ผู้ถือหุ้น กับ กรรมการบริษัท

 �������鹿�ͧ������ú���ѷ

        ������ͧ�ҡ��Ѻ������Ƿ������������������ ������õ�ͧ�Ѻ�Դ㹡�á�зӢͧ����§������������Ѻ��ͺѧ�Ѻ �����š���������оҳԪ�� ��С�������蹷������Ǣ�ͧ �� ���������ҷ�Ѿ���Թ�ͧ����ѷ�����ǹ��� ���ͧ�Ѻ�Դ��׹��е�ͧ��͡���� ����繡���ѡ�͡��Ѿ����Ҩ��ͧ�Ѻ�Դ�ҧ����Դ��зҧ�ҭҴ��� ��Ѻ���֧�͹��ʹ�����ͧ�����Ѻ�Դ�ҧ����зҧ�ҭҢͧ������÷���Ҩ�е�ͧ�١�������鹿�ͧ

        �. �����Ѻ�Դ�ҧ�觢ͧ�������

        �������Ѻ�繡�����âͧ����ѷ�����������ա�õ�ŧ�»����¡Ѻ����������Ҩк����çҹ�ͧ����ѷ仵����ͺѧ�Ѻ����ѵ�ػ��ʧ��ͧ����ѷ �͡�ҡ��� ������õ�ͧ��Ժѵ�˹�ҷ��ͧ�������衮���¡�˹������� ��ҡ�������������軯Ժѵ�˹�ҷ�����ͻ�Ժѵ�˹�ҷ�����Ԫͺ �Դ�������������������� �������鹡��ͧ�����������Ѻ�Դ���繵���� ����������׹�Թ���������㹡óշ���������ö������¹������ � ��͹ ����ҵ�� ���� ���͡�����û���ҷ��Թ����������ش������¹�������� ��������������º���¶١��ͧ����ҵ�� ���� (�) ���˵��������������Ѻ���������������ǡѺ����͹������ͨӹǹ�Թ������ ���͡�����á���������������鹤�㴤�˹�����Ѻ����������� ����ͼ������������������ǹ��ǡ��������Է�Կ�ͧ��������ê�������������赹�µç�� 

��÷����������Ҩ��ͧ������÷���������ѷ����������� �ҵ�� ���� �����ѧ��ͧ������������Է�Ԣͧ���ա ������͹�������鹨����Ѻ����������ͧ�����ҡ ���������繨�ԧ�繡���ҡ���п�ͧ����������Ѻ�Դ�� ���м��������������㹰ҹз���Һ����稨�ԧ��§�ͷ��п�ͧ����������Ѻ�Դ�� ��á�зӺҧ���ҧ�ͧ��������Ҩ������ �繡����ب�ԹԨ�ҧ��ä�� ��ҷ����ب�Ե����ͺ�ͺ���ǡ�������ҵ�ͧ�Ѻ�Դ��� �͡�ҡ��鹡�������Ҩ����ͧ�Ѻ�Դ�������Ѻ͹��ѵԨҡ����Ъ���˭� ����ҵ�� ���� ��駡�ÿ�ͧ����դ������������������ ������ռ������鹤����ҡ��ͧ�ѡ �ҡ�������鹨��ѹ����ҵ�ҡ����� �� �ʹ�͹������� �������¹ѡ ���С�����áѺ������������˭��ѡ���繽������ǡѹ ��駼���������ǹ�˭���������һ�Ъ�� ����ѡ���ͺ�ѹ������������͡���§᷹���� ��������Ը����� ��Ͷ͹����͡�ҡ����ѷ�¢��������� �����繡óպ���ѷ�͡�� ���ͺ���ѷ������������㹵�Ҵ��ѡ��Ѿ�� ��â����鹡礧���������¹ѡ�蹡ѹ

        �. �����Ѻ�Դ�ҧ�ҭҢͧ�������

        ����Ҫ�ѭ�ѵԡ�˹������Դ����ǡѺ��ҧ�����ǹ������¹ ��ҧ�����ǹ�ӡѴ ����ѷ�ӡѴ ��Ҥ������ŹԸ� �.�. ���� ��������������âͧ����ѷ��ʹ������Ѻ�Դ�ͺ㹡�ô��Թ�ҹ�ͧ��ҧ�����ǹ������¹ ��ҧ�����ǹ�ӡѴ ����ѷ�ӡѴ �ӡ���������ҧ���ͻ�ͧ�ѹ�Ż���ª��ͧ��ҧ ����ѷ ����������ǹ �������� ���˹����кؤ����¹͡ ���Щй�� ������âͧ����ѷ��觻�Ժѵ�˹�ҷ�����Ԫͺ �͡�ҡ�е�ͧ�Ѻ�Դ㹷ҧ�觴ѧ����Ǣ�ҧ������ �Ҩ��ͧ�Ѻ�Դ�ҧ�ҭҵ������Ҫ�ѭ�ѵԴѧ������ա���� �� ����ҵ�� �� ������ë���ʴ���ͤ��������ͻ��Դ������ԧ��ͷ���Ъ���˭������ͧ�ҹС���Թ�ͧ����ѷ�Ҩ�١��Ѻ����Թ������蹺ҷ ����ҵ�� �� ��ҡ��������ǧ�һ���ª�����Ԥ�����ªͺ���¡������繷��������������ѷ �Ҩ�١��Ѻ����Թ������蹺ҷ ����ҵ�� �� ��ҡ�����÷����������� ����� ����¹�ŧ �Ѵ�͹���ͻ����ѭ�� �͡��� ������ѡ��Сѹ�ͧ����ѷ ŧ��ͤ����� �������ŧ��ͤ����Ӥѭ㹺ѭ�������͡��âͧ����ѷ �����ǧ������ѷ���ͼ������鹢Ҵ����ª���ѹ����� �դ����Դ�ɨӤء����Թ�紻� ���ͻ�Ѻ����Թ˹���ʹ������蹺ҷ���ͷ�駨ӷ�駻�Ѻ ����ҵ�� �� ��ҡ�������������� ������������ ����� �������������� ���ͷ����������ª���駷�Ѿ���Թ������ѷ�ӹ���� ������з���������Դ����������������Ѻ�ӹ� ���ɨӤء����Թ����� ���ͻ�Ѻ����Թˡ���蹺ҷ ���ͷ�駨ӷ�駻�Ѻ ����ҵ�� �� ����������������˹��ͧ����ѷ�кѧ�Ѻ����˹�����͹�Ҩ����Է�����¡��ͧ�ҧ���������ѷ����˹�� ���� ��͹ �����͹��Ѿ���Թ�ͧ����ѷ ������������ѷ��˹��������繤�����ԧ ������������˹�������˹����������ͺҧ��ǹ �Ҩ�١�Ӥء����Թ����� ���ͻ�Ѻ����Թˡ���蹺ҷ ���ͷ�駨ӷ�駻�Ѻ

        㹡�ú����çҹ�ͧ����ѷ �ҡ������á�зӼԴ������ ������á�������ͧ�Ѻ������ǹ��Ǵ��� 㹺ҧ�óա��������蹼���������ŧ��͡�зӼԴ���¡��Ҩ��ͧ����ѹ��ɰҹ����繼���зӼԴ���¡��� ����Ǥ�� �óշ�������ö����Һ���ѷ��зӼԴ �Ҩ�բ���ѹ��ɰҹ��ҡ�����÷ء����ͧ�����Ѻ�Դ �����о��٨������ҡ�á�зӹ�鹵����������������Թ������� �����·���բ���ѹ��ɰҹ�ѧ��������������©�Ѻ �� �.�.�. �Ǻ���������ҧ�Ҥ�� �.�. ���� �.�.�. ��Сѹ�ѧ�� �.�. ���� ��� �.�.�. ��á������Թ����繡�é��⡧��ЪҪ� �.�. ���� �繵�

        �й�� ��ҹ����繡�����ú���ѷ�������顮���¡����ô���ѧ��Ǵ������ǡѹ �ѹ�դ׹�ռ��������Ҩ�ء����ҿ�ͧ��ͧ��ҹ�� ����Ǩ�����������͹

CR://www.tanai-korat.com/

​​​​​​บุคคลที่เกี่ยวข้อง


กรรมการ 

กลุ่มบุคคลที่ถูกแต่งตั้งโดยผู้ถือหุ้น ทำหน้าที่กำหนดนโยบายและทิศทางการดำเนินงานบริษัทและกำกับควบคุมดูแลให้เป็นตามนโยบายที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้แก่กิจการและก่อให้เกิดประโยชน์ที่ดีที่สุดแก่ผู้ถือหุ้น 


การเข้าเป็นกรรมการในบริษัทได้นั้น จะต้องมีคุณสมบัติตามที่กำหนดใน พ.ร.บ. มหาชน จำกัด พ.ศ. 2535 ซึ่งถือเป็นคุณสมบัติทั่วไป และการปฏิบัติหน้าที่จะต้องทำด้วยความระมัดระวังและซื่อสัตย์สุจริต โดยกรรมการทุกคนจะมีหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างเท่าเทียมกัน ซึ่งถูกกำหนดใน พ.ร.บ. มหาชน จำกัด พ.ศ. 2535  และ พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535

กรรมการอิสระ

กรรมการที่มิได้มีส่วนร่วมในการบริหารและไม่มีส่วนได้เสียในทางการเงิน กล่าวคือ มีความเป็นอิสระจากผู้ถือหุ้นใหญ่หรือกลุ่มของผู้ถือหุ้นใหญ่และผู้บริหารของบริษัท ปัจจุบัน ก.ล.ต. กำหนดให้บริษัทจดทะเบียนต้องมีกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 และต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการกำกับตลาดทุนกำหนด 

กรรมการอิสระถือเป็นอีกหนึ่งกลไกสำคัญในการกำกับดูแลกิจการ เพื่อช่วยดูแลประโยชน์ของบริษัทและผู้ถือหุ้น โดยทำหน้าที่สนับสนุนนโยบายที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้น หรือคัดค้านเมื่อเห็นว่าบริษัทอาจตัดสินใจไม่เป็นธรรม ท่านสามารถศึกษาแนวทางการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการอิสระเพิ่มเติมได้ที่คู่มือกรรมการอิสระ

คณะกรรมการตรวจสอบ


คณะกรรมการชุดย่อยที่มีคุณสมบัติความเป็นกรรมการอิสระตามกฎเกณฑ์ของ ก.ล.ต. และไม่เป็นกรรมการที่มีส่วนในการตัดสินใจในการดำเนินกิจการ หรือมีอำนาจควบคุมบริษัท อีกทั้งมีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถทำหน้าที่กรรมการตรวจสอบ โดยอย่างน้อยหนึ่งคนต้องสามารถสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงิน       


คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่ดูแลเรื่องรายงานทางการเงิน ระบบควบคุมภายใน การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ ของบริษัท ดูแลรายการต่าง ๆ ที่อาจมีความขัดแย้งของผลประโยชน์ รวมทั้งการตรวจสอบการกระทำที่อาจมิชอบ หรือรายการที่มีความเกี่ยวโยงกันของกรรมการและผู้บริหารระดับสูง ตลอดจนมีอำนาจหน้าที่ในการตรวจสอบว่าคณะกรรมการบริหารได้ปฏิบัติหน้าที่ตามกรอบที่ได้รับมอบอำนาจหรือไม่ 

คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน

คณะกรรมการชุดย่อยที่ทำหน้าที่พิจารณารูปแบบและหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนของผู้บริหารระดับสูง เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท และค่าตอบแทนของกรรมการเพื่อนำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นให้อนุมัติ โดยการพิจารณาค่าตอบแทนควรคำนึงถึงอำนาจ หน้าที่ ปริมาณความรับผิดชอบ และความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามเป้าหมาย      

คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการชุดย่อยที่ทำหน้าที่พิจารณาหลักเกณฑ์และกระบวนการในการสรรหา กลั่นกรองบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม เพื่อให้มั่นใจว่าบุคคลที่จะเข้ามาเป็นกรรมการและผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์เหมาะสม และเป็นอิสระ ก่อนการเสนอชื่อให้คณะกรรมการหรือผู้ถือหุ้นเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาสามารถดูรายชื่อกรรมการที่มีคุณสมบัติได้จากทำเนียบกรรมการ (Director pool) ซึ่งจัดทำโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

“ผู้ถือหุ้น” กลุ่มบุคคลที่มีความสำคัญ เปรียบเสมือนเป็นเจ้าของบริษัทหรือเจ้าของเงินลงทุนในกิจการ และถือเป็นผู้ที่มีบทบาทควบคุมบริษัทในทางอ้อมโดยเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการเข้าไปเป็นตัวแทนของตนในการกำกับดูแลการดำเนินงานของกิจการเพื่อประโยชน์สูงสุด

ปัจจุบัน พ.ร.บ. มหาชน จำกัด พ.ศ. 2535 กำหนดสิทธิขั้นพื้นฐานต่างๆ ให้แก่ผู้ถือหุ้น เช่น สิทธิการซื้อขายหุ้นอย่างอิสระ สิทธิที่จะได้รับข้อมูลของบริษัทอย่างครบถ้วนถูกต้อง สิทธิในการได้รับเงินปันผล สิทธิในการออกเสียง สิทธิในการมอบฉันทะ สิทธิการประชุมผู้ถือหุ้น สิทธิในการตัดสินใจเรื่องสำคัญ  ที่อาจมีผลกระทบกับบริษัท เช่น การเพิ่มทุน การซื้อขายโอนกิจการทั้งหมดหรือบางส่วน เป็นต้น  นอกจากนี้ พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ได้เพิ่มข้อกำหนดในเรื่องบทบาทของผู้ถือหุ้นและมาตรการเพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้ถือหุ้น เช่น สิทธิในการเสนอวาระก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น เป็นต้น 

เพื่อให้ผู้ถือหุ้นปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ถือหุ้น/ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลของบริษัทจดทะเบียนที่สนใจ คู่มือและแนวปฏิบัติที่ดีสำหรับผู้ถือหุ้น รวมทั้ง ผลการประเมินต่างๆ เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพของบริษัทจดทะเบียนที่ลงทุนหรือจะลงทุน 

"ผู้ลงทุนสถาบัน" เป็นกลุ่มนักลงทุนที่สำคัญในตลาดทุน เนื่องจากมีสัดส่วนเงินลงทุนเป็นจำนวนมากซึ่งสามารถช่วยส่งเสริม และผลักดันการยกระดับการกำกับดูแลกิจการในตลาดทุนได้ด้วย​การเลือกลงทุนในบริษัทที่มีการกำกับดูแลกิจการ มีความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม มีนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน  

ผู้ลงทุนสถาบัน ได้แก่ สมาคมบริษัทจัดการลงทุน สมาคมบริษัทหลักทรัพย์ไทย สมาคมประกันชีวิตไทย กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ และสำนักงานประกันสังคม ได้ร่วมกันลงนามประกาศเจตนารมณ์ กำหนดแนวทางการลงทุนที่ดี และกำหนดแนวปฏิบัติในการดำเนินงาน เพื่อให้ทุกกลุ่มถือปฏิบัติไปในแนวทางเดียวกัน ​


บริษัทจดทะเบียนจึงควรศึกษากฎหมาย กฎเกณฑ์ แนวปฏิบัติต่างๆ ตลอดจนการประกาศจุดยืนของกลุ่มผู้ลงทุนสถาบัน เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาบริษัทต่อไป

กลุ่มบุคคลที่มีหน้าที่ในการดูแลสอดส่องการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียน ซึ่ง Gatekeeper ในที่นี้ ได้แก่ เลขานุการบริษัท ที่ปรึกษาทางการเงิน ผู้สอบบัญชี เป็นต้น 

(1) เลขานุการบริษัท (Company Secretary) 

บุคคลที่ถูกแต่งตั้งโดยคณะกรรมการ เพื่อทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาให้แก่คณะกรรมการเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎและระเบียบของ ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายหรือหลักเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ตามที่กำหนดใน พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535  

นอกจากหน้าที่ต่อคณะกรรมการ เลขานุการบริษัทยังมีหน้าที่ต่อผู้ถือหุ้นโดยการเป็นผู้ติดต่อสื่อสาร เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ถือหุ้นกับคณะกรรมการและผู้บริหาร จัดเตรียมการประชุมผู้ถือหุ้นและให้ข้อมูลแก่ผู้ถือหุ้นในเรื่องต่างๆ ของบริษัทผ่านการประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยเหตุนี้ เลขานุการบริษัทจึงเปรียบเสมือนเป็นกลไกสำคัญที่มีส่วนช่วยผลักดันให้การดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียน ชัดเจน โปร่งใส มีการระแวดระวังให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ส่งผลให้เกิดการกำกับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียน ซึ่งสุดท้าย ผลประโยชนก็จะตกอยู่ที่ผู้ถือหุ้นนั่นเอง  


การแต่งตั้งเลขานุการบริษัทขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการบริษัท อย่างไรก็ดี ไม่มีกฎมายกำหนดคุณสมบัติและเกณฑ์การแต่งตั้งเลขานุการบริษัท ดังนั้น เมื่อพิจารณาถึงบทบาทหน้าที่ ที่คอยช่วยให้บริษัทและคณะกรรมการของบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงเป็นตัวกลางที่คอยประสานงานกับบุคคลทั้งภายในบริษัท การคัดเลือกเลขานุการบริษัทจึงควรเลือกผู้ที่รู้และเข้าใจลักษณะธุรกิจและกิจกรรมต่างๆ ของบริษัท รู้จักแสวงหาข้อมูลทั้งภายในภายนอกบริษัท เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลข่าวสารให้แก่ คณะกรรมการและผู้บริหารตลอดจนผู้ถือหุ้น รวมทั้งควรมีความรู้ด้านกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจที่ทำ นอกจากนี้ น่าจะมีความรู้ทางด้านภาษาต่างประเทศ สามารถสื่อสาร/ประสานงานทั้งภายในและภายนอกบริษัท รวมทั้งมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี 

ที่ปรึกษาทางการเงิน คือ ผู้ที่ได้รับอนุญาตจาก ก.ล.ต. ในการให้บริการคำปรึกษา ความเห็น และการจัดเตรียมเอกสารข้อมูลต่าง ๆ แก่บริษัทมหาชนจำกัด เพื่อนำเสนอคณะกรรมการ ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผู้ถือหุ้นและประชาชนทั่วไป เช่น กรณีจะนำหุ้นออกเสนอขายต่อประชาชนทั่วไป หรือจะนำหุ้นเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือจะจัดทำแผนฟื้นฟูเพื่อแก้ไขฐานะการเงินและผลดำเนินงานของบริษัทให้พ้นจากการเข้าข่ายถูกเพิกถอนจากตลาดหลักทรัพย์ฯ เป็นต้น


นอกจากนี้ ที่ปรึกษาทางการเงินยังมีบทบาทต่อการผลักดันบริษัทจดทะเบียนให้เกิดการกำกับดูแลกิจการ เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนของตลาดทุนไทย เช่น ในกรณีที่บริษัทจดทะเบียนหรือบริษัทเข้าใหม่ที่เป็นลูกค้าของที่ปรึกษาทางการเงิน บางครั้งอาจจะไม่มีความรู้เพียงพอว่าการจะปฏิบัติตัวให้มีการกำกับดูแลกิจการนั้นจะต้องทำอย่างไร ที่ปรึกษาทางการเงินจึงจำเป็นต้องวางกรอบ หรือแนวทางเพื่อให้ลูกค้าปฏิบัติตาม อย่างน้อยสิ่งที่ต้องแนะนำก็คือ บริษัทมีนโยบายในการกำกับกิจการอย่างไร และเมื่อมีแนวทาง และรูปแบบการปฏิบัติแล้ว ก็ต้องติดตามให้มีการปฏิบัติ เพื่อประเมินดูว่าแนวทางที่ดำเนินการนั้นมีความเหมาะสมกับบริษัทหรือไม่  


ทั้งนี้  ที่ปรึกษาทางการเงินควรคำนึงถึงหลักสำคัญ 5 ข้อ ในการแนะนำลูกค้าไม่ว่าจะเป็นบริษัทที่กำลังจะเข้าจดทะเบียน หรือลูกค้าที่จดทะเบียนอยู่แล้วก็ตามให้พึงปฏิบัติตามข้อกำหนดอันประกอบไปด้วย โครงสร้างกรรมการ เลขานุการคณะกรรมการ บทบาทหน้าที่ของกรรมการ งานนักลงทุนสัมพันธ์ และการเปิดเผยข้อมูล ซึ่งที่ปรึกษาทางการเงินจะต้องรู้ถึงข้อปฏิบัติการกำกับดูแลกิจการ เพราะในแต่ละส่วนล้วนแต่มีความสำคัญในรายละเอียดที่แตกต่างกัน 

บุคคลที่ได้รับการขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาตจากสภาวิชาชีพบัญชี ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 ซึ่งสามารถตรวจสอบและรับรองบัญชีบริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร  ทั้งนี้ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตที่จะสามารถรับรองงบการเงินของบริษัทที่ออกและเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนได้ จะต้องเป็นผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจาก ก.ล.ต. ผู้สอบบัญชีฯ มีหน้าที่ต้องรับรองงบการเงินของบริษัทจดทะเบียนที่จะถูกนำมาเปิดเผยต่อผู้ถือหุ้น โดยบริษัทที่มีการกำกับดูแลกิจการจะต้องมีงบการเงินที่ได้รับการรับรองจากผู้สอบบัญชีอย่างไม่มีเงื่อนไข ซึ่งสามารถสังเกตได้จากหน้าแรกของงบการเงินที่จะต้องสั้นมากไม่เกินหนึ่งหน้ากระดาษ หากบริษัทไหน ผู้สอบบัญชีมีข้อสังเกตหรือคำอธิบายมากเท่าใดก็อาจเป็นเครื่องแสดงว่าบัญชีมีปัญหามากขึ้นเท่านั้น ดังนั้น ความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชีถือเป็นเรื่องที่สำคัญ เพื่อให้การรับรองงบการเงินมีความโปร่งใส และน่าเชื่อถือ ด้วยเหตุนี้ ก.ล.ต. จึงได้ออกเกณฑ์กำหนดให้บริษัทจดทะเบียนเปลี่ยนผู้สอบบัญชีฯ ​(Auditor rotation) ทุก 5 รอบปีบัญชี

ย่างไรก็ดี จากการประเมินตาม CG-ROSC มีข้อสังเกตว่าประเทศไทยควรกำหนดเกณฑ์ห้ามผู้สอบบัญชีให้บริการอื่น (Non-audit service) แก่บริษัทที่ตนเป็นผู้สอบบัญชี เช่น ทำบัญชี การออกแบบและวางระบบทางการเงิน การให้บริการตรวจสอบภายใน การให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกฎหมายและด้านอื่นที่ไม่เกี่ยวกับการตรวจสอบ เพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่นในการลงทุนและปกป้องผลประโยชน์ของผู้ลงทุน ซึ่งสอดคล้องกับสหรัฐอเมริกาที่มีกฎหมาย Sarbanes-Oxley Act 2002 (ข้อ201)

กรรมการบริษัทต้องเป็นผู้ถือหุ้นไหม

หากข้อบังคับของบริษัทไม่ได้กำหนดไว้กรรมการของบริษัทไม่จำเป็นต้องเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท โดยกรรมการนั้นจะได้รับการแต่งตั้งจากผู้ถือหุ้นเพราะฉะนั้นผู้ถือหุ้นจะแต่งตั้งจากผู้ถือหุ้นด้วยกันเองหรือจะแต่งตั้งบุคคลภายนอกมาเป็นกรรมการของบริษัทก็ได้

กรรมการบริษัท กับ ผู้ถือหุ้นต่างกันยังไง

สืบเนื่องจากความแตกต่างในบทบาทและหน้าที่ของกรรมการและผู้ถือหุ้น รูปแบบผลตอบแทนก็จะแตกต่างกันด้วย เพราะถ้าเป็นผู้ถือหุ้น จะได้รับผลตอบแทนที่เรียกว่า “เงินปันผล” ส่วนกรรมการนั้น จะได้ผลตอบแทนเสมือนเป็นพนักงานคนนึงของบริษัท คือ ได้รับ “เงินเดือน” และอาจมีสวัสดิการอื่นๆ เพิ่มเติม

กรรมการบริษัทต้องถือหุ้นกี่เปอร์เซ็นต์

ขั้นตอนการตั้งบริษัท กรรมการบริษัทเรียกให้ผู้เข้าชื่อซื้อหุ้นชำระเงินค่าหุ้นอย่างน้อยจำนวน 25% ของมูลค่าหุ้นที่จองซื้อไว้ 6 (หรือจะเรียกชำระเต็มจำนวนก็ได้ ขึ้นอยู่กับกรรมการบริษัท)

ผู้ถือหุ้นมีหน้าทีและความสำคัญกับบริษัทอย่างไร

ผู้ถือหุ้น” กลุ่มบุคคลที่มีความสำคัญ เปรียบเสมือนเป็นเจ้าของบริษัทหรือเจ้าของเงินลงทุนในกิจการ และถือเป็นผู้ที่มีบทบาทควบคุมบริษัทในทางอ้อมโดยเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการเข้าไปเป็นตัวแทนของตนในการกำกับดูแลการดำเนินงานของกิจการเพื่อประโยชน์สูงสุด

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf