การ เคลื่อน ย้าย ผู้ป่วยฉุกเฉิน

Successfully reported this slideshow.

Your SlideShare is downloading. ×

การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย

More Related Content

  1. 1. 1 การยกและการเคลื่อ นย้า ย อุบล ยี่เฮ็ง ศูนย์กู้ชีพ “นเรนทร” โรงพยาบาลราชวิถี วัต ถุป ระสงค์ • ทราบท่าในการยกและเคลื่อนย้ายที่ถูกต้อง • ทราบข้อบ่งชี้ในการยกและเคลื่อนย้ายแบบฉุกเฉินและไม่ฉุกเฉิน • รู้จักอุปกรณ์ วิธีใช้ และเลือกใช้อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง เหมาะ สม • พิ จ ารณายกและเคลื่ อ นย้ า ยผู้ เ จ็ บ ป่ ว ยฉุ ก เฉิ น ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง เหมาะสมกับสภาพของผู้เจ็บป่วยและเหตุการณ์ หลัก ในการยกและเคลื่อ นย้า ย • เราต้องปลอดภัย • ผู้ป่วยต้องปลอดภัย แนวทางในการยก • รู้ขีดความสามารถและข้อจำากัดของตนเองและทีม • ประมาณนำ้าหนักผู้เจ็บป่วย • วางแผน และบอกเล่าแผนการในการยกให้ทีมทราบ • ขณะยก ยกขึ้นตรงๆ อย่าบิดตัว อย่าเอี้ยวตัวขณะยก • ยืนในตำาแหน่งที่สมดุล การแบก (Carry) • ห้ามงอหลัง ห้ามเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง • หลังตรง อย่าเอี้ยวหลัง • ผู้ช่วยเหลือควรมีความสูงและแข็งแรงพอๆกับผู้เจ็บป่วย • ย่อเข่า งอสะโพก อย่าก้มตัว • ให้นำ้าหนักที่จะแบกอยู่ใกล้ตัวมากที่สุด การเอื้อ มจับ ( Reaching) • ระวังหลังให้ตรง • เมื่อเอื้อมแขนเหนือหัว อย่าแอ่นหลัง • อย่าเบี้ยวหรือบิดตัวขณะเอื้อมมือ • หลีกเลี่ยงการเอื้อมมือไปข้างหน้า ไกลเกิน 15-20 นิ้ว การผลัก หรือ ดัน ( Push) • เลือก การผลักหรือดันดีกว่าการดึงหรือลาก - Pushing is better than Pulling - หลีกเลี่ยงการผลักหรือดันจากที่สูงกว่าศีรษะ - ผลักให้แนวอยู่ระหว่างเอวและไหล่
  2. 2. 2 - หากนำ้าหนักอยู่ตำ่ากว่าเอว ให้ใช้ท่าคุกเข่า ท่า ยกที่ถ ูก ต้อ ง การเคลื่อ นย้า ยแบ่ง เป็น 1. เคลื่อนย้ายแบบฉุกเฉิน (Emergency Moves 2 .เคลื่อนย้ายแบบเร่งด่วน ( Urgent Moves) 3 .เคลื่อนย้ายแบบไม่เร่งด่วน ( Non - Urgent Moves) 4. เคลื่อนย้ายขณะนำาส่ง เคลื่อ นย้า ยแบบฉุก เฉิน (Emergency Moves)
  3. 3. 3 • ทำาเมื่อเหตุการณ์ไม่ปลอดภัย เช่น ไฟไหม้ • ทำาเพื่อ Save Life
  4. 4. 4 เคลื่อ นย้า ยแบบเร่ง ด่ว น ( Urgent Moves) • ทำาเมื่อมีผู้เจ็บป่วยอาการรุนแรง จำาเป็นต้องนำาตัวออกมารักษา พยาบาล แต่ผู้เจ็บป่วยนั้น อยู่ในที่ที่มีผู้บาดเจ็บคนอื่นขวางทาง อยู่ • หรือสถานการณ์มีผู้เจ็บป่วยติดภายในรถ • ต้องระวังการ Save Limb • มักใช้อุปกรณ์ร่วมด้วย ในการเคลื่อนย้าย เช่น Spinal board ,KED
  5. 5. 5 เคลื่อ นย้า ยแบบไม่เ ร่ง ด่ว น ( Non - Urgent Moves) • ทำา เมื่อ ผู้เจ็บป่วยไม่ จำา เป็ นต้ อ งให้ การรั กษาพยาบาลอย่ า งเร่ ง ด่วน คือต้องช่วย A,B,C ก่อนเสมอ • มั ก ทำา การ First aid ให้ เ สร็ จ สิ้ น ก่ อ น เช่ น Splint , Stop Bleeding • แล้วจึงพิจารณาการใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม เคลื่อ นย้า ยขณะนำา ส่ง • เตรียมพร้อมทั้งผู้ป่วยและอุปกรณ์ จัดท่าผู้ป่วยให้เหมาะสม • ขับรถด้วยความนุ่มนวลและปลอดภัย • นำาส่งโรงพยาบาลที่มีขีดความสามารถในการรักษา เอกสารอ้า งอิง อุบล ยี่เฮ็ง. Transportation and Communication. หนังสือประกอบการประชุมวิชาการการรักษาพยาบาล ณ จุดเกิดเหตุ. โรงแรมเอเชีย กรุงเทพมหานคร : บริษัท แอล ที เพรส จำากัด. 2546. หน้า 116-129 อุบล ยี่เฮ็ง. การยกและการเคลื่อนย้าย. เอกสารประกอบ การบรรยายแก่ บุ ค ลากรโรงพยาบาลสงฆ์ “ การอบรมการเตรี ย ม
  6. 6. 6 พร้ อ มรั บ สถานการณ์ อุ บั ติ ภั ย หมู ” . โรงพยาบาลสงฆ์ . วั น ที่ 2-3 สิงหาคม 2553. (อัดสำาเนา)
  7. 7. 6 พร้ อ มรั บ สถานการณ์ อุ บั ติ ภั ย หมู ” . โรงพยาบาลสงฆ์ . วั น ที่ 2-3 สิงหาคม 2553. (อัดสำาเนา)
  8. 8. 6 พร้ อ มรั บ สถานการณ์ อุ บั ติ ภั ย หมู ” . โรงพยาบาลสงฆ์ . วั น ที่ 2-3 สิงหาคม 2553. (อัดสำาเนา)

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

นิยามของคำว่า“เคลื่อนย้าย (Transfers)”

การเคลื่อนย้ายเป็นการนำหรือช่วยผู้ป่วยจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่ง ผู้ป่วยสามารถพยุงตนเองโดยการเดิน หรือใช้แขนได้ และมีการใช้เครื่องช่วยเช่นกระดานเคลื่อนย้าย walker หรือไม้เท้าเพื่อพยุงในส่วนที่ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยตนเองได้

นิยามของ คำว่า “การยก(lifts)”

การยกเป็นกระบวนการที่ต้องรับน้ำหนักตัวทั้งหมดของผู้ป่วย (entire body weight) โดยคนอื่น (ผู้ป่วยไม่สามารถทำหรือช่วยได้)  หรือเครื่องมือเช่น เครื่องช่วยยก เพื่อจัดท่าหรือเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปยังสถานที่อื่น

 เทคนิคการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้

  1. การเคลื่อนย้ายโดยผู้ช่วยเหลือคนเดียว
    วิธีที่ 1พยุงเดินเหมาะสำหรับผู้ป่วยที่รู้สึกตัวดี แต่แขนหรือขาข้างใดข้างหนึ่งเจ็บ
    วิธีเคลื่อนย้าย ผู้ช่วยเหลือยืนเคียงข้างผู้ป่วย หันหน้าไปทางเดียวกัน แขนข้างหนึ่งของ ผู้ป่วยพาดคอ ผู้ช่วยเหลือจับมือผู้ป่วยไว้ ส่วนแขนอีกข้างหนึ่งของผู้ช่วยเหลือโอบเอวและพยุงเดิน

วิธีที่ 2 การอุ้ม วิธีนี้ใช้กับผู้บาดเจ็บที่มีน้ำหนักตัวน้อย หรือในเด็กซึ่งไม่มีบาดแผลรุนแรง หรือกระดูกหักโดยการช้อนใต้เข่าและประคองด้านหลัง หรืออุ้มทาบหลังก็ได้

วิธีที่ 3 วิธีลาก เหมาะที่จะใช้ในกรณีฉุกเฉิน เช่น เกิดไฟไหม้ ถังแก็สระเบิด หรือตึกถล่ม จำเป็นต้องเคลื่อนย้ายออกจากที่เกิดเหตุให้เร็วที่สุด

 

  1. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยผู้ช่วยเหลือสองคน
    วิธีที่ 1 อุ้มและยกเหมาะสำหรับผู้ป่วยรายในรายที่ไม่รู้สึกตัว แต่ไม่ควรใช้ในรายที่มีการบาดเจ็บของลำตัว หรือกระดูกหัก

วิธีที่ 2 นั่งบนมือทั้งสี่ที่จับประสานกันเป็นแคร่ เหมาะสำหรับผู้ป่วยในรายที่ขาเจ็บแต่รู้สึกดีและสามารถใช้แขนทั้งสองข้างได้
วิธีเคลื่อนย้าย ผู้ช่วยเหลือทั้งสองคนใช้มือขวากำข้อมือซ้ายของตนเอง ขณะเดียวกันก็ใช้มือซ้ายกำมือขวาซึ่งกันและกัน ให้ผู้ป่วยใช้แขนทั้งสองยันตัวขึ้นนั่งบนมือทั้งสี่ที่จับประสานกันเป็นแคร่ แขนทั้งสองของผู้ป่วยโอบคอผู้ช่วยเหลือ จากนั้นวางผู้ป่วยบนเข่าเป็นจังหวะที่หนึ่ง และอุ้มยืนเป็นจังหวะที่สอง แล้วจึงเดินไปพร้อมๆ กัน

วิธีที่ 3 การพยุงเดิน วิธีนี้ใช้ในรายที่ไม่มีบาดแผลรุนแรง หรือกระดูกหักและผู้บาดเจ็บยังรู้สึกตัวดี

  1. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยผู้ช่วยเหลือสามคน
    วิธีที่ 1 อุ้มสามคนเรียงเหมาะสำหรับผู้ป่วยในรายที่ไม่รู้สึกตัว ต้องการอุ้มขึ้นวางบนเตียงหรืออุ้มผ่านทางแคบๆ
    วิธีเคลื่อนย้ายผู้ช่วยเหลือทั้งสามคนคุกเข่าเรียงกันในท่าคุกเข่าข้างเดียว ทุกคนสอดมือเข้าใต้ตัวผู้ป่วย และอุ้มพยุงไว้ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายดังนี้
    คนที่ 1 สอดมือทั้งสองเข้าใต้ตัวผู้ป่วยตรงบริเวณคอและหลังส่วนบน
    คนที่ 2 สอดมือทั้งสองเข้าใต้ตัวผู้ป่วยตรงบริเวณหลังส่วนล่างและก้น
    คนที่ 3 สอดมือทั้งสองเข้าใต้ขา
    ผู้ช่วยเหลือคนที่อ่อนแอที่สุดควรเป็นคนที่ 3 เพราะรับน้ำหนักน้อยที่สุด เมื่อจะยกผู้ป่วยผู้ช่วยเหลือทั้งสามคน จะต้องทำงานพร้อมๆ กัน โดยให้คนใดคนหนึ่งเป็นออกคำสั่ง ขั้นแรก ยกผู้ป่วยพร้อมกันและวางบนเข่า แต่ถ้าจะอุ้มเคลื่อนที่ผู้ช่วยเหลือทั้งสามคน จะต้องประคองตัวผู้ป่วยในท่านอนตะแคง และอุ้มยืน เมื่อจะเดินจะก้าวเดินไปทางด้านข้างพร้อมๆ กัน และถ้าจะวาง ผู้ป่วยให้ทำเหมือนเดิมทุกประการ คือ คุกเข่าลงก่อนและค่อย ๆ วางผู้ป่วยลง

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยวิธีอุ้มสามคนเรียง
วิธีที่ 2 การใช้คน 3 คน วิธีนี้ใช้ในรายที่ผู้บาดเจ็บนอนหงาย หรือ นอนคว่ำก็ได้ ให้คางของผู้บาดเจ็บยกสูงเพื่อเปิดทางเดินหายใจ
1. ผู้ปฐมพยาบาล 2 คนคุกเข่าข้างลำตัวผู้บาดเจ็บข้างหนึ่ง อีกข้างหนึ่งผู้ปฐมพยาบาลอีก 1 คน คุกเข่าข้างลำตัวผู้บาดเจ็บ
2. ผู้ปฐมพยาบาลคนที่ 1 ประคองที่ศีรษะและไหล่ผู้บาดเจ็บ มืออีกข้างหนึ่งรองส่วนหลังผู้บาดเจ็บ
3. ผู้ปฐมพยาบาลคนที่ 2 อยู่ตรงข้ามคนที่ 1ใช้แขนข้างหนึ่งรองหลังผู้บาดเจ็บ เอามือไปจับมือคนที่ 1 อีกมือหนึ่งรองใต้สะโพกผู้บาดเจ็บ
4. ผู้ปฐมพยาบาลคนที่ 3 มือหนึ่งอยู่ใต้ต้นขาเหนือมือคนที่ 2 ที่รองใต้สะโพก แล้วเอามือไปจับกับมือคนที่ 2 ที่รองใต้สะโพกนั้น ส่วนมืออีกข้างหนึ่งรองที่ขาใต้เข่า
5. มือคนที่ 1 และคนที่ 2 ควรจับกันอยู่ระหว่างกึ่งกลางลำตัวส่วนบนของผู้บาดเจ็บ ผู้ปฐมพยาบาลจะต้องให้สัญญาณลุกขึ้นยืนพร้อม ๆ กัน

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยวิธีใช้คน 3 คน

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยใช้ผ้าห่ม
ใช้กรณีที่ไม่มีเปลหามแต่ไม่เหมาะกับผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บบริเวณหลัง
วิธีเคลื่อนย้าย พับผ้าห่มตามยาวทบกันเป็นชั้น ๆ 2-3 ทบ โดยวิธีการพับผ้าห่มพับเช่นเดียวกับการพับกระดาษทำพัด วางผ้าห่มขนาบชิดตัวผู้ป่วยทางด้านข้าง ผู้ช่วยเหลือคุกเข่าลงข้างตัวผู้ป่วยอีกข้างหนึ่ง จับผู้ป่วยตะแคงตัวเพื่อให้นอนบนผ้าห่ม แล้วดึงชายผ้าห่มทั้งสองข้างออก เสร็จแล้วจึงม้วนเข้าหากัน จากนั้นช่วยกันยกตัวผู้ป่วยขึ้น ผู้ช่วยเหลือคนหนึ่งต้องประคองศีรษะผู้ป่วย โดยเฉพาะผู้ป่วยที่สงสัยว่า ได้รับบาดเจ็บที่คอหรือหลัง

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยใช้เปลหาม
เปลหรือแคร่มีประโยชน์ในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย อาจทำได้ง่ายโดยดัดแปลงวัสดุ การใช้เปลหามจะสะดวกมากแต่ยุ่งยากบ้างขณะที่จะอุ้มผู้ป่วยวางบนเปลหรืออุ้มออกจากเปล

วิธีการเคลื่อนย้าย เริ่มต้นด้วยการอุ้มผู้ป่วยนอนราบบนเปล จากนั้นควรให้ผู้ช่วยเหลือคนหนึ่งเป็นคนออกคำสั่งให้ยกและหามเดิน เพื่อความพร้อมเพรียงและนุ่มนวล ถ้ามีผู้ช่วยเหลือสองคน คนหนึ่งหามทางด้านศีรษะ อีกคนหามทางด้านปลายเท้าและหันหน้าไปทางเดียวกัน ซึ่งหมายความว่าผู้ช่วยเหลือที่หามทางด้านปลายเท้าจะเดินนำหน้า หากมีผู้ช่วยเหลือ 4 คน ช่วยหาม อีก 2 คน จะช่วยหามทางด้านข้างของเปลและหันหน้าเดินไปทางเดียวกัน
 

วัสดุที่นำมาดัดแปลงทำเปลหาม

1. บานประตูไม้
2. ผ้าห่มและไม้ยาวสองอัน วิธีทำเปลผ้าห่ม ปูผ้าห่มลงบนพื้น ใช้ไม้ยาวสองอัน ยาวประมาณ 2.20 เมตร
- อันที่ 1 สอดในผ้าห่มที่ได้พับไว้แล้ว
- อันที่ 2 วางบนผ้าห่ม โดยให้ห่างจากอันที่ 1 ประมาณ 60 ซม. จากนั้นพับชายผ้าห่มทับไม้อันที่ 2 และอันที่ 1 ตามลำดับ

 ภาพ การใช้ผ้าห่มมาดัดแปลงทำเปลหามผู้ป่วย

  1. เสื้อและไม้ยาว 2 อันนำเสื้อที่มีขนาดใหญ่พอๆกันมาสามตัว ติดกระดุมให้เรียบร้อย ถ้าไม่แน่ใจว่ากระดุมจะแน่นพอให้ใช้เข็มกลัดซ่อนปลายช่วยด้วย แล้วสอดไม้สองอันเข้าไปในแขนเสื้อ

>>>>

ด้วยความปรารถนาดีจาก คลินิกกายภาพบำบัดเฟิร์ส ฟิสิโอ

// www.firstphysioclinic.com

Line ID : 0852644994

TEL.: 085-264-4994

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยหมายถึงอะไร

5 ปีที่ผ่านมา โดย เจ้าของร้าน นิยามของคำว่า“เคลื่อนย้าย (Transfers)” การเคลื่อนย้ายเป็นการนำหรือช่วยผู้ป่วยจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่ง ผู้ป่วยสามารถพยุงตนเองโดยการเดิน หรือใช้แขนได้ และมีการใช้เครื่องช่วยเช่นกระดานเคลื่อนย้าย walker หรือไม้เท้าเพื่อพยุงในส่วนที่ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยตนเองได้

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแบบฉุกเฉินจะปฏิบัติเมื่ออยู่ในสถานการณ์ใด

การเคลื่อนย้ายแบบฉุกเฉิน ใช้ในกรณีที่อาจก่อเกิดอันตรายกับผู้ป่วยหากไม่ท าการ เคลื่อนย้ายออกมาเท่านั้น แต่ต้องระวังการบาดเจ็บที่กระดูกสัน หลังของผู้ป่วยด้วย

ข้อใดเป็นการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยใช้ผู้ช่วยเหลือคนเดียว

1. การเคลื่อนย้ายโดยผู้ช่วยเหลือคนเดียว วิธีที่ 1 พยุงเดิน เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่รู้สึกตัวดี แต่แขนหรือขาข้างใดข้างหนึ่งเจ็บ (เฉพาะส่วนล่าง) วิธีเคลื่อนย้าย ผู้ช่วยเหลือยืนเคียงข้างผู้ป่วย หันหน้าไปทางเดียวกัน แขนข้างหนึ่งของผู้ป่วยพาดคอ ผู้ช่วยเหลือจับมือผู้ป่วยไว้ ส่วนแขนอีกข้างหนึ่งของผู้ช่วยเหลือโอบเอวและพยุงเดิน

การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย 3 คน เหมาะกับผู้ป่วยแบบใด

3. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยผู้ช่วยเหลือสามคน วิธีที่ 1 อุ้มสามคนเรียง เหมาะสำหรับผู้ป่วยในรายที่ไม่รู้สึกตัว ต้องการอุ้มขึ้นวางบนเตียงหรืออุ้มผ่านทางแคบๆ วิธีเคลื่อนย้าย ผู้ช่วยเหลือทั้งสามคนคุกเข่าเรียงกันในท่าคุกเข่าข้างเดียว ทุกคนสอดมือเข้าใต้ตัวผู้ป่วย และอุ้มพยุงไว้ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายดังนี้

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf