กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีความ สํา คั ญ อย่างไร ต่อการสร้าง เทคโนโลยี

Collection: แฟ้มสะสมงาน 2/2559

Navigate to page:

You are on page 1/13

วิชาวิทยาศาสตร์และการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

สรุปความหมาย/ความสำคัญ/ประโยชน์ ของวิทยาศาสตร

ความหมายของวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์หมายถึง กระบวนการหรือวิธีการแสวงหาความรู้ ความจริงจากธรรมชาติแย่างมีระบบเพื่ออธิบายและทำความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต่างๆ โดยการสังเกต ทดลอง การวิเคราะห์อย่างมี เหตุผล มีจิตวิทยาศาสตร์หรือเจตคติวิทยาศาสตร์มีการใช้วิธีการทางวิทยาศ่สตร์ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับ และเชื่อถือได้

ความสำคัญของวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการดำรงค์ชีวิตของมนุษย์ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นกระบวนการสำคัญที่จะทำให้เกิดการพัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะ ที่สำคัญในการค้นคว้าความรู้ มีความสามารถในการแก้ ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลท่ี่ หลากหลายและมีประจักษ์พยานตรวจสอบได้ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ช่วยให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างขึ้นรวมถึงการนำ ความรู้ไปใช้อย่างสร้างสรรค์ มีเหตุผล มีคุณธรรม นอก จากนั้นยังช่วยให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถุกต้องเกี่ยวกับ การใช้ประโยชน์ การดูแลรักษา ตลอดจนการพัฒนา สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลย์ และยั่งยืน

ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์

1. ช่วยให้เด็กเป็นคนช่างสังเกตจากประสบการณ์ที่เด็กได้ ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
2. ช่วยให้เด็กมีประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
3. ช่วยให้เด็กรู้จักประโยชน์และคุณค่าของสิ่งแวดล้อม
4. ช่วยให้เด็กใช้เวลาว่างอย่างมีคุณค่าและเกิดประโยชน์
5. ช่วยให้เด็กมีอิสระในการคิด การเลือกทำกิจกรรมตาม ความพึงพอใจ
6. ช่วยให้เด็กได้ใช้ส่วนต่างๆของร่างกายในการทำงานเพื่อ ประสานสัมพันธ์กันทำเพื่อให้เกิดทักษะในการเคลื่อนไหว
7. ช่วยให้เด็กกระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น ตอบสนอง ความต้องการตามธรรมชาติของเด็ก
8. ช่วยพัฒนาความสามารถทางด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา
9. ช่วยตอบสนองธรรมชาติ ตามวัยของเด็ก
10. ช่วยให้เด็กเป็นนักคิด นักค้นคว้า ทดลอง เพื่อ ส่งเสริมให้เด็กสัมผัสและปฏิบัติด้วยตนเอง

ชิ้นงาน

Updated on 05 December 2018, 8:43 PM; 64097 page visits from 23 January 2017 to 25 April 2020

บทที่ 1

เร่ืองท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี

1.1.1 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์

1) วิทยาศาสตร์บริสุทธิ (Pure Science) หรือวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
คือ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทีบรรยายถึงความเปนไปของ

ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติ อันประกอบไปด้วย ข้อเท็จจริง
หลักการ ทฤษฏี กฎ และสูตรต่าง ๆ เปนความรู้พืนฐานของนัก
วิทยาศาสตร์ ซึ งได้มาเพือสนองความต้องการอยากรู้อยากเห็น

2) วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Science) วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คือ
วิทยาศาสตร์ทีว่าด้วยเรืองราวต่าง ๆ ทีมุ่งประโยชน์ในทางปฏิบัติยิง
กว่าทฤษฏี วิทยาศาสตร์ประยุกต์เปนวิทยาศาสตร์ทีนาเอาความรู้จาก
วิทยาศาสตร์บริสุทธิ มาประยุกต์เพือให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมสนอง
ความต้องการของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ

ความสําคัญของวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเปนรากฐานสําคัญในการ
พัฒนาประเทศโดยเฉพาะอย่างยิงในการพัฒนา

ทรัพยากรมนุษย์ วิทยาศาสตร์เปนเครืองมือทีช่ วยให้
มนุษย์ มีความสะดวกสบาย มีความสุข มีคุณภาพชี วิตทีดี
ขึน วิทยาศาสตร์ทําให้มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิดเปนเหตุเปน
ผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะทีสําคัญ

ในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้
ปญหาอย่างเปนระบบ

กระบวนการทางวิทยาศาสตร

1) การกาหนดปญหา คือ การกาํ หนดหัวเร่ืองท่ีจะศึกษาหรือปฏิบัติการทดลอง
แกไขปญหาท่ีไดมากจาการสังเกตหรือขอสงสัยในปรากฏการณท่ีพบเห็น

2) การตั้งสมมติฐาน คือ การกาํ หนดหรือคาดคะเนคาตอบของปญหาไวลวงหนา
อยางมีเหตุผล โดยอาศัยขอมูลจากการสังเกต การศึกษาเอกสารท่ีเก่ียวของ

3) การทดลองและรวบรวมขอมูล คือ การปฏิบัติการทดลองคนควาหาความจริง
ของปญหาหรือปรากฏการณเพ่ือหาคําตอบใหสอดคลองกับสมติฐานที่ตั้งไว

4) การวิเคราะหขอมูล คือ การนาํ ขอมูลที่รวบรวมจากขั้นการทดลองมาวิเคราะห
หาความสัมพันธของขอเท็จจริงเพื่อนาํ มาตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว

5) การสรุปผล คือ การสรุปผลการทดลองโดยอาศัยขอมูลท่ีไดจากการวิเคราะห
เพ่ืออธิบายสาเหตุของปญหาหรือปรากฏการณ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร

กลุมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข้ันพื้นฐาน

1.1) ทักษะการสังเกต (Observing)
1.2) ทักษะการวัด (Measuring)

1.3) ทักษะการจาแนกหรือทักษะการจัดประเภทสิ่งของ (Classifying)
1.4) ทักษะการใชความสัมพันธระหวางสเปสกับเวลา
(Using Space/Relationship)

1.5) ทักษะการคานวณและการใชจาํ นวน (Using Numbers)
1.6) ทักษะการจัดกระทาํ และส่ือความหมายขอมูล (Communication)

1.7) ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล (Inferring)
1.8) ทักษะการพยากรณ (Predicting)

กลุมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข้ันสูงหรือทักษะขั้นผสม

1.1) ทักษะการตั้งสมมุติฐาน (Formulating Hypothesis)
1.2) ทักษะการควบคุมตัวแปร (Controlling Variables)
1.3) ทักษะการตีความและลงขอสรุป (Interpreting data)
1.4) ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally)

1.5) ทักษะการทดลอง (Experimenting)

การนาํ ความรู้ไปเลือกใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม

เทคโนโลยี หมายถึง ความรู้ วิชาการ วิธีการและ
ความชํานาญทีสามารถนําไปปฏิบัติให้เกิดประโยชน์
สูงสุด สนองความต้องการของมนุษย์ เพือช่วยใน
การทาํ งานหรือแก้ปญหาต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์ เครือง

มือ เครืองจักร วัสดุ และระบบหรือกระบวนการ
ทาํ งานต่าง ๆ

การเลือกใชอุปกรณทางวิทยาศาสตร

อุปกรณทางวิทยาศาสตร หมายถึง เคร่ืองมือท่ีใชทั้งภายในและภายนอกหอง
ปฏิบัติการเพ่ือใช ทดลองและหาคาํ ตอบตาง ๆ ทางวิทยาศาสตร

ประเภทของอุปกรณทางวิทยาศาสตร
1) ประเภททั่วไป เชน บีกเกอร หลอดทดสอบ ไพเพท บิวเรต กระบอกตวง หลอดหยดสาร
แทงแกวคนสาร ซ่ึงอุปกรณเหลานี้ผลิตข้ึนจากวัสดุที่เปนแกว เนื่องจากปองกันการทาํ
ปฏิกิริยากับสารเคมี นอกจากน้ียังมี เครื่องชั่งแบบตาง ๆ กลองจุลทรรศน ตะเกียง
แอลกอฮอล เปนตน
2) ประเภทเคร่ืองมือชาง เปนอุปกรณท่ีใชไดท้ังภายในหองปฏิบัติการ และภายนอก หอง
ปฏิบัติการ เชน เวอรเนีย คีม และแปรง เปนตน
3) ประเภทสิ้นเปลือง และสารเคมี เปนอุปกรณทางวิทยาศาสตรท่ีใชแลวหมดไปไมสามารถ
นาํ กลับมาใชไดอีก เชน กระดาษกรอง กระดาษลิตมัส และสารเคมี เปนตน

การเลือกใชอุปกรณทางวิทยาศาสตร

1) การใชงานอุปกรณวิทยาศาสตรประเภททั่วไป

1.1) บีกเกอร (BEAKER) ใชสาหรับตมสารละลายท่ีมีปริมาณมาก การเตรียมสารละลายตาง ๆ
สําหรับตกตะกอนและใชระเหยของเหลวที่มีฤทธ์ิเปนกรดนอย

1.2) หลอดทดสอบ (TEST TUBE) ใชตมของเหลวท่ีมีปริมาตรนอย ๆ โดยมี test tube holder
จับกันรอนมือและหลอดทดสอบแบบทนไฟจะมีขนาดใหญ และหนากวาหลอดธรรมดา ใชสาํ หรับ

เผาสารตางๆ ดวยเปลวไฟโดยตรงในอุณหภูมิท่ีสูง

1.3) ไพเพท (PIPETTE) ใชในการวัดปริมาตรไดอยางใกลเคียง มีอยูหลาย ชนิด แตโดยท่ัวไปท่ีมีใชอยู
ในหองปฏิบัติการมีอยู 2 แบบ ใชสําหรับสงผานของสารละลายท่ีมีปริมาตรตามขนาดของไพเพท

1.4) บิวเรท (BURETTE) ใชในการวิเคราะห สามารถวัดปริมาตรไดอยางใกลเคียงความจริงมาก
ที่สุด

1.5) เครื่องช่ัง (BALANCE) โดยทั่วไปจะมี 2 แบบ คือ แบบ triple-beam และแบบ equal-arm

การใชงานอุปกรณวิทยาศาสตรประเภทเครื่องมือชาง

1.1) เวอรเนีย (VERNIER ) เปนเคร่ืองมือที่ใชวัดความยาวของวัตถุ
ท้ังภายใน และภายนอกของชิ้นงาน

1.2) คีม (TONG) คีมมีอยูหลายชนิด คีมท่ีใชกับขวดปริมาตรเรียก
วา flask tong คีมที่ใชกับบีกเกอรเรียกวา Beaker tong และ
คีมท่ีใชกับเบาเคลือบเรียกวา Crucible tong ซ่ึงทาดวยนิเก้ิล
หรือโลหะเจือเหล็กที่ไมเปนสนิม แตอยานา Crucible tong ไปใช

จับบีกเกอรหรือขวดปริมาตรเพราะจะทําใหลื่นตกแตกได

การใชงานอุปกรณวิทยาศาสตรประเภทส้ินเปลืองและสารเคมี

1.1) กระดาษกรอง (FILTER PAPER) เปนกระดาษที่กรองสารท่ีอนุภาคใหญออกจาก
ของเหลวซ่ึง มีขนาดของอนุภาคที่เล็กกวา

1.2) กระดาษลิตมัส (LITMUS) เปนกระดาษที่ใชทดสอบสมบัติความเปนกรด เบสของ
ของเหลว กระดาษลิตมัสมีสองสีคือสีแดงหรือสีชมพู และสีนาเงินหรือ สีฟา วิธีใชคือการ
สัมผัสของเหลวลงบนกระดาษ ถาหากของเหลวมีสภาพเปนกรด (pH < 4.5) กระดาษจะ
เปลี่ยนจากสีนาเงิน เปนสีแดง และในทางกลับกันถาของเหลวมีสภาพเปนเบส (pH > 8.3)

≤ ≤กระดาษจะเปล่ียนจากสีแดงเปนสีนาํ ้เงินถาหากเปนกลาง (4.5 pH 8.3) กระดาษ

ท้ังสองจะไมเปล่ียนสี
1.3) สารเคมี หมายถึง สารท่ีประกอบดวยธาตุเดียวกันหรือสารประกอบจากธาตุตาง ๆ

รวมกันดวย พันธะเคมีซึ่งในหองปฏิบัติการจะมีสารเคมีมากมาย

เร่ืองที่ 2 โครงงานวิทยาศาสตร

ความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร

โครงงานวิทยาศาสตร หมายถึง การศึกษาคนควาเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง
เก่ียวกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีซึ่งผูเรียนเปนผูลงมือปฏิบัติและ
ศึกษาคนควาดวยตนเองเปนรายบุคคลหรือเปนกลุมโดยใชวิธีการ
ทางวิทยาศาสตรภายใตการใหคาํ ปรึกษาและการดูแลของครูหรือผู

เช่ียวชาญในเร่ืองน้ัน ๆ

ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร

โครงงานวิทยาศาสตรท่ีแบงตามลักษณะของกิจกรรม

1) โครงงานวิทยาศาสตรประเภทการสาํ รวจ เปนการศึกษาเชิงสํารวจขอมูล
รวบรวมขอมูลและนําเสนอขอมูลในรูปแบบตาง ๆ
2) โครงงานวิทยาศาสตรประเภทการทดลอง เปนการศึกษาที่มี การออกแบบการ
ทดลองเพ่ือหาคําตอบของปญหา
3) โครงงานวิทยาศาสตรประเภทส่ิงประดิษฐ เปนการประยุกตใชความรู หลักการ
ทางวิทยาศาสตรเพ่ือประดิษฐเครื่องมือเคร่ืองใชหรืออุปกรณเพื่อประโยชนใชสอย
4) โครงงานวิทยาศาสตรประเภททฤษฎี เปนการศึกษาแนวคิดหลักการ ทฤษฏีใหม
ๆ อยางมีหลักการทางวิทยาศาสตร

โครงงานวิทยาศาสตรท่ีแบงตามแหลงท่ีมา

1) โครงงานวิทยาศาสตรตามสาระการเรียนรู
เชน โครงงานทางเคมี ชีววิทยา ฟสิกส
คณิตศาสตร คอมพิวเตอร เปนตน

2) โครงงานวิทยาศาสตรตามความสนใจ เชน
โครงงานวิทยาศาสตร การเกษตร โดย

ลักษณะของโครงงานจะเกี่ยวกับเกษตรทั้งสิ้น

โครงงานวิทยาศาสตรท่ีแบงโดยใชแบบแผนของโครงงาน

1) โครงงานท่ีไมเปนแบบแผน เปนโครงงานที่ไม
จําเปนตองเขียนโครงงานเพียงแตดาํ เนินการ
ตามที่กาํ หนดไว อาจเปนใบงาน หรือชิ้นงานก็ได
2) โครงงานตามแบบแผน เปนโครงงานท่ีจัดทาํ
เปนลายลักษณอักษร มีระเบียบวิธีจัดทําเปนข้ัน
ตอนอยางชัดเจน

แนวทางและการวางแผนข้ันตอนการทาํ โครงงาน
วิทยาศาสตร

การทาํ โครงงานวิทยาศาสตร มี 7 ขั้นตอน ดังน้ี

1) ขั้นสํารวจและตัดสินใจ 2) ข้ันศึกษาขอมูลท่ีเกี่ยวของ 3) ข้ันการวางแผนการทาํ
เลือกเรื่องที่จะทําโครงงาน คือ ศึกษาคนควาเอกสาร โครงงาน คือ การ
คือ การเร่ิมตนจากปญหา ตาง ๆ ท่ีเก่ียวของหรือ ผูที่มี
หรือความสนใจใครรูของผู ความรูความสามารถใหคํา วางแผนการดําเนินงาน
เรียนซ่ึงจะตองสาํ รวจตนเอง โครงงานวิทยาศาสตร
วามีความสงสัย และอยาก ปรึกษา เพ่ือใชเปนแนวทางใน อยางระเอียด รอบคอบ มี
คนหาคําตอบเกี่ยวกับเร่ือง การออกแบบโครงงาน การกาํ หนดขั้นตอนการ
ดาํ เนินงานอยางชัดเจน
ใด แลวนาํ ปญหาน้ันมา
กาํ หนดเปนหัวขอเรื่องที่จะทํา

โครงงาน

4) ขั้นเขียนเคาโครงงาน 5) ขั้นลงมือปฏิบัติ คือ การ 7) ข้ันการนาํ เสนอผลการ
วิทยาศาสตร คือ การเขียน ลงมือปฏิบัติการทําโครง ดําเนินงานโครงงาน
เคาโครงงานวิทยาศาสตร งานตามแผนที่ไดกําหนดไว
ในเคาโครงของโครงงาน วิทยาศาสตร คือ การนาํ
มีองคประกอบ ดังนี้ ชื่อ เสนอผลการทาํ โครงงาน
เร่ืองโครงงาน ชื่อผูทําโครง 6) ข้ันการเขียนรายงานโครง อาจทําไดหลายรูปแบบ
งาน ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน งาน คือ การเขียนรายงานผล เชน นิทรรศการ ประชุม
ที่มาและความสําคัญของ
การดําเนินงานโครงงาน วิชาการ
โครงงาน วัตถุประสงค วิทยาศาสตร ตองเขียนให
โครงงาน สมมติฐานโครง ชัดเจน เขาใจงาย ครอบคลุม
งาน วัสดุอุปกรณท่ีใช วิธี ประเด็นสําคัญท้ังหมดตาม
การดําเนินงาน แผนปฏิบัติ
งาน ผลท่ีคาดวาจะไดรับ เคาโครงของโครงงาน

เอกสารอางอิง

การนําเสนอโครงงานวิทยาศาสตร

เปนการแสดงผลงานของการทาํ โครงงานซ่ึงเปนข้ันตอนสุดทายของการทําโครง
งานวิทยาศาสตร การแสดงผลการทาํ โครงงานทาํ ไดหลายรูปแบบ เชน การแสดง
ในรูปแบบนิทรรศการ การอธิบายดวยการพูดนาํ เสนอ การประชุมวิชาการ โดยมี
การจัดทาํ รูปเลมรายงานผลการทําโครงงานประกอบดวยใหครอบคลุมประเด็น

สาํ คัญตามเคาโครงของโครงงานวิทยาศาสตร

การนาํ เสนอผลโครงงานแบบนิทรรศการ

การนําเสนอผลโครงงานดวยการพูดปากเปลา

การนาํ เสนอโครงงานแบบประชุมวิชาการ

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร

เทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์มีความสัมพันธ์กันมาก โดยเรียกรวมๆ ว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology) ซึ่งเป็นการนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์สาขาต่างๆ มาสมผสานประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติ ประดิษฐ์เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อช่วยให้มนุษย์ทำงานได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวอย่างเช่น

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความสําคัญต่อมนุษย์อย่างไร

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนอกจากช่วยผ่อนแรงในการทำงานแล้ว ก็ยังนำพาเอาความสะดวกสบายเข้ามาให้กับมนุษย์ด้วย จะเห็นได้ว่าในอดีตก่อนที่จะมีเทคโนโลยีนั้นมีหลายอย่างที่ทำขึ้นมาด้วยมือมนุษย์ ใช้เวลานาน เมื่อมีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องจึงทำให้ชีวิตสะดวกสบายมากขึ้น เช่น รถยนต์ เครื่องซักผ้า เตาแก๊ส เตาอบ เหล่านี้ ...

การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความสำคัญต่อเราอย่างไรบ้าง

1. ช่วยส่งเสริมความสะดวกสบายของมนุษย์ 2. ช่วยท าให้การผลิตในอุตสาหกรรมดีขึ้น 3. ช่วยส่งเสริมท าให้เกิดการค้นคว้าวิจัยสิ่งใหม่ 4. ช่วยส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 5. ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนุษย์ 6. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้เศรษฐกิจเจริญรุ่งเรือง

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มีวิธีการอย่างไรบ้าง

เป็นวิธีการที่นักวิทยาศาสตร์ใช้แสวงหาความรู้ แก้ปัญหา โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. สังเกตและระบุปัญหา 2. ตั้งสมมุติฐาน 3. ทาการทดลองหรือทดสอบสมมติฐาน 4. เก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล 5. สรุปผลการทดลอง

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf