โครง งาน ถัง ขยะ เปิด ปิด ด้วย ระบบ เซ็นเซอร์

โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ เรื่อง ถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติ จัดท าโดย นายชนกานต์ ทาลา นายนิติธร นกแสง นายวรฤทธิ์ ลาภาวรกุล นายภูปกรณ์ แก้วปภังกรฉัตร นายกรวัฒน์ จันทร์จ านงค์ ประจ าปีการศึกษา 2563 ปีพุทธศักราช 2654 วิทยาลัย เทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ จังหวัด กรุงเทพมหานคร ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

ก หัวข้อวิจัย ถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติ ชื่อผู้จัดท า นายชนกานต์ ทาลา นายนิติธร นกแสง นายวรฤทธิ์ ลาภาวรกุล นายภูปกรณ์ แก้วปภังกรฉัตร นายกรวัฒน์ จันทร์จ านงค์ สาขาวิชา เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล สถานศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ ปี พ.ศ. 2565 บทคัดย่อ โครงงานสิ่งประดิษฐ์ “ถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติ” มีแนวคิดที่จะศึกษาแบบจ าลองถังขยะเปิด-ปิด อัตโนมัติด้วยระบบเซ็นเซอร์ ซึ่งต้องรู้จักการท างานของอุปกรณ์ การประกอบส่วนต่าง ๆ ของอุปการณ์ และเขียนโปรแกรมควบคุมการท างานตามวัตถุประสงค์ โดยควบคุมการท างานจาก Arduino สั ่งให้ Sensor รับสัญญาณ และส ่งกลับไปยัง Arduino เพื ่อสั ่งให้ Servo ท างาน ถังขยะจะเปิดและปิดโดย อัตโนมัติ เพื่อพัฒนาและขยายความสามารถให้มากขึ้นจากแบบจ าลองถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติด้วยระบบ เซ็นเซอร์ต่อไป ผลการทดลองพบว ่า ถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติด้วยระบบเซ็นเซอร์ การควบคุมด้วย Arduino สามารถควบคุมการเปิดและปิด แบบอัตโนมัติด้วยการตรวจจับด้วยSensor ในระยะ 30 เซนติเมตร ในทิศ ขนานกับพื้น ส่งไปยัง Arduino เพื่อสั่งให้ Servo ท างาน

ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์พัฒนาทักษะชีวิต เพื่อศึกษาสิ่งประดิษฐ์และการ ท างานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ด้วยความกรุณาจากอาจารย์ที่ปรึกษา ข้อชี้แนะ และความช่วยเหลือ ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ จนกระทั่งส าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี คณะผู้จัดท าขอกราบขอบพระคุณมา ณ ที่นี้ ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์สุวิทย์ บุตรวาปิที่ให้ความกรุณาในการแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ของโครงงานและให้ความรู้ ให้ค าแนะน า ทั้งให้ก าลังใจ ท้ายสุดนี้คณะผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า โครงงานนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาและเป็นที่ น่าสนใจส าหรับผู้ที่สนใจต่อไป คณะผู้วิจัย

ค เรื่อง หน้า บทที่ 1 บทน า 1 ที่มาและความส าคัญของโครงงาน 1 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 2 สมมุติฐานของการศึกษา 2 ขอบแขตการท างาน 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3 หลักการ Arduino Uno R3 3 หลักการ เซ็นเซอร์ HC-SR04 Ultrasonic 5 หลักการ Servo Motor MG996R 6 บทที่ 3 วิธีการด าเนินงาน 7 วงจรของระบบ 7 ชิ้นส่วนประกอบของถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติ 8-11 การควบคุมการท างานของระบบ 11 Flowchart 12 ขั้นตอนการประดิษฐ์ 13-17 โปรแกรมควบคุมการท างาน 18 บทที่ 4 ผลการวิจัย 19 บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 20 จากการประดิษฐ์เครื่องเพิ่มแรงดันน ้าไม่ใช้ไฟฟ้าได้ผลดังนี้คือ 20 ประโยชน์ของงานประดิษฐ์เครื่องเพิ่มแรงดันน ้าไม่ใช้ไฟฟ้า 20 ปัญหาในการท างาน 20 ข้อเสนอแนะ 20 บรรณานุกรม 21 ภาคผนวก ก 22-23

1 บทที่ 1 บทน า 1.1 ที่มาและความส าคัญ ขยะมูลฝอยหรือขยะทั่วไป เป็นปัญหาของคนส่วนใหญ่ ซึ่งสังคมในปัจจุบัน ยังไม่มีการจัดการที่ดี รวมถึงภาคครัวเรือนที่มีการทิ้งขยะหรือ สิ่งปฏิกูลทุกวันเช่น เศษอาหาร ถุงพลาสติก เศษกระดาษ อีกทั้ง ปัจจุบันขยะมูลฝอยนั้นนับวันจะเพิ ่มมากขึ้นตามจานวนประชากร ถ้าหากไม ่มีการจัดการที ่ดี และ เหมาะสมกับปัญหา ความสกปรกต่าง ๆ ท าให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ เช่น ปัญหาเรื่องเชื้อโรค สารเคมี และกลิ่นเหม็นที่แพร่สถานที่ต่าง ๆ ปัจจุบันมีถังขยะอยู่จ านวนมาก แต่ถังขยะที่มีอยู่ในปัจจุบันส่วนใหญ่นั้นอยู่ในสภาพที่ไม่สมบูรณ์ เนื่องจากผ่านการใช้งานเป็นระยะเวลานาน เช่น ไม่มีฝาปิด ฝาถังชารุด ถังขยะมีรอยแตกร้าว ขาดการ ดูแลรักษาที่ดีซึ่งเป็นสถานที่สะสมของเชื้อโรคและแบคทีเรีย อาจจะท าให้เกิดการติดเชื้อแก่ผู้ที่ทิ้งขยะโดย การสัมผัสกับถังขยะ ความเป็นไปได้ของโครงงานเป็นไปได้ที่จะบรรลุตามเป้าหมาย เนื่องจากกลุ่มกระผมตระหนักถึง ปัญหาเหล ่านี้ดังที ่กล ่าวมาข้างต้น ฉะนั้นเราจึงร ่วมกันคิดหาเทคนิคการทาต่อยอดจากถังขยะในรูป แบบเดิม มีการน ามาประยุกต์จากรายวิชาที่เรียนวิทยาศาสตร์พัฒนาทักษะชีวิตโดยใช้เป็นระบบเซนเซอร์ ของถังขยะโดย อ.สุวิทย์บุตรวาปิ ที่ปรึกษาที่คอยให้การสนับสนุนและให้ค าปรึกษา อิเล็กทรอนิกส์เมื่อ โครงงานส าเร็จจึงส่งผลทาให้มีถังขยะที่มีสภาพพร้อมใช้งานและมีประสิทธิภาพ ทาให้เกิดสภาพแวดล้อม ที่ดี สะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย รวมไปถึงการตอบสนองความต้องการของมนุษย์ในยุคปัจจุบัน คณะผู้จัดท าโครงงาน ถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติด้วยระบบเซ็นเซอร์เป็นโครงงานที ่เห็นถึง ความส าคัญของการพัฒนาเทคโนโลยีประกอบเข้ากับปัญหาขยะในปัจจุบันเพื่อให้มนุษย์เห็นความส าคัญ ของการทิ้งขยะและปัญหาของสิ่งแวดล้อมสุขอนามัยของคนในยุคปัจจุบัน

2 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1.2.1 เพื่อสร้างถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติควบคุมด้วยเซ็นเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว 1.2.2 เพื่อศึกษาเทคโนโลยีเครือข่ายเซ็นเซอร์และการควบคุมอัตโนมัติ 1.2.3 เพื่อประยุกต์และน าความรู้ที่ได้เรียนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ 1.2.4 เพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มบุคคลหรือพนักงานออฟฟิศ 1.2.5 เพื่อป้องกันเชื้อโรคที่เกิดจากการสัมผัสถังขยะ 1.3 สมมุติฐานของการศึกษา 1.3.1สามารถตอบสนองความสะดวกสบายในการทิ้งขยะ ป้องกันเชื้อโรคที่มาจากการสัมผัสกับ ถังขยะและสามารถประยุกต์นeความรู้ที่ได้เรียนมาใช้ในการท าโครงงาน 1.4 ขอบเขตของโครงงาน 1.4.1 ศึกษาการใช้งานบอร์ด Arduino เพื่อประยุกต์ใช้ในการควบคุมการทางานระบบเปิด-ปิด อัตโนมัติของถังขยะ 1.4.2 ศึกษาการออกแบบระบบ การติดตั้งและการทางานของระบบเซ็นเซอร์อัลตราโซนิค 1.4.3 ศึกษาการตอบสนองของระบบเซ็นเซอร์กับการเปิด-ปิดอัตโนมัติของถึงขยะ 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.5.1 ได้ระบบเปิด-ปิด ถังขยะอัตโนมัติด้วยเซ็นเซอร์ตรวจจับการเคลื่อนไหว 1.5.2 เพิ่มความสะดวกสบายต่อการใช้งานในแต่ละวัน 1.5.3 สามารถประยุกต์สิ่งของที่มีให้มีความทันสมัยขึ้น 1.5.4 ป้องกันเชื้อโรคจากถังขยะ

3 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาโครงงานเรื่อง ถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติด้วยเซ็นเซอร์อัลตราโซนิค สิ่งแรกที่จาเป็นใน การจัดท าโครงงาน ต้องรู้จักหลักการท างานของอุปกรณ์ การประกอบส่วนต่าง ๆ ของอุปกรณ์และการ เขียนโปรแกรมควบคุมการทางานตามวัตถุประสงค์มีการวิเคราะห์และหาข้อมูลในส ่วนนั้น เพื ่อเป็น แหล่งข้อมูลในการน าไปใช้ในการทาโครงงานและพัฒนาต่อยอดการศึกษา คณะผู้จัดท ได้ทาการรวบรวม แนวคิดหลักการและทฤษฎีต่าง จากเอกสารที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 2.1 หลักการ Arduino Uno R3 2.2 หลักการ เซ็นเซอร์ HC-SR04 Ultrasonic 2.3 หลักการ Servo Motor MG996R 2.1 หลักการ Arduino Uno R3 Arduino Uno R3 เป็นบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ATmega328P ชนิดหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วย - แรงดันไฟฟ้าของ Arduino คือ 5V - แรงดันไฟฟ้าขาเข้าที่แนะน ามีตั้งแต่ 7V ถึง 12V - แรงดันไฟฟ้า i / p (ขีด จ ากัด ) คือ 6V ถึง 20V - พินอินพุตและเอาต์พุตดิจิตอล -14 - พินอินพุตและเอาต์พุตดิจิตอล (PWM) -6 - หมุด i / p แบบอะนาล็อกคือ 6 - กระแสไฟฟ้ากระแสตรงส าหรับแต่ละ I / O Pin คือ 20 mA - กระแสไฟตรงที่ใช้ส าหรับ 3.3V Pin คือ 50 mA - หน่วยความจ าแฟลช -32 KB และหน่วยความจ า 0.5 KB ถูกใช้โดยบูตโหลดเดอร์ - SRAM คือ 2 KB - EEPROM คือ 1 KB - ความเร็วของ CLK คือ 16 MHz - ในตัว LED - ความยาวและความกว้างของ Arduino คือ 68.6 มม. X 53.4 มม

4 Arduino Uno R3 พินไดอะแกรม แผนภาพพิน Arduino Uno R3 ดังแสดงด้านล่าง ประกอบด้วยพิน I / O 14 หลัก จากพินเหล่านี้สามารถ ใช้ 6 พินเช่นเอาต์พุต PWM บอร์ดนี้ประกอบด้วยพินอินพุต / เอาท์พุตดิจิตอล 14 พินอินพุตอนาล็อก -6 การเชื่อมต่อ USB ควอตซ์คริสตัล -16 MHz แจ็คเพาเวอร์ a การเชื่อมต่อ USB, resonator-16Mhz, แจ็ค เพาเวอร์, ส่วนหัว ICSP และปุ่ม RST การเขียนโปรแกรม Arduino Uno R3 การเขียนโปรแกรม Arduino Uno R3 สามารถท าได้โดยใช้ซอฟต์แวร์ IDE ไมโครคอนโทรลเลอร์บน บอร์ดจะมาพร้อมกับการเบิร์นล่วงหน้าโดยบูตโหลดเดอร์ที่อนุญาตให้อัปโหลดโค้ดใหม่โดยไม่ต้องใช้ โปรแกรมเมอร์ฮาร์ดแวร์ภายนอก การสื่อสารนี้สามารถท าได้โดยใช้โปรโตคอลเช่น STK500 นอกจากนี้เรายังสามารถอัปโหลดโปรแกรมในไมโครคอนโทรลเลอร์ได้โดยหลีกเลี่ยงการบูตเครื่องโดยใช้ ส่วนหัวเช่น In-Circuit Serial Programming

5 2.2 หลักการ เซ็นเซอร์ HC-SR04 Ultrasonic เซ็นเซอร์วัดระยะทาง โมดูลวัดระยะทาง HC-SR04HC-SR04 Ultrasonic Distance Measuring Module เซ็นเซอร์วัดระยะทาง Ultrasonic Distance Measuring Module HC-SR04 เซ็นเซอร์วัดระยะ ด้วยคลื ่นอัลตร้าโซนิค หลักการท างานโดยใช้วิธีการส ่งคลื ่นเสียง Ultrasonic ที ่ความถี ่ 40kHz แล้ว สะท้อนวัตถุกลับมายังตัวรับ แล้วจับเวลาเพื ่อค านวณหาาระยะทาง สามารถวัดระยะได้ในช ่วง 2 เซ็นติเมตร จนถึง 4.5 เมตร โมดูลวัดระยะ HC-SR04 นี้ เหมาะส าหรับน าไปใช้งานที ่ไม่ต้องการความ แม่นย ามากนัก หรือใช้เพื่อการเรียนรู้ • วัดระยะได้ในช่วง 2 เซ็นติเมตร จนถึง 4.5 เมตร • ความกว้างที่สามารถวัดได้ 30 องศา • ใช้ไฟเลี้ยงในการท างาน 5VDC ใช้กระแสไฟฟ้า < 15mA • ความละเอียด 0.3 cm • ขนาดบอร์ด 45x20x15mm

6 2.3 หลักการ Servo Motor MG996R Servo Motor คือ DC มอเตอร์ที่สามารถควบคุมองศาในการหมุนได้ เนื่องจากมีเฟือง (Gear) และตัวอ่านค่าองศา อยู่ภายในตัวถังของมัน ซึ่งเซอร์โวอิเล็กทรอนิกส์ส่วนมาก จะหมุนได้ 180 องศา แต่ก็เพียงพอส าหรับน าไปใช้ในหลายๆงาน Tower Pro MG996R คือ Servo Motor ขนาดกลาง ส าหรับงานเครื่องกลอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ มีแรงบิด (Torque)สูง สามารถใช้ในการยกหรือลากอุปกรณ์หนักๆได้ พร้อมด้วยเฟืองโลหะ เพิ่มความแข็งแรง ไม่แตกหักง่ายๆเหมือนเฟืองพลาสติก

7 บทที่ 3 วิธีการด าเนินงาน 3.1 วงจรของระบบ 3.1.1 ภาพวงจรควบคุมถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติ

8 3.2 ชิ้นส่วนประกอบของถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติ 3.2.1 Arduino Uno R3 3.2.2 Servo Motor

9 3.2.3 เซ็นเซอร์ HC-SR04 Ultrasonic 3.2.4 Adapter 9V 2A

10 3.2.5 สายไฟจัมเปอร์ตัวผู้-ตัวเมีย 3.2.6 ก้างปลาคอนเนคเตอร์ตัวผู้-ตัวผู้

11 3.2.6 ถังขยะขาเหยียบ 3.3 การควบคุมการท างานของระบบ การควบคุมการท างานของระบบจะใช้ Arduino เป็นคัวควบคุมการท างานทั้งหมด ส่วนที่ Arduino ไปควบคุมได้แก่ 3.3.1 การควบคุมเซ็นเซอร์ วัดระยะทาง ในการควบคุมเซ็นเซอร์วัดระยะทางให้ Arduino สั่งให้ท างานเมื่อวัตถุมาใกล้ในระยะที่ ก าหนด โดยเซ็นเซอร์จะส่งสัญญาณออกไปในระยะที่ก าหนด และสะท้อนสัญญาณที่ส่งไปกลับมา ประมวลผล 3.3.2 การควบคุม Servo Motor ในการควบคุม Servo ให้ Arduino เป็นตัวสั่งให้ท างานโดย Arduino ได้ประมวลผลที่ ได้รับจากเซ็นเซอร์ ส่งสัญญาณมายัง Servo ในการเปิด-ปิดฝาถังขยะ

12 3.4 Flowchart เริ่ม จับวัตถุ มีวัตถุ Servo ท ำงำน จบกำรท ำงำน ไม่ใช่ ใช่

13 3.5 ขั้นตอนการประดิษฐ์ 3.5.1 เขียนโปรแกรมลง Arduino 3.5.2 น าฝาถังขยะมาเจาะรู เพื่อน าเหล็กมาใส่เป็นคานที่ใช้ดึงเชือก

14 3.5.3 น าถังขยะมาเจาะเป็นรูปวงกลมสองรู ใช้ส าหรับใส่Sensor ได้พอดี 3.5.4 เจาะรูที่ด้านล่างของตัวถังขยะ ให้กว้างพอส าหรับใช้เสียบ Adapter กับ บอร์ดArduino

15 3.5.5 ใส่ Servo ที่ด้านหลังของถังขยะโดยใช้น็อตยึด 3.5.6 ติดบอร์ดArduinoที่เขียนโปรแกรมเรียบร้อย ติดไว้ก้นถังขยะให้ Port ที่ใช้เสียบ Adapter ตรง กับรูที่เจาะไว้

16 3.5.7 น า Sensor มาติดโดยให้ตรงกับรูพอดี และเจาะรูที่ก้นถังเพื่อให้สามารถน าสายลอดลงไปต่อกับ บอร์ดArduino ด้านล่างได้ 3.5.8 น าสายจากอุปกรณ์ทั้งหมดมาต่อเข้าด้วยกันตามรูปแบบ

17 3.5.9 ผูกลวดคานเหล็กกับ Servo เป็นอันเสร็จสมบูรณ์

18 3.6 โปรแกรมควบคุมการท างาน #include #include #define TRIGGER_PIN A0 #define ECHO_PIN A1 #define MAX_DISTANCE 34 NewPing sonar(TRIGGER_PIN, ECHO_PIN, MAX_DISTANCE); Servo myservo ; int State = 0 ; void setup() { Serial.begin(9600) ; myservo.attach(A4) ; myservo.write(160) ; delay(5000); myservo.write(0) ; } void loop() { int Sr = sonar.ping_cm( ) ; Serial.println(State) ; if (State == 0) { if (Sr <= 5) { myservo.write(0) ; delay(100) ; } else if (Sr >= 6) { myservo.write(160) ; State = 1 ; } } if (State == 1) { delay(3000); State = 0; } }

19 บทที่ 4 ผลการวิจัย คณะผู้จัดท าวิจัยสามารถด าเนินการได้ส าเร็จลุล่วงไปด้วยดีโดยการวางแผนวิธีการด าเนินงาน อย่างเป็นขั้นตอน และเป็นไปตามแผนที่ก าหนด จากการวิจัย Sensor สามารถตรวจจับวัตถุในระยะ 35 ซม. แล้วส่งสัญญาณไปยัง Arduino ท า การอ่านค่าและส่งสัญญาณไปควบคุม Servo ให้ท าการหมุน 160 องศา เพื่อให้ฝาถังขยะเปิดขึ้น และจะ ปิดลงใน 3 วินาที

20 บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ โครงงานนี้เป็นระบบเปิด-ปิดของกลไกลให้ตรวจจับระยะที่ก าหนดโดยท าการควบคุมสั่งการด้วย ตัวควบคุม Arduino Uno R3 ควบคุมการท างาน Sensor และควบคุมการเปิด-ปิดด้วย Servo ประโยชน์ของงานประดิษฐ์ถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติ 1. เพิ่มความสะดวกสบาย ลดการแพร่เชื่อโรคจากการสัมผัส 2. เป็นแนวทางในการต่อยอดสิ่งประดิษฐ์ให้มีประสิทธิภาพและสามารถใช้งานได้จริง 3. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และได้สร้างงานที่มีคุณภาพ ปัญหาที่ประสบในการจัดท าโครงงาน 1. การจัดสรรเวลาในการท างานของคนในกลุ่มไม่ตรงกัน 2. ระยะห่างบ้านของสมาชิกภายในกลุ่มห่างไกลกัน 3. อุปกรณ์ในการประดิษฐ์เกิดความเสียหาย 4. การเขียนโค้ดไม่สมบูรณ์ ข้อเสนอแนะ 1. ควรใส่ถุงขยะข้างในทุกครั้งเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายต่ออุปกรณ์ 2. หากจะน าไปใช้งานจริงควรมีการพัฒนาให้มีความสามารถป้องกันความชื้นได้ เพื่อป้องกัน อุปกรณ์ไม่ให้เสียหาย

21 บรรณานุกรม Arduino IDE softwareค้นเมื่อ มิถุนายน 18, 2565, จาก //www.arduino.cc/en/software/ Newpingค้นเมื่อ มิถุนายน 18, 2565 จาก//github.com/microflo/NewPing/blob/master/NewPing.h ขั้นตอนการ สร้างถังขยะ เปิ ด / ปิ ด แบบอัตโนมัติ ง่ายๆด้วย Arduinoค้นเมื่อ มิถุนายน 14, 2565, จาก//www.ec-bot.com/b/17 เซ็นเซอร์วัดระยะทาง HC-SR04ค้นเมื่อ กรกฎาคม 15, 2565, จาก //www.spmicrotech.com/product/%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%94%E0%B8%B9%E 0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2 %E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87-ultrasonic-sensor-module-hc-sr04/ Arduino UNO R3, Pin Diagram, ข้อมูลจ าเพาะและการใช้งาน Arduinoค้นเมื่อ กรกฎาคม 16, 2565, จาก//th.jf-parede.pt/arduino-uno-r3-pin-diagram ทุกเรื่องที่ควรรู้เกยี่วกบัเซอร์โวมอเตอร์และการใช้งาน Arduinoค้นเมื่อ กรกฎาคม 16, 2565, จาก //www.artronshop.co.th/article/92/%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B9%80%E 0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5% E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89 %E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%8 1%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9 %8C%E0%B9%82%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%95%E0% B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0 %B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%B2%E 0%B8%99

22 ภาคผนวก ก คู่มือการใช้งาน 1. ใส่ถุงขยะขนาด 18x20 นิ้ว 2. หากต้องการเปิดใช้งานให้น า Adaptor มาเสียบที่รูด้านหลังถังขยะ 3. ถังขยะจะเปิดเมื่อ Sensor ตรวจพบวัตถุในระยะ 34 ซม. และจะปิดเมื่อเวลาผ่านไป 3 วินาที

23 งบประมาณที่ใช้ Adaptor 9v 96 บ. สายไฟจั๊มเปอร์ 29 บ. MG996R Servo Motor 180 Degree 111 บ. Arduino Uno R3 285 บ. HC-SR04 Ultrasonic Sensor 38 บ. วีดิโอสาธิตการใช้งาน


กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf