ประเภทของวงจรไฟฟ้า มีกี่ประเภท

การป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าจากการสัมผัสโดยตรง

กุมภาพันธ์ 19, 2019

ข้อดี ของการปรับปรุง ค่า Power Factor

มีนาคม 1, 2019

: 20,418

ไฟฟ้ามีแหล่งกำเนิดทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น  ประกอบด้วย 2 ตอน คือ

ตอนที่ 1 ประเภทของไฟฟ้า แบ่งประเภทของไฟฟ้าเป็น 2 ประเภท คือ
1. ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต คือ ปริมาณประจุไฟฟ้าบวกและลบที่ค้างอยู่บนพื้นผิววัสดุไม่เท่ากันและไม่สามารถที่จะไหลหรือถ่ายเทไปที่อื่น ๆ ได้ เนื่องจากวัสดุนั้นเป็นฉนวนหรือเป็นวัสดุที่ไม่นำไฟฟ้าจะแสดงปรากฏการณ์ในรูปการดึงดูด การผลักกันหรือเกิดประกายไฟ ซึ่งปรากฏการณ์การเกิดไฟฟ้าสถิตในธรรมชาติ เช่น ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า เป็นต้น
2. ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส คือ การไหลของอิเล็กตรอนภายในตัวนำไฟฟ้าจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง
เช่น ไหลจากแหล่งกำเนิดไฟฟ้าไปสู่แหล่งที่ต้องการใช้กระแสไฟฟ้า ซึ่งก่อให้เกิดแสงสว่างเมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดความต้านทานสูงจะก่อให้เกิดความร้อน เราใช้หลักการเกิดความร้อน มาประดิษฐ์อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น เตาหุงต้ม เตารีดไฟฟ้า เป็นต้น ไฟฟ้ากระแส แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
2.1 ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current หรือ DC) ไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้าที่มีทิศทางการไหลไปทางเดียวตลอดระยะเวลาที่วงจรไฟฟ้าปิด กล่าวคือ กระแสไฟฟ้าจะไหลจากขั้วบวกภายในแหล่งกำเนิดผ่านตัวต้านทานหรือโหลดผ่าน ตัวนำไฟฟ้าแล้วย้อนกลับเข้าแหล่งกำเนิดที่ขั้วลบเป็นทางเดียวเช่นนี้ตลอดเวลา เช่น ถ่านไฟฉาย ไดนาโม เป็นต้น
2.2 ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current หรือ AC)ไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้าที่มีการไหลกลับไปกลับมา ทั้งขนาดของกระแสและแรงดันไม่คงที่ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ คือ กระแสจะไหลไปทางหนึ่งก่อน ต่อมาก็จะไหลสวนกลับแล้วก็เริ่มไหลเหมือนครั้งแรก การที่กระแสไฟฟ้าไหลไปตามลูกศรเส้นทึบด้านบนครั้งหนึ่งและไหลไปตามลูกศรเส้นประด้านล่างอีกครั้งหนึ่ง เรียกว่า 1 รอบความถี่ หมายถึง จำนวนลูกคลื่นไฟฟ้ากระแสสลับที่เปลี่ยนแปลงใน 1 วินาทีไฟฟ้ากระแสสลับที่ใช้ในประเทศไทยมีความถี่ 50 เฮิรตซ์ ซึ่งหมายถึง จำนวนลูกคลื่นไฟฟ้าสลับที่เปลี่ยนแปลง 50 รอบ ในเวลา 1 วินาที

ตอนที่ 2 การกำเนิดของไฟฟ้า
แหล่งกำเนิดไฟฟ้าในโลกนี้มีหลายอย่าง ทั้งที่เกิดโดยธรรมชาติ เช่น ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า เป็นต้น และมนุษย์ได้ค้นพบการกำเนิดไฟฟ้าที่สำคัญ มีดังนี้
1. ไฟฟ้าที่เกิดจากการเสียดสีของวัตถุ เป็นไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากการนำวัตถุต่างกัน 2 ชนิดมาขัดสีกัน เช่น แผ่นพลาสติกกับผ้า หวีกับผม เป็นต้น
2. ไฟฟ้าที่เกิดจากการทำปฏิกิริยาทางเคมี โดยการนำโลหะ 2 ชนิดที่แตกต่างกันตัวอย่าง สังกะสีกับทองแดงจุ่มลงในสารละลาย โลหะทั้งสองจะทำปฏิกิริยาเคมีกับสารละลายทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า เช่น แบตเตอรี่ ถ่านอัลคาไลน์ (ถ่านไฟฉาย) เป็นต้น
3. ไฟฟ้าที่เกิดจากพลังงานแสงอาทิตย์ โดยเราสามารถสร้างเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) ที่ทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า ปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าหลายชนิดใช้พลังงานแสงอาทิตย์ เช่น นาฬิกาข้อมือ เครื่องคิดเลข เป็นต้น
4. ไฟฟ้าที่เกิดจากพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่ได้มาจากพลังงานแม่เหล็กโดยวิธีการใช้ลวดตัวนำไฟฟ้าตัดผ่านสนามแม่เหล็ก หรือการนำสนามแม่เหล็กวิ่งตัดผ่านลวดตัวนำอย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งสองวิธีนี้จะทำให้มีกระแสไฟฟ้าไหลในลวดตัวนำนั้น กระแสที่ผลิตได้มีทั้งกระแสตรงและกระแสสลับ

Cr.เขียนโดย 

ลักษณะวงจรไฟฟ้า กับวิชาไฟฟ้าเบื้องต้น

วงจรไฟฟ้า หมายถึง ทางเดินของกระแสไฟฟ้าซึ่งไหลมาจากแหล่งกำเนิดผ่านตัวนำ และเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโหลด แล้วไหลกลับไปยังแหล่งกำเนิดเดิม
จากปรากฏการณ์ทางไฟฟ้าต่างๆ ที่เกิดขึ้น จะพบว่ามีสาเหตุมาจากการไหลของไฟฟ้า สายไฟทั่วไปทำด้วยลวดตัวนำ คือ โลหะทองแดงและอะลูมิเนียม อะตอมของโลหะมีอิเล็กตรอนอิสระ ไม่ยึดแน่นกับอะตอม จึงเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระ

ถ้ามีประจุลบเพิ่มขึ้นในสายไฟ อิเล็กตรอนอิสระ 1 ตัวจะถูกดึงเข้าหาประจุไฟฟ้าบวก แล้วรวมตัวกับประจุไฟฟ้าบวกเพื่อเป็นกลาง
ดังนั้น อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ เมื่อเกิดสภาพขาดอิเล็กตรอนจึงจ่ายประจุไฟฟ้าลบออกไปแทนที่ ทำให้เกิดการไหลของอิเล็กตรอนในสายไฟจนกว่าประจุไฟฟ้าบวกจะถูกทำให้เป็นกลางหมด การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนหรือการไหลของอิเล็กตรอนในสายไฟนี้เรียกว่า กระแสไฟฟ้า (Electric Current)

สำหรับในตัวนำที่เป็นของแข็ง กระแสไฟฟ้าเกิดจากการไหลของอิเล็กตรอน โดยอิเล็กตรอนจะไหลจากขั้วลบไปหาขั้วบวกเสมอ ในตัวนำที่เป็นของเหลวและก๊าซ กระแสไฟฟ้าเกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนกับโปรตอน โดยจะเคลื่อนที่เข้าหาขั้วไฟฟ้าที่มีประจุตรงข้าม ถ้าจะเรียกว่า กระแสไฟฟ้าคือการไหลของอิเล็กตรอนก็ได้ แต่ทิศทางของกระแสไฟฟ้าจะตรงข้ามกับการไหลของอิเล็กตรอน


การต่อวงจรไฟฟ้า ทั้งกระแสตรง และ กระแสสลับ มีอยู่ด้วยกัน 3 แบบ ดังนี้
1. แบบอนุกรม ( Series Circuit )
เป็นการนำเอาเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโหลดหลายๆ อันมาต่อเรียงกันไปเหมือนลูกโซ่ กล่าวคือ ปลายของเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวที่ 1 นำไปต่อกับต้นของเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวที่ 2 และต่อเรียงกันไปเรื่อยๆ จนหมด แล้วนำไปต่อเข้ากับแหล่งกำเนิด
การต่อวงจรแบบอนุกรมจะมีทางเดินของกระแสไฟฟ้าได้ทางเดียวเท่านั้น ถ้าเกิดเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวใดตัวหนึ่งเปิดวงจรหรือขาด จะทำให้วงจรทั้งหมดไม่ทำงาน
คุณสมบัติที่สำคัญของวงจรอนุกรม
1.1 กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านเท่ากันและมีทิศทางเดียวกันตลอดทั้งวงจร
1.2 ความต้านทานรวมของวงจรจะมีค่าเท่ากับผลรวมของความต้านทานแต่ละตัวในวงจรรวมกัน
1.3 แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมส่วนต่างๆ ของวงจร เมื่อนำมารวมกันแล้วจะเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งกำเนิด

2. แบบขนาน  ( Parallel Circuit )
เป็นการนำเอาต้นของเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกๆ ตัวมาต่อรวมกัน และต่อเข้ากับแหล่งกำเนิดที่จุดหนึ่ง นำปลายสายของทุกๆ ตัวมาต่อรวมกันและนำไปต่อกับแหล่งกำเนิดอีกจุดหนึ่งที่เหลือ
ซึ่งเมื่อเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละอันต่อเรียบร้อยแล้วจะกลายเป็นวงจรย่อย กระแสไฟฟ้าที่ไหลจะสามารถไหลได้หลายทางขึ้นอยู่กับตัวของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่นำมาต่อขนานกัน ถ้าเกิดในวงจรมีเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวหนึ่งขาดหรือเปิดวงจร
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เหลือก็ยังสามารถทำงานได้ ในบ้านเรือนที่อยู่อาศัยปัจจุบันจะเป็นการต่อวงจรแบบนี้ทั้งสิ้น

คุณสมบัติที่สำคัญของวงจรขนาน
2.1 กระแสไฟฟ้ารวมของวงจรขนาน จะมีค่าเท่ากับกระแสไฟฟ้าย่อยที่ไหลในแต่ละสาขาของวงจรรวมกัน
2.2 แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมส่วนต่างๆ ของวงจร จะเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งกำเนิด
2.3 ความต้านทานรวมของวงจร จะมีค่าน้อยกว่าความต้านทานตัวที่น้อยที่สุดที่ต่ออยู่ในวงจร

3. แบบผสม  ( Compound Circuit )
การต่อวงจรทั้งแบบอนกรมและแบบขนานเข้าไปในวงจรเดียว การต่อแบบนี้ โดยทั่วไปไม่นิยมใช้กัน เพราะเกิดควา มยุ่งยาก จะใช้กันแต่ในทางด้านอิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนใหญ่ เช่น ตัวต้านทานตัวหนึ่งต่ออนุกรมกับตัวต้านทานอีกตัวหนึ่ง แล้วนำตัวต้านทานทั้งสองไปต่อตัวต้านทานอีกชุดหนึ่ง

จะสังเกตเห็นได้ว่าการต่อวงจรแบบผสมนี้เป็นการนำเอาวงจรอนุกรมกับขนานมารวมกัน และสามารถประยุกต์เป็นรูปแบบอื่นๆได้ ข้นอยู่กับการนำไปใช้ให้เหมาะสม เพราะการต่อแบบผสมนี้ไม่ม่ กฏเกณฑ์ตายตัว เป็นการต่อเพื่อนำค่าที่ได้ไปใช้กับงานอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ในวงจรอิเล็กทรอิกส์ เป็นต้น

ลักษณะการต่อวงจร
1. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม คือ การนำขั้วของอุปกรณ์มาต่อเรียงกัน เหมือนการต่อโบกิ้ หรือตู้รถไฟ
2. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน คือ การนำขั้วของอุปกรณ์ทั้งหมด ที่เป็นขั้วด้านเดียวกันมาต่อรวมกัน
3. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบผสม คือ การต่อวงจรทั้งสองแบบรวมเข้าด้วยกัน การต่อแบบนี้ต้องมีความระมัดระวัง และเลือกใช้ให้ถูกกับลักษณะงาน

การต่อวงจรแบบอนุกรม

การต่อวงจรแบบขนาน

คุณลักษณะ

แบบอนุกรม

แบบขนาน

ความสว่างรวม ( วัตต์ )

ปริมาณกระแสไฟฟ้า

สว่างน้อย

 กระแสเท่าหลอดเล็กที่สุด

สว่างมาก

เท่ากับทุกหลอดรวมกัน

กรณีหลอดขาด

ถ้าติดตั้งสวิทช์

หลอดดับทั้งสาย

ต้อง เปิด/ปิด พร้อมกัน

ดับเฉพาะหลอดที่ขาด

แยกสวิทช์ เปิด/ปิด ได้

 


ติดตาม Eurovent Blower

Eurovent Blower มี LINE OFFICIAL ACCOUNT แล้วนะ
ติดตามเรื่องราวดีๆแบบอินเทรนด์ ได้ทุกวันผ่าน
 LINE ID @euroventblower



พัดลมระบายอากาศ กับประเภทการใช้งาน
* พัดลมฟาร์มระบายอากาศ สำหรับฟาร์มสัตว์เลี้ยง เช่น ระบายอากาศในฟาร์มหมู ฟาร์มไก่ ฟาร์มวัว ฟาร์มโคนม ฟาร์มแกะ ฟาร์มแพะ ฟาร์มสุนัข ฟาร์มแมว
* พัดลมฟาร์มระบายอากาศ สำหรับฟาร์มสวน ระบายอากาศในโรงเรือน ระบายอากาศในโรงเรือนกระจก ระบายอากาศในสวนผัก ระบายอากาศในสวนดอกไม้ ระบายอากาศในสวนสัตว์
* พัดลมฟาร์มระบายอากาศ สำหรับใช้ในอาคาร เช่น ระบายอากาศในโรงจอดรถ ระบายอากาศในโกดัง คลังสินค้า ระบายอากาศในพื้นที่ไลน์ผลิต ระบายอากาศในพื้นที่อับร้อน ระบายอากาศในโรงอาหาร โรงยิม โรงยิม
* พัดลมฟาร์มระบายอากาศ สำหรับใช้ในร้านอาหาร รีสอร์ท ตลาดนัด
* พัดลมฟาร์มระบายอากาศ สำหรับใช้ในลานกว้างในพื้นที่ที่ต้องการการระบายอากาศ
* พัดลมระบายอากาศแบบมีขาตั้ง และพัดลมระบายอากาศแบบมีล้อ สำหรับใช้ในอาคารที่พัก/ลานกว้าง สามารถเคลื่อนย้ายได้ เช่น สนามฟุตบอล สนามกีฬา
พัดลมอุตสาหกรรม สำหรับระบายอากาศ
* พัดลมอุตสาหกรรมแรงดันสูง * พัดลมอุตสาหกรรมแรงดันต่ำ * พัดลมอุตสาหกรรมแรงดันปานกลาง * พัดลมอุตสาหกรรมไอน้ำ * พัดลมอุตสาหกรรมไอน้ำเป่าหมอก * พัดลมอุตสาหกรรมไอน้ำเป่าฝุ่น * พัดลมอุตสาหกรรมเป่ากองข้าวเปลือก

* พัดลมอุตสาหกรรมระบายอากาศแบบติดหลังคา กันฝน * พัดลมอุตสาหกรรมระบายอากาศแบบติดผนัง * พัดลมอุตสาหกรรมระบายอากาศแบบติดเพดาน * พัดลมอุตสาหกรรมระบายอากาศแบบมีขาตั้ง * พัดลมอุตสาหกรรมระบายอากาศแบบท่อ * พัดลมอุตสาหกรรมระบายอากาสแบบต่อตรง * พัดลมอุตสาหกรรมระบายอากาศแบบทดสายพาน * พัดลมอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ * พัดลมอุตสาหกรรมระบายอกาศสำหรับใช้ในพื้นที่ลานกว้าง
พัดลมโบลเวอร์ กับประเภทการใช้งาน
* พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงาน ปูนขาว /ปูนซีเมนต์ - ระบบจ่ายอากาศในเตาเผา
* พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงาน ปิโตรเคมี - ระบบทำความเย็น
* พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงาน ประกอบรถยนต์ - ระบบเป่าแห้ง
* พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงาน กระดาษ /กล่องกระดาษ - ระบบดุดฝุ่น
พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงาน บรรจุกระป๋อง - ระบบลำเลียงด้วยลม
* พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงาน เหล็ก - ระบบดูดไอน้ำมัน
* พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงาน น้ำตาล - ระบบหม้อไอน้ำบอยเลอร์
* พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงาน สีข้าว - ระบบอบแห้ง
* พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงาน แป้ง - ระบบบำบัดกลิ่น
* พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงาน บำบัดน้ำเสีย - ระบบหมุนเวียนลมร้อน
* พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงาน ปาล์ม - ระบบบำบัดน้ำเสีย
* พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงาน ยาง - ระบบบรรจุ
* พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงไฟฟ้า - ระบบ HVAC
* พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงาน เฟอร์นิเจอร์ * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงานอาหารสัตว์ * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงานอาหารสำเร็จรูป * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงานแช่แข็ง * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงานกระจก * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงานยา * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงานเคมีภัณฑ์ * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงานแพคเกจจิ้ง
พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในประเภท งานดูด
* พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในงานดูดฝุ่น * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในงานดูดแกลบ * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในงานดูดขี้เลื้อย/เศษไม้ * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในงานดูดลมแห้ง/ลมเปียก * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในงานดูดไอน้ำ/น้ำมัน * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในงานดูดกลิ่น * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในงานดูดควัน * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในงานดูดเม็ดพลาสติก

พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในประเภท งานเป่า
* พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในงานเป่าฝุ่น * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในงานเป่าแกลบ * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในงานเป่าขี้เลื้อย/เศษไม้ * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในงานเป่าลมแห้ง/ลมเปียก * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในงานเป่าไอน้ำ/น้ำมัน * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในงานเป่ากลิ่น * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในงานเป่าควัน * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในงานเป่าเม็ดพลาสติก * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในงานเป่ากองข้าวเปลือก * พัดลมโบลเวอร์ สำหรับใช้ในงานเป่าไซโล
* พัดลมโบลเวอร์สำหรับใช้ในอุตสาหกรรมขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ * พัดลมโบลเวอร์แรงดันสูง * พัดลมโบลเวอร์แรงดันปานกลาง * พัดลมโบลเวอร์แรงดันต่ำ * พัดลมโบลเวอร์สำหรับงานลำเลียง * พัดลมโบลเวอร์อลูมิเนียม * พัดลมโบลเวอร์อลูมิเนียมแรงดันสูง * พัดลมโบลเวอร์อลูมิเนียมแรงดันปานกลาง * พัดลมโบลเวอร์อลูมิเนียมสำหรับงานก๊าซชีวภาพ * พัดลมโบลเวอร์เคลือบไฟเบอร์ * พัดลมโบลเวอร์วัสดุทนสารเคมี * พัดลมโบลเวอร์สั่งทำเป็นพิเศษ
พัดลมโบลเวอร์ กับประเภทใบพัด
* พัดลมโบลเวอร์ใบพัดเหล็ก * พัดลมโบลเวอร์ใบพัดสแตนเลส สตีล 304, 316 * พัดลมโบลเวอร์ใบพัดแบบหมุนเหวี่ยงชนิดโค้งไปข้างหน้า * พัดลมโบลเวอร์ใบพัดแบบหมุนเหวี่ยงชนิดใบพัดโค้งไปข้างหลัง * พัดลมโบลเวอร์ใบพัดแบบหมุนเหวี่ยงชนิดใบพัดตรง * พัดลมโบลเวอร์ใบพัดแบบไฟลตามแนวแกน
* พัดลมโบลเวอร์ใบพัดอลูมิเนียม เช่น ใบพัดแบบเปิด ใบพัดแบบปิด
* พัดลมโบลเวอร์ใบพัดพลาสติก Polypropylene glass * พัดลมโบลเวอร์ใบพัดพลาสติก Polymide glass
* พัดลมโบลเวอร์ใบพัดปรับมุม สำหรับงานทนความร้อนได้ถึง 80องศาเซลเซียส * * พัดลมโบลเวอร์ใบพัดปรับมุม สำหรับงานทนความร้อนได้ถึง 120องศาเซลเซียส * พัดลมโบลเวอร์ใบพัดปรับมุม สำหรับรถตัดอ้อย
พัดลมโบลเวอร์แรงดันสูง Vacuum blower Norvax
* ริงโบลเวอร์ สำหรับฟาร์มสัตว์น้ำ เช่น ฟาร์มกุ้ง ฟาร์มปลา * ริงโบลเวอร์ สำหรับใช้ในโรงงานผลิตยา
* รูทโบลเวอร์ สำหรับฟาร์มสัตว์น้ำ เช่น ฟาร์มกุ้ง ฟาร์มปลา * รูทโบลเวอร์สำหรับบำบัดน้ำเสีย * รูทโบลเวอร์สำหรับงานก๊าซชีวภาพ

วงจรไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คืออะไร

ไฟฟ้ากระแส (Current Electricity) คือแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่มนุษย์สามารถผลิตขึ้นมาเพื่อใช้งานด้านต่างๆได้อย่างมากมายโดยการส่งกระแสไฟฟ้าให้เคลื่อน ที่ ไปในลวดตัวนำ แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือไฟฟ้ากระแสตรง( Direct Current) ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternation Current)

วงจรไฟฟ้า คือ อะไร ป. 6

วงจรไฟฟ้า คือ เส้นทางที่ทำให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปตามตัวนำไฟฟ้าได้ครบรอบ แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ วงจรปิด หมายถึง วงจรที่มีการไหลของกระแสไฟฟ้าได้ครบวงจร ซึ่งเป็นวงจรที่เครื่องใช้ไฟฟ้าทำงานได้ตามปกติ และวงจรเปิด หมายถึง วงจรไฟฟ้าที่ขาดจากกันด้วยวิธีต่างๆ ทำให้กระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหลผ่านไปได้อุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟ้าจะไม่ ...

ต่ออนุกรมอะไรเท่ากัน

กระแสไฟฟ้าภายในวงจรอนุกรมจะมีค่าเท่ากันทุกๆจุด ค่าความต้านทานรวมของวงจรอนุกรมนั้นคือการนำเอาค่าความต้านทานทั้งหมดนำมารวมกัน ส่วนแรงดันไฟฟ้าในวงจรอนุกรมนั้นแรงดันจะปรากฎคร่อมตัวต้านทานทุกตัวที่จะมีกระแสไฟฟ้า ไหลผ่านซึ่งแรงดันไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจะมีค่าไม่เท่ากันโดยสามารถคำนวนหาได้จากกฎของโอห์ม

การต่อวงจรไฟฟ้ามากกว่า1ดวงมีกี่แบบ

วิทยาศาสตร์ ป.6 การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน หากเราสังเกตการต่อวงจรไฟฟ้าจะพบว่า บางครั้งมีการต่อหลอดไฟฟ้ามากกว่า 1 ดวง เช่น ไฟประดับต้นไม้ ไฟประดับอาคาร ซึ่งการต่อวงจรไฟฟ้าที่มีหลอดไฟฟ้ามากกว่า 1 ดวง มี 2 แบบ คือ การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม และการต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf