อัต ลักษณ์ ของ นักศึกษา สถาบันการจัดการ ปัญญา ภิ วั ฒ น์

1Panyapiwat Institute of Management

2Panyapiwat Institute of Management

3Panyapiwat Institute of Management

4Panyapiwat Institute of Management

5Panyapiwat Institute of Management

6Panyapiwat Institute of Management

초록 열기/닫기 버튼

งานวิจัยนีมี้วัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี ้คือ เพื่อให้นักศึกษาได้เพิ่มพูนประสบการณ์ทาง ทักษะภาษา และวัฒนธรรมไทย ฝึกทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึน้ และนำความรู้ทักษะภาษาไทยไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างเกิดประสิทธิผล ผลการวิจัยพบว่า ในภาพรวม กลุ่มตัวอย่างมีผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน (Pre test) มี คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน 25.69 คะแนน เมื่อพิจารณาแยกตามคณะ คณะวิทยาการ จัดการมีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนสูงที่สุด (คะแนนเฉลี่ย 28.31) รองลงมาได้แก่ คณะ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี (คะแนนเฉลี่ย 26.18) และคณะบริหารธุรกิจ (คะแนน เฉลี่ย 24.75) คะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียนของกลุ่มตัวอย่างในภาพรวม พบว่า กลุ่ม ตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน 31.46 คะแนน เมื่อพิจารณาแยกตามคณะ พบว่า คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงที่สุด (คะแนนเฉลี่ย 37.17) รองลงมาได้แก่ คณะวิทยาการจัดการ (คะแนนเฉลี่ย 32.36) และคณะ บริหารธุรกิจ (คะแนนเฉลี่ย 28.34) สำหรับผลการวิเคราะห์คะแนนพัฒนาการพบว่า ในภาพรวมมีคะแนนพัฒนาการ เพิ่มขึน้ จากก่อนเรียนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 15.46 โดยมีคะแนนพัฒนาการต่ำสุดร้อยละ -29.17 และสูงสุดร้อยละ 95.74 ซึ่งคณะที่มีคะแนนพัฒนาการเฉลี่ยเพิ่มขึน้ มากที่สุด ได้แก่คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มีคะแนนพัฒนาการเพิ่มขึน้ ร้อยละ 29.89 รองลงมาได้แก่คณะวิทยาการจัดการที่มีคะแนนพัฒนาการเพิ่มขึน้ ร้อยละ 12.81 และ คณะบริหารธุรกิจที่มีคะแนนพัฒนาการเพิ่มขึน้ ร้อยละ 9.09 ส่วนผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่า ในภาพรวม ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ซึ่ง แสดงให้เห็นว่าการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับผู้เรียนประสบผลสำเร็จตาม เป้าประสงค์ที่กำหนดไว้ เมื่อพิจารณาแยกตามคณะ พบว่า การเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ระหว่างก่อน เรียนและหลังเรียนของทัง้ 3 คณะ ได้แก่ คณะวิทยาการจัดการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยี และคณะบริหารธุรกิจ ต่างก็มีผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่าง มีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ในทุกคณะ

The research sample consists of 276 purposively selected third-year students from three faculties who registered for additional studies in Semester 1.2 at Panyapiwat Institute of Management (PIM), and the purposes of this research were as follows; (1) to enable the students to enhance their Thai language skills and Thai culture experience; (2) to help the students practice using Thai language for more effective communication; and (3) to enable the students to apply Thai language knowledge and skills effectively in their work performance. Research Results: It was found that the overall pre-test mean score of the whole sample group was 25.69. When pre-test mean scores of students in the three faculties were considered, it was found that students in the Faculty of Management Science had the highest pre-test mean score (28.31), followed by that of students in the Faculty of Engineering and Technology (26.18), and that of students in the Faculty of Business Administration (24.75), respectively. As for the post-test mean scores, it was found that the overall post-test mean score of the research sample was 31.46. When post-test mean scores of students in the three faculties were considered, it was found that students in the Faculty of Engineering and Technology had the highest post-test mean score (37.17), followed by that of students in the Faculty of Management Science (32.36), and that of students in the Faculty of Business Administration (28.34), respectively. Regarding the results of comparison between the pre-learning and postlearning achievement scores, the overall result showed that the postlearning achievement score was higher than the pre-learning achievement score at the .01 level of statistical significance. This result indicated that the provision of learning experience to the learners achieved its predetermined goal.


키워드열기/닫기 버튼

,

,

,

The Enhancement of Thai Language, Competencies, Identity of Study Fields, Thai for Communication, Panyapiwat Institute of Management

피인용 횟수

  • KCI 0회

  • 146 회 열람
  • KCI 원문 내려받기
  • 논문 인용하기
  • 서지정보 내보내기

    • txt
    • RefWorks
    • Endnote
    • XML

  • 현재 페이지 인쇄

인용현황

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ชื่อย่อคติพจน์สถาปนาผู้สถาปนาประเภทอธิการบดีที่ตั้งวิทยาเขตสีประจำสถาบันเว็บไซต์
Panyapiwat Institute of Management
พีไอเอ็ม / PIM
คำขวัญ
สร้างมืออาชีพด้วยมืออาชีพ

ปรัชญา
การศึกษาคือบ่อเกิดแห่งภูมิปัญญา

วิสัยทัศน์
สร้างบัณฑิตมืออาชีพด้วยการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
9 มีนาคม พ.ศ. 2550
บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน)
สถาบันอุดมศึกษาเอกชน
รองศาสตราจารย์ ดร. สมภพ มานะรังสรรค์
วิทยาเขตแจ้งวัฒนะ
85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ ตำบลบางตลาด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120
วิทยาเขตอีอีซี (อู่ตะเภา) ตำบลนาจอมเทียน อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี

  •      สีเขียว      สีทอง

www.pim.ac.th

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์[1] (อังกฤษ: Panyapiwat Institute of Management) เดิมชื่อสถาบันเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับการสนับสนุนทุนในการก่อตั้งจากบริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) และได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการ โดยคำแนะนำของคณะกรรมการการอุดมศึกษาเพื่อให้เปิดดำเนินการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2550

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ได้ประกาศผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยอย่างเป็นทางการ ประจำปี 2021 ให้เป็น 1 ใน 5 มหาวิทยาลัยของเอเชียว่าเป็นมหาวิทยาลัยด้านความแข็งแกร่งของการเรียนการสอนในระดับ A[2]

สัญลักษณ์ประจำสถาบัน[แก้]

  • ช่อมะกอก โล่ ริบบิ้น เป็นตราประจำสถาบัน หมายถึง ความมีชัยเหนือสิ่งอื่นใด และ มงกุฎ หมายถึง การศึกษาแสดงถึงความสำเร็จสูงสุด และยิ่งใหญ่
  • สีเขียว/สีทอง          เป็นสีประจำสถาบัน โดยสีเขียวหมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง ความงอกงาม ความสมบูรณ์ และ สีเหลืองทองหมายถึง ความเป็นเลิศทางวิชาการและถึงพร้อมด้วยคุณธรรม
  • ดอกบัวมังคลอุบล เป็นดอกไม้ประจำสถาบันซึ่งเปรียบเสมือนตัวแทนของความเพียรพยายาม ความอดทน และ ความสำเร็จอันงดงาม

การศึกษา[แก้]

รูปแบบการศึกษา[แก้]

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ คือ สถาบันอุดมศึกษาเพียงหนึ่งเดียวที่เน้นเสริมสร้างประสบการณ์การทำงานให้แก่นักศึกษาอย่างจริงจังและครบถ้วน เพื่อสร้างบัณฑิตที่มีคุณภาพทั้งในเชิงวิชาการและสามารถปฏิบัติงานได้จริง โดยเน้นรูปแบบการเรียนทฤษฎีควบคู่กับการเรียนปฏิบัติ หรือฝึกงานที่ตรงกับสาขาวิชาที่เรียนจริงๆ (Work-based Education) และสถานที่ฝึกงานนั้น ก็เป็นองค์กรธุรกิจมืออาชีพที่เต็มไปด้วยมืออาชีพที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาอาชีพ ด้วยวิธีนี้จะทำให้จบการศึกษาพร้อมประสบการณ์การทำงานที่แท้จริง อีกทั้งยังรู้รอบถึงปัญหา และการแก้ไขในสายงานอาชีพนั้นๆ ด้วยการจัดการศึกษาแบบ Work-based Education (WBE) มี 3 องค์ประกอบที่สำคัญ

  1. Work-based Teaching (WBT) เป็นการเรียนภาคทฤษฎี หลักการทั่วไป และการเรียนรู้วิชาการศึกษาทั่วไปให้นักศึกษามีความสมบูรณ์ นอกจากเป็นความรู้จากตำราแล้ว ได้รับการเรียนรู้จากกรณีศึกษาจากผู้ปฏิบัติงานจริงในองค์กร เตรียมความพร้อมที่จะเรียนรู้ในส่วนที่สองคือ WBL
  2. Work-based Learning (WBL) เป็นการเรียนรู้โดยการลงมือปฏิบัติงานจริงอย่างมีแบบแผนรองรับกล่าวคือการจัดวางโปรแกรม ครูฝึก และมีระบบการติดตามประเมินอย่างเป็นระบบในองค์กร การจัดการเรียนการสอนจะมีการสลับกันระหว่างการเรียนรู้ในห้องเรียนกับการฝึกปฏิบัติงานตามโจทย์ที่กำหนดให้อย่างต่อเนื่องรวม 4 - 8 ครั้ง ตามความเหมาะสมของหลักสูตร และออกแบบสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการเพื่อทำให้มีการบูรณาการระหว่างทฤษฎีกับภาคปฏิบัติอย่างแท้จริง ในกระบวนการนี้นักศึกษาสามารถเกาะติดและเรียนรู้เพิ่มเติมหรือแม้การทำการทดลองในสถานประกอบการจริงในโจทย์เดิมหรือศึกษาร่วมกับนักศึกษา คณาจารย์ข้ามสาขาวิชาจนได้ข้อสรุปเป็นโครงการหรือแม้แต่สร้างเป็นนวัตกรรมเพื่อเข้าสู่เวทีประกวดในระดับสถาบันและกลุ่มธุรกิจเพื่อสร้างความรู้ใหม่กลับไปสู่องค์กรได้อีกด้วย
  3. Work-based Researching (WBR) เป็นการศึกษาวิจัยของคณาจารย์จากปัญหาวิจัยจริงในองค์การที่ผลวิจัยพร้อมนำไปใช้ในทางปฏิบัติได้โดยตรง และกลับมาสู่การเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดการศึกษาแบบ WBE จะดำเนินการเป็นกระบวนการต่อเนื่องสำหรับหลักสูตรปริญญาตรี 4-5 ปี ทำให้นักศึกษามีโอกาสเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงเป็นเวลาร้อยละ 40 – 50 ของเวลารวมทั้งหมด

หลักสูตรที่เปิดสอน[แก้]

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ เปิดสอนใน 2 ระดับ คือ ระดับปริญญาตรี และปริญญาโท และยังมีวิทยาลัยนานาชาติ เปิดสอนในระดับปริญญาโท และปริญญาเอก

ระดับปริญญาตรีระดับปริญญาโทระดับปริญญาเอก

คณะบริหารธุรกิจ (Modern Trade Business Management )

  • สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ (Modern Trade Business Management)
  • สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ (Modern Trade Business Management: International program)

คณะการจัดการธุรกิจอาหาร (Food Business Management )

  • สาขาวิชาการจัดการธุรกิจอาหาร (Food Business Management)
  • สาขาการจัดการธุรกิจภัตตาคาร (Restaurant Business Management)


คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี (Engineering and Technology)

  • สาขาเทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศ  (Digital and Information Technology)
  • สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ (Computer Engineering and Artificial Intelligence)
  • สาขาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิตอัจฉริยะ  (Industrial Engineering and Intelligent Manufacturing)
  • สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิตยานยนต์  (Automotive Manufacturing Engineering)
  • สาขาวิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Robotics and Automation Engineering)

คณะศิลปศาสตร์ (Liberal Arts )

  • สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ (Business Chinese)
  • สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ (Business Japanese)
  • สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ (Communicative English for Business)


คณะนิเทศศาสตร์ ( Communication Arts)

  • วิชาเอกการสื่อสารองค์กรและแบรนด์ (Corporate and Brand Communication)
  • วิชาเอกวารสารศาสตร์คอนเวอร์เจ้นท์ (Convergent Journalism)


คณะวิทยาการจัดการ (Management Sciences )

  • สาขาวิชาการจัดการอสังหาริมทรัพย์และทรัพย์สินอาคาร (Real Estate and Property Management)
  • สาขาวิชาการบริหารคนและองค์การ (People and Organization Management)
  • สาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยว (Hotel and Tourism Management)
  • สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน (Aviation Business Management)


คณะเกษตรนวัตและการจัดการ

  • สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการเกษตร (Innovative Agricultural Management)


คณะการจัดการการศึกษาเชิงสร้างสรรค์ (Creative Education Management)

  • สาขาวิชาการสอนภาษาจีน (Teaching Chinese Language)
  • สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ (English Language Teaching)


คณะอุตสาหกรรมเกษตร

  • สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีฟาร์ม (Farm Technology Management) ) – English Program
  • สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีแปรรูปอาหาร (Food Processing Technology Management) – English Program

คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง (Logistics and Transportation Management)

  • สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง (Logistics and Transportation Management )

คณะบริหารธุรกิจ (หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต)

  • สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ Modern Trade Business Management (MBA - MTM)


คณะวิทยาการจัดการ (หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต)

  • สาขาวิชาการบริหารคนและกลยุทธ์องค์การ People Management and Organization Strategy (MBA - POS)

คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต)

  • สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ Master of Science Program in Information Technology (MBA-MSIT)


คณะการจัดการการศึกษาเชิงสร้างสรรค์ (หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต)

  • สาขาวิชาการจัดการการศึกษาและความเป็นผู้นำ (Educational Management and Leadership) M.Ed. (Educational Management and Leadership)


คณะนิเทศศาสตร์ (หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต)

  • สาขาวิชาการสื่อสารเชิงนวัตกรรมเพื่อองค์กรสมัยใหม่ Master of Communication Arts Program in Innovative Communication for Modern Organization


วิทยาลัยนานาชาติ International College

  • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ธุรกิจระหว่างประเทศ (หลักสูตรนานาชาติ) Master of Business Administration Program in International Business (iMBA)


วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาจีน

  • หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (หลักสูตรภาษาจีน) Master of Business Administration Program in Business Administration (Chinese Program)
  • หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทางศิลปะ (หลักสูตรภาษาจีน) Master of Arts Program in Arts Management (Chinese Program)

วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาจีน

  • หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (หลักสูตรภาษาจีน) Doctor of Philosophy Program in Business Administration (Chinese Program)
  • หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการศึกษา (หลักสูตรภาษาจีน) Doctor of Philosophy Program in Educational Management (Chinese Program)

พื้นที่การศึกษา[แก้]

ภาพมุมสูง บริเวณลานหูกระจงภายในสถาบันฯ อาคารด้านซ้ายชื่อ Convention Hall อาคารด้านขวาเป็นอาคารอำนวยการ อาคารที่หลบอยู่ด้านหลังเป็นอาคารเอนกประสงค์

แจ้งวัฒนะ (เปิดสอนทุกคณะ/สาขาวิชา)[แก้]

ตั้งอยู่ที่ 85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ ตำบลบางตลาด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0 2855 0000 ถึง 14 โทรสาร 0 2855 0391

หน่วยการเรียนทางไกล[แก้]

เพื่อเป็นการตอบสนองการเรียนใกล้ภูมิลำเนาของตน สถาบันฯ ได้เปิดการเรียนการสอนในหน่วยการเรียนทางไกล ผ่านระบบวิดีโอคอนเฟอเรนจ์ โดยรับส่งสัญญาณแบบเรียลไทม์ จากห้องเรียนในกรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคใต้
  • จ.สมุทรปราการ
  • จ.ชลบุรี
  • จ.เพชรบุรี
  • จ.พระนครศรีอยุธยา
  • จ.อุดรธานี
  • จ.ขอนแก่น
  • จ.นครราชสีมา
  • จ.บุรีรัมย์
  • จ.ลำปาง
  • จ.นครสวรรค์
  • จ.เชียงใหม่
  • จ.สุราษฎร์ธานี
  • จ.สงขลา

อ้างอิง[แก้]

  1. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (พีไอเอ็ม) เปิดรับตรง
  2. "สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM)" ติดอันดับ Top 5 เอเชีย

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • เว็บไซต์หลักสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf