ขั้น ตอน การใช้งาน Google Classroom

Google Classroom เป็นการสร้างห้องเรียน ที่วางระบบเช็กชื่อ และสร้างโพสต์กิจกรรมได้ โดยที่ครูผู้สอนต้องออกแบบห้องเรียนนี้ไว้

Google Classroom ทําอะไรได้บ้าง

1. สร้างรหัสล็อกอินได้ทั้งผู้สอน และผู้เรียน

วิธีใช้งานคือ ผู้ใช้งานเข้าไปสร้างห้องเรียน Google Classroom ได้ที่ classroom.google.com ใน Browser Google Chrome แล้วสร้าง Password

2. จัดการข้อมูลทั่วไปของชั้นเรียน

ในสถาบันการเรียน จะต้องมีผู้สอนเข้าไปเลือกสร้างชั้นเรียนไว้ก่อน แล้วค่อยเพิ่มจำนวนผู้สอน และเพิ่มผู้เรียนภายหลังด้วยการกดเครื่องหมายบวก ในห้อง Google Classroom > Create Class และกรอกข้อมูลชื่อชั้นเรียน, เวลาเรียน, วิชา แล้วกด Create

หากในชั้นเรียนมีผู้สอนอื่นๆ เพิ่มเติม คลิกเลือกที่แถบเมนู About > Invite Teathers คลิกเลือกผู้สอนร่วมจากบัญชี Gmail จากนั้นคลิก Invite


4. จัดเก็บข้อมูลผู้เรียน และ นำผู้เรียนออกจากห้อง

คลิกดูข้อมูลผู้เรียนได้ที่ Students และเชิญนักเรียนเข้าห้องเรียนได้ที่ Invite Students ด้วย Email สามารถจัดการให้ออกจากห้องได้ด้วยการกด “Remove”

5. จัดเก็บชั้นเรียน เรียกคืนชั้นเรียนที่ถูกเก็บหรือลบได้

ห้องเรียนที่ถูกสร้างเสร็จแล้ว สามารถคลิกเลือกเพื่อแก้ไขได้ที่ “Edit” และคลิกจัดเก็บได้ที่ “Archive” เมื่อต้องการคลิกกลับมาเลือกดูชั้นเรียนที่เก็บไว้ คลิกเลือก Archived Classes และเมื่อต้องการลบ คลิก “Delete”

เมื่อมีโน้ต หรือประกาศที่ต้องการแจ้งให้นักเรียนรับทราบ คลิกไปที่ “Announcement” และเลือกหัวข้อประกาศ ซึ่งสามารถแจ้งให้กับนักเรียนทุกคน หรือให้เห็นเฉพาะบางคนได้

7. สร้างการบ้าน ตลอดจนให้ส่งงานและตรวจงาน

สร้างการบ้าน ด้วยการตั้งสร้างคำถามได้ที่ เครื่องหมาย (+) เมื่อคลิกเลือกที่ Stream และ Create Queation

เมื่อต้องการนำเข้าโพสต์จากวิชาอื่นเพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาเพิ่ม ก็เลือกที่ Stream กด เครื่องหมาย (+) แล้วเลือกไปที่ Reuse Post

9. Export รายงานเป็น Google Sheet ให้ดาวน์โหลดเพื่อตัดเกรดให้คะแนนได้ง่าย

เมื่อต้องการตรวจกิจกรรมหรือการบ้าน ก็สามารถเลือกไปที่ชื่อนักเรียนแต่ละคน หรือต้องการส่งคะแนนออกมาเป็น Google Sheets ก็คลิกเครื่องหมายฟันเฟืองด้านข้าง แล้วเลือกการส่งออกเป็น CSV ตามที่ต้องการ โดยเปิดใน Microsoft Excel ได้

เปลี่ยนธีมและแบนเนอร์ได้ด้วยการคลิกเลือก Select Theme > Gallery > Patterns เลือกรูปแบบที่ต้องการแล้วกด “Select Class Theme” หากต้องการเลือกรูปอื่น คลิก “Upload Photo”

คุณจะลงชื่อเข้าใช้ Classroom ด้วยบัญชีแบบใดแบบหนึ่งต่อไปได้ โดยขึ้นอยู่กับการตั้งค่าการเรียนรู้ของคุณ

  • บัญชีโรงเรียน หรือที่เรียกว่าบัญชี Google Workspace for Education คือบัญชีที่ตั้งค่าโดยโรงเรียนที่ได้รับการรับรอง โดยมักจะอยู่ในรูปแบบ you@yourschool.edu หากคุณไม่ทราบรายละเอียดบัญชี Google Workspace for Education โปรดติดต่อครูหรือผู้ดูแลระบบไอทีของโรงเรียน
  • บัญชี Google ส่วนบุคคล - ตั้งค่าโดยพ่อแม่หรือผู้ปกครองของคุณ ซึ่งปกติคุณจะใช้บัญชี Google ส่วนบุคคลนอกสถานที่ของโรงเรียน เช่น เพื่อการศึกษาแบบโฮมสคูลหรือชมรม โดยมักจะอยู่ในรูปแบบ you@example.com 
  • บัญชี Google Workspace - ตั้งค่าโดยผู้ดูแลระบบขององค์กร โดยมักจะอยู่ในรูปแบบ you@yourorganization.com

หมายเหตุ: เนื่องจากกฎหมายความเป็นส่วนตัว พ่อแม่และผู้ปกครองจะเข้าถึง Classroom หรืองานของนักเรียนไม่ได้ และจะได้รับอีเมลสรุปหากครูอนุญาต โปรดดูรายละเอียดได้ที่เกี่ยวกับอีเมลสรุปสำหรับผู้ปกครอง

หากพร้อมที่จะลงชื่อเข้าใช้

คุณต้องมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่ใช้งานได้เพื่อลงชื่อเข้าใช้ หากคุณทราบวิธีลงชื่อเข้าใช้ Classroom อยู่แล้ว ให้ไปที่ classroom.google.com หรือทำตามขั้นตอนแบบละเอียดด้านล่าง

Google Classroom เป็นหนึ่งในผลิตภัณฑ์ของ Google ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยนักเรียนและครูในการจัดระเบียบงานส่งเสริมการทำงานร่วมกัน และเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสาร

ทำให้การสอนมีประสิทธิผล มีการทำงานร่วมกัน และมีความหมายมากขึ้น

Google ทำงานร่วมกับนักการศึกษาทั่วประเทศเพื่อสร้าง Classroom เครื่องมือที่เปี่ยมประสิทธิภาพและใช้งานง่ายซึ่งช่วยให้ครูจัดการการบ้านและรายงานได้ เมื่อใช้ Classroom นักการศึกษาจะสร้างชั้นเรียน แจกจ่ายงาน ตัดเกรด ส่งความคิดเห็น และดูทุกอย่างได้ในที่เดียว

ทำงานได้ทุกที่ ทุกเวลา และในอุปกรณ์ทุกเครื่อง

เมื่อใช้ Google Classroom ครูและนักเรียนจะลงชื่อเข้าใช้เพื่อเข้าถึงงานของชั้นเรียน เนื้อหาของหลักสูตร และความคิดเห็นต่างๆ จากคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เคลื่อนที่ ได้ทุกเครื่อง

การจัดการศึกษาฐานสมรรถนะ เกิดจากปัญหาความด้อยคุณภาพของผู้เรียนที่ไม่สามารถนำความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและคุณลักษณะต่างๆ ที่ตนเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานและการดำรงชีวิตประจำวันได้ ส่งผลให้การศึกษาจำเป็นจะต้องปรับเปลี่ยนจุดเน้นจาก ฐานเนื้อหา (content – based) ไปเป็นฐานสมรรถนะ (competency-based) ดังนั้น จึงจำเป็นที่ผู้เกี่ยวข้องและผู้สนใจทั้งหลายจะต้องเข้าใจ ว่า “ สมรรถนะ” คืออะไร

“สมรรถนะ”เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความสามารถของบุคคลในการประยุกต์ใช้ความรู้ และทักษะต่าง ๆ ในการทำงาน การใช้ชีวิตและการแก้ปัญหา ศาสตราจารย์ David McClelland แห่งมหาวิทยาลัย Harvard พบว่า สมรรถนะเป็นคุณสมบัติที่สามารถทำนายความสำเร็จในการทำงานได้ดีกว่าเชาวน์ปัญญา (Intelligence) สมรรถนะจึงควรจะเป็นผลลัพธ์ที่พึ่งประสงค์ของการเรียนรู้ เพราะเป็นความสามารถในระดับใช้การได้ในชีวิต ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพชีวิต

ในเมื่อ “สมรรถนะ” มีความสำคัญและประโยชน์ต่อชีวิต การศึกษาจึงต้องทำหน้าที่พัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะที่จำเป็น แต่สมรรถนะอะไรที่เป็นความจำเป็นที่ผู้เรียนทุกคนจะต้องมีเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ป.1 – ม.6) ประเด็นนี้จึงเป็นคำถามสาคัญที่ต้องตอบให้ได้เป็นอันดับแรก  

สมรรถนะทั้ง 10 ประการ เป็นสมรรถนะหลักที่เด็กและเยาวชนไทยจะต้องได้รับการพัฒนาในช่วงเวลา 12 ปี ของการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลงและดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 ได้ สมรรถนะทั้ง 10 ประการได้แก่

  1. ภาษาไทยเพื่อ การสื่อสาร
  2. คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
  3. กระบวนการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์
  4. ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
  5. ทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน
  6. อาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ
  7. ทักษะการคิดขั้นสูงและนวัตกรรม
  8. การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล
  9. การทำงานแบบรวมพลัง เป็นทีม และมีภาวะผู้นำ
  10. การเป็นพลเมืองตื่นรู้และมีจิตสำนึกสากล 

การดำเนินการข้างต้นได้สมรรถนะหลัก 10 สมรรถนะ โดยแบ่งเป็น 4 กลุ่มคือ 

1) คนไทยฉลาดรู้ (Literate Thais) มี 4 สมรรถนะหลัก คือ

(1) ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Thai Language for Communication)

(2) คณิตศาสตร์ในชีวิตประจาวัน(Mathematics in Everyday Life)

(3) การสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์(Scientific Inquiry and Scientific Mind)

(4) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (English for Communication) 

2) คนไทย อยู่ดี มีสุข (Happy Thais) มี 2 สมรรถนะหลัก คือ

(1) ทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth)

(2) ทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) 

3) คนไทยสามารถสูง (Smart Thais) มี 2 สมรรถนะหลัก คือ

(1) ทักษะการคิดขั้นสูงและนวัตกรรม (Higher Order Thinking Skills and Innovation)

(2) การรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล (Media, Information and Digital Literacy : MIDL) 

4) พลเมืองไทย ใส่ใจสังคม (Active Thai Citizens) มี 4 สมรรถนะหลัก คือ

(1) การทางานแบบรวมพลังเป็นทีม และมีภาวะผู้นา (Collaboration Teamwork and Leadership)

(2) การเป็นพลเมืองตื่นรู้ที่มีสานึกสากล (Active Citizens with Global Mindedness) 

ลักษณะสำคัญของหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency-Based Curriculum)

หลักสูตรฐานสมรรถนะแตกต่างจากหลักสูตรปัจจุบันตรงที่ การกำหนดเป้าหมายจะมุ่งไปที่สมรรถนะของผู้เรียนว่า ผู้เรียนจะ “ต้องทำอะไรได้” ซึ่งต่างจากหลักสูตรอิงมาตรฐานที่มาตรฐานและตัวชี้วัดจำนวนมากเน้น ไปที่ผู้เรียนว่า จะต้องรู้อะไร สรปุ ได้ว่า หลักสูตรฐานสมรรถนะเน้น “ทักษะ (Skill)” ในขณะที่หลักสูตรอิงมาตรฐานค่อนข้างเน้น “เนื้อหาสาระ (Content)“

หลักสูตรฐานสมรรถนะเป็นหลักสูตรที่ยึดความสามารถที่ผู้เรียนพึงปฏิบัติได้เป็นหลัก เพื่อประกันว่า ผู้ที่จบการศึกษาระดับหนึ่งๆ จะมีทักษะและความสามารถในด้านต่าง ๆ ตามที่ต้องการ

องค์ประกอบสำคัญของหลักสูตรฐานสมรรถนะ

1) ความรู้ (Knowledge)

2) ทักษะ (Skill)

3) คุณลักษณะ / เจตคติ (Attribute / Attitude)

4) การประยุกต์ใช้ (Application)

5) การกระทำ/ การปฏิบัติ (Performance)

6) งานและสถานการณ์ต่างๆ (Tasks / Jobs / Situations)

7) ผลสำเร็จ (Success) ตามเกณฑ์ที่กำหนด (Performance Criteria)

ที่มา: เข้าใจสมรรถนะอย่างง่ายๆ ฉบับประชาชน และเข้าใจหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างง่ายๆ ฉบับครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษา กรุงเทพฯ : สกศ., 2562 หน้า 11

หลักสูตรฐานสมรรถนะ จะกำหนดมาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standards) ขึ้นเป็นสมรรถนะขั้นตํ่าที่จำเป็นสำหรับผู้เรียน เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพ สมรรถนะที่กำหนดให้ผู้เรียน โดยทั่วไปมี 2 ลักษณะ คือ

สมรรถนะหลัก

สมรรถนะหลักที่เรียกว่า Core Competency มีลักษณะเป็นสมรรถนะข้ามวิชาหรือคร่อมวิชา คือ เป็นสมรรถนะที่สามารถพัฒนาให้เกิดขึ้นแก่ผู้เรียนได้ในสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่หลากหลาย หรือสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผู้เรียนให้เรียนรู้สาระต่างๆ ได้ดีขึ้น ลึกซึ้งขึ้น สมรรถนะในลักษณะนี้

กล่าวได้ว่าเป็นสมรรถนะที่มีลักษณะ “content – free” คือ ไม่เกาะติดเนื้อหา หรือไม่ขึ้นกับเนื้อหา

ตัวอย่างสมรรถนะประเภทนี้ เช่น สมรรถนะการคิดขั้นสูง สมรรถนะการทำงานแบบรวมพลังสมรรถนะทักษะชีวิต ซึ่งสมรรถนะเหล่านี้ สามารถใช้เนื้อหาสาระใดๆ ก็ได้ในการพัฒนาเพียงแต่ว่าสมรรถนะบางสมรรถนะ อาจพัฒนาได้ดีกว่าในเนื้อหาบางเนื้อหา

สมรรถนะเฉพาะ

สมรรถนะเฉพาะ (Specific Competency) เป็นสมรรถนะเฉพาะวิชา / สาขาวิชาซึ่งจำเป็นสำหรับวิชานั้นๆ เช่น ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยจะมีสมรรถนะเฉพาะของวิชา เช่น สมรรถนะด้านการพูดในโอกาสต่างๆ สมรรถนะด้านการประพันธ์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ก็มีสมรรถนะด้านการวาดภาพ การปั้นการประดิษฐ์

สาระวิชาต่างๆ จะมีสมรรถนะเฉพาะวิชาของตน ซึ่งมีลักษณะเป็น “ทักษะ” (Skill)หากผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะจนสามารถใช้งานได้ และสามารถประยุกต์ใช้ทักษะนั้น

ระดับของสมรรถนะ

สมรรถนะทั้ง 2 ประเภท ไม่ว่าจะเป็นสมรรถนะหลัก หรือ สมรรถนะเฉพาะ ต่างก็มีระดับตั้งแต่ง่ายไปยาก ซึ่งหลักสูตรจะกำหนดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้แบบไต่ระดับ ไปตามระดับความสามารถของตน

ตัวอย่างเช่น สมรรถนะหลักด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งก็คือ การคิดที่มีการใช้วิจารณญาณพิจารณาข้อมูลอย่างรอบด้านก่อนการตัดสินใจ การคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับผู้เรียนในระดับประถมศึกษาจะเริ่มต้นตั้งแต่ระดับง่าย คือ สามารถคิดจำแนกข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงและเป็นข้อคิดเห็นก่อน ต่อไปจึงเพิ่มระดับให้กว้างขึ้น ครอบคลุมมากขึ้น

หลักสูตรฐานสมรรถนะโดยทั่วไป

หลักสูตรฐานสมรรถนะโดยทั่วไป จะกำหนดจุดประสงค์ การเรียนรู้เชิงสมรรถนะ (Learning Competencies) สำหรับผู้เรียนในช่วงวัยหรือช่วงชั้นต่างๆ ให้แก่ครู เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียน

หลักสูตรฐานสมรรถนะนอกจากจะกำหนดสมรรถนะไว้ให้แล้ว อาจกำหนดสาระการเรียนรู้ขั้นตํ่าสำหรับการพัฒนาสมรรถนะที่กำหนดให้แก่ผู้เรียนหรืออาจให้โรงเรียนและครูกำหนดได้ตามความเหมาะสม

สมรรถนะและสาระการเรียนรู้ที่กำหนดให้นั้นเป็นขั้นต่ำที่จำเป็นสำหรับเด็กไทยทุกคนหลักสูตรจะต้องจัดให้มีพื้นที่สำหรับโรงเรียนและครูในการจัดการเรียนรู้สาระ ทักษะ และคุณลักษณะเฉพาะ เพื่อตอบสนองความต้องการตามความแตกต่างกันของผู้เรียน ภูมิสังคม และบริบท ในสัดส่วนที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละช่วงวัย

การกำหนดสมรรถนะที่เป็นเกณฑ์กลาง/มาตรฐานกลางสำหรับการจัดการศึกษาในแต่ละช่วงวัย จะเอื้ออำนวยให้สถานศึกษาสามารถพัฒนาหลักสูตรในรูปแบบต่าง ๆตามแนวคิดของตนได้ โดยยึดสมรรถนะเป็นเกณฑ์กลาง

สำหรับจุดเด่นของหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีหลายประการดังนี้

1) ช่วยให้ผู้เรียนได้รับ การพัฒนาสมรรถนะหลักที่สำคัญต่อการใช้ชีวิต การทำงาน และการเรียนรู้ ซึ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

2) ช่วยให้การจัดการเรียนรู้ มุ่งเป้าหมายไปที่การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะที่ต้องการ มิใช่มุ่งเป้าไปที่การสอนเนื้อหาความรู้จำนวนมาก ซึ่งอาจไม่จำเป็น หรือเป็นประโยชน์แก่ผู้เรียน

3) ช่วยลดสาระการเรียนรู้ที่ไม่จำเป็น อันส่งผลให้สถานศึกษามีพื้นที่ในการจัดการเรียนรู้อื่นที่เป็นความต้องการที่แตกต่างกันของผู้เรียน วิถีชีวิต วัฒนธรรม ชาติพันธุ์ และบริบทได้มากขึ้น

4) ช่วยลดภาระและเวลาในการสอบตามตัวชี้วัดจำนวนมาก การสอบวัดสมรรถนะหลักของผู้เรียน เป็นการสอบที่ช่วยให้เห็นความสามารถที่เป็นองค์รวมของผู้เรียน

5) กรอบสมรรถนะหลักของหลักสูตรฐาน

สมรรถนะเป็นสมรรถนะขั้นต่ำที่จำเป็นสำหรับผู้เรียนทุกคน จะเป็นสมรรถนะกลางที่เอื้อให้สถานศึกษาที่มีศักยภาพ สามารถออกแบบหลักสูตรที่เหมาะสมกับความต้องการและบริบทของตนได้โดยยึดสมรรถนะกลางเป็นเกณฑ์เทียบเคียงซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เกิดรูปแบบหลักสูตรที่หลากหลาย 

Google Classroom มีขั้นตอนและวิธีการใช้อย่างไร

ลงชื่อเข้าใช้ครั้งแรก.
ไปที่ classroom.google.com แล้วคลิกไปที่ Classroom..
ป้อนอีเมลสำหรับบัญชี Classroom แล้วคลิกถัดไป.
ป้อนรหัสผ่านแล้วคลิกถัดไป.
หากมีข้อความต้อนรับปรากฏขึ้น โปรดตรวจสอบแล้วคลิกยอมรับ.
หากคุณใช้บัญชี Google Workspace for Education ให้คลิกฉันเป็นนักเรียนหรือฉันเป็นครู ... .
คลิกเริ่มต้นใช้งาน.

Google Classroom จะเข้าใช้งานได้ต้องมีสิ่งใด

คลิกเข้าร่วม ไปที่ classroom.google.com แล้วคลิกลงชื่อเข้าใช้ ลงชื่อเข้าใช้ด้วยบัญชี Google เช่น you@yourschool.edu หรือ you@gmail.com ดูข้อมูลเพิ่มเติม ตรวจสอบว่าได้ลงชื่อเข้าใช้ด้วยบัญชีที่ถูกต้อง หากคุณลงชื่อเข้าใช้อยู่แล้วแต่ต้องการเปลี่ยนบัญชี ให้คลิกรูปโปรไฟล์ที่มุมขวาบน เลือกหรือเพิ่มบัญชี

ทำไมต้องใช้ Google Classroom

ประโยชน์ของการใช้งาน Google Classroom 1. ตั้งค่าได้ง่ายดาย ผู้สอนสามารถเพิ่มผู้เรียนได้โดยตรง หรือแชร์รหัสเพื่อให้ผู้เรียนเข้าชั้นเรียนได้ การตั้งค่าใช้เวลาเพียงครู่เดียว 2. ประหยัดเวลา กระบวนการของงานเรียบง่าย ไม่สิ้นเปลืองกระดาษ ทาให้ผู้สอนสร้าง ตรวจ และ ให้คะแนนงานได้อย่างรวดเร็วในที่เดี่ยวกัน

ใช้ Google Classroom เสียเงินไหม

Classroom คือบริการบนเว็บฟรีสาหรับโรงเรียน องค์กรการกุศล และทุกคนที่มีบัญชีGoogle ส่วนบุคคล และ Classroom ยังช่วยให้ผู้เรียนและผู้สอนเชื่อมต่อถึงกันได้ง่าย ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf