ทหารเป็นข้าราชการประเภทไหน

  �ҵ�� �� ��èѴ����º����Ҫ��þ����͹��ͧ������ͼ����ķ�������áԨ�ͧ�Ѱ �����ջ���Է���Ҿ ��Ф���������� ��������Ҫ��û�Ժѵ��Ҫ������ҧ�դس�Ҿ �س���� ����դس�Ҿ���Ե����    �ҵ�� ��

����Ҫ��þ����͹�� � ������ ���
(�) ����Ҫ��þ����͹���ѭ ���� ����Ҫ��þ����͹����Ѻ�Ҫ��������Ѻ��è��觵�駵�����ѭ�ѵ������ѡɳ� � ����Ҫ��þ����͹���ѭ
(�) ��� �Ҫ��þ����͹㹾��ͧ�� ���� ����Ҫ��þ����͹����Ѻ�Ҫ��� �����Ѻ��è��觵������ç���˹�㹾��ͧ������ҡ�ѵ����������˹�� ����Ҫ��ɮա�

  �ҵ�� ��

����������Ѻ�Ҫ����繢���Ҫ��þ����͹��ͧ�դس���ѵԷ�������������ѡɳе�ͧ�����ѧ���仹��

�. �س���ѵԷ����
    (�) ���ѭ�ҵ���
    (�) ����������ӡ����ԺỴ��
    (�) �繼����������㹡�û���ͧ�кͺ��ЪҸԻ���ѹ�վ����ҡ�ѵ����ç�繻���آ���¤�������ط����

�. �ѡɳе�ͧ����
    (�) �繼���ç���˹觷ҧ������ͧ
    (�) �繤�����������ö ������͹����������ö ���ԡŨ�Ե���ͨԵ�����͹�������Сͺ �������ä�������˹�㹡� �.�.
    (�) �繼������������ҧ�١��觾ѡ�Ҫ������Ͷ١�������͡�ҡ�Ҫ�������͹�������Ҫ�ѭ�ѵԹ�����͵�����������
    (�) �繼�麡���ͧ���Ÿ����ѹ�ը��繷���ѧ��¨�ͧ�ѧ��
    (�) �繡���������ͼ���ç���˹觷���Ѻ�Դ�ͺ㹡�ú����þ�ä������ͧ�������˹�ҷ��㹾�ä������ͧ
    (�) �繺ؤ����������
    (�) �繼���µ�ͧ�Ѻ�ɨӤء�¤ӾԾҡ�Ҷ֧����ش���Ӥء���С�зӤ����Դ�ҧ�ҭ� �������������Ѻ�����Դ������з��»���ҷ���ͤ����Դ�����
    (�) �繼���¶١ŧ������͡ �Ŵ�͡ ��������͡�ҡ�Ѱ����ˡԨ ����˹��§ҹ��蹢ͧ�Ѱ
    (�) �繼���¶١ŧ������͡ ���ͻŴ�͡ ���С�зӼԴ�Թ�� �������Ҫ�ѭ�ѵԹ�����͵�����������
    (��) �繼���¶١ŧ������͡ ���С�зӼԴ�Թ�µ������Ҫ�ѭ�ѵԹ�����͵�����������
    (��) �繼���¡�зӡ�÷ب�Ե㹡���ͺ����Ѻ�Ҫ��� ������һ�Ժѵԧҹ �˹��§ҹ�ͧ�Ѱ

����������Ѻ�Ҫ����繢���Ҫ��þ����͹������ѡɳе�ͧ������� �. (�) (�) (�) (�) (�) (��) ���� (��) �.�. �Ҩ�Ԩ�ó�¡����������Ѻ�Ҫ����� �����繡ó����ѡɳе�ͧ������� (�) ���� (�) ����鹵�ͧ�͡�ҡ�ҹ�����͡�ҡ�Ҫ�����Թ�ͧ������ ���㹡ó����ѡɳе�ͧ������� (��) ����鹵�ͧ�͡�ҡ�ҹ�����͡�ҡ�Ҫ�����Թ��������� ��е�ͧ�����繡ó��͡�ҡ�ҹ�����͡�ҡ�Ҫ������зب�Ե���˹�ҷ�� ��Ԣͧ �.�. 㹡��¡��鹴ѧ����ǵ�ͧ���ṹ���§�����¡���������Ңͧ�ӹǹ������÷���һ�Ъ�� ���ŧ�������з����Ѻ

��â�¡��鹵����ä�ͧ �����仵������º��� �.�. ��˹�㹡óյ����ä�ͧ �.�. ��¡�������繡��੾����� ���ͨл�С��¡�������繡�÷���仡���

  �ҵ�� ��

��è����Թ��͹����Թ��Шӵ��˹�������Ҫ��þ����͹ �����仵������º��� �.�. ��˹��¤�����繪ͺ�ͧ��з�ǧ��ä�ѧ

  �ҵ�� ��

����Ҫ��þ����͹�Ҩ���Ѻ�Թ��������Ѻ���˹觷���Ш� ����㹵�ҧ����� ���˹�㹺ҧ��ͧ��� ���˹�㹺ҧ��§ҹ ���͵��˹觷�����˵ؾ���� �������º��� �.�. ��˹��¤�����繪ͺ�ͧ��з�ǧ��ä�ѧ

����Ҫ��þ����͹�Ҩ���Ѻ�Թ������Ҥ�ͧ�վ���Ǥ��ǵ���������ɰ�Ԩ �����ѡࡳ������Ըա�÷�褳��Ѱ����ա�˹�

㹡���ʹ��е�ͤ���Ѱ��������ʹ��Թ��õ����ä�ͧ ��� �.�.�ʹ�������Ѻ����Ҫ��û��������㹤������ǡѹ����

  �ҵ�� ��

�ѹ���ҷӧҹ �ѹ��ش�Ҫ��õ�����ླ� �ѹ��ش�Ҫ��û�Шӻ� ��С������ش�Ҫ��âͧ����Ҫ��þ����͹ �����仵����褳��Ѱ����ա�˹�

  �ҵ�� ��

����ͧẺ�ͧ����Ҫ��þ����͹�������º���������ͧẺ �����仵����������������º��Ҵ��¡�ù��

  �ҵ�� �� ���˹稺ӹҭ����Ҫ��þ����͹�����仵����������Ҵ��¡�ù��

ความหมายในแต่ละประเภทของข้าราชการไทย

ข้าราชการพลเรือนสามัญ คือ ข้าราชการที่คอยปฏิบัติหน้าที่ราชการในกระทรวง ทบวง กรมฝ่ายพลเรือน ที่ได้รับการบรรจุแต่งตั้งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน โดยสามารถแบ่งออกเป็นประเภทย่อย 4 ประเภท ได้แก่

  • ประเภทบริหาร
  • ประเภทอำนวยการ
  • ประเภทวิชาการ
  • ประเภททั่วไป

ความหมายในแต่ละประเภทของข้าราชการไทย

ข้าราชการพลเรือนในส่วนพระองค์

ข้าราชการพลเรือนในส่วนพระองค์ หมายถึง ข้าราชการพลเรือนที่อยู่ในสังกัดสำนักพระราชวัง จะมีหน้าที่เกี่ยวกับงานในพระองค์พระมหากษัตริย์ โดยจะได้รับการบรรจุแต่งตั้งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน ซึ่งการบรรจุแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนในพระองค์นั้นจะเป็นไปตามพระราชอัธยาศัย

ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา

ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษานั้น หมายถึง ข้าราชการพลเรือนที่อยู่ในสังกัดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ถูกสังกัดเอาไว้ในกระทรวงศึกษาธิการ แต่ไม่นับรวมถึงสถานศึกษาของรัฐที่ไม่ใช่ส่วนของราชการ ซึ่งจะได้รับการแต่งตั้งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา โดยสามารถแบ่งออกเป็นประเภทย่อยได้ 3 ประเภท ดังนี้

  • ประเภทวิชาการ
  • ประเภทผู้บริหาร
  • ประเภททั่วไป

ส่วนการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา จะดำเนินการโดยสถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่ง โดยอิสระซึ่งในปัจจุบันไม่มีการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาแล้ว เหลือแต่เพียงการบรรจุและแต่งตั้งพนักงานมหาวิทยาลัย เข้ามาแทนที่

ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา หมายถึง ข้าราชการที่ได้รับการบรรจุ และแต่งตั้งให้ปฏิบัติราชการในส่วนสถานศึกษา หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถแบ่งออกให้เข้าใจได้ง่าย เป็น 3 ประเภท ดังนี้

  • ข้าราชการผู้สอนในหน่วยงานการศึกษา ได้แก่
    • ครูผู้ช่วย
    • ครู
    • อาจารย์
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์
    • รองศาสตราจารย์
    • ศาสตราจารย์
  • ข้าราชผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา ได้แก่
    • รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
    • ผู้อำนวยการสถานศึกษา
    • รองผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา
    • ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา
    • ตำแหน่งที่มีชื่อเรียกอย่างอื่น ตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
  • บุคลากรทางการศึกษาอื่นๆ
    • บุคลากรทางการศึกษาอื่นๆ จะประกอบไปด้วยตำแหน่ง ศึกษานิเทศก์ และตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กำหนดเอาไว้ ซึ่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จะมีคณะกรรมการกลางในการบริหารงานบุคคล และคอยกำกับดูแลข้าราชการ คือ คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา หรือ ก.ค.ศ.

ข้าราชการฝ่ายทหาร

ข้าราชการทหาร หมายถึง บุคคลที่เข้ารับราชการทหารประจำการ หรือข้าราชการกลาโหม และพลเรือนที่ถูกบรรจุลงในอัตราทหาร ทั้งในหน่วยงานทางการทหารซึ่งจะสังกัดกระทรวงกลาโหมหรือกองทัพไทยก็ตาม โดยข้าราชการทหารจะมีคณะกรรมการข้าราชการทหาร (กขท.) คอยกำกับดูแลเกี่ยวกับระเบียบข้าราชการทหาร ซึ่งข้าราชการฝ่ายทหารยังแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่

  • ข้าราชการทหาร
  • ข้าราชการกลาโหมพลเรือน

ข้าราชการตำรวจ

ข้าราชการตำรวจ หมายถึง ข้าราชการที่อยู่ภายใต้สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ถือเป็นส่วนราชการที่ไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง มีฐานะเป็นกรม และอยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี แบ่งออกเป็น ชั้นประทวน และชั้นสัญญาบัตร

ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม

ข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม หมายถึง ข้าราชการที่ถูกบรรจุและแต่งตั้งเพื่อทำหน้าที่ปฏิบัติราชการในศาลยุติธรรม และสำนักงานศาลยุติธรรม โดยจะมีคณะกรรมการข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม (ก.ต.) เป็นคณะกรรมการกลางคอยกำกับดูแล ตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 สามารถแบ่งออกได้ดังนี้

  • ข้าราชการตุลาการ(ศาลยุติธรรม)
  • ดะโต๊ะยุติธรรม
  • ข้าราชการศาลยุติธรรม

ข้าราชการฝ่ายอัยการ

ข้าราชการฝ่ายอัยการ หมายถึง ข้าราชการที่ถูกบรรจุและแต่งตั้งให้รับราชการในสำนักงานอัยการสูงสุด จะมีคณะกรรมการอัยการ (ก.อ.) เป็นคณะกรรมการกลางในการกำกับดูแล ข้าราชการฝ่ายอัยการยังแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่

  • ข้าราชการอัยการ
  • ข้าราชการธุรการ ในหน่วยงานของอัยการ

ข้าราชการรัฐสภา

ข้าราชการรัฐสภานั้นสามารถอธิบายความหมายโดยการแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่

  • ข้าราชการรัฐสภาสามัญ คือ ข้าราชการที่ซึ่งรับการบรรจุ และถูกแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประจำ โดยได้รับเงินเดือนในอัตราสามัญ ใช้วิธีการจำแนกและกำหนดประเภทตำแหน่งแบบเดียวกับข้าราชการพลเรือนสามัญ
  • ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง คือ ข้าราชการซึ่งรับราชการในตำแหน่งการเมืองของรัฐสภา

ข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง

ข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง หมายถึง ข้าราชการที่รับราชการ ดำรงตำแหน่งในศาลปกครอง และสำนักงานศาลปกครอง โดยจะมีคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง เป็นคณะกรรมการบริหารงานบุคคล ซึ่งข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง จะสามารถแบ่งออกได้ 2 ส่วน ดังนี้

  • ข้าราชการตุลาการศาลปกครอง
  • ข้าราชการสำนักงานศาลปกครอง

ข้าราชการฝ่ายศาลรัฐธรรมนูญ

ข้าราชการฝ่ายศาลรัฐธรรมนูญ หมายถึง ข้าราชการที่รับราชการ และดำรงตำแหน่งอยู่ในศาลรัฐธรรมนูญ และสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ โดยข้าราชการฝ่ายศาลรัฐธรรมนูญ จะสามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้

  • ข้าราชการตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ คือ ข้าราชการที่มีอำนาจพิจารณาและพิพากษาคดีในศาลรัฐธรรมนูญ
  • ข้าราชการสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ คือ ข้าราชการที่ทำหน้าที่ด้านธุรการในสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ

ข้าราชการสำนักงานป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ข้าราชการสำนักงานป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) หมายถึง ข้าราชการที่อยู่ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ จะได้รับบรรจุ และแต่งตั้งให้เป็นข้าราชการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติตามปี พ.ศ. 2554 โดยการกำหนดตำแหน่งและการให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจำ โดยตำแหน่งของข้าราชการสำนักงาน ป.ป.ช.นั้นให้นำกฎหมายว่าด้วยระเบียบ ข้าราชการพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้าราชการพลเรือนสามัญมาใช้บังคับโดยอนุโลม ทั้งนี้ในคำว่า “ก.พ.” จะให้หมายถึง คณะกรรมการ ป.ป.ช. และ คำว่า “ส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรมและมีหัวหน้าส่วนราชการรับผิดชอบ ในการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี” จะให้หมายถึงสำนักงาน ป.ป.ช. ข้าราชการสำนักงาน ป.ป.ช. จึงแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ

  • ข้าราชการในสายกระบวนการยุติธรรม ได้แก่ ข้าราชการซึ่งปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมาย
  • ข้าราชการทั่วไป ซึ่งแบ่งเป็น ประเภทวิชาการ และประเภททั่วไป

ข้าราชการการเมือง

ข้าราชการการเมือง หมายถึง ผู้ที่รับราชการในตำแหน่งทางการเมือง ได้แก่

  • ข้าราชการการเมือง และผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
  • ข้าราชการการเมืองกรุงเทพมหานคร
  • ข้าราชการการเมืองท้องถิ่น และผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองท้องถิ่น

ข้าราชการกรุงเทพมหานคร และบุคลากรกรุงเทพมหานคร

ข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร หมายถึง บุคคลที่ซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้รับราชการ จะได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณหมวดเงินเดือนของกรุงเทพมหานคร หรือจากเงินงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่กรุงเทพมหานครแล้วจึงนำมาจัดเป็นเงินเดือนของข้าราชการกรุงเทพมหานคร โดยข้าราชการประเภทนี้จะสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่

  • ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ
  • ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร (เดิมเรียกว่า”ข้าราชการครูกรุงเทพมหานคร”) คือ ข้าราชการที่รับราชการในสถานศึกษาของกรุงเทพมหานคร
  • ข้าราชการกรุงเทพมหานครในสถาบันอุดมศึกษา คือ ข้าราชการที่รับราชการในสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดหรือในกำกับของกรุงเทพมหานคร (มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช)

ส่วนบุคลากรกรุงเทพมหานคร ที่บางคนสงสัยว่าเหมื่อนกันกับข้าราชการกรุงเทพไหมนั้น ขอตอบว่าไหม่เหมื่อนกัน โดยชื่อที่ใช้เรียก บุคลากรกรุงเทพมหานคร จะหมายถึงลูกจ้างกรุงเทพมหานครและพนักงานกรุงเทพมหานคร สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท ดังนี้

  • ลูกจ้างกรุงเทพมหานคร คือ บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานของกรุงเทพมหานครโดยจะได้รับค่าจ้างจากเงินงบประมาณหมวดค่าจ้างของกรุงเทพมหานคร หรือจากเงินงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่กรุงเทพมหานครและกรุงเทพมหานครนำมาจัดเป็นค่าจ้างของลูกจ้างกรุงเทพมหานคร
  • พนักงานกรุงเทพมหานคร คือ บุคคลซึ่งได้รับการจ้างตามสัญญาจ้างโดย จะได้รับค่าตอบแทนจากเงินงบประมาณหมวดค่าตอบแทนของกรุงเทพมหานคร

ข้าราชการส่วนท้องถิ่น

ข้าราชการส่วนท้องถิ่น หมายถึง ข้าราชการ พนักงาน หรือผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งเรียกชื่ออย่างอื่นขององค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ ตามที่มีกฎหมายจัดตั้งเอาไว้ โดยตำแหน่งของข้าราชการส่วนท้องถิ่นนั้นจะมี 4 ประเภท ได้แก่

  • ประเภทบริหารท้องถิ่น มี 3 ระดับ ได้แก่
    • ระดับต้น
    • ระดับกลาง
    • ระดับสูง
  • ประเภทอำนวยการท้องถิ่น มี 3 ระดับ ได้แก่
    • ระดับต้น
    • ระดับกลาง
    • ระดับสูง
  • ประเภทวิชาการ มี 4 ระดับ ได้แก่
    • ระดับปฏิบัติการ
    • ระดับชำนาญการ
    • ระดับชำนาญการพิเศษ
    • ระดับเชี่ยวชาญ
  • ประเภททั่วไป มี 3 ระดับ ได้แก่
    • ระดับปฏิบัติงาน
    • ระดับชำนาญงาน
    • ระดับอาวุโส

*ทั้งนี้ ข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่ปฏิบัติงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภทจะถูกเรียกชื่อ แตกต่างกันออกไปตามกฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นๆไป

พนักงานอื่นๆของรัฐ

พนักงานอื่นๆของรัฐ หมายถึง พนักงานที่มีลักษณะงานแบบเดียวหรือคล้ายคลึงกับข้าราชการ จะมีลักษณะการบริหารจัดการบุคลากรแบบเดียวกับข้าราชการพลเรือนวิสามัญในอดีต หรือก็คือจ้างให้รับราชการหรือปฏิบัติงานนั้นๆโดยเฉพาะ หรือไม่ก็ดำรงตำแหน่งประจำแบบข้าราชการ ได้แก่

  • พนักงานราชการ
  • พนักงานมหาวิทยาลัย
  • พนักงานรัฐวิสาหกิจ
  • พนักงานองค์การมหาชนและหน่วยงานอื่นของรัฐที่ไม่ใช่ส่วนราชการ
  • พนักงานกระทรวงสาธารณสุข

ข้าราชการครูเป็นข้าราชการพลเรือนไหม

เงินเดือนจากเงินงบประมาณหมวดเงินเดือนในกระทรวงทบวงกรมฝ่ายพลเรือน F. จากมาตรา ๔ สามารถแยกองค์ประกอบของข้าราชการพลเรือนได้ ๓ ประการ คือ (๑) เป็นบุคคลซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ ดังนั้น ถ้าไม่ใช่ผู้ได้รับบรรจุแต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ เช่น ข้าราชการครู ก็ไม่ใช่ข้าราชการพลเรือน

ข้าราชการพลเรือนมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

ข้าราชการพลเรือนมีประเภท คือ (๑) ข้าราชการพลเรือนสามัญ ได้แก่ ข้าราชการพลเรือนซึ่งรับราชการโดยได้รับบรรจุแต่งตั้งตามที่บัญญัติไว้ในลักษณะข้าราชการพลเรือนสามัญ (๒) ข้า ราชการพลเรือนในพระองค์ ได้แก่ ข้าราชการพลเรือนซึ่งรับราชการ โดยได้รับบรรจุแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในพระองค์พระมหากษัตริย์ตามที่กำหนดใน พระราชกฤษฎีกา

ข้าราชการฝ่ายพลเรือน คืออะไร

ข้าราชการพลเรือน” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ให้รับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง กรมฝ่ายพลเรือนข้าราชการฝ่ายพลเรือน” หมายความว่า ข้าราชการพลเรือน และข้าราชการอื่นในกระทรวงกรมฝ่ายพลเรือน ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการประเภทนั้น

เจ้าหน้าที่ของรัฐ มี กี่ ประเภท

เจ้าหน้าที่ของรัฐ เมื่อพิจารณาดูกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง จะพูดถึง เจ้าหน้าที่ มี อยู่ 3 ประเภท เจ้าหน้าที่ที่เป็นบุคคลคนเดียว เจ้าหน้าที่ที่เป็นคณะบุคคล และเจ้าหน้าที่ที่เป็นนิติบุคคล

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf