สีเอกรงค์ สมัยสุโขทัย มีสีใดบ้าง *

          �Եá�����Ẻ���ླ� (Traditional Thai painting) ���ҡ��¹������ͨش���ʧ�� 㹡�û�дѺ���� �Ҥ����ʹʶҹ�������ͧ�� �����������ͧ㹾ط���ʹ� �� ��ʶ� ����� ���ҡ�����­ �����ʶٻ਴��� ��������ҧ� ��к��Ҿ��к� �繵� ��ǹ�˭��������ͧ��Ǩҡ����ûԮ� �� �ط�����ѵ� �Ҵ� ������ ������� �¹͡�ҡ��������͡�û�дѺ�������� �ѧ����������ͧ ����ʴ������ҧ��С�������� �͡�˹��仨ҡ�����������������Դ��Թ���� �Եá������ѧ���з�͹�����繶֧������� �ͧ��Ҿ���Ե���������� ��Ф�Ԥ������ͧ͢������ؤ���µ�ҧ� �ʹ�á������ 

          �ҹ�Եá���������⢷�¹�鹻�ҡ�����ա�÷��Ҿ������� ������ѡ���Թ�������� ������ҧ�� �Ҿ����ѡ�����鹺�ྴҹ��ѧ��������Ѵ��ժ�� ��ѡ����ͧ⤪ҹ�ªҴ� ���Դ�ҡ�Ѵ�ʴ� ��ʹ���Եá����Ҽ�ѧ������Ѵ਴������� ���㹤��Ҫ��㹢ͧ������������͹�ʹ�繻�ҧ����਴���ç�Цѧ���Ҿ�Եá����Ҽ�ѧ ��Ѩ�غѹź���͹��ͺ������� ��Ѻ�繤سٻ����褹�����ҧ��觷���ҹ��ʵ�Ҩ�������� ��ԾԷѡ�� ����繼�����ѡ ���� �����繤س��Ңͧ�Եá����� ��ӡ�äѴ�͡�Ҿ�Եá����Ҽ�ѧ�ҡ�Ѵ਴��������������ѡ�ҹ���͹ت������ѧ��ӡ���֡�ҵ����
         �ҹ��Ż�����ͧ���Ъҵ������ؤ������á� �Ҩ���ѡɳ�Ẻ���ҧ������ �������Ѻ�Է�Ծŷҧ��ŻШҡ���ҵԷ���դ�����ԭ�٧���� ����ҡ�Ѳ�����ҧ�ѡɳ�Ẻ���ҧ������͡�ѡɳ�ͧ���ͧ���Ѵ������դ�����ԭ�٧�ش ���ͷ�����¡������ؤ�ͧ (golden age)
�����ؤ�����Ԥ (classic age) �����Ѵ�����繶֧��������ö�ҧ��Ż��繾����������ؤ�����㴢ͧ�ҵԹ��� ���º��º��
         ����ȵ�ҧ� ��������Ѵ�ؤ���������ͧ�ͧ������� �ؤ�ͧ ��������ЪҪҵԢͧ������֡�Ҥ��������������š�����ѡ���֡�� ���������稾�йҧ�����ԫ�ຸ (Elizabethan Age) ���ؤ�ͧ�ͧ����ѧ��� ���¾������������� 14 (Louis XIV Reign) ���ؤ�ͧ�ͧ��ǽ������ ���¤ػ�� (Guptan Period) ���ؤ�ͧ�ͧ����Թ��� �����Ҫǧ��ѧ (Tang dynasty) ���ؤ�ͧ�ͧ��Ǩչ ���¹���(Nara Period) ���ؤ�ͧ�ͧ��ǭ���� �繵�
         ������⢷�����Ѻ�������Ѻ��� �� �ؤ�ͧ�ͧ����������ͧ�ҧ���ɰ�Ԩ ��Ż�Ѳ������ͧ�ҵ��� ��Ъ���š ���¤����������觷�ȹ��Ż��ҹʶһѵ¡��� ��е��ҡ��� �ͧ��⢷�¹���ͧ�������ͧ�����֡���Է����ʵ������Ѳ���������˻�ЪҪҵ� (UNESCO) �Ѵ���͡����ط�ҹ����ѵ���ʵ����⢷�� ����ط�ҹ����ѵ���ʵ������Ѫ����� ���ô��š (World Heritage) 㹻վط��ѡ�Ҫ 2534

ศิลปกรรมสมัยสุโขทัยเริ่มตั้งแต่เมื่อพ่อขุนศรีอินทราทิตย์สถาปนากรุงสุโขทัยเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่ขอมเมื่อราว พ.ศ.1800 หลังจากนั้นก็มีการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ขึ้นมาอย่างมากมาย แต่เดิมนั้นสุโขทัยได้รับอิทธิพลการนับถือศาสนาและแบบอย่างศิลปกรรมจากพวกขอม

ต่อมาจึงได้สร้างผลงานทัศนศิลป์ใน พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทสัทธิลังกาวงศ์ มีการออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะเป็นของตนเองที่ถือว่ามีความงดงามมากที่สุดสมัยหนึ่งของไทย โดยเฉพาะพระพุทธรูป และสถูปเจดีย์ต่างๆ มรดกศิลปกรรมสมัยสุโขทัยเป็นผลงานทัศนศิลป์ที่มีคุณค่า และมีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งในด้านแนวคิด รูปแบบ และเนื้อหา

3.1 ด้านจิตรกรรม

ในสมัยสุโขทัย ภาพจิตรกรรมมีทั้งภาพลายเส้นและภาพเขียนสี โดยเฉพาะการเขียนภาพลายเส้นสลักบนแผ่นหินชนวน ประดับมณฑปวัดศรีชุม จังหวัดสุโขทัย เป็นภาพชาดกที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะลังกา โดยเฉพาะรูปเทวดาจะมีลักษณะใกล้เคียงกับศิลปะของลังกาอย่างมาก สำหรับจิตรกรรมฝาผนังนั้นจะต่างไปจากภาพลายเส้น สีที่ใช้เป็นสีแบบดำ แดง ที่เรียกว่า สีเอกรงค์(Monochrome) ภาพเขียนที่สำคัญ คือ ภาพจิตรกรรมฝาผนังพระพุทธรูปบางมารวิชัย ในเจดีย์วัดเจดีย์เจ็ดแถว อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัยซึ่งเป็นภาพที่ได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะอินเดีย ลังกา และเขมรผสมกัน แต่ก็มีลีลาลายเส้นที่มีความอ่อนช้อยตามแบบฉบับของศิลปะสุโขทัยแฝงอยู่ด้วย โดยเป็นภาพอดีตพระพุทธเจ้าประทับนั่งเรียงเป็นแถว 28 พระองค์ มีภาพเทวดาและกษัตริย์นั่งห้อมล้อมสลับกันไป สีที่ใช้มีสีดำและสีแดงเป็นส่วนใหญ่

3.2 ด้านประติมากรรม

ผลงานทางด้านประติมากรรมที่สำคัญในสมัยสุโขทัย ได้แก่การทำเครื่องสังคโลก และการสร้างพระพุทธรูป ทางด้านการทำเครื่องสังคโลกถือเป็นผลงานการสร้างสรรค์ที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ นอกเหนือจากากรทำเครื่องปั้นดินเผาที่มีอยู่เดิม โดยได้รับการถ่ายทอดวิทยาการมาจากประเทศจีน เครื่องสังคโลกที่จัดทำขึ้นเพื่อเป็นเครื่องใช้สอยในชีวิตประจำวัน ประดับตกแต่งศาสนสถาน และส่งออกไปจำหน่ายยังต่างประเทศ โดยมากทำเป็นจาน ชาม ไห แจกัน ตุ๊กตา เครื่องตกแต่ง มีเนื้อละเอียด เข่น รูปช้างศึก ตุ๊กตา เจดีย์ ส่วนใหญ่มีสีน้ำตาล สีน้ำตาลปนเหลือง สีเขียว สีเขียวไข่กา และสีขาวทึบ

ศิลปกรรมสมัยสุโขทัยเริ่มตั้งแต่เมื่อพ่อขุนศรีอินทราทิตย์สถาปนากรุงสุโขทัยเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่ขอมเมื่อราว พ.ศ.1800 หลังจากนั้นก็มีการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ขึ้นมาอย่างมากมาย แต่เดิมนั้นสุโขทัยได้รับอิทธิพลการนับถือศาสนาและแบบอย่างศิลปกรรมจากพวกขอม

ต่อมาจึงได้สร้างผลงานทัศนศิลป์ใน พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทสัทธิลังกาวงศ์ มีการออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะเป็นของตนเองที่ถือว่ามีความงดงามมากที่สุดสมัยหนึ่งของไทย โดยเฉพาะพระพุทธรูป และสถูปเจดีย์ต่างๆ มรดกศิลปกรรมสมัยสุโขทัยเป็นผลงานทัศนศิลป์ที่มีคุณค่า และมีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งในด้านแนวคิด รูปแบบ และเนื้อหา

3.1 ด้านจิตรกรรม

ในสมัยสุโขทัย ภาพจิตรกรรมมีทั้งภาพลายเส้นและภาพเขียนสี โดยเฉพาะการเขียนภาพลายเส้นสลักบนแผ่นหินชนวน ประดับมณฑปวัดศรีชุม จังหวัดสุโขทัย

ภาพจิตรกรรมจำหลักลายเส้นบนหินชนวน เรื่องชาดก ประดับผนังมณฑปวัดศรีชุม จังหวัดสุโขทัย

เป็นภาพชาดกที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะลังกา โดยเฉพาะรูปเทวดาจะมีลักษณะใกล้เคียงกับศิลปะของลังกาอย่างมาก สำหรับจิตรกรรมฝาผนังนั้นจะต่างไปจากภาพลายเส้น สีที่ใช้เป็นสีแบบดำ แดง ที่เรียกว่า สีเอกรงค์(Monochrome) ภาพเขียนที่สำคัญ คือ ภาพจิตรกรรมฝาผนังพระพุทธรูปบางมารวิชัย ในเจดีย์วัดเจดีย์เจ็ดแถว อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัยซึ่งเป็นภาพที่ได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะอินเดีย ลังกา และเขมรผสมกัน แต่ก็มีลีลาลายเส้นที่มีความอ่อนช้อยตามแบบฉบับของศิลปะสุโขทัยแฝงอยู่ด้วย โดยเป็นภาพอดีตพระพุทธเจ้าประทับนั่งเรียงเป็นแถว 28 พระองค์ มีภาพเทวดาและกษัตริย์นั่งห้อมล้อมสลับกันไป สีที่ใช้มีสีดำและสีแดงเป็นส่วนใหญ่

3.2 ด้านประติมากรรม

ผลงานทางด้านประติมากรรมที่สำคัญในสมัยสุโขทัย ได้แก่การทำเครื่องสังคโลก และการสร้างพระพุทธรูป ทางด้านการทำเครื่องสังคโลกถือเป็นผลงานการสร้างสรรค์ที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ นอกเหนือจากากรทำเครื่องปั้นดินเผาที่มีอยู่เดิม โดยได้รับการถ่ายทอดวิทยาการมาจากประเทศจีน เครื่องสังคโลกที่จัดทำขึ้นเพื่อเป็นเครื่องใช้สอยในชีวิตประจำวัน ประดับตกแต่งศาสนสถาน และส่งออกไปจำหน่ายยังต่างประเทศ โดยมากทำเป็นจาน ชาม ไห แจกัน ตุ๊กตา เครื่องตกแต่ง มีเนื้อละเอียด เข่น รูปช้างศึก ตุ๊กตา เจดีย์ ส่วนใหญ่มีสีน้ำตาล สีน้ำตาลปนเหลือง สีเขียว สีเขียวไข่กา และสีขาวทึบ

การจัดแสดงเครื่องปั้นดินเผาและสังคโลกสมัยสุโขทัย

สำหรับผลงานการสร้างพระพุทธรูป ส่วนใหญ่สุโขทัยนิยมสร้างพระพุทธรูป 4 อิริยาบถ คือ นั่ง นอน ยืน เดิน มีพระพักตร์รูปไข่ นิ่งสงบ แย้มพระโอษฐ์เล็กน้อย สะท้อนถึงสภาวะแห่งปีติสุขอันมีอยู่ภายในอย่างสมบูรณ์ หลักจากทรงบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ พระพุทธรูปที่เป็นเอกลักษณ์เด่นของศิลปะสุโขทัย คือ พระพุทธรูปปางลีลา นอกจากพระพุทธรูปสำริดแล้ว ในสมัยสุโขทัยยังนิยมทำพระพุทธรูปปั้นด้วย มีทั้งพระพุทธรูปนูนสูงประดับอาคารพุทธสถาน เช่น พระพุทธรูปนูนสูงปางลีลาที่วัดตระพังทองหลาง เมืองสุโขทัยเก่า พระพุทธรูปปูนปั้นแบบลอยตัว เช่น พระอจนะ วัดศรีชุม พระอัฏฐารส วัดสะพานหิน พระพุทธรูปปูนปั้นรอบพระเจดีย์ใหญ่วัดช้างล้อม เป็นต้น

พระอจนะ วัดศรีชุม อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย

ขณะเดียวกันในสมัยสุโขทัย ยังมีการหล่อเทวรูปสำริดขึ้นหลายองค์ เช่น พระอิศวร พระอุมา พระวิษณุหรือพระนารายณ์ พระพรหม และพระหริหระ (พระอิศวรและพระนารายณ์รวมกันเป็นองค์เดียวกัน) เพื่อใช้บูชาและประกอบพระราชพิธีต่างๆ ของราชสำนัก ซึ่งยังคงยึดถือขนบธรรมเนียมตามแบบอย่างของศาสนาพราหมณ์-ฮินดูอยู่ นอกจากนี้ในสมัยสุโขทัยยังนิยมสร้างพระพุทธบาทจำลองตามอิทธิพลของศิลปะลังกาด้วย มีทั้งศิลาและสำริด เช่น รอยพระพุทธบาทจำลองวัดเสด็จ จังหวัดกำแพงเพชร เป็นต้น

3.3 ด้านสถาปัตยกรรม

สถาปัตยกรรมที่สำคัญของสุโขทัย ประกอบด้วย เจดีย์ อาคาร วิหาร อุโบสถ
1) เจดีย์ เจดีย์แบบสุโขทัย ฐานจะเป็นสี่เหลี่ยม 3 ชั้นตั้งซ้อนกัน องค์เจดีย์มีลักษณะเป็นทรงกลมหรือย่อมุมแบบเหลี่ยม มีซุ้มจระนำ ปลายเจดีย์จะทำเป็นรูปทรงพุ่มข้าวบิณฑ์หรือดอกบัวตูม เช่น พระเจดีย์องค์ใหญ่ ที่วัดมหาธาตุ สุโขทัย พระเจดีย์องค์กลางที่วัดเจดีย์เจ็ดแถว เมืองศรีสัชนาลัย เป็นต้น

พระมหาธาตุเจดีย์ เป็นเจดีย์ประธานทรงดอกบัวตูม หรือทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของศิลปะสุโขทัย

ในสมัยสุโขทัยยังมีการสร้างเจดีย์ทรงกลมแบบลังกา (ทรงระฆังคว่ำ) มีฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยม บางแห่งทำเป็นรูปปูนปั้นช้างครึ่งตัวยื่นศีรษะออกมารายรอบที่ฐานพระเจดีย์ ฐานชั้นที่สองมีซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูปอยู่โดยรอบ ต่อจากนั้นจึงเป็นฐานกลมซ้อนขึ้นไปจนถึงองค์ระฆัง ส่วนบนขององค์ระฆังเป็นบัลลังก์รูปสี่เหลี่ยมต่อด้วยปล้องใน รูปวงแหวนเป็นชั้นๆ จนถึงยอดรูปดอกบัวตูม เช่น พระเจดีย์วัดช้างล้อมเมืองศรีสัชนาลัย นอกจากนี้ ยังมีการสร้างเจดีย์แบบลังการผสมศรีวิชัยด้วย

2) อาคาร อาคารที่ยังหลงเหลืออยู่มีลักษณะเป็นอาคารโถงหรืออาคารที่มีฝาผนัง มีหลังคาซ้อนกันขึ้นไปเป็นชั้นๆ ผังอาคารเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ทางด้านหน้าก่อเป็นมุขยื่นออกมา มีบันไดขึ้นสองข้าง เช่น วิหารที่วัดสวนแก้วอุทยานน้อย เมืองศรีสัชนาลัย เป็นต้น สำหรับอาคารที่ก่อด้วยศิลาแลง หลังคาจะใช้ศิลาแลงเรียงซ้อนเหลื่อมกันขึ้นไปจนถึงขั้นสูงสุดที่ไปบรรจบกัน ส่วนสถาปัตยกรรมรูปทรงอาคารที่ลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม จะมีหลักคาเป็นชั้นแหลมลดหลั่นกันไปถึงยอดทำเป็นชั้นประมาณ 3 ชั้น เรียกว่า “มณฑป” มีทั้งแบบที่มีผนังและแบบมีโถง เข่น มณฑปวัดศรีชุม เป็นต้น

3) วิหาร มีลักษณะใหญ่กว่าโบสถ์ ทำเป็นกำแพงทึบแล้วเจาะหน้าต่างเป็นช่องเล็กๆ มีลูกกรงทำด้วยอิฐหรือดินเผาปั้นเป็นลูกแก้วกั้น เพื่อให้แสงลอดเข้าไปข้างในได้ แบ่งได้ออกเป็น 2 แบบใหญ่ๆ คือ
3.1) วิหารแบบแรก มีโครงสร้างอาคารแบบผนังเปิดโล่งหรือวิหารโถง สร้างอยู่บนผังสี่เหลี่ยมผืนผ้า ยกระดับขึ้นไปจากพื้นเล็กน้อยช่องผนังของวิหารมีการก่อฐานสูงขึ้น เพื่อทำเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป วิหารด้านข้างมีแนวเสาร่วม ทำหน้าที่รองรับตัวไม้ส่วนที่เป็นโครงสร้างของหลังคาประธาน และเสาชั้นนอกซึ่งเรียงรายเป็นแถวถัดออกมารองรับหลักคาปีกนก วิหารที่ปลูกสร้างในลักษณะนี้ เช่น วิหารวัดมหาธาตุ วิหารวัดศรีชุม วิหารวัดช้างล้อม วิหารพระอัฏฐารส และวิหารวัดเจดีย์เจ็ดแถว เป็นต้น
3.2) วิหารแบบที่สอง มีโครงสร้างแบบมีผนังก่อล้อมทั้ง 4 ด้าน ภายในวิหารด้านหลังก่อเป็นฐานยกพื้นสูงไว้ประดิษฐานพระประธาน ด้านหน้าวิหารจะมีมุขยื่นออกมาแบบ มุขโถง ส่วนผนังด้านข้างทั้งสองของวิหารในแต่ละช่องเสาจะทำเป็นช่องแบบ “ลูกมะหวด” เพื่อให้แสงเข้า เช่นวิหารวัดศรีสวาย วัดนางพญา ซึ่งผนังด้านนอกมีการตกแต่งด้วยผลงานปูนปั้นอย่างสวยงาม เป็นต้น

วัดศรีสวาย สุโขทัย

4) โบสถ์หรือพระอุโบสถ สมัยสุโขทัยจะก่อด้วยโครงสร้างศิลาแลงฉาบปูน โครงสร้างหลังคานิยมเรียงด้วยก้อนศิลาเหลี่ยมซ้อนกันเป็นรูปกลับบัว หรือเรียงตั้งแต่ใหญ่ไปหาเล็ก เป้นทรงยอดมณฑป นอกจากนี้ก็มีโบสถ์ที่มีโครงสร้างเป็นไม้แบบศาลาโถง มีหลักคาปีกนกคลุมต่ำ ไม่มีบานหน้าต่าง แต่เจาะผนังเป็นลูกกรงประดับด้วยปูนปั้น เช่น ผนังวิหารวัดนางพญา เมืองศรีสัชนาลัย เป็นต้น เครื่องบนหลังคาของโบสถ์หรืออุโบสถสมัยสุโขทัยจะมีการประดับด้วยเครื่องสังคโลก เช่น ช่อฟ้า บราลี เป็นต้น โบสถ์สุโขทัยแทบทุกหลังจะหันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เช่น โบสถ์วัดมหาธาตุ โบสถ์วัดนางพญา เมืองศรีสัชนาลัย เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีสถาปัตยกรรมอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งยังคงเหลือร่องรอยมาจนถึงปัจจุบัน คือ กำแพงเมืองซุ้มประตู ป้อมปราการ โดยกำแพงเมืองจะมีการขุดคูล้อมรอบ ตัวอย่างที่เห็นได้เด่นชัด เช่น กำแพงเมืองเก่าสุโขทัย กำแพงและป้อมทุ่งเศรษฐี จังหวัดกำแพงเพชร เป็นต้น

นักเรียนควรรู้

เครื่องสังคโลก สันนิษฐานว่ามาจากคำว่า “ซ้องโกลก” ซึ่งหมายถึง เตาเผาแผ่นดินซ้อง เนื่องจากสุโขทัยได้รับเทคนิคการทำเครื่องสังคโลกมาจากจีน

วัดช้างล้อม ที่อยู่ในจังหวัดสุโขทัยมีทั้งหมด 2 แห่ง โดยแห่งแรกอยู่ในเขตอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ส่วนแห่งที่สองตั้งอยู่ในเขตอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย เจดีย์ทั้งสององค์มีลักษณะคล้ายกัน คือ มีช้างล้อมรอบฐาน แต่คนส่วนใหญ่มักจะจำสลับกับวัดสรศักดิ์ในเขตอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยที่มีช้างอยู่รอบฐานเจดีย์เช่นเดียวกัน

ลูกมะหวด ลูกกรงของวิหารนิยมทำด้วยหินหรือไม้ ทำเป็นท่อนกลมกลึงเป็นข้อ ๆ ต่อเนื่องกันคล้ายผลมะหวดเรียงต่อกัน มีที่มาจากต้นมะหวดที่ออกผลเป็นช่อ

ศิลาแลง เป็นวัสดุในธรรมชาติอย่างหนึ่งมีลักษณะคล้ายกับหิน มีสีแดง ส้ม หรือน้ำตาลเข้ม มีรูพรุนทั่วไป นิยมนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการก่อสร้าง โดยใช้ขวานเหล็กสกัดเซาะออกเป็นรูปก้อนก่อน แล้วจึงใช้ชะแลงงัดออกจากพื้น หลังจากนั้นจึงนำก้อนศิลาแลงแต่ละก้อนมาแต่ง เพื่อให้ได้รูปร่างและขนาดตามต้องการ นิยมนำมาใช้สร้างวัด วิหาร สถูป เจดีย์ และอาคารต่าง ๆ

นักเรียนสามารถศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับศิลปกรรมสมัยสุโขทัยได้จาก //www.finearts.go.th/fad6/parameters/km/item/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%82%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A2.html

จิตรกรรมในสมัยสุโขทัยใช้สีอะไร

เดียว โดยใช้สีขาว แดง และดํา เป็นส่วนใหญ่ มีการค้นพบภาพจิตรกรรมฝาผนังลักษณะนี้ได้ที่ วัดเจดีย์เจ็ดแถว อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย เป็นภาพพระพุทธรูปนั่งเรียงเป็นแถวตามยาว มีภาพเทวดา และสาวกนั่งห้อมล้อมสลับกันไป เป็นภาพเขียนสีฝุ่นผสมกาว ใช้สีเอกรงค์ ซึ่งถือว่าเป็นงานจิตรกรรมฝาผนังของไทยในยุคแรก ๆ เลยทีเดียว

สีเอกรงค์ มีสีอะไรบ้าง

เอกรงค์ (อังกฤษ: monochrome) คือ ภาพที่เน้นไปทางสีโทนใดโทนหนึ่งเท่านั้น ยกตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ ภาพขาวดำ จิตรกรรมเอกรงค์ ภาพเซเพีย (sepia) ส่วนภาพที่มีหลายสีนั้นเรียกว่าภาพ พหุรงค์ (polychrome)

จิตรกรรมในสมัยสุโขทัยมีอะไรบ้าง

งานจิตรกรรมสมัยสุโขทัยนั้นปรากฏว่ามีการทำภาพแกะลายเบา โดยแกะสลักบนหินเป็นลายเส้น ตัวอย่างเช่น ภาพแกะสลักลายเส้นบนเพดานผนังอุโมงค์วัดศรีชุม สลักเรื่องโคชานิยชาดก สำริดจากวัดเสด็จ ตลอดจนจิตรกรรมฝาผนังพบที่วัดเจดีย์เจ็ดแถว ภายในคูหาชั้นในของมณฑปที่มีเรือนยอดเป็นปรางค์ผสมเจดีย์ทรงระฆังมีภาพจิตรกรรมฝาผนัง แต่ปัจจุบันลบเลือน ...

สมัยใดใช้สีเอกรงค์ในงานจิตรกรรม

จากการศึกษาพบว่าหลักการใช้สีในจิตรกรรมฝาผนังมีรูปแบบและความเชื่อที่ต่อเนื่องกันมา แต่ละยุคสมัยแสดงความเป็นคตินิยม ความเชื่อ เอกลักษณ์เฉพาะตัว มีการใช้สีโดยรวม เป็นสีเอกรงค์ในยุคสมัยอยุธยา และสีพหุรงค์ในวรรณะสีอุ่นในสมัยรัตนโกสินทร์ สีที่มีความสำคัญและสร้างเอกลักษณ์ความเป็นยุคสมัย คือ หมวดสีแดง ที่แสดงถึงความ ...

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf