หนังสือภาษาพูดและภาษาเขียน

ภาษาพดู และภาษาเขียน

ภาษาพดู

ข้อสั งเกต

ข้อสั งเกต

ภาษาเขียน

ความแตกตา่ งระหว่าง
ภาษาพดู กับภาษาเขียน

1. ภาษาเขียน แมเ่ จา้ ! บา้ นเธอ
ไม่ใชถ้ ้อยคา ใหญ่โตมาก
หลายคาท่ีเราใช้
ในภาษาพดู ฮือหือ ! อาหาร
เตม็ โต๊ะเลย

ความแตกตา่ งระหว่าง
ภาษาพูดกับภาษาเขียน

2. ภาษาเขียนไมม่ ี มากนิ อาหารทไี ร
สานวนเทียบ หรอื คา ชกั ดาบตลอด
สแลงที่ยงั ไมเ่ ป็นที่
น่ั งทาหน้ า
ยอมรบั ในภาษา หมาหงอยเลยนะ

ความแตกต่างระหวา่ ง
ภาษาพดู กับภาษาเขียน

3. ภาษาเขียนมกี าร คุณจะไปหรอื ไม่
เรยี บเรยี งถ้อยคาที่
สละสลวยชดั เจน จะไปไม่ไป
ถ้าจะไปกบ็ อกมา
และไดใ้ จความ

ความแตกต่างระหวา่ ง
ภาษาพูดกับภาษาเขียน

4. ภาษาเขียน เมอื่ เขียนเสรจ็ เรยี บรอ้ ย
ผเู้ ขียนไมม่ โี อกาสแกไ้ ขเปลย่ี นแปลงได้
แตถ่ ้าเป็นภาษาพดู ผ้พู ดู มโี อกาสชแี้ จง

และแกไ้ ขในตอนทา้ ยได้

ความแตกต่างระหวา่ ง
ภาษาพูดกบั ภาษาเขียน

5. ภาษาพดู มกั ออก เธอจะไปกับ
เสียงไมต่ รงกบั ภาษา ฉั นไหม
เขียน ส่วนมากจะเป็น
เธอจะไปกับ
เสี ยงสระ ฉ้ั นมยั้

ความแตกต่างระหว่าง
ภาษาพดู กับภาษาเขียน

6. ภาษาพดู แสดง เธอไม่ไปหรอก
อารมณ์ไดด้ กี วา่ ภาษา ฉันรกั เธอนะ
เขียน คือ มกี ารเน้น
เธอไมไ่ ปหรอ๊ ก
ระดบั เสียงของคา ฉันรกั เธอน๊า

ความแตกต่างระหว่าง
ภาษาพดู กบั ภาษาเขียน

7. ภาษาพดู นิยมใช้ กรุ ณานั่ ง
คาลงท้าย เพ่ือชว่ ยให้ ห้ามส่ งเสี ยงดัง
การพดู นั้นฟังสภุ าพ
นั่ งน่ิ งๆนะจะ๊
และไพเราะย่ิงข้ึน อยา่ เสียงดังค่ะ

ความแตกตา่ งระหว่าง
ภาษาพูดกับภาษาเขียน

8. ภาษาพดู นิยมใช้ โทรศั พทร์ ุน่ น้ี
คาเพื่อเน้ นความหมาย ด๊ดี ี

ของคาให้ชดั เจน เธอแต่งตัว
ย่ิงข้ึน เชน่ ส๊ วยสวย

แซว เสี ยดสี
แห้ว ผิดหวัง
เวอ่ ร์ เกินพอดี
ดิก พจนานกุ รม
ใชห่ รอื เปลา่
ใช๊ปะ

ป๊อด กลัว
งา๊ มงาม งามมาก
ถึงแกก่ รรม
ตาย แมลงวัน
แมงวนั
เขียวมาก
เขียวปัดๆ

อย่าลมื !!
ทบทวนบทเรยี น
กันด้วยนะคะเดก็ ๆ

ภาษาพดู และภาษาเขยี น

การพูดและการเขียนมีความสาคัญต่อการ
สื่ อ สา ร เ พ ร าะ เ รา ใ ช้ แ ส ดง ค วา ม คิด เ ห็น
ความรู้สึก และถ่ายทอดความรู้แก่ผู้อื่น ดังนั้น
เราจาเป็นต้องเลือกสรรถ้อยคาที่เหมาะสมกับ
บคุ คล โอกาส และสถานท่ี

ภ า ษ า พู ด เ ป ็ น ภ า ษ า ที ่ ใ ช ้ พู ด จ า กั น
ไม่พิถีพิถัน ในการใช้หลักภาษามากนัก เป็น
การสร้างความรู้สึกที่เป็นกันเอง มักใช้ในหมู่
เพอื่ นฝงู

ส ่ ว น ใ ห ญ ่ เ ป ็ น ก า ร สื ่ อ ส า ร ท า ง ว า จ า
ในชวี ิตประจาวนั ไม่เป็นลายลักษณอ์ กั ษร

ภาษาเขียน เป็นภาษาที่เคร่งครัด
ในการใช้ถ้อยคา เพื่อใช้สื่อสารได้
ถกู ตอ้ ง เหมาะสม มคี วามเป็นทางการ

ตัวอยา่ ง ภาษาพดู ภาษาเขยี น

ภาษาพดู ภาษาเขยี น
๑. เป็นไง
๒. เอาไงดี อย่างไร
๓. จริง ๆ แล้ว ทาอยา่ งไรดี
๔. กลว้ ย ๆ อันทีจ่ ริง
๕. เยอะแยะ ง่ายมาก
มากมาย

แบบฝกึ หดั ภาษาพดู ภาษาเขยี น

คาช้แี จง ให้นกั เรียนเขยี นคาทีก่ าหนดใหต้ อ่ ไปนเ้ี ปน็ ภาษาเขียน

๑. หมา สุนัข

๒. วัยโจ๋ วยั รุ่น

๓. หนัง ภาพยนตร์

๔. หมอ แพทย์
๕. หมู สุกร

แบบฝกึ หดั ภาษาพดู ภาษาเขยี น

๖. เปน็ หเู ปน็ ตา คอยดแู ลให้
๗. รอ้ นอกรอ้ นใจ กระวนกระวาย
๘. ชอ่ งโหว่ ข้อผดิ พลาด
๙. ซุม่ ซา่ ม ไมร่ ะมดั ระวงั
๑๐. หวย
๑๑. เขา้ เปา้ สลากกนิ แบง่ รฐั บาล

สาเรจ็ ตามจดุ มงุ่ หมาย

ภาษาพูดและภาษาเขียน เป็นคาที่ใช้เรียก
ระดับภาษา มิได้มีความหมายตรงตามตัวอักษรว่า
ภาษาท่ีใช้สาหรบั พดู หรือภาษาทใี่ ชส้ าหรบั เขียน

แบบทดสอบหลงั เรยี น
“ภาษาพดู ภาษาเขยี น”

แบบฝกึ หดั ภาษาพดู ภาษาเขยี น

คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นเขยี นคาทกี่ าหนดใหต้ อ่ ไปนเ้ี ปน็ ภาษาเขยี น

๑. เรอ่ื งนี้เกมไปนานแลว้
๒. ของอยนู่ นู่ ไม่เหน็ หรือ
๓. เธอจับไดเ้ บอร์อะไร
๔. ฉันชอบดกู ีฬาลกู หนัง
๕. มนั เปน็ เร่ืองจ๊ิบจ๊อยสาหรบั ฉัน

แบบฝกึ หดั ภาษาพดู ภาษาเขยี น

๖. พ่อเดินออกกาลงั กายวันละ ๕ กิโล
๗. ชายคนนีเ้ ปน็ คนขี้ตืด
๘. คณุ แมแ่ ตง่ ตวั จา๊ บจรงิ ๆ
๙. โชเฟอร์คนนีข้ ับรถดี
๑๐. อยา่ ลมื จอดรถที่ป๊ัมดว้ ย

คาถามชวนคิด

ภาษาพดู
และภาษาเขยี น
ต่างกนั อยา่ งไร

คาถามชวนคดิ

โอกาสในการ
ใชภ้ าษาพูด
และภาษาเขยี น

ภาษาพูด และ ภาษาเขียน เพจภาษาไทยไมจ่ ก๊ั เดียม

ภาษาเปน็ เครอ่ื งมือในการสอ่ื สาร ถา่ ยทอดความรู้ ความคิดจากบุคคลหนง่ึ ไปยังอกี บุคคลหนึ่งโดยมีระเบยี บของเสยี งและคําเปน็ ตวั กําหนด ภาษาทใี่ ชใ้ นการตดิ ต่อสอ่ื สารมี ๒ ลักษณะ คอื วัจนภาษา และ อวัจนภาษา เพจภาษาไทยไมจ่ ัก๊ เดียม

๑. วจั นภาษา คือ ภาษาทีใ่ ช้คําพดู ในการตดิ ตอ่ ส่อื ความเข้าใจกนั ใช้ตวั หนงั สอื หรือ ตวั อกั ษรแทนคําพดู และมีระเบยี บการใช้เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ ทางภาษา ๒. อวจั นภาษา คอื ภาษาท่ีนอกเหนอื จากคาํ พดู และตวั หนังสอื ไดแ้ ก่ ภาษาท่าทาง เชน่ การพยกั หน้า การยิม้ การโค้งคาํ นับ การใชม้ อื แขน ประกอบทา่ ทาง รวมไปถงึ สญั ลกั ษณต์ า่ ง ๆ ท่ใี ช้สื่อความเข้าใจ เช่น ไฟจราจร สญั ญาณธง ภาษามอื เปน็ ตน้ เพจภาษาไทยไมจ่ ัก๊ เดยี ม

การใชภ้ าษาในการส่ือสาร ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารของบุคคลในสังคม นอกจากจะสื่อความรู้ ความคิด ความรู้สึก และทัศนคติแล้ว ยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคลด้วย ดังนั้น ในการสื่อสารจึงจําเป็นต้องเลือกใช้ทั้งภาษาพูด ภาษาเขียน ให้เหมาะสมกับโอกาส กาลเทศะ และระดับของบคุ คล เพ่อื จะทําให้การสือ่ สารมีประสิทธภิ าพย่งิ ขึน้ เพจภาษาไทยไมจ่ กั๊ เดยี ม

ระดับของภาษา การใช้ภาษาให้เหมาะสมกบั กาลเทศะและบคุ คลนั้น เก่ยี วกบั ระดบั ของภาษา ซึ่งระดบั ของภาษาแบ่งออกได้เป็น ๓ ระดบั คือ ๑. ระดบั ทางการ ๒. ระดบั กึง่ ทางการ ๓. ระดับไมเ่ ป็นทางการ เพจภาษาไทยไมจ่ ก๊ั เดียม

๑. ระดับทางการ ภาษาระดับทางการ คือ ภาษาที่ใช้ในพิธีการหรืองานที่เป็นทางการ ยอมรับกันว่า เป็นภาษาที่ถูกต้องดีงาม เช่น การกล่าวถวายพระพร กล่าวรายงาน การบวงสรวงสดุดี บรรพบุรุษ การกล่าวต้อนรับบุคคลสําคัญ ประกาศแต่งตั้งตําแหน่งหรือยศแก่บุคคล สําคัญ หรือใช้กล่าวในที่ประชุมที่เป็นทางการ เช่น การอภิปราย บรรยายในที่ประชุม จดหมายธุรกิจ การกล่าวสุนทรพจน์ การกล่าวอวยพร ประกาศ หนังสือประเภทวิชาการ หนังสืออ้างองิ รายงานทางราชการ หนังสอื ราชการ แถลงการณ์ เปน็ ตน้ เพจภาษาไทยไม่จก๊ั เดียม

๑. ระดบั ทางการ เช่น เจ้าหน้าท่ีตํารวจประกาศจะใชม้ าตรการเดด็ ขาดในการปราบปรามยาเสพติด การดืม่ สรุ ามีโทษต่อรา่ งกาย การเสพของมนึ เมาจะเปน็ อันตรายตอ่ ร่างกาย เพจภาษาไทยไมจ่ ๊ักเดยี ม

๒. ระดบั กง่ึ ทางการ ภาษาระดับกึ่งทางการ คือ ภาษาที่ใช้สนทนาระหว่างบุคคลทั่วไปที่รู้จักกัน แต่ไม่คุ้นเคยหรือสนิทสนมกันมากนัก อาจมีฐานะ ตําแหน่ง หรืออายุต่างกัน ที่ต้อง รักษามารยาทในการสนทนา เช่น การประชุมกลุ่มย่อย การอภิปราย การบรรยาย ในห้องเรียน การแนะนําบุคคล การปราศรัย ปาฐกถา ประกาศ โฆษณาขององค์กร บริษทั หา้ งรา้ น สมาคม การเขียนขา่ วหรอื บทความต่าง ๆ เพจภาษาไทยไมจ่ ก๊ั เดยี ม

๒. ระดับก่ึงทางการ เช่น ตํารวจจบั ฆาตกรวางระเบิดรถยนต์เพอื่ ฆา่ แฟนสาว หลังเลกิ งานคนงานกลมุ่ นี้จะนง่ั ดมื่ เหล้าเปน็ ประจาํ เพจภาษาไทยไมจ่ ัก๊ เดียม

๓. ระดบั ไมเ่ ป็นทางการ ภาษาระดับไม่เป็นทางการ หรือภาษาปาก คือ ภาษาพูดที่ใช้พูดกันในชีวิตประจําวัน ระหว่างผู้ที่คุ้นเคยหรือใกล้ชิดเป็นการส่วนตัว ไม่ต้องระมัดระวังความสุภาพหรือความเป็น แบบแผนมากนัก ภาษาปากจะใช้ในการพูดมากกว่าเขียน นอกจากนี้ยังใช้ในการเขียน นวนิยาย เรื่องสั้น ละคร นิทาน ภาษาโฆษณา ภาษาหนังสือพิมพ์ บันเทงคดี จดหมายสว่ นตัว บนั ทกึ ส่วนตวั เป็นต้น เพจภาษาไทยไมจ่ ั๊กเดยี ม

๓. ระดับไม่เปน็ ทางการ เชน่ ในยุคท่ีขา้ วของแพง คนส่วนใหญช่ กั หนา้ ไมถ่ ึงหลัง ต้องปากกดั ตนี ถบี หาเงินเลย้ี งครอบครวั จบั กังพวกนีจ้ ะจับกลุ่มน่งั กินเหล้ากนั ทกุ วัน เพจภาษาไทยไมจ่ ัก๊ เดียม

ตัวอยา่ งการใชภ้ าษาระดบั ต่าง ๆ ภาษาทางการ ภาษาก่งึ ทางการ ภาษาไม่เปน็ ทางการ - บิดา / มารดา - คุณพอ่ / คณุ แม่ - พ่อ / แม่ - ดื่มสุรา - ดมื่ เหล้า - กินเหล้า - ศรี ษะ - หัว - หวั / กระบาล - พูดเทจ็ - พดู ปด - โกหก - ถึงแกก่ รรม - ตาย/เสยี ชีวิต/สน้ิ ใจ - ตาย เพจภาษาไทยไม่จ๊กั เดยี ม

ตวั อย่างการใช้ภาษาระดับตา่ ง ๆ ภาษาทางการ ภาษากึง่ ทางการ ภาษาไม่เป็นทางการ - เรือนจาํ - ตะราง - คุก / ซังเต - เชญิ / เรียนเชิญ - เชิญ - เรยี ก / ชวน - รบั ประทาน - กิน / ทาน - กิน / หมา่ํ - สถานตี ํารวจ - โรงพกั - โรงพัก - อจุ จาระ - อจุ จาระ - ขี้ เพจภาษาไทยไม่จั๊กเดียม

ตวั อยา่ งการใช้ภาษาระดบั ต่าง ๆ ภาษาทางการ ภาษาก่งึ ทางการ ภาษาไม่เป็นทางการ - เยย่ี ว - ปสั สาวะ - ปสั สาวะ - หมา - สนุ ัข - สุนขั - ส.ส. - สมาชิกสภา - ผแู้ ทนราษฎร / - หมอ ผแู้ ทนราษฎร สมาชกิ สภาผแู้ ทน - แพทย์/นายแพทย์ - คณุ หมอ เพจภาษาไทยไมจ่ ั๊กเดียม

ความแตกต่างของ ภาษาพดู และ ภาษาเขยี น เพจภาษาไทยไมจ่ ั๊กเดยี ม

ภาษาพดู การพดู เป็นการสอื่ สารโดยใช้ถ้อยคํา นํ้าเสียง รวมท้งั กิรยิ าอาการ ถ่ายทอด ความรู้ ความคดิ ความร้สู ึก จนิ ตนาการ และความต้องการของผู้พูดใหผ้ ฟู้ งั รับรูแ้ ละ ตอบสนอง ดงั นนั้ การพดู จึงมีความสําคญั มาก เพราะคําพูดเป็นส่ือทาํ ให้การสื่อสาร สมั ฤทธผิ ล ภาษาพูด หมายถงึ ภาษาท่ใี ชพ้ ูดในชวี ิตประจาํ วนั ผู้พูดไมเ่ คร่งครัดในระเบยี บ ของภาษา มงุ่ เน้นใหส้ ามารถสื่อสารเขา้ ใจไดต้ รงกันและบรรลุผลตามที่ตอ้ งการเท่าน้นั โดยมลี ักษณะท่คี วรสังเกต ดงั น้ี เพจภาษาไทยไมจ่ ัก๊ เดียม

๑. ภาษาพูด ๑.๑ ลกั ษณะของภาษาพูด ๑. ระดับภาษาทใี่ ช้ส่วนมากเปน็ ภาษาระดบั กง่ึ ทางการ ไมเ่ ปน็ ทางการ หรือ ภาษาปาก มักใช้ภาษาระดับกนั เองสาํ หรับคนสนิท ค้นุ เคย เช่น ใช้สรรพนามว่า ฉัน เรา เธอ เป็นต้น และสามารถใชก้ ับคนทไี่ มค่ ุน้ เคย แตกต่างกนั ดว้ ย คณุ วฒุ ิตา่ ง ๆ เพ่ือแสดงความสุภาพ เชน่ ใช้สรรพนามว่า ผม กระผม ดิฉัน คุณ ทา่ น เพจภาษาไทยไมจ่ ก๊ั เดยี ม

๑. ภาษาพูด ๑.๑ ลักษณะของภาษาพดู ๒. ประโยคทีใ่ ช้สว่ นมากเปน็ ประโยคความเดียวและประโยคความรวม สว่ นประโยค ความซ้อนมีไม่มากนกั ๓. มกั มกี ารตัดคาํ ย่อคาํ รวบคํา เพ่อื ความรวดเรว็ เชน่ ใหญเ่ ปื่อยไม่งอกสอง หมายถงึ ก๋วยเต๋ยี วเสน้ ใหญ่ เนื้อเปอ่ื ย ไม่ใส่ ถ่วั งอก สองชาม ผอ. สบายดีหรือ หมายถึง ทา่ นผูอ้ าํ นวยการสบายดีหรือ เพจภาษาไทยไม่จั๊กเดียม

๑. ภาษาพดู เพจภาษาไทยไมจ่ กั๊ เดยี ม ๑.๑ ลักษณะของภาษาพดู ๔. มคี าํ ลงท้ายเรียกขานหรอื คาํ ขานรับ เพอ่ื แสดงความสภุ าพหรือยกยอ่ ง เช่น แมจ่ ํา คณุ หนขู า คณุ คงเขา้ ใจนะคะ เป็นตน้ ๕. มกี ารใช้ภาษาท้องถ่นิ ปะปน เชน่ ปลาแดก บักหุ่ง ตํามว่ั บักหนาน บกั เสยี่ ว เปน็ ตน้ ๖. มีการพูดโดยใชถ้ อ้ ยคาํ สํานวนโวหาร สภุ าษิต คาํ พงั เพย คําชํา้ คําซอ้ น คําคล้องจองประกอบการพดู หรอื ใช้คําพูดทม่ี ีความหมายโดยนยั ตอ้ งตคี วาม เช่น จบั ปลาสองมอื ย้อมแมวขาย ววั หายล้อมคอก เปน็ ต้น

๑. ภาษาพูด เพจภาษาไทยไมจ่ ก๊ั เดียม ๑.๑ ลักษณะของภาษาพูด ๗. มกี ารใช้ประโยคท่ไี ม่สมบรู ณ์ เชน่ การละประธาน กรยิ า กรรม หรือคาํ บุพบทไว้ใน ฐานที่เขา้ ใจ ซึ่งสามารถสื่อสารกนั ไดเ้ พราะเปน็ การพดู เฉพาะตวั บคุ คล ผ้พู ูดอยู่ในสถานการณ์ น้ันอย่แู ลว้ หากถ่ายทอดเป็นภาษาเขยี นต้องดูข้อความท่แี วดล้อม (บริบท) จึงจะเขา้ ใจ เช่น กรกนก : “(พี่) ซอ้ื อะไรมาบา้ งคะ พีซ่ ้ือ (ของ) ไดค้ รบหรอื ยัง ละสรรพนามและกรรม วนิดา : “(พ)ี่ ก็ไมไ่ ด้ซอ้ื อะไรมากหรอก (พีซ่ อื้ ของ) ได้ครบแล้วล่ะ\" ละสรรพนามและประโยค

๑. ภาษาพดู เพจภาษาไทยไมจ่ กั๊ เดยี ม ๑.๒ ระดับภาษาที่ใช้ในการพูดส่อื สาร การพูดในชวี ติ ประจําวันมลี กั ษณะการใชภ้ าษาแต่ละระดับแตกต่างกัน ดงั นี้ ๑. ภาษาพธิ กี าร มลี ักษณะเปน็ แบบแผน ใช้ถอ้ ยคําประณีตบรรจง มุง่ ใหผ้ ูร้ บั สารฟงั ด้วย ความสาํ รวม มกั พบในการพดู สดดุ ี คาํ กล่าวบวงสรวง คํากล่าวในพธิ ีตา่ ง ๆ ๒. ภาษาทางการ มลี กั ษณะเป็นแบบแผน แต่ใชถ้ ้อยคํากะทัดรดั กว่าระดบั พธิ ีการ ถอ้ ยคาํ มคี วามสละสลวย แตช่ ัดเจน เคร่งครดั ไวยากรณ์ ใชส้ ือ่ สารอย่างเปน็ ทางการไปสู่ สาธารณชน มักพบในการแสดงปาฐกถา

๑. ภาษาพดู เพจภาษาไทยไมจ่ ก๊ั เดยี ม ๑.๒ ระดบั ภาษาท่ีใช้ในการพูดส่ือสาร ๓. ภาษากง่ึ ทางการ มลี ักษณะการใช้ถอ้ ยคําคล้ายคลึงกบั ภาษาทางการ แต่ลดระดบั ความ เป็นทางการ ลดความเครง่ ครัดในไวยากรณ์ ผู้ส่งสารและผ้รู บั สารมีปฏิสมั พันธ์ระหวา่ งกนั มีส่วนร่วมในการส่อื สาร มักพบในการอภิปราย การประชมุ การบรรยายในชัน้ เรียน ๔. ภาษาสนทนา มีการใชถ้ อ้ ยคาํ ท่เี ป็นกนั เองมากขึน้ ระยะหา่ งระหวา่ งผสู้ ่งสารและ ผรู้ บั สารมนี อ้ ยลง เปน็ ภาษาที่ใชเ้ พื่อการสนทนาอย่างมมี ิตรไมตรีท่ดี ีต่อกัน ใชใ้ นการ พูดคยุ สนทนากับบุคคลทวั่ ไปทรี่ ู้จกั กันในวงสนทนา หรอื คุน้ เคยกันในระดบั หนึ่ง

๑. ภาษาพูด เพจภาษาไทยไม่จก๊ั เดียม ๑.๒ ระดบั ภาษาทใ่ี ชใ้ นการพดู สอื่ สาร ๕. ภาษากันเอง มกี ารใช้ถอ้ ยคําทีเ่ ปน็ กนั เองมากขึน้ ไม่ใหค้ วามสําคญั กับความถกู ตอ้ ง ทางไวยากรณ์ ผู้ส่งสารและผู้รบั สารมคี วามสนทิ สนมกัน ใชถ้ อ้ ยคาํ ท่ีเขา้ ใจกัน เปน็ การส่วนตัว เป็นคําเฉพาะกลุ่ม

๒. ภาษาเขยี น เพจภาษาไทยไม่จ๊กั เดยี ม ภาษาเขยี น หมายถึง การถา่ ยทอดความรู้ ความรูส้ กึ นึกคิด ความคิด ความเข้าใจของมนุษย์โดยใชอ้ ักษรหรือใชส้ ญั ลกั ษณอ์ ืน่ ๆ แทนคาํ พูด เชน่ แผนภาพ แผนภมู ิ แผนท่ี เพอ่ื ใหผ้ ู้อืน่ ได้รับร้เู ขา้ ใจ และตอบสนองตามที่ผเู้ ขียนต้องการ การเขยี นเป็นการสอ่ื สารทเี่ ป็นลายลกั ษณอ์ ักษร และเป็นหลกั ฐานท่ีใช้อ้างองิ ได้ ผูเ้ ขียนสามารถตรวจทาน ทบทวน แก้ไขใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมได้ ซ่ึงแตกต่างจากภาษาพดู เพราะการพูดเปน็ การส่อื สารเฉพาะหนา้ ทมี่ โี อกาสแก้ไขคําพูดของตนนอ้ ยมาก ภาษาพดู จึง อาจผดิ พลาดไม่เหมาะสมได้เท่ากับภาษาเขยี น

๒. ภาษาเขียน เพจภาษาไทยไม่จ๊ักเดียม ๒.๑ ความสาํ คญั ของภาษาเขยี น ในสมัยโบราณการเขียนมคี วามสําคัญในฐานะทเี่ ปน็ หลักฐานในการบันทึกความรู้ ความคิด ความเชือ่ สภาพสังคมในสมัยนน้ั ถ่ายทอดให้คนรุ่นหลงั ได้เรียนรู้และเข้าใจวิถีชวี ิต ของบรรพชน เปน็ การเขยี นเพื่อระบายอารมณ์ ความรูส้ กึ หรือเพ่ือแสดงภมู ิปัญญาของ ผู้เขียน แต่ปจั จบุ ันการเขียน มีความสาํ คัญมากขึน้ นอกจากเป็นการสือ่ สารความรคู้ วาม เขา้ ใจจากคนหน่งึ ไปยังอกี คนหนง่ึ แลว้ การเขียนยังทําให้เกิดอาชีพ เชน่ อาชีพนกั เขยี น สารคดี นกั ประพันธ์ นกั หนงั สอื พมิ พ์ นักโฆษณา เปน็ ต้น

๒. ภาษาเขียน เพจภาษาไทยไม่จกั๊ เดียม ๒.๑ ความสาํ คัญของภาษาเขยี น การเขยี นบนั ทึกเหตุการณ์ทเี่ กดิ ขึน้ ทาํ ใหท้ ราบสภาพวถิ ชี วี ติ ความคดิ ความเชอื่ ความต้องการของคนในสงั คม การเขยี นกฎหมาย เป็นกฎระเบียบแนวทางที่ผูค้ นจะตอ้ ง ปฏิบัตเิ พ่ือให้สงั คมสงบสขุ การเขยี นข่าว เป็นการแจง้ ขา่ วคราว เหตกุ ารณบ์ า้ นเมอื งใหค้ น ในสังคมทราบ ดังนนั้ ภาษาเขียนจงึ เป็นเครอ่ื งมือแสดงความคิด ความรู้ อารมณ์ ความรู้สกึ และแสดงภมู ปิ ญั ญาของมนุษย์

๒. ภาษาเขียน เพจภาษาไทยไม่จ๊กั เดยี ม ๒.๒ ลักษณะของภาษาเขยี น การเขยี นเป็นการบันทกึ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจตา่ ง ๆ เปน็ ลายลักษณ์อกั ษร ซ่งึ แตกตา่ งจากภาษาพดู ผเู้ ขียนสามารถขดั เกลาภาษาให้สละสลวย ทาํ ให้ภาษาเขียน มลี ักษณะสุภาพ ถูกตอ้ งตามระดบั ภาษา ตรงความหมาย และสะกดถกู ต้อง ภาษาเขียน โดยทั่วไปมี ๒ ลักษณะ คอื

๒. ภาษาเขยี น เพจภาษาไทยไมจ่ ๊กั เดียม ๒.๒ ลกั ษณะของภาษาเขยี น ๑. เขยี นตามภาษาพดู ที่พดู ในชวี ติ ประจําวนั เหมาะสมกับลักษณะวิถีชวี ติ ความเป็นอยู่ ของบคุ คล เช่น การเขยี นบันทกึ ส่วนตัว บันทกึ ความร้จู ากการอ่าน การเขียนเรื่องส้ัน นวนิยาย นิทานอตั ชวี ประวัติ เปน็ ตน้ ๒. เขียนโดยใช้ภาษาทก่ี ล่ันกรองถ้อยคําอย่างละเมยี ดละไม มคี วามประณตี ในการใชภ้ าษา ใช้ภาษาที่ถกู ตอ้ งตามพจนานกุ รม ตามรูปแบบ ตามระเบียบ และตามขนบธรรมเนยี มของ ภาษา เชน่ การเขยี นเรียงความ ย่อความ บทความ สารคดี รายงาน โครงงาน และร้อยกรอง เปน็ ตน้

๒. ภาษาเขยี น เพจภาษาไทยไม่จั๊กเดยี ม ๒.๓ การใช้ภาษาเขียน การสื่อสารด้วยภาษาเขียนนั้น ผู้ส่งสารต้องมีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักภาษาและ สามารถใช้ภาษาเขียนถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้ ความคิด จินตนาการ และประสบการณ์ เป็นตัวอักษรสื่อสารให้ผู้รับสารเข้าใจได้ อย่างไรก็ตาม การใช้ภาษาเขียนขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมาย ของผ้สู ง่ สารและรปู แบบการเขยี น ซึ่งสามารถแบ่งได้ ๒ ลกั ษณะ ดังน้ี

๒. ภาษาเขยี น เพจภาษาไทยไมจ่ ั๊กเดยี ม ๒.๓ การใชภ้ าษาเขียน ๑. การเขียนอยา่ งไม่เป็นทางการ เปน็ การเขยี นถ่ายทอดเหตุการณ์ อารมณ์ ความรูส้ ึกของผเู้ ขยี น เชน่ การเขยี นบันทึกประจาํ วัน การเขียนจดหมาย การเขยี นเล่าเรอ่ื ง การแต่งเพลง การเขียนเรือ่ งสั้น นวนิยาย เป็นตน้ ให้ผอู้ ่ืนไดร้ ับรู้ หรือเก็บไว้อา่ นเอง ภาษาเขียนอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ เป็นการถ่ายทอดอารมณ์ของผสู้ ือ่ สารเหมือนเสียงพดู ของมนุษยท์ ี่ใช้สอื่ สารในชวี ติ ประจาํ วัน

๒. ภาษาเขียน เพจภาษาไทยไม่จัก๊ เดียม ๒.๓ การใชภ้ าษาเขยี น ๒. การเขียนอยา่ งเป็นทางการ เปน็ การเขียนอย่างมีแบบแผน มีหลักในการเขียน เชน่ การเขยี นเรียงความ ยอ่ ความ การแตง่ คําประพันธ์ การเขยี นรายงานการศึกษาคน้ ควา้ การเขียนรายงาน โครงงาน รายงานการวิจยั การเขยี นบนั ทกึ ข้อความ จดหมายราชการ เป็นต้น การใช้ภาษาเขียนต้องมีการขดั เกลาภาษาให้ละเมยี ดละไม ไพเราะสละสลวย เหมาะสม กบั ระดบั ภาษา สถานภาพบุคคล โอกาส และสถานการณ์ ถกู ตอ้ งตามข้อบังคบั องคป์ ระกอบ และรปู แบบท่กี ําหนด

๓. เปรียบเทยี บภาษาพดู และภาษาเขียน เพจภาษาไทยไมจ่ ก๊ั เดยี ม ภาษาพูด ภาษาเขยี น ๑. ม่งุ สื่อสารอยา่ งรวดเรว็ ทําใหใ้ ชค้ าํ ๑. ม่งุ สอื่ สารให้เขา้ ใจ ร้จู ักคดิ และตคี วาม ในประโยคไม่สมบูรณ์ กํากวม อาจทําให้ ผ้เู ขียนมีเวลาในการกล่ันกรองถอ้ ยคําและ ผรู้ บั สารเข้าใจผดิ เช่น ขอหอมหนอ่ ย ผู้อา่ นมเี วลาในการพจิ ารณาสาร อาจหมายถงึ ขอต้นหอม หรือ ขอหอม (แกม้ ) ก็ได้

๓. เปรียบเทยี บภาษาพูดและภาษาเขียน เพจภาษาไทยไมจ่ ๊ักเดยี ม ภาษาพดู ภาษาเขียน ๒. ใช้ภาษาไมป่ ระณีต มักใช้ ๒. มกี ารใช้ภาษาประณีตกวา่ ภาษาพูด ภาษาระดบั กันเอง และภาษาปากหรอื เพราะผู้เขยี นมเี วลาในการขดั เกลาภาษา ก่ึงทางการ ใหส้ ละสลวยตรงกับระดับภาษา ๓. มักพูดคาํ ไทยปนกบั ภาษาตา่ งประเทศ ๓. มีการใช้ภาษาตา่ งประเทศในงานเขียน และเลียนเสยี งภาษาตา่ งประเทศ ทําให้ ทเี่ ปน็ วชิ าการ หากเขียนเลา่ เรื่องจะอธิบาย เสียงในภาษาเปลี่ยนไป ความหมายของคาํ ภาษาต่างประเทศด้วย

๓. เปรยี บเทยี บภาษาพดู และภาษาเขยี น เพจภาษาไทยไม่จก๊ั เดยี ม ภาษาพดู ภาษาเขียน ๔. การพดู ไมส่ ามารถใชเ้ ปน็ หลกั ฐาน ๔. การเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร อ้างอิงนอกจากบนั ทกึ เสยี งหรอื สามารถใชเ้ ปน็ หลักฐานอ้างอิงได้ บนั ทึกภาพไวเ้ ทา่ นั้น ๕. การเขียนผเู้ ขียนมีเวลาคดิ หาคําตอบ ๕. การพูดเป็นการส่อื สารเฉพาะหน้า หาข้อมูลหลกั ฐานอ้างอิงทําให้การเขยี น ผ้พู ูดมีเวลาคิดตอบคําถามนอ้ ย อาจพดู มีความน่าเช่อื ถอื ผดิ พลาดได้ และไม่สามารถเรียกคําพูด กลับมาแก้ไขได้

๓. เปรียบเทียบภาษาพดู และภาษาเขยี น เพจภาษาไทยไม่จ๊กั เดียม ภาษาพดู ภาษาเขียน ๖. การพูดเป็นการสือ่ สารประจนั หน้า ๖. การเขียนตอบโตโ้ ดยไมไ่ ด้ประจันหน้า อาจมคี ําพดู ทีม่ ีท้ังถกู ใจและไม่ถูกใจผ้ฟู งั กนั แม้ความคิดเห็นจะไมต่ รงกัน แตก่ ็ จนเกดิ การตอบโต้กันทัง้ ทางวาจาและ สามารถลดระดับความขดั แย้งได้ ทางกาย ๗. การใชภ้ าษาในงานเขยี น ผ้เู ขียนมี ๗. การพดู ปัจจุบนั มกั ออกเสียงผิดเพ้ยี น อิทธิพลตอ่ การใชภ้ าษา มักสร้างคําใหม่ ทาํ ให้ภาษาเปลย่ี นแปลงไดม้ าก หากพดู ผดิ สํานวนใหม่ มีการตงั้ สมญานาม ซ่ึงเปน็ กท็ ําใหเ้ ขียนผดิ ดว้ ย แบบอยา่ งของการใชภ้ าษาทงั้ ดีและไม่ดี

๔. ขอ้ สงั เกตในการใช้ภาษาพดู และภาษาเขยี น ๑. ภาษาพูดไม่ไดต้ กแต่งเรียบเรียงขึ้นเปน็ พเิ ศษซงึ่ ต่างจากภาษาเขยี น เชน่ ภาษาพูด : หลอ่ นหนั ขวบั มาทางเขาทันทีและส่งเสยี งดังใส่เขา ภาษาเขยี น : หลอ่ นหันมาทางเขาทันทีและส่งเสยี งดังใส่เขา ๒. สํานวนท่ใี ชใ้ นภาษาพูดบางสํานวนอาจตดั ทิ้งได้เมื่อเรียบเรยี งเปน็ ภาษาเขียน เช่น ภาษาพูด : ห้ามหยบิ อะไรตอ่ มิอะไรออกไปจากห้องนี้ ภาษาเขยี น : หา้ มหยิบอะไรออกไปจากหอ้ งน้ี เพจภาษาไทยไม่จั๊กเดยี ม

๔. ข้อสงั เกตในการใช้ภาษาพูดและภาษาเขียน ๓. คําหรือสํานวนในภาษาพูดมักลงทา้ ยด้วยคําวา่ นะ นะ่ สิ ละ ซง่ึ จะไมป่ รากฏในภาษาเขียน เช่น เดนิ เขา้ มาหน่อยสิ ไปเป็นเพ่อื นหน่อยนะ พรุ่งน้อี ย่าลมื ละ่ เพจภาษาไทยไม่จกั๊ เดียม

เพจภาษาไทยไม่จ๊กั เดียม ๔. ข้อสังเกตในการใชภ้ าษาพูดและภาษาเขยี น ๔. คาํ ในภาษาพดู จะออกเสยี งไม่ตรงกบั รปู ท่ีเขยี น เชน่ คําทม่ี คี วามหมายเป็นคําถาม เช่น อยา่ งไร ออกเสียงเป็น ยังไง ไง เทา่ ไร ออกเสียงเป็น เท่าไหร่ ไหม ออกเสยี งเปน็ มัย้ มะ คําสรรพนามบางคาํ ออกเสียงไม่ตรงกบั รูป เช่น ผม ออกเสียงเป็น พม้ ฉนั ออกเสยี งเปน็ ชน้ั เขา ออกเสยี งเปน็ เคา้ คําบางคาํ ทอ่ี อกเสยี งไม่ตรงกบั รปู เชน่ อย่างนัน้ ออกเสยี งเป็น ยังง้นั สกั ออกเสยี งเปน็ ซัก หนึง่ ออกเสียงเป็น นึง คาํ เหล่าน้ีในการเขยี นต้องเขียนให้ถูกต้องตามหลักกรเขยี นซึ่งกาํ หนดไวใ้ นพจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน

๔. ข้อสังเกตในการใชภ้ าษาพูดและภาษาเขยี น ๕. คาํ ในภาษาพูดมกั ใชส้ รรพนามตามหลงั คาํ นามและใช้ร่วมกนั และทาํ หน้าท่อี ย่างเดียวกัน ในประโยค เช่น คณุ ครเู ขาชอบรับประทานขนมไทย (เขา คือ คุณครู ใชร้ ่วมกับ คณุ ครูทําหน้าท่ีเป็นประธานของประโยค) น้องกาํ ลังเดินทางไปรบั คุณยายท่าน (ท่าน คอื คุณยาย ใช้ร่วมกบั ยายทําหน้าทเี่ ปน็ กรรมของประโยค) ซือ้ ปลาทมู าฝากเจา้ เหมียวมัน (มนั คอื เจ้าเหมยี ว ใช้รว่ มกบั เจ้าเหมียวทําหนา้ ที่เปน็ กรรมของประโยค) เพจภาษาไทยไมจ่ กั๊ เดียม

ตวั อยา่ งการใชภ้ าษาพดู และภาษาเขยี น ภาษาพดู อาจารย์คะ หนูรสู้ กึ ไม่สบายและปวดหัวตวั ร้อนเปน็ ไข้ สงสยั จะเปน็ ไขห้ วัดใหญห่ นูขออนุญาตหยดุ เรยี น ๒ วัน นะคะ ภาษาเขยี น กราบเรียนอาจารย์ท่เี คารพ ดฉิ นั รสู้ ึกไม่สบาย มอี าการปวดศีรษะ ตวั ร้อน มไี ข้ แพทย์แจ้งวา่ เปน็ ไข้หวดั ใหญ่ จงึ ขออนญุ าตลาปว่ ย เพจภาษาไทยไม่จ๊กั เดียม เป็นเวลา ๒ วัน

ตัวอยา่ งการใช้ภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาพดู เพื่อนผมหยบิ หนงั สอื มากองให้ดู แลว้ พดู ว่า \"เอ็งลองดูซิ ถ้าเขยี นแบบนีไ้ ด้ เอามาใหก้ ู แลว้ เอาไปเล่มละสีพ่ นั \" แคด่ ูชื่อกร็ วู้ ่าเนา่ สนิททั้งนนั้ เช่น รกั สุดหัวใจ คณุ นายตณั หา วาสนาคนยาก มนั คาบลูกคาบดอกไปทางโป๊ ทัง้ นั้น ผมทาํ ไม่ได้ ภาษาเขียน เพ่ือนของผมหยิบหนังสือมากองให้ดู แลว้ บอกวา่ ถา้ ผมเขียนตามแนวทต่ี ลาด ตอ้ งการ คือเป็นเร่อื งเกย่ี วกับตัณหา กามารมณ์ ค่อนไปทางลามก จะให้ราคา เล่มละสี่พัน แต่ผมไมส่ ามารถทาํ เชน่ นนั้ ได้ เพจภาษาไทยไม่จก๊ั เดียม

สวสั ดี เพจภาษาไทยไมจ่ ก๊ั เดียม

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf