รายงานความ ปลอดภัย ใน โรงงาน

ความปลอดภัยในการทำงาน

ความปลอดภัยในการทำงาน หมายถึง ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยที่ดีในการทำงานของผู้ประกอบอาชีพในสาขาต่างๆ
ในที่นี้
จริงๆแล้วมาจากคำภาษาอังกฤษที่ว่า "Occupational Safety and Health" ผู้ประกอบอาชีพในโรงเรียน ได้แก่ ผู้บริหาร
ครู นักเรียน 
เจ้าหน้าที่ด้านต่างๆ ลูกจ้าง คนงาน ยาม เป็นต้น แต่จริงๆ แล้ว ผู้ที่ต้องมีส่วนเข้ามาเกี่ยวข้อง หรือได้รับผลกระทบ
โดยตรง
ในด้านความปลอดภัยในการทำงาน โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับนักเรียนความปลอดภัยในการทำงานเป็นสิ่งสำคัญที่พนักงาน
ต้องตระหนักและพึงระลึกถึงตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน
เพราะหากเกิดอุบัติเหตุจะนำมาซึ่งความสูญเสียทั้งต่อชีวิตและทรัพย์สิน


ความปลอดภัย หมายถึง การที่ร่างกายปราศจากอุบัติภัยหรือทรัพย์สินปราศจากความเสียหายใดๆ เป็นสิ่งที่มนุษย์หรือสัตว์
ต้องการความปลอดภัยทั้งสิ้น 
ความปลอดภัยจะเป็นประโยชน์มากหรือน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับการปฏิบัติหรือการกระทําของตนเอง

 ความปลอดภัยในโรงงาน คือ สภาพที่ปลอดภัยจากอุบัติภัยต่าง ๆ อันจะเกิดแก่ร่างกายชีวิต หรือ ทรัพย์สินในขณะปฏิบัติงานในโรงงาน
ซึ่งก็คือสภาพการทํางานที่ถูกต้องโดยปราศจาก อุบัติเหตุในขณะทํางานนั่นเอง อุบัติเหตุ อาจนิยามได้ว่า คือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างไม่พึงประสงค์
ในระหว่างการทํางานและมีผลไปขัดขวางหรือก่อผลเสียหายแก่การทํางานนั้นในโรงงานต่าง ๆ นั้นย่อมจะเกิดอุบัติเหตุกับระบบต่าง ๆ ได้มาก
อาทิ เครื่องจักรเครื่องกล ระบบไฟฟ้า ระบบขนส่งหรือขนถ่ายวัสดุ เครื่องมือกล วัตถุดิบ สารเคมี สารไวไฟ ฯลฯ อุบัติเหตุที่เกิดแก่ชีวิตร่างกาย 
จากสถิติที่ประเมินมาพบว่าอุบัติเหตุที่เกิดแก่ร่างกายของคนงานคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ความถี่บ่อย ๆ ครั้งในการเกิดดังนี้

สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ สาเหตุจากการกระทําที่ไม่ปลอดภัย ได้แก่

•สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ สาเหตุจากการกระทําที่ไม่ปลอดภัย ได้แก่
•การกระทําไม่ถูกวิธีหรือไม่ถูกขั้นตอน
•ความประมาท พลั้งเผลอ เหม่อลอย
•การมีนิสัยชอบเสี่ยง
•การไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบความปลอดภัยในการทํางาน
•การทํางานโดยไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
•การแต่งกายไม่เหมาะสม
•การทํางานโดยสภาพร่างกายและจิตใจไม่ปกติ เช่น เมาค้าง ป่วย

สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ สาเหตุจากสภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย ได้แก่

•ส่วนที่เป็นอันตรายหรือส่วนที่เคลื่อนไหวไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตราย
•การวางผังไม่ถูกต้อง วางสิ่งของไม่เป็นระเบียบ
•พื้นโรงงานขรุขระเป็นหลุมบ่อ
•พื้นโรงงานมีเศษวัสดุ น้ำมัน น้ำบนพื้น
•สภาพการทํางานไม่ปลอดภัย เช่น เสียงดัง อากาศร้อน ฝุ่นละออง
•เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ชํารุด
•ระบบไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าชํารุด

การป้องกันก่อนการเกิดอุบัติเหตุ คือ การป้องกันหรือมีการเตรียมการล่วงหน้า เพื่อไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ โดยมีหลักการต่างๆ เช่น 

หลักการ 5 ส. สู่การป้องกันอุบัติเหตุ เช่น
•สะสาง หมายถึงการแยกแยะงานดี-งานเสีย ใช้-ไม่ใช้
•สะดวก หมายถึงการจัดการ จัดเก็บให้เป็นระเบียบเป็นหมวดหมู่
•สะอาด หมายถึงการทำความสะอาดเครื่องมือ เครื่องจักรอุปกรณ์ สถานที่ก่อนและหลังการใช้งาน
•สุขลักษณะ หมายถึงผู้ปฎิบัติงานต้องรักษาสุขอนามัยของตัวเอง เครื่องมือ และสถานที่
•สร้างนิสัย หมายถึงการสร้างนิสัยที่ดี

กฎ 5 รู้
•รู้ งานที่ปฏิบัติว่ามีอันตรายอย่างไร มีขั้นตอนการทำงานอย่างไร

•รู้ การเลือกใช้เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์

•รู้ วิธีการใช้เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์

•รู้ ข้อจำกัดการใช้เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์

•รู้ วิธีการบำรุงรักษาเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์

Visitors: 103,455

แบบฟอร์มเอกสารรายงานด้านความปลอดภัย สำหรับ จป.

แบบฟอร์มเอกสารรายงานเกี่ยวกับหม้อไอน้ำ

กระทรวงอุตสาหกรรม

  • แบบ สปภ.1-26 (คำขอความเห็นชอบในการตรวจสอบภายในหม้อน้ำ ทุกระยะเวลาเกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี ต่อการตรวจสอบหนึ่งครั้ง)

  • แบบ สปภ.1-28 (รายงานการตรวจสอบภายนอกหม้อน้ำและตรวจสอบการทำงานของระบบควบคุมและอุปกรณ์ความปลอดภัย)

  • แบบเอกสารรับรองความปลอดภัยในการใช้หม้อน้ำ

  • แบบเอกสารรับรองความปลอดภัยในการใช้หม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนำความร้อน

  • แบบเอกสารรับรองความปลอดภัยในการใช้หม้ออบไอน้ำ / ภาชนะรับแรงดัน

  • แบบ สภ 1-21 (คำขอขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยงานจัดฝึกอบรมหลักสูตรผู้ควบคุมประจำหม้อน้ำหรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนำความร้อน)
  • แบบ สภ 1-22 (คำขอต่ออายุการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยงานจัดฝึกอบรมหลักสูตรผู้ควบคุมประจำหม้อน้ำ หรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนำความร้อน)
  • แบบ สภ.1-22-1 (แบบรายงานสรุปการฝึกอบรม)
  • แบบ สภ.1-22-2 (แบบรายงานสรุปผลการประเมินการจัดฝึกอบรม)
  • แบบ สภ.1-23 (หนังสือรับรองการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยงานจัดฝึกอบรมหลักสูตรผู้ควบคุประจำหม้อน้ำ หรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนำความร้อน)
  • แบบ สภ.1-24 (หนังสือรับรองการต่ออายุการทะเบียนเป็นหน่วยงานจัดฝึกอบรมหลักสูตรผู้ควบคุมประจำหม้อน้ำ หรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนำความร้อน)
  • แบบ สภ.1-25 (ชื่อหน่วยจัดฝึกอบรม)

แบบฟอร์มเอกสารรายงานเกี่ยวกับวัตถุอันตราย (กระทรวงอุตสาหกรรม)

กระทรวงอุตสาหกรรม

  • แบบ วอ./อก. 24 (ใบแจ้งการนำส่งเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการนำเข้าการส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครอง ซึ่งวัตถุอันตราย ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 สำหรับวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา พ.ศ. 2559)

  • บฉ. 1 (แบบการแจ้งมีบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบการเก็บรักษาวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ)
  • บฉ. 2 (แบบคำขอจดทะเบียนบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ)
  • บฉ. 3 (หนังสือรับรองการจดทะเบียนบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ บฉ. 3)
  • บฉ. 4 (รายงานความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย)

  • แบบ วอ.1 (คำขออนุญาตผลิตวัตถุอันตราย)
  • แบบ วอ.2 (ใบอนุญาตผลิตวัตถุอันตราย)
  • แบบ วอ.3 (คำขออนุญาตนำเข้าวัตถุอันตราย)
  • แบบ วอ.4 (ใบอนุญาตนำเข้าวัตถุอันตราย)
  • แบบ วอ.5 (คำขอส่งออกวัตถุอันตราย)             
  • แบบ วอ.6 (ใบอนุญาตส่งออกวัตถุอันตราย)
  • แบบ วอ.7 (คำขออนุญาตมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย)
  • แบบ วอ.8 (ใบอนุญาตมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย)
  • แบบ วอ.9 (คำขอต่อใบอนุญาต)

  • แบบ วอ.7 (ตัวอย่างคำขออนุญาตมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย)
  • แบบ วอ.10 (คำขอชำระค่าธรรมเนียมรายปีตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535)

  • วอ./อก.1 (คำขอขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย)
  • วอ./อก.2 (ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย)
  • วอ./อก.3 (ข้อมูลความปลอดภัย)
  • วอ./อก.4 (คำขอต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย)
  • วอ./อก.8 (คำขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย)
  • วอ./อก.9 (คำขออนุญาตผลิตหรือนำเข้าตัวอย่างวัตถุอันตราย)
  • วอ./อก.10 (ใบอนุญาตผลิตตัวอย่างวัตถุอันตราย)
  • วอ./อก.11 (ใบอนุญาตนำเข้าตัวอย่างวัตถุอันตราย)

  • วอ./อก.5 ใบแจ้งการดำเนินการเกี่ยวกับวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 (ในความรับผิดชอบของกรมโรงงานอุตสาหกรรม)
  • วอ./อก.5/1 ใบขอต่ออายุใบรับแจ้งการดำเนินการเกี่ยวกับวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 (ในความรับผิดชอบของกรมโรงงานอุตสาหกรรม)
  • วอ./อก.5/2 ใบแจ้งความประสงค์ขอใช้บริการแจ้งหรือขอต่ออายุใบรับแจ้งการดำเนินการเกี่ยวกับวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 ในความรับผิดชอบของกรมโรงงานอุตสาหกรรมโดยผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม

  • แบบ วอ./อก.6 ใบแจ้งข้อเท็จจริงของ ผู้นำเข้า ผู้ส่งออกวัตถุอันตราย
  • แบบ วอ./อก.7 ใบแจ้งข้อเท็จจริงของผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออกหรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย
  • แบบ วอ./อก.7.1 ใบแจ้งข้อเท็จจริงของผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออกหรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย
  • แบบ วอ./อก.7.2 ใบแจ้งข้อเท็จจริงของผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออกหรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย

  • แบบ วอ./อก.6.1 ใบสมัครเป็นสมาชิกขอใช้บริการแจ้งข้อเท็จจริงของผู้นำเข้าหรือผู้ส่งออกซึ่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ
  • แบบ วอ./อก.6.2 หนังสือรับรองได้เป็นสมาชิกการใช้บริการการแจ้งข้อเท็จจริงของ ผู้นําเข้าหรือผู้ส่งออกซึ่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีอํานาจหน้าที่รับผิดชอบ
  • แบบ วอ./อก.6.3 หนังสือรับแจ้งข้อเท็จจริงของผู้นำเข้าหรือผู้ส่งออกซึ่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ

  • แบบ วอ./อก.7.3 ใบสมัครเป็นสมาชิกขอใช้บริการแจ้งข้อเท็จจริงของผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครอง ซึ่งวัตถุอันตราย

แบบฟอร์มเอกสารรายงานเกี่ยวกับระบบทำความเย็น

Click edit button to change this text. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Ut elit tellus, luctus nec ullamcorper mattis, pulvinar dapibus leo.

แบบฟอร์มเอกสารรายงานเกี่ยวกับการจัดหางาน

กระทรวงแรงงาน

  • แบบ นจ. 1 การแจ้งความต้องการจ้างคนต่างด้าว
  • แบบ นจ. 2 คำร้องขอนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างในประเทศ
  • แบบ นจ. 3 คำขอรับใบอนุญาตนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างในประเทศ
  • แบบ นจ. 5 คำขอต่ออายุใบอนุญาตนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างในประเทศ
  • แบบ นจ. 6 สัญญาค้ำประกันของธนาคาร (กรณีผู้รับอนุญาตเป็นผู้วางหลักประกัน)
  • แบบ นจ. 6 ก สัญญาค้ำประกันของธนาคาร (กรณีนายจ้างเป็นผู้วางหลักประกัน)
  • แบบ นจ. 7 คำขอเปลี่ยนแปลงหลักประกัน
  • แบบ นจ. 8 คำขอรับหลักประกันคืน

  • แบบ นจ. 9 คำขอย้ายสำนักงาน
  • แบบ นจ. 10 คำขอตั้งสำนักงานชั่วคราว

  • แบบ นจ. 11 คำขอเปลี่ยนผู้จัดการ

  • แบบ นจ. 12 คำขอจดทะเบียนลูกจ้างซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวกับการนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างในประเทศ
  • แบบ นจ. 13 ทะเบียนลูกจ้างซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวกับการนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างในประเทศ

  • แบบ นจ. 17 ใบรับค่าบริการและค่าใช้จ่าย การนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างในประเทศ

  • แบบ นจ. 18 รายงานเกี่ยวกับการนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างในประเทศ

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf