เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม (ภ.พ. 30)

ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มมีหน้าที่ต้องยื่นแบบ ภ.พ.30 และนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มตามที่กรมสรรพากรกำหนด หากมีข้อผิดพลาด เช่น ยื่นแบบล่าช้า หลีกเลี่ยงการยื่นแบบ หรือยื่นแบบภายในกำหนดแล้วแต่ชำระภาษีไม่ครบถ้วนก็จะต้องเสียเบี้ยปรับ และเงินเพิ่ม

พิจารณาค่าปรับอาญา เงินเพิ่มและเบี้ยปรับ ดังนี้

1. ค่าปรับอาญา กรณีไม่ยื่นแบบภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด (ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป)

  • กรณียื่นแบบล่าช้าไม่เกิน 7 วัน ค่าปรับ 300 บาท

  • กรณียื่นแบบล่าช้าเกิน 7 วัน ค่าปรับ 500 บาท

2. เงินเพิ่ม

  • อัตรา 1.5% ต่อเดือน x ภาษีที่ต้องจ่ายชำระโดยไม่รวมเบี้ยปรับ (เศษของเดือนนับเป็น 1 เดือน)

  • กรณีที่ไม่มีภาษีที่ต้องชำระก็ไม่ต้องเสียเงินเพิ่ม จ่ายชำระเฉพาะค่าปรับอาญาเท่านั้น

3. เบี้ยปรับ แบ่งออกเป็น 2 กรณี ดังนี้

หมายเหตุ: การนับวันพ้นกำหนดเวลาชำระ ให้นับตั้งแต่วันที่ถึงกำหนดชำระ (วันสุดท้ายของการยื่นแบบ) ถึงวันที่ยื่นแบบ

อ้างอิง: ข้อมูลจากกรมสรรพากร ท.ป.81/2542:: (rd.go.th)

  • หน้าแรก

  • Accounting Articles

  • ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30)


ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม
ตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 81/2542
 1. ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่มนี้ได้แสดงการคำนวณภาษีขายหักด้วยภาษีที่ซื้อทั้งกรณีจากการยื่นแบบแสดงรายการ ภ.พ.30 และจากการคำนวณภาษีที่ถูกต้อง ซึ่งการคำนวณภาษีขายหักด้วยภาษีซื้อจำนวนที่ถูกต้องอาจเกิดจากกรณีที่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีตรวจสอบความผิดเองและไปยื่นแบบแสดงรายการ ภ.พ.30 เพิ่มเติม หรืออาจเกิดจากการตรวจสอบของเจ้าพนักงานประเมินซึ่งเจ้าพนักงานประเมินจะได้มีหนังสือแจ้งการประเมินภาษีต่อไป
 2. การคำนวณเบี้ยปรับในกรณีการไม่ได้จัดทำใบกำกับภาษีและส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ หรือไม่ได้จัดทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือลงรายการในรายงานไม่ถูกต้องครบถ้วน หรือกรณีมีสินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ เป็นการคำนวณเบี้ยปรับนอกเหนือจากการคำนวณภาษีตาม 1. ซึ่งได้อธิบายวิธีการคำนวณไว้ในคำสั่งกรมสรรพากรดังกล่าวแล้ว
1. กรณีไม่ได้ยื่นแบบ ภ.พ.30
  1.1 การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มมีภาษีต้องชำระ
    ภาษีขาย (บาท)

1,000

   
    ภาษีซื้อ

   750

   
    ภาษีที่ต้องชำระ

   250

   
    เงินเพิ่ม มาตรา 89/1     250 X 1.5% ต่อเดือน
    เบี้ยปรับ มาตรา 89(2)     250 X 2 เท่า
  1.2 การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มมีภาษีชำระเกิน
    ภาษีขาย (บาท)

1,000

   
    ภาษีซื้อ

   1,750

   
    ภาษีที่ต้องชำระ

0

   
    ภาษีที่ชำระไว้เกิน

   (750)

   
    เงินเพิ่ม มาตรา 89/1     ไม่มี
    เบี้ยปรับ มาตรา 89(2)     ไม่มี

2. กรณียื่นแบบ ภ.พ.30 เมื่อพ้นกำหนดเวลา ซึ่งผู้มีหน้าที่เสียภาษีต้องรับผิดเบี้ยปรับและเงินเพิ่มตาม 1. ไปแล้ว ต่อมาได้มีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม หรือเจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบความผิด
  2.1 แบบ ภ.พ.30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระและการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ
 

แบบ ภ.พ. 30

ความถูกต้อง

ผลต่าง

 
ภาษีขาย (บาท)  

1,000

1,600

600

  ขายขาด
ภาษีซื้อ  

   750

   400

  (350)

  ซื้อเกิน
ภาษีที่ต้องชำระ  

250

1,200

950

  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  

   (70)

   (70)

   0

   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  

   180

 1,130

   950

   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 950 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) 950 X 2 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 600 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 350 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(2) จำนวน 1,900 บาท


  2.2 แบบ ภ.พ.30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน และการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีชำระไว้เกิน
 

แบบ ภ.พ. 30

ความถูกต้อง

ผลต่าง

 
ภาษีขาย (บาท)  

1,000

1,600

600

  ขายขาด
ภาษีซื้อ  

2,750

2,400

  (350)

  ซื้อเกิน
ภาษีที่ชำระไว้เกิน  

(1,750)

(800)

950

  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  

   (70)

   (70)

   0

   
ภาษีต้องชำระไว้เกินสุทธิ  

(1,820)

(870)

   950

   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 600 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 350 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 950 (600 + 350) บาท


  2.3 แบบ ภ.พ.30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน แต่การคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ
 

แบบ ภ.พ. 30

ความถูกต้อง

ผลต่าง

 
ภาษีขาย (บาท)  

1,000

1,600

600

  ขายขาด
ภาษีซื้อ  

2,750

1,400

(1,350)

  ซื้อเกิน
ภาษีชำระไว้เกิน  

(1,750)

200

1,950

  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  

   (70)

   (70)

   0

   
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  

(1,820)

130

1,950

   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 130 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) 200 X 2 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 600 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 1,350 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 1,950 (600 + 1,350) บาท


  2.4 แบบ ภ.พ.30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระแต่การคำนวณที่ถูกต้องชำระไว้เกิน         
 

แบบ ภ.พ. 30

ความถูกต้อง

ผลต่าง

 
ภาษีขาย (บาท)  

1,000

1,600

600

  ขายขาด
ภาษีซื้อ  

   750

2,000

1,250

  ซื้อขาด
ภาษีต้องชำระ  

250

(400)

(650)

  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  

   (70)

   (70)

   0

   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  

   180

(470)

(650)

   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 600 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน ไม่มี

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 600 บาท


3. กรณียื่นแบบ ภ.พ.30 ภายในกำหนดเวลา แต่กรอกตัวเลขผิดพลาดและไม่ได้ชำระภาษีมูลค่าเพิ่มให้ถูกต้องครบถ้วนพร้อมการยื่นแบบ ภ.พ. 30

 

แบบ ภ.พ. 30

ความถูกต้อง

ผลต่าง

 
ภาษีขาย (บาท)  

2,500

2,500

0

 
ภาษีซื้อ  

2,000

2,000

  0

 
ภาษีต้องชำระ  

400

500

100

 
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  

   (20)

   (20)

   0

   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  

   380

   480

   100

   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 480 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ไม่มี


4. กรณียื่นแบบ ภ.พ.30 ภายในกำหนดเวลาและชำระภาษีไปแล้ว ต่อมามีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติมภายในกำหนดเวลาโดยชำระภาษีพร้อมการยื่นแบบเพิ่มเติม

 

แบบ ภ.พ. 30

ความถูกต้อง

ผลต่าง

 
ภาษีขาย (บาท)  

1,500

2,400

900

  ขายขาด
ภาษีซื้อ  

1,000

600

(400)

  ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ  

500

1,800

1,300

  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  

   (70)

   (70)

   0

   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  

430

1,730

1,300

   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ไม่มี


5. กรณียื่นแบบ ภ.พ.30 ภายในกำหนดเวลาและชำระภาษีไปแล้ว ต่อมามีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติมภายในกำหนดเวลา โดยไม่ได้ชำระภาษีพร้อมการยื่นแบบเพิ่มเติม

 

แบบ ภ.พ. 30

ความถูกต้อง

ผลต่าง

 
ภาษีขาย (บาท)  

1,500

2,400

900

  ขายขาด
ภาษีซื้อ  

1,000

600

(400)

  ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ  

500

1,800

1,300

  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  

   (70)

   (70)

   0

   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  

430

1,730

1,300

   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 1,300 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ไม่มี

6. กรณียื่นแบบ ภ.พ.30 ภายในกำหนดเวลา และต่อมาทีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม เมื่อพ้นกำหนดเวลา หรือเจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบความผิด
  6.1 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระและการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ
 

แบบ ภ.พ. 30

ความถูกต้อง

ผลต่าง

 
ภาษีขาย (บาท)  

1,500

1,200

(300)

  ขายเกิน
ภาษีซื้อ  

1,000

600

(400)

  ซื้อเกิน
ภาษีที่ต้องชำระ  

500

600

100

  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  

   (70)

   (70)

   0

   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  

   430

   530

   100

   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 100 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 100 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายเกิน ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 400 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 400 บาท


  6.2 แบบ ภ.พ.30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน และการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีชำระไว้เกิน
 

แบบ ภ.พ. 30

ความถูกต้อง

ผลต่าง

 
ภาษีขาย (บาท)  

1,500

1,500

0

  ขายถูกต้อง
ภาษีซื้อ  

1,000

600

(400)

  ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ  

500

900

400

  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  

(950)

(950)

   0

   
ภาษีต้องชำระไว้เกินสุทธิ  

(450)

(50)

(400)

   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 400 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายถูกต้อง ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 400 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(3) หรือมาตรา 89(4) จำนวน 400 บาท


  6.3 แบบ ภ.พ.30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน แต่การคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ
 

แบบ ภ.พ. 30

ความถูกต้อง

ผลต่าง

 
ภาษีขาย (บาท)  

1,500

3,500

2,000

  ขายขาด
ภาษีซื้อ  

1,000

800

(200)

  ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ  

500

2,700

2,200

  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  

 (950)

 (950)

   0

   
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  

(450)

1,750

2,200

   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 1,750 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 2,200 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 2,000 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 200 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือมาตรา 89(3) หรือมาตรา 89(4) จำนวน 2,200 บาท


  6.4 แบบ ภ.พ.30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระแต่การคำนวณที่ถูกต้องชำระไว้เกิน         
 

แบบ ภ.พ. 30

ความถูกต้อง

ผลต่าง

 
ภาษีขาย (บาท)  

1,500

2,400

900

  ขายขาด
ภาษีซื้อ  

1,000

2,600

(1,600)

  ซื้อขาด
ภาษีต้องชำระ  

500

(200)

(700)

  คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  

   (70)

   (70)

   0

   
ภาษีต้องชำระสุทธิ  

   430

(270)

(700)

   
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 900 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน ไม่มี

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 900 บาท



7. กรณียื่นแบบ ภ.พ.30 โดยนำภาษีไว้เกินของเดือนที่ผ่านมา มาใช้ชำระภาษีมูลค่าเพิ่มเกินกว่าจำนวนภาษีชำระไว้เกินที่มีอยู่จริง
  7.1 กรณีแบบ ภ.พ. 30 ถูกต้อง
 

แบบ ภ.พ. 30

แบบ ภ.พ. 30

ความถูกต้อง

ผลต่าง
 

ม.ค. 42   

ก.พ. 42   

ก.พ. 42

ก.พ. 42
ภาษีขาย (บาท)  

1,500

3,500

3,500

0
ภาษีซื้อ  

1,000

1,200

1,200

      0
ภาษีที่ต้องชำระ  

500

2,300

2,300

0
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  

 (750)

 *(350)

 *(250)

(100)  
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  

 *(250)

 1,950

 2,050

 100  
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 100 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) ไม่มี
  มาตรา 89(4) ไม่มี

  7.2 กรณีแบบ ภ.พ.30 แสดงภาษีขายขาด และภาษีซื้อเกินเป็นผลให้มีภาษีซื้อเกินเป็นผลให้ทีภาษีต้องชำระเพิ่มเติม
 

แบบ ภ.พ. 30

แบบ ภ.พ. 30

ความถูกต้อง

ผลต่าง
 

ม.ค. 42   

ก.พ. 42   

ก.พ. 42

ก.พ. 42
ภาษีขาย (บาท)  

1,500

3,500

3,800

300
ภาษีซื้อ  

1,000

1,200

1,000

  (200)
ภาษีที่ต้องชำระ  

500

2,300

2,800

500
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  

 (750)

 *(350)

 *(250)

(100)  
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  

 *(250)

 1,950

 2,550

 600  
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 600 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 500 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขาดขาด 300 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 200 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(3) หรือ มาตรา 89(4) คือ จำนวน 500 บาท


  7.3 กรณีแบบ ภ.พ.30 แสดงภาษีขายขาด และภาษีซื้อเกิน แต่ยังคงมีภาษีชำระเกิน
 

แบบ ภ.พ. 30

แบบ ภ.พ. 30

ความถูกต้อง

ผลต่าง
 

ม.ค. 42   

ก.พ. 42   

ก.พ. 42

ก.พ. 42
ภาษีขาย (บาท)  

1,500

3,500

3,550

50
ภาษีซื้อ  

1,000

3,420

3,400

  (20)
ภาษีที่ต้องชำระ  

500

80

150

70
ภาษีชำระไว้เกินยกมา  

 (750)

 *(350)

 *(250)

(100)  
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ  

 *(250)

 (270)

 (100)

  170  
เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี
เบี้ยปรับ มาตรา 89(3) 70 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีขาดขาด 50 X 1 เท่า
  มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 20 X 1 เท่า

 ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(3) หรือ มาตรา 89(4) คือ จำนวน 70 บาท

ที่มา : LINK

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf