร หรือพสกนิกร หรือชำวบ้ำนโดยทั่วไปที่ประพฤติตน
ให้เป็นไปตำมระเบียบ กฎเกณฑ์ กฎหมำย และข้อบังคับต่ำงๆ ของสังคม โดยบุคคลดังกล่ำวจะต้องมีหน้ำที่

และมีควำมรับผิดชอบ ปฏิบัติตนให้เกิดประโยชน์แก่สังคม ประเทศชำติ ศำสนำ และพระมหำกษัตริย์

พลเมืองถือเป็นองค์ประกอบที่ส ำคัญของสังคม พลเมืองที่สมบูรณ์ต้องมีคุณภำพชีวิตที่ดี มีร่ำงกำย

ดี จิตใจดี คิดเป็น แก้ปัญหำเป็น และต้องเป็นก ำลังในกำรพฒนำควำมเจริญของประเทศชำติให้เกิดควำมมั่นคง

สำมัคคีปรองดอง ซึ่งพลเมืองนี้มีลักษณะโดยทั่วไป ดังนี้

๑.๑) เคำรพกฎหมำยและปฏิบัติตำมกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคม และข้อบัญญัติของกฎหมำย

๗๖ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)

๑.๒) มีเหตุผลและรับฟังควำมคิดเห็นของผู้อื่น

๑.๓) ยอมรับมติของเสียงส่วนใหญ่ แม้ว่ำมตินั้นๆ จะไม่ตรงกับควำมคิดของตนเอง
๑.๔) มีน้ ำใจประชำธิปไตย เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมำกกว่ำประโยชน์ตน

๑.๕) เคำรพสิทธิเสรีภำพของผู้อื่น

๑.๖) รับผิดชอบต่อตนเอง สังคม ชุมชน และประเทศชำติ
๑.๗) มีส่วนร่วมในกิจกรรมกำรเมือง กำรปกครองในระบอบประชำธิปไตย

๑.๘) มีส่วนร่วมในกำรป้องกัน แก้ไขปัญหำเศรษฐกิจ สังคม กำรเมืองกำรปกครองของประเทศ
๑.๙) มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตำมหลักธรรมทำงศำสนำที่ตนนับถือ

หน้ำที่ของพลเมืองดีตำมหลักอนุรักขนำปธำน คือ กำรช่วยกันเป็นหูเป็นตำคอยระแวดระวังภัย
ที่อำจเกิดขึ้นแก่ผู้คนในสังคม เมื่อท ำหน้ำที่อย่ำงสุจริตด้วยกำรร่วมกันท ำควำมดีและคอยป้องกันควำมชั่วที่อำจเกิดขึ้น

แก่หมู่คณะแล้ว ยังนับได้ว่ำ ท ำหน้ำที่ร่วมกันต้ำนโกงด้วย กำรท ำหน้ำที่ของพลเมืองดีเช่นนี้เป็นส่วนหนึ่ง

ของกำรแสดงควำมรับผิดชอบต่อสังคมที่น่ำยกย่อง

๒) การมีความรับผิดชอบต่อสังคม

ควำมรับผิดชอบนี้หมำยเอำกำรยอมรับในผลที่ได้กระท ำตำมภำระหน้ำที่ที่ได้รับมอบหมำย ทั้งนี้
บุคคลนั้นๆ จะต้องรับทั้งผิดและชอบ ตำมสิ่งที่ตนได้กระท ำไปด้วย ดังที่พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศร มหำ


ภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพตร รัชกำลที่ ๙ ได้ทรงให้ควำมหมำยของค ำว่ำ “รับผิดชอบ” ไว้ว่ำ หน้ำที่ที่
ได้รับมอบหมำยให้ท ำ จะหลีกเลี่ยงละเลยไม่ได้ ผู้ใดมีควำมรับผิดชอบ จะสำมำรถประกอบกำรงำนให้บรรลุผลส ำเร็จ

ตำมที่มุ่งหมำยไว้อย่ำงแน่นอน ในที่นี้จึงขอน ำพระบรมรำโชวำทของในหลวงรัชกำลที่ ๙ เกี่ยวกับควำมรับผิดชอบ


ในพธีพระรำชทำนปริญญำบัตรแก่ผู้ส ำเร็จกำรศึกษำของมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ ณ หอประชุมมหำวิทยำลัย
เกษตรศำสตร์ เมื่อวันที่ ๑๖ กรกฎำคม พ.ศ.๒๕๑๙ มีใจควำมดังนี้

“…การจะท างานให้มีประสิทธิผลและให้ด าเนินไปได้โดยราบรื่นนั้น จ าเป็นอย่างยิ่งจะต้องท าด้วย
ความรับผิดชอบอย่างสูง ไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง ไม่บิดเบือนจุดประสงค์ที่แท้จริงของงาน ส าคัญที่สุด ต้องเข้าใจ

ความหมายของค าว่า ‘ความรับผิดชอบ’ ให้ถูกต้อง ขอให้เข้าใจว่า ‘รับผิด’ ไม่ใช่การรับโทษ หรือถูกลงโทษ
‘รับชอบ’ ไม่ใช่รับรางวัล หรือรับค าชมเชย


การรู้จักรับผิด หรือยอมรับรู้ว่าอะไรผิดพลาดเสียหาย และเสียหายเพราะอะไร เพยงใดนั้น

มีประโยชน์ ท าให้บุคคลรู้จักพจารณาตนเอง ยอมรับความผิดของตนเองโดยใจจริง เป็นทางที่จะช่วยให้แก้ไข
ความผิดได้ และให้รู้ว่าจะต้องปฏิบัติแก้ไขใหม่


ส่วนการรู้จักรับชอบ หรือรู้ว่าอะไรถูก อนได้แก่ถูกตามความมุ่งหมาย ถูกตามหลักวิชา
ถูกตามวิธีการนั้น มีประโยชน์ท าให้ทราบแจ้งว่าจะท าให้งานส าเร็จสมบูรณ์ได้อย่างไร จักได้ถือปฏิบัติต่อไป

นอกจากนั้น เมื่อเข้าใจความหมายของค าว่า ‘รับผิดชอบ’ ตามนัยดังกล่าวแล้ว ผู้ที่เข้าใจ
ซึ้งในความรับผิดชอบ จะส านึกตระหนักได้ทันทีว่า ความรับผิดชอบคือหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ท า จะหลีกเลี่ยง

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๗๗

ละเลยไม่ได้ จึงใคร่ขอให้บัณฑิตศึกษาและสังวรระวังในความรับผิดชอบให้มากที่สุด ผู้ใดมีความรับผิดชอบ

จะสามารถประกอบการงานให้บรรลุผลส าเร็จ ตามที่มุ่งหมายไว้ได้อย่างแน่นอน…”

จำกพระบรมรำโชวำทนี้ ชี้ให้เห็นว่ำ กำรจะท ำงำนให้มีประสิทธิผล และให้งำนด ำเนินไปโดยรำบรื่น
ได้นั้น จ ำเป็นอย่ำงยิ่งจะต้องท ำด้วยควำมรับผิดชอบอย่ำงสูง ไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง ไม่บิดเบือนจุดประสงค์ที่แท้จริง

ของงำน และที่สุดต้องเข้ำใจควำมหมำยของค ำว่ำ “รับผิดชอบ” ให้ถูกต้องด้วย

ควำมรับผิดชอบต่อสังคมนี้เป็นตัวก ำหนดทิศทำงและนโยบำยในกำรด ำเนินธุรกิจอย่ำงถูกต้องด้วย

ดังจะเห็นได้จำกบริษัทชั้นน ำมักจะมีนโยบำยด ำเนินธุรกิจด้วยควำมรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social
ื่
Responsibility : CSR) ด้วยควำมตระหนักและให้ควำมส ำคัญในกำรสนับสนุนกำรด ำเนินกิจกรรมเพอสังคม
และชุมชนโดยรอบ รวมทั้งใส่ใจดูแลสิ่งแวดล้อมอย่ำงต่อเนื่อง มีเจตนำรมณ์ที่จะท ำงำนร่วมกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง



โดยมุ่งสร้ำงและสืบสำนควำมสัมพนธ์อนดีที่เกิดจำกกำรยอมรับและไว้วำงใจซึ่งกันและกัน ค ำนึงถึงผลกระทบ
ที่อำจจะมีต่อผู้มีส่วนได้เสีย เช่น ผู้ถือหุ้น พนักงำน ชุมชนที่บริษัทประกอบกิจกำรอยู่ ลูกค้ำ คู่ค้ำ และหน่วยงำนภำครัฐ
ื่
ตลอดจนถึงสังคมและประเทศชำติ พร้อมทั้งสร้ำงทัศนคติและวัฒนธรรมองค์กรเพอให้พนักงำนมีควำมรับผิดชอบต่อสังคม
ที่อยู่ร่วมกันด้วย

กำรแสดงควำมรับผิดชอบต่อสังคมนี้ เรียกอกอย่ำงหนึ่งว่ำ กำรประพฤติจริยธรรมเพอสังคม
ื่

เพรำะกำรแสดงควำมรับผิดชอบต่อสังคมเป็นกำรบ่งบอกถึงกำรแสดงเจตนำรมณ์ที่จะอยู่ร่วมกับผู้อนในสังคมอย่ำง
ื่
สันติสุข ต้องกำรที่จะได้รับกำรยอมรับจำกผู้คนในสังคม เป็นกำรควบคุมควำมประพฤติของตนเองให้เข้ำกับหมู่คณะ
อนในสังคม เมื่อควบคุมควำมประพฤติตนเองได้แล้ว ยังแสดงออกต่อสังคมด้วยกำรท ำหน้ำที่คอยระแวดระวังภัย
ื่
ให้คนอื่นในสังคมด้วย ถือว่ำเป็นผู้มีจริยธรรมเพื่อตนเองเป็นเบื้องต้น และมีจริยธรรมเพื่อสังคมในเบื้องปลำยได้ด้วย

กำรแสดงควำมรับผิดชอบต่อสังคมด้วยกำรเป็นพลเมืองดีนี้ถือเป็นกำรท ำหน้ำที่เสมือนหนึ่ง

กำรสร้ำงภูมิคุ้มกันภัยให้เกิดแก่หมู่คณะ (Herd Immunity) ด้วย ซึ่งเริ่มต้นด้วยกำรฉีดวัคซีนให้แก่ตนเองก่อน

เมื่อตนเองมีภูมิคุ้มกันที่ดีแล้ว ก็เริ่มสร้ำงภูมิคุ้มกันภัยให้แก่ผู้อนตำมไปด้วย แนวคิดเช่นนี้จึงเข้ำกับหลักอนุรักขนำปธำน
ื่
เป็นอย่ำงยิ่ง เพรำะกำรรักษำควำมดีให้คงอยู่ตรำบนำนเท่ำนำนโดยไม่ยอมให้เสื่อมสลำยไปนั้น ก็เพอควำมเป็นอยู่
ื่
อย่ำงผำสุกของประชำชนนั่นเอง

๗๘ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)

๔. สรุปความ

สัมมัปปธำน ๔ ประกอบไปด้วยสังวรปธำน ปหำนปธำน ภำวนำปธำนและอนุรักขนำปธำน นับเป็น

องค์แห่งกำรบรรลุธรรม สำมำรถน ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจ ำวันได้อย่ำงดียิ่ง ไม่ว่ำจะเป็นกำรปฏิบัติ

สมถะวิปัสสนำ หรือแม้แต่กำรด ำรงชีวิตในสังคมปัจจุบัน หรือแม้แต่กำรประกอบสัมมำอำชีพต่ำงๆ สำมำรถที่จะ

น ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ไม่จ ำกัดกำล เมื่อกล่ำวถึงสัมมัปปธำน ๔ โดยภำพรวมใหญ่ก็เป็นกำรปรำรภถึงควำมเพยร

นั่นเอง และควำมเพยรนี้เป็นคุณธรรมอยู่ภำยในจิตใจของเรำทุกคนมีควำมส ำคัญต่อกำรสร้ำงสรรค์ชีวิตที่ดีงำม

และกำรเข้ำถึงจุดหมำยสูงสุดของพระพทธศำสนำ ส่งเสริมให้เกิดควำมเพียรเพ่อรักษำสุจริตธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว


ให้ตั้งมั่นมิให้เสื่อมและเจริญยิ่งขึ้นไปไพบูลย์ เพ่อให้สุจริตธรรมที่เกิดขึ้นแล้วมีควำมตั้งมั่นยำวนำนมำกที่สุด
เมื่อท ำแล้วต้องมีควำมยั่งยืนและเกิดเครือข่ำย (Networking) กำรรักษำควำมดีนี้ก็เปรียบเหมือนภำษิตไทย
ที่ว่ำ “พึงรักษำควำมดีดุจเกลือรักษำควำมเค็ม” ท ำอย่ำงไรให้เป็นวัฒนธรรมที่ต่อเนื่อง เป็นพลเมืองดีที่มี

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม ในสังวรสูตรมีเกณฑ์ท ำควำมดี โปร่งใสและสุจริต แต่กำรจะท ำได้ดังนี้ต้องมี

หลักยึดภำยในใจ ต้องรู้จักยับยั้งชั่งใจ รู้อะไรควรไม่ควร

อนุรักขนำปธำน ซึ่งเป็นหนึ่งในองค์สัมมัปปธำนจึงสอดคล้องกับควำมมุ่งหมำยตำมรัฐธรรมนูญ


แห่งรำชอำณำจักรไทย พทธศักรำช ๒๕๖๐ หมวด ๔ หน้ำที่ของปวงชนชำวไทย มำตรำ ๕๐ บุคคลมีหน้ำที่
ดังต่อไปนี้ คือ “ไม่ร่วมมือหรือสนับสนุนการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ” ถือได้ว่ำเป็นครั้งแรก

ที่รัฐธรรมนูญได้ก ำหนดให้กำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตเป็นหน้ำที่ของประชำชนชำวไทยทุกคน นอกจำกนี้
ยังก ำหนดชัดเจนในหมวดที่ ๕ หน้ำที่ของรัฐว่ำ “รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอนตราย


ที่เกดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐและภาคเอกชนและจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพ
ื่
เพอป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวดรวมทั้งกลไกในการส่งเสริมให้ประชาชน
ื่
รวมตัวกันเพอมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ต่อต้านการทุจริต หรือชี้เบาะแส โดยได้รับความคุ้มครองจากรัฐ
ตามที่กฎหมายบัญญัติ” กำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินรัฐต้องเสริมสร้ำงให้ประชำชนได้รับบริกำรที่สะดวก

มีประสิทธิภำพ ที่ส ำคัญ คือ ไม่เลือกปฏิบัติตำมหลักกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี ซึ่งกำรบริหำรงำนบุคคล
ของหน่วยงำนของรัฐต้องเป็นไปตำมระบบคุณธรรม ตำมที่กฎหมำยบัญญัติ อย่ำงน้อยต้องมีมำตรกำรป้องกัน

มิให้ผู้ใดใช้อำนำจหรือกระท ำกำรโดยมิชอบที่เป็นกำรแทรกแซงกำรปฏิบัติหน้ำที่หรือกระบวนกำรแต่งตั้ง

หรือกำรพิจำรณำควำมดีควำมชอบของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ และรัฐต้องจัดให้มีมำตรฐำนทำงจริยธรรม เพอให้หน่วยงำน
ื่
ของรัฐใช้เป็นหลักในกำรก ำหนดประมวลจริยธรรมส ำหรับเจ้ำหน้ำที่ในหน่วยงำนนั้นๆ ซึ่งต้องไม่ต่ ำกว่ำมำตรฐำน

ทำงจริยธรรมดังกล่ำว กำรที่รัฐธรรมนูญได้ให้ควำมส ำคัญต่อกำรบริหำรรำชกำรที่มีประสิทธิภำพและกำรบริหำร
บุคคลที่มีคุณธรรมนั้น รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐ จึงได้มีควำมพยำยำมที่จะแสดงให้เห็นอย่ำง

ชัดเจนว่ำต้องกำรสร้ำงประสิทธิภำพในระบบกำรบริหำรงำนรำชกำรแผ่นดินและเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ ต้องยึดมั่น
ในหลักธรรมำภิบำลและมีคุณธรรมจริยธรรมตำมที่ก ำหนดเอำไว้

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๗๙


เมื่อผนวกควำมตำมนัยแห่งอนุรักขนำปธำน กำรเพยรรักษำสุจริตธรรมที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อม

ื่
และบ ำเพญให้เจริญยิ่งขึ้นไปจนไพบูลย์ ล้วนมีนัยควำมหมำยเพอส่งเสริมไม่ให้ร่วมมือหรือสนับสนุนกำรทุจริต
และประพฤติมิชอบทุกรูปแบบเด่นชัดอย่ำงยิ่ง เพรำะกำรด ำเนินควำมดีนั้นเป็นสิ่งสร้ำงได้ยำก ควำมชั่วสร้ำงได้ง่ำย
ท ำเมื่อใดควำมชั่วนั้นเกิดขึ้นจนมีผลให้ได้รับควำมทุกข์ ผลของควำมดีเท่ำนั้นน ำให้เกิดควำมสุข คนไม่ต้องกำรทุกข์

ต้องกำรควำมสุข แต่ก็ไม่อยำกสร้ำงควำมดี หำกว่ำได้สร้ำงควำมดีเป็นแนวทำงไว้แล้วยิ่งก่อให้เกิดควำมสุข
ควำมเจริญยิ่งขึ้น เมื่อมีมำกขึ้นก็ให้หมั่นรักษำควำมดีนั้นให้อยู่คู่กับตน แต่กำรจะรักษำควำมดีให้อยู่ตลอดไปได้

ต้องรู้จักประคับประคองดูแลตนเองให้มีทัศนคติที่ดี อย่ำให้ควำมชั่วได้มีโอกำสแทรกเข้ำมำในระหว่ำงได้ เมื่อเข้ำใจ
แจ่มแจ้งด้วยตนเองแล้วก็ให้เชื่อมั่นในตนเอง หมั่นท ำจิตใจให้เบิกบำนสงบเยือกเย็น เมื่อคิดดีก็จะน ำไปสู่กำรท ำ

สิ่งดีงำมอันเป็นเหตุแห่งควำมเจริญยิ่งขึ้นไปจนถึงควำมไพบูลย์มั่นคงตลอดไป

๘๐ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)

บทที่ ๖

บทสรุป

จำกข้อเท็จจริงตำมที่ได้ศึกษำมำทั้งหมด พบว่ำ ปัญหำเรื่องกำรทุจริตคอร์รัปชันในสังคม

มีหลำกหลำยรูปแบบและซับซ้อนมำก โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในปัจจุบันนี้ คนในสังคมมักยกย่องคนรวย คนมีอำนำจ

คนมีหน้ำมีตำมีฐำนะในสังคม โดยไม่ได้ค ำนึงว่ำ ควำมรวยหรืออำนำจนั้นได้มำโดยวิธีกำรใด เป็นวิธีกำรที่ถูกต้อง
ี้
ตำมหลักศีลธรรมและมีมนุษยธรรมหรือไม่ เมื่อไม่ได้พจำรณำถึงแก่นหรือกระพที่อยู่ภำยในแต่กลับให้ควำมส ำคัญ

ต่อเปลือกที่อยู่ภำยนอก ส่งผลให้เกิดสังคมวัตถุนิยมขึ้น ใครมีโอกำสและฐำนะที่ดีกว่ำก็จะตักตวงผลประโยชน์
ส่วนรวมมำเป็นของตัว โดยไม่ได้ค ำนึงถึงควำมถูกต้องและเรื่องของศีลธรรมมำกนัก เข้ำท ำนองสุภำษิตที่ว่ำ

“มือใครยำว สำวได้สำวเอำ” กำรตักตวงผลประโยชน์เข้ำหำตัวเช่นนี้เกิดขึ้นจำกกำรขำดหิริโอตตัปปะ คือ ไม่มีควำม

ละอำยชั่วและกลัวเกรงบำปที่ท ำลงไป ค ำนึงถึงแต่เพยงผลประโยชน์ที่ตัวเองจะได้รับเท่ำนั้นโดยไม่ค ำนึงประโยชน์

ส่วนรวมของประเทศชำติบ้ำนเมือง บำงครั้งเมื่อไม่ได้รับผลประโยชน์ตำมที่ใจต้องกำร ก็อำจใช้วิธีกำรคดโกง


หรือเอำเปรียบทั้งทำงตรงและทำงออม เพอให้ได้รับผลประโยชน์ตำมที่ต้องกำร เข้ำท ำนองสุภำษิตที่ว่ำ “ไม่ได้ด้วยเล่ห์
ื่
ก็เอำด้วยกล ไม่ได้ด้วยมนต์ก็เอำด้วยคำถำ” เพอให้ได้รับผลตอบแทนตำมที่มุ่งหวัง จึงยินยอมท ำเรื่องผิดศีลธรรม
ื่
เป็นอันมำกได้ โดยไม่ได้ค ำนึงถึงเพอนมนุษย์คนอื่นๆ กำรกระท ำควำมผิดเช่นนี้เป็นบ่อเกิดของปัญหำทุจริตคอร์รัปชัน
ื่
ในสังคมไทย หำกแก้ไขสิ่งเหล่ำนี้ไม่ได้ ย่อมก่อให้เกิดผลเสียต่อแวดวงกำรศึกษำ สังคม เศรษฐกิจ และกำรเมือง
ของประเทศชำติเป็นอย่ำงยิ่ง จึงมีค ำถำมที่น่ำสนใจว่ำ เรำจะสำมำรถแก้ไขปัญหำเหล่ำนี้ได้อย่ำงไร

ด้วยเหตุนี้ ส ำนักงำน ป.ป.ช. โดย ส ำนักส่งเสริมและบูรณำกำรกำรมีส่วนร่วมต้ำนทุจริต จึงจัดท ำ

หนังสือหลักธรรมค ำสอนในพระพทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ หรือที่เรียกว่ำ “Anti – Corruption Education”
เป็นกำรน ำกรอบศีลธรรมตำมแนวทำงพระพทธศำสนำมำประยุกต์เข้ำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ โดยสำมำรถปลูกฝัง

ค่ำนิยมด้วยกำรสร้ำงวัฒนธรรมที่ถูกต้องผ่ำนกำรศึกษำของหลักสูตรดังกล่ำว และน ำไปใช้กับบุคคล ๒ กลุ่มใหญ่
ได้แก่ ๑) พระภิกษุและสำมเณร และ ๒) ประชำชนทั่วไป มี ๕ กลุ่มย่อย ได้แก่ กลุ่มวัยรุ่นตอนต้น (ระดับปฐมวัย

และ ป.๑ – ม.๖) กลุ่มวัยรุ่นตอนกลำง (อุดมศึกษำ) กลุ่มทหำรและต ำรวจ กลุ่มวิทยำกร และกลุ่มโค้ช

โดยมีรำยละเอียดดังนี้

กลุ่มของพระภิกษุและสำมเณร สำมำรถช่วยเหลือสังคมได้ด้วยกำรน ำหลักธรรมค ำสอนที่เกี่ยวกับ


กำรแก้ปัญหำทุจริตคอร์รัปชันมำใช้ในกำรเทศนำธรรมสั่งสอนชำวบ้ำนให้ตั้งมั่นอยู่ในศีลธรรมอนดีงำม
และคอยช่วยเหลือกันสอดส่องเหตุเภทภัยต่ำงๆ ที่อำจจะเกิดขึ้นในชุมชน เพรำะหน้ำที่หลักของพระภิกษุ

และสำมเณร คือ ท ำให้ชำวบ้ำนเป็นคนดีมีศีลธรรม สร้ำงหมู่บ้ำนรักษำศีล ๕ ให้เกิดขึ้นตำมนโยบำยของภำครัฐ
ดังนั้น จึงสำมำรถช่วยเทศนำสั่งสอนชำวบ้ำนให้รักษำศีล ๕ รู้จักรักษำประโยชน์ส่วนรวมมำกกว่ำประโยชน์ส่วน

บุคคล และรู้จักเป็นคนละอำยชั่วเกรงกลัวบำป เป็นต้น เมื่อพระภิกษุและสำมเณรเดินทำงไปแสดงธรรมในที่ใด

ก็น ำหลักธรรมดังกล่ำวไปเทศนำสั่งสอนชำวบ้ำนในที่นั้นให้รู้จักรักษำศีล ๕ และไม่รับผลประโยชน์ทับซ้อน

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๘๑

อนเป็นสำเหตุของปัญหำทุจริตคอร์รัปชันต่ำงๆ หำกเป็นครูพระสอนศีลธรรม ก็สำมำรถน ำแนวคิดของหลักสูตร

ดังกล่ำวมำช่วยกันเผยแผ่และบูรณำกำรเชื่อมโยงเข้ำกับกำรเทศน์ในเรื่องเดียวกันนี้ให้แพร่ขยำยไปทั่วประเทศ
เมื่อท ำได้เช่นนี้จะเกิดสังคมแห่งกำรตระหนักรู้ เป็นสังคมแห่งกำรมีสติ ตื่นรู้ และมีควำมคิดเท่ำทันปัญหำที่เกิดขนได้
ึ้

ส่วนกลุ่มของประชำชนทั่วไป ซึ่งมี ๕ กลุ่มย่อยนั้นก็ท ำหน้ำที่ ๒ ประกำร คือ ๑) หน้ำที่ด้ำนกำรศึกษำ
เรียนรู้และ ๒) หน้ำที่ด้ำนกำรเผยแผ่ กล่ำวคือ กลุ่มวัยรุ่นตอนต้น (ระดับปฐมวัยและ ป.๑ – ม.๖) กลุ่มวัยรุ่นตอนกลำง

(อดมศึกษำ) และกลุ่มทหำรและต ำรวจ ทั้ง ๓ กลุ่มนี้มีหน้ำที่ในกำรศึกษำเรียนรู้หลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำนี้ให้ดี

ื่
เพอเป็นบำทฐำนในกำรช่วยเหลือและพัฒนำประเทศชำติ เพรำะกลุ่มบุคคลทั้ง ๓ กลุ่มนี้อยู่ในวัยแห่งกำรศึกษำและเรียนรู้
ในสิ่งต่ำงๆ เมื่อได้รับกำรเรียนรู้ในสิ่งที่ถูกต้องและดีงำมแล้ว จะสำมำรถน ำควำมรู้ดังกล่ำวมำใช้กับตัวเอง ครอบครัว

และประเทศชำติต่อไปได้อย่ำงมั่นคง กลุ่มนี้จะท ำหน้ำที่เหมือนจุดไฟให้ติดที่ไส้ของเทียน ท ำหน้ำที่ให้แสงสว่ำงแก่ตัวเอง
เท่ำนั้น ส่วนกลุ่มวิทยำกรและกลุ่มโค้ช จะท ำหน้ำที่ในกำรเผยแผ่ เป็นกลุ่มที่ท ำหน้ำที่ในกำรสร้ำงสรรค์และจรรโลงสังคม



ให้งดงำมด้วยกำรท ำหน้ำที่เผยแผ่และถำยทอดองคควำมรู้เรื่องกำรต้ำนทุจริตคอร์รัปชันให้แก่ผู้คนในสังคมในระดับ
ชั้นต่ำงๆ กลุ่มนี้จะท ำหน้ำที่เหมือนจุดไฟให้แก่เทียนเล่มอื่นๆ ซึ่งเป็นเทียนที่ยังไม่เคยผ่ำนกำรจุดไฟมำก่อน หรือเทียนที่เคย
จุดไฟมำก่อนในอดีตแต่ปัจจุบันเทียนดับไปแล้ว ให้เทียนเหล่ำนี้กลับมำมีแสงสว่ำงขึ้นอกครั้ง และเทียนจ ำนวนมำกที่ถูกจุดไฟ

ขึ้นมำนี้ จะเป็นแสงสว่ำงที่มีก ำลังกล้ำเพียงพอที่จะท ำให้ห้องที่มืดมิดกลับมีควำมสว่ำงไสวได้ด้วยแสงเทียนแห่งธรรม

ดังนั้น เป้ำหมำยของหลักสูตร จึงมุ่งหวังให้บุคคล ๒ กลุ่มใหญ่ กล่ำวคือ กลุ่มของพระภิกษุสำมเณร

และส่วนกลุ่มของประชำชนทั่วไป ได้มีควำมรู้ที่ถูกต้องและถ่ำยทอดควำมรู้ที่ถูกต้องนี้ให้แก่ผู้อนในสังคมต่อไป
ื่
เมื่อมีควำมรู้และควำมเข้ำใจที่ถูกต้องดีงำมจนสำมำรถแยกแยะผลประโยชน์ส่วนบุคคลกับผลประโยชน์ส่วนรวม

มีควำมละอำยและควำมไม่ทนต่อกำรทุจริตต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม ท ำให้ไม่เป็นคนทอดธุระและนิ่งเฉยต่อปัญหำ

ทุจริตคอร์รัปชันที่เกิดขึ้นในชุมชน ท ำหน้ำที่พลเมืองที่ดีและมีควำมรับผิดชอบต่อสังคมด้วยกำรต่อต้ำนทุจริต
ในรูปแบบต่ำงๆ ซึ่งกำรท ำหน้ำที่ทุกอย่ำงนี้ดังกล่ำวมำนี้จ ำเป็นต้องอำศัยหลักธรรมทำงพระพทธศำสนำที่เรียกว่ำ

ปธำน ๔ มำบูรณำกำรร่วมกันจนเกิดเป็นหลักสูตรต้ำนทุจริตเชิงพทธ ที่สำมำรถน ำไปแก้ไขปัญหำทุจริตคอร์รัปชัน


ในสังคมได้เป็นอย่ำงดี ในที่นี้จะขอน ำเสนอหนังสือโดยประยุกต์หลักธรรมค ำสอน (ปธำน ๔) ในพระพทธศำสนำ
กับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ : Anti – Corruption Education มีรำยละเอียดโดยย่อ ดังนี้

๑) สังวรปธำน หมำยถึง ควำมเพยรระวังยับยั้งกำรทุจริตที่ยังไม่เกิด มิให้เกิดมีขึ้น โดยมีวิธีป้องกัน

ด้วยกำรใช้หลักกำรคิดแยกแยะระหว่ำงผลประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวม โดยไม่มีผลประโยชน์


ทับซ้อน (Conflict of interests) เป็นแนวทำงที่มุ่งเน้นไปที่กำรส ำรวมระวังอนทรีย์ ๖ ของตัวให้ดี กล่ำวคือ
ระวังตำ หู จมูก ลิ้น กำย ใจของตัวให้ดี โดยไม่ให้ถูกบีฑำจำกสิ่งยั่วยุภำยนอกทั้ง ๖ ประกำร ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น

รส สัมผัส และอำรมณ์ทำงใจ ดังนั้น หำกสำมำรถควบคุมอนทรีย์ ๖ ของตัวให้ดีได้ ย่อมส่งผลให้เกิดกำรควบคุม
ควำมประพฤติที่ดีได้ทั้งทำงกำย วำจำ และใจ ในที่นี้มีตัวอย่ำงที่เป็นกรณีศึกษำดังนี้

๘๒ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)


กำรตำกข้ำวเปลือกบนถนนตำมพื้นที่ชนบทที่อำจส่งผลให้เกิดอบัติเหตุขึ้นแก่บุคคลอื่นที่เดินทำงบน
ท้องถนน ซึ่งกำรกระท ำเช่นนี้เกิดขึ้นจำกกำรไม่คิดค ำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม
ื้
มองเห็นว่ำ กำรตำกขำวเปลือกบนท้องถนนในพื้นที่ชนบทของชำวบ้ำน เป็นเพยงแค่กำรใช้พนที่สำธำรณะแค่ชั่วครำว


ไม่น่ำจะส่งผลเสียหำยต่อบุคคลอื่น แต่ในควำมเป็นจริงแล้ว กำรตำกข้ำวเปลือกบนท้องถนนเช่นนี้ ส่งผลเสียหำยต่อ
บุคคลอนที่ร่วมเดินทำงสัญจรบนถนนเป็นอย่ำงยิ่ง โดยเฉพำะคนที่ไม่คุ้นเคยกับเส้นทำงสำยนั้น เมื่อเดินทำงผ่ำนมำ
ื่
ครั้งแรกด้วยควำมไม่รู้ อำจก่อให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นในขณะที่ขับขี่ยวดยำนพำหนะได้


จำกกรณีตัวอย่ำงเช่นนี้พบว่ำ ชำวบ้ำนอำจไม่ได้ค ำนึงถึง “สังวรปธำน” หรือเพยรระวังกำรทุจริต

ที่ยังไม่เกิด มิให้เกิดขึ้น อกทั้งยังไม่ได้ค ำนึงถึงผลที่ตัวได้ท ำลงไปว่ำ เป็นกำรกระท ำที่ส่งผลเสียหำยต่อประโยชน์

ส่วนรวมหรือเกิดผลเสียต่อคนอน เพรำะขำดกำรส ำรวมระวังทำงอนทรีย์ทั้ง ๖ ของตัวให้ดี ทั้งทำงตำ หู จมูก ลิ้น
ื่
กำย และใจ ส่งผลให้เกิดทุจริตขึ้นได้ ๓ ทำง คือ ทำงกำย วำจำ และใจ ดังนั้น จึงควรพจำรณำด้วยควำมระมัดระวัง

อย่ำงมีสติต่อเรื่องที่ตัวจะกระท ำลงไปให้ดีว่ำ ได้ค ำนึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้งหรือไม่ และท ำให้คนอนล ำบำก
ื่
เดือดร้อนด้วยกำรกระท ำของตัวหรือไม่ หำกพจำรณำด้วยใจที่ประกอบไปด้วยหลักสุจริตธรรมดังกล่ำวแล้ว

ย่อมส่งผลให้เกิดสังคมอดมสุขที่จะคอยช่วยกันระวังสอดส่องเหตุเภทภัยที่อำจเกิดขึ้นในรูปแบบต่ำงๆ และช่วยกัน

ป้องกันเหตุดังกล่ำวนั้นมิให้เกิดมีขึ้นในสังคมได้อย่ำงยั่งยืนสืบไป

๒) ปหำนปธำน หมำยถึง กำรเพยรพยำยำมละกำรทุจริตที่เกิดขึ้นแล้ว ไม่ให้มีหนทำงเกิดขึ้นได้อก


เป็นกระบวนกำรลดละทุจริต ๓ คือ ทุจริตทำงกำย วำจำ และใจที่เกิดขนแล้ว และควบคุมระวังมิให้เกิดขึ้นซ้ ำอีกด้วย
ึ้
กำรใช้หลักธรรมหิริโอตตัปปะ คือ กำรละอำยชั่วและเกรงกลัวต่อบำป พร้อมทั้งกำรไม่ยอมอดทนต่อปัญหำ

กำรทุจริตต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นอย่ำงนิ่งเฉย ไม่ยอมเป็นไทยเฉยที่นิ่งดูดำยต่อปัญหำที่เกิดขึ้นในสังคมอย่ำงไม่รู้ร้อนรู้หนำว

แต่จะท ำหน้ำที่ในกำรเป็นหูเป็นตำคอยสอดส่องเฝ้ำระวังภัยและแจ้งเหตุไม่พงประสงค์ต่อเจ้ำหน้ำที่ให้ทรำบ

และมำด ำเนินกำรแก้ไขปัญหำให้สงบระงับต่อไป ในที่นี้มีตัวอย่ำงที่เป็นกรณีศึกษำดังนี้

กำรทุจริตคอร์รัปชันในคดีน ำเข้ำรถยนต์หรูจำกเกรย์มำเก็ต โดยกรมศุลกำกร กรมสรรพสำมิต

กรมกำรขนส่งทำงบก และส ำนักงำนมำตรฐำนอตสำหกรรม ร่วมกันโกงเป็นทีมโดยอำศัยช่องว่ำงทำงกฎหมำย
เออประโยชน์ให้เอกชนแสดงรำยกำรส่วนประกอบรถยนต์ไม่ครบถ้วน และแจ้งรำคำน ำเข้ำรถยนต์หรูต่ ำกว่ำที่เป็นจริง
ื้
ท ำให้รัฐสูญเสียภำษีไปกว่ำ ๖๐,๐๐๐ ล้ำนบำท กำรกระท ำทุจริตคอร์รัปชันเช่นนี้ เกิดขึ้นจำกแสวงหำผลประโยชน์
ร่วมกันโดยท ำกันเป็นทีมและมีผลประโยชน์มหำศำลเป็นเหยื่อล่อให้บรรดำข้ำรำชกำรที่ทนต่อควำมหอมหวำนของ

อำมิสสินจ้ำงไม่ได้ จึงยอมตัวเป็นผู้กระท ำผิดเสียเอง เหตุที่เป็นเช่นนี้เพรำะไม่มีควำมละอำยชั่วกลัวบำปต่อสิ่งที่ตัว

กระท ำลงไปและอดทนต่อสรรพกิเลสที่ยั่วยวนใจไม่ได้ จึงส่งผลให้เกิดกำรคอร์รัปชันในลักษณะนี้ขึ้นมำ

จำกกรณีตัวอย่ำงเช่นนี้พบว่ำ หำกข้ำรำชกำรท ำหน้ำที่ของตัวด้วยควำมสุจริตยุติธรรม
มีควำมละอำยชั่วกลัวบำปและค ำนึงถึงค ำสัตย์ปฏิญำณที่ตัวได้ถวำยไว้ในขณะที่เข้ำมำท ำหน้ำที่เป็นข้ำรำชกำรแล้ว

จะเป็นผู้ไม่ยอมอดทนต่อปัญหำทุจริตที่เกิดขึ้น และไม่ยอมตัวให้เสียเกียรติของควำมเป็นข้ำของแผ่นดิน

โดยยอมแลกศักดิ์ศรีของตัวกับเงินทองที่หำมำได้โดยผิดวิธี เมื่อข้ำรำชกำรมีจิตส ำนึกที่ดีต่อหน้ำที่ของตัว

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๘๓

มีควำมละอำยชั่วกลัวบำป และไม่ยอมอดทนต่อทุจริตที่เกิดขึ้น จึงจะเป็นผู้ท ำหน้ำที่ด้วยควำมซื่อสัตย์เที่ยงตรง

ดุจตรำชั่งและเป็นที่พึ่งพำของชำวบ้ำนและประเทศชำติได้


๓) ภำวนำปธำน หมำยถึง กำรเพยรพยำยำมท ำสุจริตธรรมที่ยังไม่เกิดมี ให้มีกำรเกิดขึ้น
อย่ำงต่อเนื่อง เป็นกระบวนกำรสร้ำงควำมดีให้มั่นคงถำวรยิ่งขึ้นต่อไป จนก่อเกิดเป็นวัฒนธรรมแห่งควำมสุจริต

โดยใช้หลักจิตพอเพยงต้ำนทุจริตเป็นแกนกลำงในกำรพฒนำจิตใจให้เกิดชุมชนที่เข้มแข็งด้วยแนวคิด STRONG Model



อนเป็นหลักกำรที่ส่งเสริมควำมดีและเพมพนสติปัญญำให้แก่ผู้คนในสังคมได้มีส่วนร่วมในกำรพฒนำชุมชน

ิ่
ให้มีควำมเข้มแข็งและยั่งยืนต่อไป

STRONG Model ประกอบไปด้วย S = ควำมพอเพยง โดยค ำนึงถึงหลักประโยชน์ ๓ ในกำรด ำเนินงำน,
T = ควำมโปร่งใส โดยค ำนึงถึงประโยชน์สุขส่วนรวมเป็นส ำคัญ, R = ตื่นรู้ โดยค ำนึงถึงหลักสัมมำทิฏฐิที่มีควำมเห็นชอบ
เป็นแกนกลำง, O = มุ่งไปข้ำงหน้ำ โดยกำรใช้หลักจักขุมำหรือมีวิสัยทัศน์ในกำรท ำงำน, N = ควำมรู้ โดยกำรใช้หลักวิธูโร

ื้
หรือมีควำมฉลำดในกำรท ำงำน และ G = เอออำทร โดยกำรใช้หลักนิสสยสัมปันโนหรือกำรมีมนุษยสัมพนธ์ที่ดี

ในกำรท ำงำน

เมื่อหลักกำรทั้ง ๖ ประกำรดังกล่ำวข้ำงต้นนี้เกิดขึ้น ย่อมส่งผลให้เกิดควำมเข้มแข็งขึ้นในชุมชน
องค์กร หน่วยงำน และประเทศ เพรำะเป็นกำรสร้ำงรำกฐำนแห่งควำมดีงำมให้เข้มแข็งได้ด้วยควำมซื่อสัตย์

ื้
สุจริตอนนับได้ว่ำเป็นพนฐำนของควำมดีทุกอย่ำง ดังพระรำชด ำรัสของพระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศร

มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร รัชกำลที่ ๙ ที่ว่ำ “ควำมซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐำนของควำมดีทุกอย่ำง
จึงต้องฝึกฝนอบรมให้เกิดในตัวเอง เพื่อจักได้เป็นคนดีมีประโยชน์ และมีชีวิตที่สะอำด ที่เจริญมั่งคง”

๔) อนุรักขนำปธำน หมำยถึง กำรเพยรพยำยำมท ำสุจริตธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ให้เจริญยิ่งขึ้นต่อไป

เป็นกระบวนกำรรักษำควำมดีที่ท ำมำทั้งหมดให้มั่นคงยืนยำวต่อไปเรื่อยๆ จนเกิดเป็นเครือข่ำย (Networking) หรือ

เกิดเป็นวัฒ นธรรมองค์กรที่ดีงำมอย่ำงต่อเนื่อง สร้ำงพลเมืองดีที่มีควำมรับผิดชอบต่อสังคม
ให้มำกที่สุด เสมือนหนึ่งกำรเก็บกักรักษำน้ ำฝนที่ไหลผ่ำนสระใหญ่ หำกสระมีรูรั่วซึมอยู่มำก สระย่อมเต็มได้ช้ำ

ในทำงตรงกันข้ำม หำกสระไม่มีรูรั่วซึม สระก็ย่อมจะเต็มไปด้วยน้ ำได้ในเร็ววัน

แนวทำงกำรส่งเสริมให้เกิดอนุรักขนำปธำน จะต้องน ำสุจริตธรรมมำใช้ในสังคมในฐำนะ

เป็นเครื่องมือป้องกันกำรทุจริตคอร์รัปชันในสังคมไทย โดยสะท้อนผ่ำนหลักสุจริต ๓ คือ กำยสุจริต วจีสุจริต



และมโนสุจริต ที่กอปรด้วยหลักหิริโอตตัปปะอนเป็นหลักธรรมที่พฒนำคนให้เป็นเทวดำ พฒนำปัญญำให้ยั่งยืน

แกสังคม และประพฤติตำมหลักสุจริตธรรมกถำ ๓ ประกำร คือ ไม่บกพร่องต่อหน้ำที่ ไม่ละเว้นหน้ำที่ และไม่ทุจริต

ต่อหน้ำที่ หำกท ำได้เช่นนี้ สังคมและประเทศชำติก็จะประสบพบเจอแต่ควำมสุขและควำมเจริญสืบไป

๘๔ หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education)

หนังสือหลักธรรมค ำสอน (ปธำน ๔) ในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ

๑. สังวรปธำน ๒. ปหำนปธำน
สังวรปธำน คือ กำรรวบรวมหลักพุทธธรรม ปหำนปธำน คือ กำรช่วยแก้ปัญหำทุจริตคอร์รัปชันเพื่อให้
เพื่อป้องกันปัญหำไม่ให้เกิดขึ้น ป้องกันไม่ให้เกิดกำรทุจริตขึ้น สังคมอยู่ได้ โดยช่วยกันเป็นหูเป็นตำคอยสอดส่องปัญหำ
ท ำให้คนในสังคมคิดดีด้วยมโนสุจริต คิดแยกแยะระหว่ำง ทุจริตต่ำงๆ เมื่อเกิดเหตุไม่พึงประสงค์ก็ให้แจ้งต่อเจ้ำหน้ำท ี่

ผลประโยชน์ส่วนบุคคลกับผลประโยชน์ส่วนรวมได้ และค ำนึงถึง ให้มำช่วยจัดกำรแก้ไขปัญหำโดยไม่นิ่งเฉยและไม่ยอมทนต่อ
ผลประโยชน์ส่วนรวมมำกกว่ำผลประโยชน์ส่วนบุคคล โดยไม่มี ปัญหำทุจริตที่เกิดขึ้น
ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of interests) ยึดหลักลดอ ำนำจคนชั่ว เพิ่มอ ำนำจคนดี

ยึดหลักประโยชน์ ๓ คือ ประโยชน์ตัว ประโยชน์ผู้อื่น และประโยชน์ เพื่อสนับสนุนให้คนดีได้มีก ำลังใจในกำรท ำควำมดียิ่งขึ้นต่อไป
ทั้งสองฝ่ำย (ประโยชน์ส่วนรวม) ยึดหลักให้มีควำมละอำยชั่วและเกรงกลัวต่อกำร
ยึดหลัก “ธมฺม จเร สุจริต ” คือ ควรท ำหน้ำที่ ท ำบำป ไม่ยอมอดทนให้กับปัญหำทุจริตต่ำงๆ
ให้สุจริตทั้งทำงกำย วำจำ และใจ อย่ำงนิ่งเฉย
๓. ภำวนำปธำน ๔. อนุรักขนำปธำน

ภำวนำปธำน คือ กำรร่วมกันพัฒนำอย่ำง อนุรักขนำปธำน คือ กำรรักษำควำมดีที่ท ำมำทั้งหมด
เป็นระบบ ท ำให้ก่อเกิดเป็นวัฒนธรรมแห่งควำมสุจริต สร้ำงเป็น ให้มั่นคงยืนนำนที่สุดจนเกิดเป็นเครือข่ำย (Networking)
วิถีชีวิต เกิดเป็นวัฒนธรรมต้ำนทุจริต โดยใช้หลักจิตพอเพียง ท ำให้เป็นวัฒนธรรมที่ต่อเนื่อง

ต้ำนทุจริต ร่วมกับพัฒนำจิตใจโดยกำรน ำรูปแบบควำมเข้มแข็ง สร้ำงพลเมืองดีที่มีควำมรับผิดชอบต่อสังคม
หรือ STRONG Model มำใช้ในสังคม ประกอบด้วย ให้มำกที่สุด
- S (sufficient) พอเพียง ยึดหลักสุจริต ๓ คือ กำยสุจริต วจีสุจริต
- T (transparent) โปร่งใส และมโนสุจริต เพื่อร่วมสร้ำงคุณธรรมที่เกิด
- R (realize) ตื่นร ู้ จำกมโนสุจริต และส่งเสริมจริยธรรมที่เกิด
- O (onward) มุ่งไปข้ำงหน้ำ จำกกำยสุจริตและวจีสุจริต เพื่อควบคุมควำมประพฤติ
- N (knowledge) ควำมรู้
- G (generosity) เอื้ออำทร ให้เรียบร้อยดีงำมต่อไป



เมื่อพจำรณำกำรน ำหลักปธำน ๔ ในพระพทธศำสนำมำประยุกต์เข้ำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำแล้ว
จะพบว่ำ กำรน ำหลักสังวรปธำนและปหำนปธำนมำใช้นี้ ถือเป็นกระบวนกำรระงับปัญหำทุจริตคอร์รัปชันที่ก ำลังเกิดขึ้น
ในสังคมไทยซึ่งเป็นวัฒนธรรมสังคมในรูปแบบเก่ำ เป็นกระบวนกำรจัดกำรกับสำรพันปัญหำทุจริตที่เกิดขึ้น

ให้สงบระงับไปโดยกำรยึดหลักประโยชน์ ๓ กำรยึดหลัก “ธมฺม จเร สุจริต ” กำรยึดหลักเพมอำนำจคนดี บีฑำคนชั่ว
ิ่
และกำรยึดหลักให้มีควำมละอำยชั่วและเกรงกลัวต่อกำรท ำบำป ไม่ยอมอดทนให้กับปัญหำทุจริตต่ำงๆ อย่ำงนิ่งเฉย
เหล่ำนี้ทั้งหมดถือเป็นกระบวนระงับดับปัญหำทุจริตด้วยหลักสังวรปธำนและปหำนปธำน

ส่วนกระบวนกำรต่อไป คือ กระบวนกำรสร้ำงวัฒนธรรมแห่งควำมสุจริตด้วยกำรใช้หลักภำวนำปธำน

และอนุรักขนำปธำน ถือเป็นกระบวนของกำรสรรสร้ำงวัฒนธรรมแบบใหม่ที่ยังไม่เกิดขึ้น ให้เกิดมีขึ้น และต้องรักษำ



วัฒนธรรมแบบใหม่นี้ให้เกิดขึ้นตลอดไป เพอท ำให้เกิดสังคมเข้มแขงที่อดมปัญญำโดยใช้หลักจิตพอเพยงต้ำนทุจริต
ื่
ร่วมกับพฒนำจิตใจโดยกำรน ำรูปแบบควำมเข้มแข็ง หรือ STRONG Model มำใช้ในสังคม และยึดหลักสุจริต ๓


คือ กำยสุจริต วจีสุจริต และมโนสุจริต เพ่อสร้ำงเป็นเครือข่ำยของวัฒนธรรมแห่งควำมสุจริตอย่ำงต่อเนื่อง

หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำกับหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำ (Anti-Corruption Education) ๘๕

และสร้ำงพลเมืองดีที่มีควำมรับผิดชอบต่อสังคมให้มำกที่สุด เหล่ำนี้ทั้งหมดถือเป็นกระบวนกำรสร้ำงวัฒนธรรม

แห่งควำมสุจริตด้วยหลักภำวนำปธำนและอนุรักขนำปธำน หำกท ำได้เช่นนี้สังคมก็จะปรำศจำกปัญหำทุจริตคอร์รัปชัน

หลักธรรมใดที่ใช้ในการแก้ปัญหา

การแก้ปัญหาชีวิตด้วยหลักศีลคือ เอาศีล ๕ มาช่วยตัดสินปัญหา ไม่ใช้ความรุนแรงตัดสินปัญหา ยามโกรธยามทะเลาะกับคนอื่นก็ไม่ทำร้ายเขา พยายามแก้ปัญหาด้วยสันติวิธี ยามยากจนก็ไม่ลักขโมยสิ่งของคนอื่นมาเลี้ยงชีพ หรือไม่โกหกหลอกลวงคนอื่น ที่สำคัญคือ ไม่แก้ปัญหาชีวิตด้วยการดื่มสุรา ซึ่งมีหลายท่านชอบแก้ปัญหาชีวิตด้วยสุรา เสียใจดื่ม ...

การคอรัปชั่นขาดคุณธรรมด้านใด

ปัญหาคอร์รัปชั่นมีสาเหตุมาจากความเห็นแก่ตัว ต้องการผลประโยชน์เพื่อตนเองและพวกพ้อง เป็นการกระท าด้วยอ านาจกิเลส ส่งผลร้ายแรงต่อจิตใจคือ จิตใจต้องการวัตถุมากกว่าต้องการคุณธรรม การ แก้ไขต้องแก้ที่จิตใจต้องมีคุณธรรม มีความขยันมั่นเพียร และความซื่อสัตย์สุจริต ดังที่พระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดช รัชกาลที่ 9 พระองค์มีพระบรม ...

ทุจริตในทางพระพุทธศาสนามีเท่าไร อะไรบ้าง

ในทางพุทธศาสนาให้ความหมายของการทุจริตว่า เป็นความประพฤติชั่ว ความประพฤติไม่ดี มี 3 ทางคือ กายทุจริตเป็นการประพฤติชั่วด้วยกาย วจีทุจริตเป็นการประพฤติชั่วด้วยวาจาและมโนทุจริตเป็นการ ประพฤติชั่วด้วยใจ การประพฤติชั่วทางกายหรือการท าบาปทางกาย มี 3 ประเภท คือ การฆ่าสัตว์ การลัก ทรัพย์ และการประพฤติผิดในกาม การประพฤติชั่วทาง ...

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามีอะไรบ้าง

10 หลักธรรมของพระพุทธเจ้า ที่ชาวพุทธสมควรศึกษา (อ่านเพื่อไปค้นคว้าต่อด้วยตนเอง) ... .
1. "อิทธิบาทสี่" ... .
2. "ศีลห้า" ... .
3. "อริยสัจสี่" ... .
4. "ขันธ์ห้า" ... .
5. "ระบบกรรม" ... .
6. "ภพภูมิและการเวียนว่ายตายเกิด" ... .
7. "จิตสุดท้าย".

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf