ตัวอย่าง โครงการ ขายเสื้อผ้า ออนไลน์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โครงการขายเสอ้ื ผ้าออนไลนเ์ ด็กและผูใ้ หญ่
ประจำปีการศึกษา 2564

สาขาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขายเส้อื ผา้ ออนไลนเ์ ดก็ และผใู้ หญ่

ประจำปีการศึกษา 2564

ของ
นายกติ ติพงศ์ แสงศรี
นายจริ กติ ติ์ เจรญิ เวช
นายปิยพงษ์ ศรีละมยั

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี

คำนำ

โครงการขายเสื้อผ้าออนไลน์เด็กและผู้ใหญ่จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาให้ผู้ขายมองเห็น
โอกาสทางการขายที่เพิ่มขึ้นในตลาดออนไลน์ของตัวเอง ด้วยการนำสินค้า/บริการอื่น ๆ เข้าสู่ตลาดออนไลน์
เพิ่มขึ้น เพื่อยกระดับให้ผู้ขายมีกลยุทธ์ในการเพิ่มยอดขาย ด้านเทคนิคต่าง ๆ ที่ให้เลือกตามความเหมาะสม
ของตลาดที่ตัวเองดูแลอยู่ เพื่อส่งเสริมให้ผู้ขายมีแนวทางการบริหารงานขายอย่างเป็นระบบและสามารถ
ปฏบิ ตั งิ านขายไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิผลเพ่มิ มากขน้ึ โดยดำเนินโครงการอย่างเป็นระบบ นับตงั้ แตก่ ารศึกษาสภาพ
ปัจจุบันปัญหาและความต้องการ การกำหนดจุดพัฒนา การวางแผน การปฏิบัติงานตามแผน การนิเทศ
ติดตามผล และประเมินโครงการ เพื่อนำผลการประเมินโครงการไปใช้ในการพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง และ
เป็นระบบ ผลการดำเนินงานช่วยให้นักศึกษาได้ มีความรู้ มีประสบการณ์ในการพัฒนาเกี่ยวกับการทำ
โครงการขายของออนไลน์
สง่ ผลใหน้ กั ศึกษามีคุณภาพตามจุดหมายของหลกั สตู ร

ขอขอบคณุ อาจารย์อยบั ซาดัคคาน (ท่ีให้คำปรกึ ษา แนะนำ)
ที่ให้ความร่วมมือในการดำเนินโครงการขายเสื้อผ้าออนไลน์เด็กและผู้ใหญ่ และประเมินโครงการขายเสื้อผ้า
ออนไลนเ์ ดก็ และผ้ใู หญ่ ทำใหก้ ารดำเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนด ซึง่ ประโยชนท์ ี่ได้รับคือ ศึกษาหา
ความรู้ และมีประสบการณ์ในการขายเสื้อผ้าออนไลน์เด็กและผู้ใหญ่มากยงิ่ ข้ึน และผู้เกีย่ วข้องในโครงการคร้ัง
น้ี ไดม้ ีการพัฒนางาน ให้มคี วามก้าวหนา้ ต่อไป

กิตติพงศ์ แสงศรี
(นายกิตตพิ งศ์ แสงศรี)
ตำแหนง่ หัวหน้าโครงการ

สารบญั ข

เรื่อง หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
บทคัดยอ่ ค
บทที่ 1 บทนำ 1
1
ความเปน็ มาของโครงการ 1
หลักการและเหตผุ ลของโครงการ 1
วัตถุประสงคโ์ ครงการ 1
ขอบเขตดำเนนิ เดนิ งานโครงการ 6
นิยามศพั ท์ 6
ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รบั 7
บทที่ 2 รายละเอียดของโครงการ และวรรณกรรมทเ่ี ก่ียวข้อง 7
หลกั การแนวคดิ ทฤษฎีท่ีเก่ียวกบั การดำเนนิ โครงการ 29
บทที่ 3 วิธกี ารประเมินโครงการ 29
รูปแบบการประเมินโครงการ 30
วธิ ีการการประเมินโครงการ 30
ประชากรกลุ่มตวั อยา่ ง 30
เครอ่ื งมือที่ใช้ในการประเมนิ โครงการ 32
บทท่ี 4 ผลการประเมนิ โครงการ 33
ผลการประเมนิ ดา้ นสภาวะแวดล้อม 35
ผลการประเมนิ ดา้ นปจั จัย 38
ผลการประเมนิ ดา้ นกระบวนการ 41
ผลการประเมินด้านผลผลติ 46
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 46
วตั ถุประสงค์ของการประเมนิ โครงการ 46
ประชากรกลุม่ ตัวอยา่ ง 46
รปู แบบการประเมนิ 46
เคร่อื งมือที่ใช้ประเมนิ โครงการ 47
อภปิ รายผล 48
ข้อเสนอแนะ 50
บรรณนกุ รม 52
ภาคผนวกเคร่ืองมือการประเมิน 55
ภาคผนวกรูปภาพโครงการ

บทคัดยอ่

ชอ่ื เรือ่ งการประเมินโครงการ ขายเส้ือผ้าออนไลน์เด็กและผู้ใหญ่
ผู้รบั ผดิ ชอบ นาย กติ ตพิ งศ์ แสงศรี

นาย จิรกติ ต์ิ เจริญเวช
นาย ปิยพงษ์ ศรลี ะมยั
ระยะเวลาการประเมนิ โครงการ
ระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการและทำการประเมนิ โครงการ วนั ที่ 10 กันยายน 2564 ถงึ
วันท่ี 10 ตุลาคม 2564
ระยะเวลาในการประเมินโครงการ วนั ท่ี 10 กันยายน 2564 ถึง วนั ท่ี 10 ตุลาคม 2564
วัตถุประสงค์โครงการ
1. เพื่อศึกษากาธุรกิจเสอ้ื ผ้าออนไลน์
2. เพอ่ื พฒั นาชอ่ งทางการจัดจำหน่าย
3. เพื่อเป็นการลดปัญหาการตดิ โรคระบาด
4. เพอ่ื เปน็ การช่วยลดภาระคา่ ใช้จ่ายในการไปซือ้ เอง
วิธดี ำเนนิ โครงการ
การประเมินโครงการ ขายเสือ้ ผ้าออนไลนเ์ ดก็ และผใู้ หญด่ ำเนินในระหว่าง วนั ท่ี 10
กันยายน พ.ศ. 2564 ถงึ วนั ท่ี 10 ตุลาคม พ.ศ.2564 โดยใช้กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ลูกค้าทใ่ี ช้
บรกิ ารในการสั่งซือ้ สินค้ากับทางรา้ น
เครื่องมือที่ใชป้ ระเมนิ โครงการคือ
การประเมินโครงการขายเสื้อผา้ ออนไลนเ์ ดก็ และผใู้ หญ่ ใชร้ ปู แบบการประเมินแบบ CIPP
Model
ผลการประเมนิ โครงการ
ผลการประเมนิ โครงการในแตล่ ะดา้ นดังน้ี
1.
2.

บทท่ี 1

บทนำ

หลกั การและเหตผุ ล

เน่ืองจากในปจั จบุ นั อาชีพ ค้าขาย ได้รับผลกระทบจากโรคระบาดโควดิ -19 ทำให้มีมียอดการขายท่ลี ดลง
และรายได้ไมเ่ พยี งพอต่อการใชจ้ ่าย เน่ืองจากโรคโควดิ -19 ทำให้อาชพี คา้ ขายเปน็ อาชีพท่ีพบกับลูกคา้ ในทกุ ๆ
วนั จึงเปน็ อาชพี ท่เี ส่ียงต่อการตดิ โรคระบาดได้ ทำให้สง่ ผลกระทบตอ่ อาชีพคา้ ขายจึงทำใหต้ อ้ งเพิ่มชอ่ งทางการ
จำหน่ายเพื่อให้สะดวกต่อการเลอื กซ้ือสนิ คา้ และลกู ค้าสามารถซื้อสินคา้ ไดผ้ า่ นทางช่องทางออนไลนม์ ีความ
ปลอดภัยต่อการตดิ โรคระบาดและเขา้ ถึงได้ในวงกวา้ งมีการจำหนา่ ยทีเ่ พ่ิมขึ้น การขายสินค้าผ่านทางออนไลน์
เป็นอกี หนึ่งช่องทางทีอ่ าชพี ค้าขายสามารถทำไดใ้ นช่วงวิกฤต โควิด-19 เพ่ือให้จำหน่ายสินค้าไดโ้ ดยมีความ
ปลอดภยั ไม่ต้องพบปะกับลูกค้าในช่วงโรคระบาด และมีการขายทางส่ือออนไลน์ทล่ี ูกค้าสามารถเข้าถงึ ไดอ้ ยา่ ง
ท่วั ถึง

จากที่กล่าวมาข้างต้นผู้ศึกษาเป็นส่วนหนึ่งในการเลือกซื้อสินค้าผ่านทางช่องทางออนไ ลน์เพราะเป็นการ
เลือกซ้อื สนิ คา้ ที่มีความสะดวกและมีความปลอดภัยต่อโรคโควดิ -19 จึงได้จัดทำโครงการ “ขายเสื้อผ้าออนไลน์
เด็กและผู้ใหญ่”เพื่อเป็นการส่งเสริมอาชีพการขายสินค้าออนไลน์ และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการขายของ
ออนไลน์ที่ผู้ทำโครงการได้เรียนรู้และฝึกประสบการณ์ในการขายของออนไลน์ สำหรับเป็นพื้นฐานในการ
ประกอบอาชีพในอนาคตตอ่ ไป

วัตถปุ ระสงค์

1. เพอื่ ศึกษากาธรุ กิจเสือ้ ผ้าออนไลน์
2. เพอ่ื พัฒนาช่องทางการจดั จำหน่าย
3. เพือ่ เปน็ การลดปัญหาการติดโรคระบาด
4. เพ่อื เปน็ การช่วยลดภาระค่าใช้จา่ ยในการไปซ้ือเอง

ขอบเขตของโครงการ

สถานทด่ี ำเนนิ การ
บ้านพักของสมาชิกในกล่มุ หมทู่ ี่3 ตำบล ท่าชี อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี

ระยะเวลาการประเมนิ โครงการ

วันที่ 10 เดือน กนั ยายน พ.ศ. 2564 ถงึ วนั ที่ 10 เดือน ตลุ าคม พ.ศ. 2564

2

เป้าหมายของโครงการ
ด้านปริมาณ
• เพอ่ื ทำขายเส้ือผา้ เด็กและผใู้ หญใ่ ห้ไดจ้ ำนวน 100 ช้ิน ใน 1 เดือน
• สมาขิกในกลมุ่ จะมีความรู้ความเข้าใจในการขายเสื้อผา้ เด็กและผู้ใหญ่ร้อยละ 70 %
ดา้ นคณุ ภาพ
• การขายเสื้อผ้าเด็กและผู้ใหญส่ ามารถป้องกันการตดิ ต่อของโรคระบาดอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

งบประมาณ
งบประมาณเป็นของสมาชิกในกลมุ่ ทง้ั หมดประมาณ 299 บาท

คา่ อินเตอร์เนต็ 299 บาท
ปจั จัยในการดำเนนิ โครงการ

1. โทรศพั ท์มือถือหรือคอมพิวเตอร์
บุคคลท่รี ่วมในการดำเนินการ

สมาชิกในกลมุ่ ประกอบด้วย นายกิตติพงศ์ แสงศรี นายจริ กิตต์ิ เจริญเวช และ นายปิยพงษ์ ศรลี ะมัย
เอกสาร แหล่งเรียนรู้ สถานประกอบการ

สมาชิกในกลุ่มไดท้ ำการศึกษาจากอนิ เตอรเ์ น็ตในการใช้ประกอบขอ้ มลู และศึกษาความรู้ในการขาย
เสื้อผา้ ออนไลนจ์ ากแหลง่ เรยี นรู้คือ กลมุ่ ขายสนิ ค้าออนไลน์

อาคารสถานที่
ที่พักอาศยั ของสมาชิกในกลุ่ม ตง้ั อยูท่ ีช่ ุมชนบา้ นบนควน หมู่ที่ 3 ตำบลท่าชี อำเภอบา้ นนาสาร

จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี

กจิ กรรมในการดำเนินงานโครงการ
กจิ กรรม ขายเสื้อผ้าเด็กและผู้ใหญ่

รายละเอยี ดกจิ กรรมการดำเนินโครงการ
1. กิจกรรม เรียนรแู้ ละปฏบิ ัติทำขายเส้ือผา้ เดก็ และผใู้ หญ่
1.1 วตั ถปุ ระสงค์
1.1.1 เพือ่ ศึกษาการการขายเสื้อผา้ ผ่านทางออนไลน์
1.1.2 เพอ่ื พฒั นาการขายเส้อื ผ้าออนไลน์

3

1.2 การดำเนนิ โครงการ
1.2.1 ศึกษาวธิ กี ารขายเสอ้ื ผ้าออนไลน์
1.2.2 ศึกษาและเรียนรขู้ ้นั ตอนของการลงมือปฏบิ ตั ิขายบนอนิ เตอรเ์ น็ต
1.2.3 ลงมอื ปฏบิ ัตขิ ายสินผา่ นชอ่ งทางออนไลน์
1.2.4 ทำการขายในอินเตอรเ์ น็ต พรอ้ มทำการประเมินผล
1.2.5 สรุปผลการประเมินโครงการ แลว้ จดั ทำรายงานโครงการ

1.3 เครือ่ งมือในการประเมนิ ผล
1.3.1 ใช้รูปแบบการประเมนิ โครงการแบบ CIPP MODEL

1.4 ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั
1.4.1 สมาชกิ ในกลุ่มจะไดร้ บั ความรจู้ ากการศึกษาและปฏิบัตกิ ารทำขายเส้อื ผ้าในช่องทาง

ออนไลนแ์ ละยังสามารถนำความรจู้ ากการปฏิบตั นิ นั้ ไปต่อยอดหรอื พฒั นาเป็นอาชีพหลักได้ในอนาคต
1.4.2 การขายเสื้อผา้ เดก็ และผใู้ หญ่ทที่ างสมาชิกในกลุ่มได้ดำเนนิ การของโครงการน้สี ามารถ

นำไปทำการสร้างรายไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
ระยะเวลาดำเนินงานตามโครงการ

ระหว่างวนั ท่ี 10 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2564 ถึงวนั ท่ี 10 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564
โดยมปี ฏิทนิ ปฏบิ ัติงานในการดำเนนิ โครงการดังนี้

ระยะเวลา กจิ กรรม ผ้รู ับผดิ ชอบ
สมาชกิ ในกลุ่ม
15 กนั ยายน 2564 ศึกษาถงึ การขายสินค้าผ่านช่องทาง
ออนไลน์และพฒั นาการขายและเรียนรูจ้ ากผู้ สมาชิกในกลุ่ม
มปี ระสบการณ์ในการขายสนิ ค้าออนไลน์ สมาชกิ ในกลุ่ม
สมาชกิ ในกลุ่ม
20 กนั ยายน 2564 จัดเตรยี ม จดั หาวสั ดุอุปกรณ์ สถานทีใ่ น
การขายสินค้าออนไลน์

25 กันยายน 2564 ดำเนินการทำการโพสต์สินค้าลงใน
อินเตอร์เน็ต พรอ้ มทง้ั ทำการขาย

30 กนั ยายน 2564 ทำการขายให้กบั ลูกค้าท่สี นใจในสนิ ค้า

4

กระบวนการการดำเนนิ โครงการ

รายงานผลการจดั ทำโครงการ “ขายเส้อื ผา้ ออนไลน์เด็กและผูใ้ หญ่” ไดม้ ีการนำหลักการคุณภาพของ
เดมม่ิง “PDCA” มาใช้ในการดำเนินการ 4 ข้นั ตอนดงั นี้
1. ขน้ั ตอนการร่วมกันวางแผน (Plan)
2. ขน้ั ตอนการร่วมกันปฏิบตั ิ (Do)
3. ขัน้ ตอนการรว่ มกันประเมิน (Check)
4. ขั้นตอนการรว่ มปรับปรุง (Act)

1.ข้นั ตอนการร่วมกนั วางแผน (Plan)
ขน้ั ตอนนเ้ี ป็นการวางแผนในการดำเนินโครงการ โดยมขี ้นั ตอนดงั นี้
1.1 สมาชกิ ในกลมุ่ รว่ มกันประชุมปรกึ ษากนั ในการเสนอช่ือโครงการ พรอ้ มทงั้ รว่ มกนั ศึกษา
ข้อมูลท่ีเกีย่ วข้องกับช่ือโครงการ และศึกษาถึงปัจจยั ตา่ ง ๆ
1.2 สมาชิกในกลุ่มไดจ้ ดั ทำโครงขายเสื้อผา้ ออนไลนเ์ ด็กและผู้ใหญ่ พร้อมทั้งวางแผนและแนวทาง
ขั้นตอนในการดำเนินโครงการ พร้อมท้ังจัดเตรยี มงบประมาณในการดำเนินโครงการ
1.3 สมาชกิ ในกล่มุ ได้มีการประสานงานไปยังสถานท่ีในการจดั ทำโครงการ พร้อมทงั้
ประสานงานไปยังผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี
1.4 สมาชิกในกลมุ่ จัดเตรยี มจัดหาวัสดุ อปุ กรณ์ เครื่องมือเครือ่ งใชต้ ่าง ๆ ในการดำเนนิ
โครงการ

2.ข้ันตอนการร่วมกนั ปฏิบตั ิ (Do)
ข้นั ตอนน้เี ป็นการลงมือปฏบิ ัติดำเนนิ โครงการ โดยมขี น้ั ตอนดังนี้
2.1 สมาชิกในกลมุ่ ไดท้ ำการเสนอโครงการต่ออาจารยท์ ่ีปรึกษา เพื่อขออนุมัตใิ นการดำเนินโครงการ
2.2 ดำเนนิ โครงการขายเสื้อผ้าออนไลนเ์ ด็กและผใู้ หญ่ ในช่วงเวลาตามปฏิทินทีท่ างโครงการได้กำหนดไว้
โดยสมาชกิ ในกลมุ่ ไดล้ งมือปฏิบัตโิ ครงการ โดยมีการปฏบิ ตั ิดงั นี้
• ศกึ ษาข้อมลู ขายเสอื้ ผา้ ออนไลนเ์ ด็กและผู้ใหญ่
• สมาชกิ ในกลมุ่ รว่ มลงมือปฏิบตั กิ ารขายพรอ้ มทั้งไดร้ บั ฟังและรบั คำแนะนำจากผมู้ ีความรู้
• ทำการเตรยี มหาเสอื้ ผา้ เดก็ และผู้ใหญท่ ีจ่ ะขาย แลว้ นำมาโพสต์ลงในอนิ เตอรเ์ น็ต
• สมาชกิ ในกลมุ่ ได้ทำการขายเส้อื ผา้ เดก็ และผู้ใหญ่ และมีผู้ทส่ี นใจเข้ามาเลือกซ้ือสนิ คา้

3.ขนั้ ตอนการร่วมกันประเมิน (Check)
โครงการขายเสื้อผ้าออนไลน์เด็กและผู้ใหญ่ได้จัดทำแบบประเมินในด้านต่าง ๆ ซึ่งเป็นแบบประเมินเชิง

คุณภาพ เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และผลที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ เพื่อประเมิน
โครงการและวดั ผลของการดำเนินโครงการ

5

4.ข้ันตอนการรว่ มกนั ปรบั ปรุง (Act)
สมาชิกในกลุ่มได้ทำการติดตาม ประเมินผลโครงการ แล้วรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่จัดทำโครงการ รวมไป

จนถึงความสำเร็จ ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ในการดำเนินโครงการคร้ังน้ี มาสรุปผล เพื่อนำไป
ปรับปรุงและพัฒนาในการดำเนนิ โครงการในคร้งั ถัดไป

จากที่ได้นำหลักการคุณภาพของวงจรคุณภาพเดมมิ่ง “PDCA” มาใช้ในการดำเนินโครงการสามารถแจก
แจงเปน็ ตารางได้ดังนี้

ขน้ั ตอน ขั้นตอน/วิธกี ารดำเนนิ งาน (ตามกระบวนการ PDCA)
P = Plan รายละเอยี ดกิจกรรม
การวางแผน
ระยะท่ี 1 (ต้นทาง) (10 ก.ย. 2564 – 15 ก.ย. 2564)
D = Do - สมาชกิ ในกล่มุ คิดโครงการ ประชุมวางแผนขัน้ ตอนการดำเนนิ โครงการ
การปฏบิ ตั ิ - สมาชกิ ในกล่มุ ศึกษาถงึ ปจั จยั สภาพแวดลอ้ มตา่ ง ๆ และขอ้ มลู ท่เี ก่ยี วกับโครงการ
- สมาชิกในกลุ่มได้เสนอโครงการต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขออนุมัติโครงการและเพื่อ
ดำเนนิ โครงการในขั้นตอนต่อไป
ระยะที่ 2 (กลางทาง) ( 16 ก.ย. 2564 – 25 ก.ย. 2564)
- ทำการสำรวจสภาพแวดล้อมของชอ่ งทางออนไลนท์ จ่ี ะขายเพื่อทำแผนการปฏิบตั ิ
- ทำการจดั เตรียมอปุ กรณ์และสนิ คา้
- นำสินค้าเข้าสู่เขา้ ระบบอนไลน์ เพ่ือจดั จำหน่าย
- ทำการขายสนิ ค้าใหก้ บั บคุ คลทีม่ คี วามสนใจในสนิ ค้า

C = Check ระยะที่ 3 (กลางทาง) (25 ก.ย. 2564 – 30 ก.ย. 2564)
การตรวจสอบ -จัดทำแบบประเมินผลโครงการในเชิงคุณภาพด้านต่าง ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับ

วัตถุประสงค์ของโครงการเป้าหมายและผลที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ เพื่อใช้สำหรับ
การประเมินผบโครงการและวัดผลการดำเนนิ โครงการ
A = Action ระยะท่ี 4 (ปลายทาง) (1 ต.ค. 2564 – 10 ต.ค. 2564)
การปรับปรุง -ทำการตดิ ตามผลการดำเนนิ โครงการ การแก้ไขปญั หา ในระหว่างการดำเนนิ โครงการ
พฒั นา -รวบรวมข้อมูลความสำเร็จของโครงการในด้านต่าง ๆ รวมถึงปัญหาและอุปสรรค
ขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ ในระหว่างการดำเนินโครงการ มาสรปุ ผล
-พัฒนาต่อยอดเพื่อสร้างความเข้มแข็งของโครงการและสร้างความสำเร็จของโครงการ
และเพอ่ื ยกระดับในการดำเนนิ การโครงการในครงั้ ต่อไป

6

นิยามศัพท์

เสื้อผ้า หรือ เครื่องแต่งกาย หรือ เครื่องนุ่งห่ม เป็นสิ่งที่มนุษย์สวมใส่เพื่อปกป้องร่างกายจากสภาวะ
อากาศ สภาพแวดล้อม ความปลอดภัย ความสะดวกสบาย ความสุภาพ และเพื่อสะท้อนถึง สังคม ศาสนา
วัฒนธรรม รวมถึง รสนิยมเฉพาะตัวบุคคลด้วย เสื้อผ้าบางชนิดอาจออกแบบให้สวมใส่เฉพาะเพศ แต่ไม่นับ
กรณีการแต่งตวั ขา้ มเพศ

ขายออนไลน์ หมายถึง การสร้างเว็บไซต์ขึ้นมาเพื่อนำสินค้าของตนเองมาจำหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์
ซ่งึ ร้านคา้ ออนไลนจ์ ะเหมือนกับร้านคา้ ทว่ั ไปที่นำสนิ ค้ามาวางขายแต่มคี วามแตกตา่ งกนั ตรงที่ทำการซ้ือขายทุก
ขั้นตอนผ่านอินเทอร์เน็ตเท่านั้น สามารถซื้อขายได้ทุกที่ทุกเวลาไม่ว่าจะอยู่ส่ วนใดของโลก เพียงเข้า
อนิ เทอร์เนต็ กส็ ามารถเข้าซื้อสินค้าได้ง่ายมปี ญั หาในเรอ่ื งการทำเลที่ต้ังของรา้ นคา้

ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ บั

• สมาชิกในกล่มุ จะได้รับความรจู้ ากการศกึ ษาและปฏบิ ตั ิการขายเสื้อผา้ ออนไลน์ และยังสามารถนำความรู้
จากการปฏิบัตนิ ้ันไปต่อยอดหรอื พัฒนาเป็นอาชีพหลักได้ในอนาคต

• การขายเสอื้ ผ้าเด็กและผู้ใหญ่ทีท่ างสมาชิกในกลุ่มไดด้ ำเนินการของโครงการนี้ สามารถนำไปตอ่ ยอดใน
การทธุรกจิ ได้

7

บทท่ี 2

เอกสารและแนวคดิ ทฤษฎีทเี่ กีย่ วขอ้ ง

หลกั การแนวคดิ ทฤษฎที เี่ กีย่ วกบั การดำเนนิ โครงการ
หลกั การแนวคดิ ทฤษฎที เี่ กี่ยวกับการประเมนิ ผลโครงการ

ลกั ษณะทั่วไป หลกั การและแนวคิดทฤษฎที ีเ่ กย่ี วกบั การดำเนนิ โครงการ
ข้อมูลทวั่ ไปของการขายสนิ ค้าออนไลน์

การทำธุรกจิ ออนไลน์ หมายถึง การขายสนิ คา้ /บริการบนเว็บไซด์ ไม่วา่ จะขายสนิ คา้ บนเว็บไซด์ที่ลงทนุ เสยี
เงินทำเอง หรือ ขายบนเว็บฟรี เช่น เฟสบุค ไลน์ หรอื การนำสนิ คา้ ไปโพสไวก้ บั เว็บท่ีให้บริการลงโฆษณาฟรี ใน
ปจั จุบันการทำธรุ ะกจิ ออนไลนไ์ ม่ใชเ่ ทรน Trend หรอื กระแส แต่สามารถทำเปน็ อนาคตที่มัน่ คง เล้ยี งชีพและ
ครอบครัวได้

หลกั การแนวคิด และทฤษฎีที่เก่ียวกบั การดำเนินโครงการ

แนวคิดทฤษฎแี รงจงู ใจ

แรงจูงใจ คือ พลังผลักดันให้คนมีพฤติกรรม และยังมีการกำหนดทิศทางและเป้าหมายทิศทางของ
พฤติกรรมน้ันอีกดว้ ย คนทมี่ ีแรงจูงใจสงู จะมกี ารใชค้ วามพยายามในการกระทำไปสูเ่ ป้าหมายโดยไมล่ ดละ แต่
คนที่มีแรงจูงใจตำ่ จะไม่มีการแสดงพฤติกรรม หรือไม่ก็ล้มเลิกการกระทำก่อนบรรลุเป้าหมาย โดยมีผู้ให้นิยาม
ของทฤษฎแี รงจูงใจไว้ดงั น้ี

ชาญศิลป์วาสบุญมา (2546, หนา้ 26) กล่าวว่า แรงจงู ใจในการทำงาน หมายถงึ พลังทงั้ จากภายในและ
ภายนอก ซึ่งช่วยกระตุ้นพฤตกิ รรมให้บุคคลทำในสิง่ ต่าง ๆ ให้สำเร็จและบรรลุตาม เป้าหมายด้วยความเต็มใจ
และเปน็ ไปตามกระบวนการจูงใจของแต่ละบคุ คล

ธดิ า สขุ ใจ (2548, หน้า 8) กล่าวว่า แรงจูงใจในการทำงาน หมายถึง ส่งิ ใด ๆ ท่เี ป็นแรงผลกั ดนั หรือ

กระตนุ้ ให้บุคคลปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมด้วยความเต็มใจ เพ่ือท่ีจะนำมาซึ่งการทำงานทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ซงึ่ มี
มลู เหตจุ ูงใจที่สำคัญคือ ความตอ้ งการ ความพึงพอใจในการทำงาน จะนำมาซึ่งการปฏิบัตทิ ่ีดขี องบุคลากร ทำ
ใหบ้ ุคลากรมีความและจงรกั ภักดตี ่อองค์กร ซ่งึ เป็นเงือ่ นไขสำคญั ตอ่ ตวามสำเรจ็ ขององค์กรในระยะยาว

8

การจงู ใจมีความสำคญั ต่อการทำงานของบคุ คล เพราะแรงจูงใจกระตุน้ ให้การทำงานของแต่ ละคนจะ
ผลกั ดนั ใหเ้ ปน็ ไปตามเปา้ หมายทีต่ ้องการได้ โดยท่ัวไปมนษุ ยม์ ิได้ทำงานเตม็ ความสามารถท่ี มีอยู่ของตนเอง ซง่ึ
การจงู ใจดว้ ยแรงกระตุ้นจากภายใน และสงิ่ จงู ใจจากภายนอกตวั บคุ คล เชน่ รางวัล หรือคำชมเชยต่าง ๆ เป็น
ตน้ จะทำใหม้ นษุ ย์ตอบสนองตอ่ สงิ่ กระตนุ้ เหล่าน้นั ธร สุนทรา ยทุ ธ (2551, หน้า 295) กลา่ วว่าแรงจูงใจเป็น
พลังผลักดันใหม้ นุษย์มีการเคลื่อนไหวไปสู่ เปา้ หมายทีแ่ ต่ละคนต้องการ หากขาดแรงจูงใจมนษุ ย์อาจเปรียบได้
กับหนุ่ ยนต์ตวั หนง่ึ ทเ่ี คล่ือนไหวได้ ตามคำส่งั หรือความต้องการของคนอน่ื และพฤติกรรมหลาย ๆ อยา่ งของ
มนุษย์จะไม่เกิดข้ึนถ้า ปราศจากแรงจูงใจ ซ่ึงแรงจูงใจมีลักษณะสำคญั 2 ประการคือ 1) แรงจงู ใจสง่ เสริมให้
ทำงาน สำเร็จ เปน็ แรงผลักดันให้แสดงพฤติกรรม แรงผลักดันนน้ั ๆ อาจเกิดจากภายในหรือภายนอกก็ได้ 2)
แรงจูงใจกำหนดแนวทางของพฤติกรรมชี้ว่าควรเป็นไปในรูปแบบใดนำพฤติกรรมให้ตรงทศิ ทาง เพื่อท่จี ะบรรลุ
เป้าประสงค์คอื ความสำเรจ็ ของหนว่ ยงานหรอื องค์การ (ภารดี อนนั ต์นาวี, 2555, หนา้ 113; จอมพงศ์
มงคลวนิช, 2555, หน้า 217) การสร้างแรงจูงใจใหเ้ กดิ กับสมาชิกใน องค์การ เปน็ ทักษะสำคัญประการหนึง่
ของผ้บู รหิ าร ต้องเรยี นรู้และฝกึ ฝน และนำไปปฏบิ ัตใิ ห้เกิด ประสทิ ธิผลแก่องค์การ (จันทรานี สงวนนาม,
2553, หน้า 252)

ประเภทของแรงจูงใจ

นักจติ วิทยาแบง่ การจูงใจออกเปน็ 2 ประเภทคือ (จนั ทรานี สงวนนาม, 2553, หน้า

253-254)

1) การจูงใจภายใน หมายถึง สภาวะของบุคคลที่มีความต้องการจะกระทำบางสิ่งบางอย่าง ด้วย จิตใจของ
ตนเอง โดยไม่ต้องใช้สิ่งล่อใด ๆ มากระตุ้น ซึ่งถือว่ามีคุณค่าต่อการปฏิบัติงานต่าง ๆ เป็น อย่างยิ่ง การจูงใจ
ประเภทนี้ได้แก่ ความต้องการ (Needs) ความปรารถนา (Desire) ความ ทะเยอทะยาน (Ambition) ความ
สนใจพิเศษ (Special Interest) และทัศนคตหิ รอื เจตคติ (Attitude)

2) การจูงใจภายนอก หมายถึง สภาวะของบุคคลที่ได้รับการกระตุ้นจากภายนอก เพื่อนำไปสู่การ แสดง
พฤติกรรมตามจุดมุ่งหมายของผู้กระตุ้น การจูงใจภายนอกได้แก่ เป้าหมาย ความคาดหวัง ความก้าวหน้า ส่ิง
ล่อใจตา่ ง ๆ เช่นการชมเชย การติเตียน การให้รางวัล การประกวด การลงโทษ การแข่งขันเป็นต้น

สรปุ ไดว้ ่า แรงจงู ใจเป็นสภาวะของบคุ คลทม่ี ีหรือไม่มคี วามต้องการจะกระทำบางส่ิง บางอย่าง ท่ตี อ้ งอาศัย
แรงจูงใจภายใน คือความปรารถนาความต้องการจากภายในตนเอง และ แรงจูงใจภายนอก คือจุดมุ่งหมาย
ความคาดหวัง หรือสิ่งล่อใจต่างๆ จะเห็นได้ว่าแรงจูงใจคือ สิ่ง กระตุ้น หรือสิ่งเร้าที่ทำให้คนมีพลังในการใช้
ความรู้ความสามารถท่ีมีอย่ลู ะแสวงหาความรู้ใหม่ในการ ทำงานดว้ ยความเต็มใจ และมีความสุขกับการทำงาน
เพ่อื จะบรรลเุ ป้าหมายหรือวัตถปุ ระสงค์ของ องคก์ าร

9

องค์ประกอบของแรงจูงใจ

องคป์ ระกอบแรงจูงใจมี 2 ประการ (สมั มา รธนธิ ย์, 2553, หน้า 135-136) คอื

1) องค์ประกอบภายนอก ได้แก่ สง่ิ แวดล้อมภายนอกที่อาจทำให้เกดิ การเปล่ียนแปลงพฤติกรรม

2) องค์ประกอบภายใน ไดแ้ ก่

2.1 ความต้องการ (Needs) ในการจะทำสงิ่ หนึ่งสงิ่ ใดใหส้ ำเรจ็

2.2 เจตคติ (Attitudes) เป็นความเชื่อ ความรู้สึกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในลักษณะชอบหรือไม่ ชอบ พอใจ
หรือไม่พอใจ หากมีเจตคติที่ดีตอ่ งานหรือเพื่อนร่วมงานกเ็ ปน็ แรงผลักดันให้บุคคล ปฏิบัติงานได้ตามเปา้ หมาย
แต่หากมเี จตคติไม่ดกี ็ยอ่ มทำงานประสบความสำเรจ็ ตามเปา้ หมายได้ ยาก

2.3 คา่ นยิ ม (Values) เปน็ การพิจารณาถึงคุณคา่ ของตนพึงพอใจท่จี ะปฏบิ ัติ พยายาม เลือกท่ีจะทำตาม
ค่านิยมท่ตี นเองมี เช่นการใชข้ องทีม่ ีราคาแพง เปน็ ตน้

2.4 ความวิตกกังวล (Anxiety) ความวิตกกังวลในการทำงาน อาจก่อให้เกิดอุปสรรคและ เกิดแรงผลักดัน
ให้สามารถดำเนินการอย่างละเอียดรอบคอบได้ ในการที่บุคคลนั้นมีแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์สูงที่อาจจะสามารถ
ประสบผลสำเร็จในการปฏิบัติงาน

สรุปไดว้ า่ แรงจูงใจมอี งคป์ ระกอบ 2 ประการ คือ องคป์ ระกอบภายนอก ได้แก่ สงิ่ แวดลอ้ มภายนอก และ
องค์ประกอบภายใน ได้แก่ ความต้องการ เจตคติความเชื่อ ค่านิยม ความวิตกกังวล ซึ่งประกอบกันเป็น
แรงจูงใจใหบ้ ุคคลนน้ั สามารถประสบผลสำเรจ็ ในการปฏิบตั งิ าน

แนวคดิ ทฤษฎกี ารพัฒนาตนเอง

ความต้องการในการพัฒนาตนเอง เพอ่ื ให้เพมิ่ พนู ความรู้ ทำให้มกี ารเปลย่ี นแปลงพฤติกรรม ตา่ ง ๆ ไปตาม
วัตถุประสงค์ของแต่ละบุคคล รวมทั้งสามารถดำรงอยู่ในสังคมหรือประสบความสำเร็จ ในชีวิต หน้าที่การงาน
ควรมแี นวคดิ เก่ยี วกับความตอ้ งการในการพฒั นาตนเอง โดยมผี ใู้ ห้นิยามของ ทฤษฎีการพัฒนาตนเอง ดงั นี้

กรกนก วงศ์พันธุเศรษฐ์ (อ้างถึงในเกศรินทร์ วิริยะอาภรณ์, 2545) ได้กล่าวว่า การ พัฒนาตนเอง
หมายถึง การขยายขอบเขตความสามารถในการใช้ความรู้ความสามารถของบุคคลได้ อย่างเต็มที่และ
ประยุกต์ใช้ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมา เพื่อแก้ปัญหาหรือหาข้อยุติปัญหาใน สถานการณ์ใหม่ๆ ที่
แตกต่างออกไป

ศศลักษณ์ ทองปานดี(2551) การพัฒนาตนเอง หมายถึง การดำเนินการเก่ียวกับการ ส่งเสริมบคุ คลให้มี
ความรู้ความสามารถ มีทักษะการทำงานดีขึ้น ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีในการทำงาน อันจะเป็นผลให้การ
ปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และการพัฒนาบุคคลควรส่งเสริม และพัฒนาทั้ง ร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสติปญั ญาอยา่ งทั่วถงึ สมำ่ เสมอและตอ่ เน่ือง

10

ความสำคญั ของการพัฒนาตนเอง

ในปัจจบุ ันการศึกษาเรื่องการพัฒนาตนเองเป็นส่ิงสำคญั อย่างยิง่ เนื่องจากสภาพของโลกและ เหตุการณ์ใน
ปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเมื่อย่างเข้าสู่ยุคของข่าวสาร ข้อมูล (Information
Era) หรือที่เรียกว่าเป็นยุคของโลกคลื่นที่สาม (Third Wave) ให้เกิดการรวมตัว ของทรัพยากรขึ้น เมื่อโลกอยู่
ในสภาวะที่ไรพ้ รมแดนการแขง่ ขันเพื่อช่วงชิงทรัพยากรจงึ มีมากข้ึนเปน็ ทวีคณู ซง่ึ อาจเปรยี บได้วา่ เป็นสงคราม
ข่าวสารในด้านข้อมูลความรู้จะเห็นได้ว่าการเปลี่ยนแปลง เช่นนี้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงดำเนินไปโดยไม่
พยายามก้าวให้ทันจะกลายเป็นผู้ล้าหลังและเสีย ประโยชน์ในเวลาอันรวดเร็ว ดังนั้น การพัฒนาตนเองเพื่อให้
เรียนรู้ได้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลก ยุคโลกาภิวัตน์เพื่อความอยู่รอดของชีวิตจึงเป็นสิ่งที่จำเป็น (ศศินา
ปาละสิงห,์ 2547)

องค์ประกอบในการพัฒนาตนเอง องค์ประกอบในการพฒั นาตนเองดา้ นต่าง ๆ ดังน้ี

1. บคุ ลกิ ท่าทาง นับเปน็ สงิ่ สำคัญอย่างหนึ่ง เพราะกริ ยิ าท่าทางคือการส่ือสารท่ีสำคัญซ่ึงจะ ทำให้ผู้อื่นรู้ถึง
จิตใจตลอดจนความนึกคิดของบุคคลผู้นั้น ดังนั้น กริยาท่าทางหรือบุคลิกภาพที่สามารถ สร้างความเชื่อมั่นให้
สมาชิกกลุม่ จึงทำใหผ้ ู้อ่นื ยกย่องและเชอื่ ถอื ไวว้ างใจ

2. การพูด นับเป็นการสื่อสารที่จะทำให้ผู้อื่นปฏิเสธหรือยอมรับในตัวผู้พูดได้เช่นกัน ซึ่งการ พูดในที่น้ี
รวมทั้งการพูดคุยแบบธรรมดาและการพูดแบบเป็นทางการ การพูดที่จะประสบความสำเร็จ นั้น มีหลักการ
เบ้อื งแรกทีส่ ำคัญ คอื การระมดั ระวงั มิใหค้ ำพดู ออกไปเปน็ การประทษุ รา้ ยจิตใจผฟู้ งั

3. พัฒนาคณุ สมบตั ิทางด้านมนุษยส์ ัมพันธ์ความสัมพนั ธ์ท่ีดีกับผู้อื่นเป็นทางทจ่ี ะทำให้ผู้อ่ืน ยอมรับและยก
ย่อง บคุ คลทมี่ คี วามสมั พนั ธท์ ีด่ ีตอ่ คนอ่นื ย่อมจะทำใหไ้ ดร้ บั ความสนบั สนนุ และร่วมมือ

4. พัฒนาคุณสมบัติเฉพาะตัว ทำให้ได้รับการยอมรับจากสมาชิกส่วนใหญ่ดังนั้นนอกจาก ความรู้
ความสามารถแล้ว คุณสมบัติเฉพาะตัวบางประการก็เป็นสิ่งสำคัญที่จะผลักดันให้บุคคลได้รับการยอมรับจาก
ทุกฝ่าย เป็นผู้มีคุณธรรม ได้แก่ เป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริตและประพฤติตนอยู่ภายใต้ คุณธรรม ความดีตาม
บรรทัดฐานของสังคมนนั้ ๆ

กระบวนการในการพัฒนาตนเอง

การพฒั นาตนเองให้ประสบความสำเรจ็ ควรจะมีกระบวนการตามขนั้ ตอนซึ่ง (สวุ รเี ที่ยว ทัศน์, 2542) ได้
กล่าวถึงกระบวนการในการพฒั นาตนเอง สรุปดังน้ี

1. สำรวจตัวเอง การทีค่ นเราจะประสบความสมหวังหรือไม่สาเหตทุ ส่ี ำคัญ คือ จะต้องมีการ สำรวจตนเอง
เพราะตนเองเป็นผู้กระทำตนเอง คนบางคนไม่ประสบความสำเร็จในชีวิตเนื่องจากบุคคล มีจุดอ่อนหรือ
คุณสมบัติที่ไม่ดีการที่จะทราบว่า ตนมีคุณสมบัติอย่างไร ควรจะได้รับการสำรวจตนเอง ทั้งนี้เพื่อที่จะได้
ปรบั ปรงุ แกไ้ ข หรือพัฒนาตนเองใหด้ ขี นึ้ เพือ่ จะไดม้ ชี ีวติ ที่สมหวงั ต่อไป

2. การปลูกคุณสมบัติที่ดีงาม โดยคุณสมบัติของบุคคลสำคัญของโลกเป็นแบบอย่าง ซึ่ง คุณสมบัติของ
บุคคลไม่ใช่ส่ิงทตี่ ิดตวั มาแต่เกิด แตส่ ามารถเกดิ ขึ้นได้

11

3. การปลูกใจตนเอง เปน็ สิง่ สำคัญ เพราะบคุ คลท่ีมีกำลังใจดีย่อมมงุ่ มน่ั ดำเนินการให้บรรลุ เป้าหมายของ
ชีวติ ท่กี ำหนดไว้

4. การสง่ เสริมตนเอง คอื การสร้างกำลังกายทดี่ ีสรา้ งกำลงั ใจให้เข้มแข็ง และสรา้ งกำลัง ความคดิ ของตนให้
เปน็ เลศิ

5. การดำเนินการพัฒนาตนเอง เป็นการลงมือปฏิบัติเพื่อเสริมสร้างตนเองให้บรรลุ วัตถุประสงค์ตามที่ตั้ง
ไว้

6. การประเมินผล เพ่ือจะได้ทราบว่าการดำเนินการพัฒนาตนเองตามท่บี คุ คลได้ต้ังเป้าหมาย ไวด้ ำเนินการ
ไปได้ผลมากน้อยเพียงไร จึงจำเป็นต้องอาศัยการวัดผลและการประเมินผล สามารถสรุปได้ว่า การพัฒนา
ตนเอง คอื การที่เพ่ือใหเ้ พ่ิมพนู ความรู้ ทำให้มกี ารเปลีย่ นแปลง พฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ไปตามวัตถปุ ระสงคข์ องแต่ละ
บุคคล รวมทั้งสามารถดำรงอยูใ่ นสงั คมหรือประสบ ความสำเรจ็ ในชวี ิต
แนวคิดทฤษฎีการเรยี นรู้

การเรียนรู้คือ กระบวนการท่ีทำให้มนษุ ย์เปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมทางความคิด มนุษย์เราสามารถเรยี นร้ไู ด้
จาก การได้ยิน การสมั ผสั การอา่ น การเหน็ รวมถงึ ผา่ นการใชส้ อื่ อุปกรณเ์ คร่ืองมือ เป็นสว่ นสง่ ผ่าน โดยมผี ู้ให้
นิยามของการเรียนรู้ ดังนี้
(Klein 1991:2) กล่าวว่า การเรียนรู้(Learning) คือ กระบวนการของประสบการณ์ที่ทำให้เกิดการ
เปลย่ี นแปลงพฤติกรรมอย่างคอ่ นขา้ งถาวร ซ่ึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนี้ไมไ่ ด้มาจากภาวะช่ัวคราว วฒุ ภิ าวะ
หรอื สัญชาตญาณ
(สุรางค์โค้วตระกูล :2539) กล่าวว่า การเรียนรู้(Learning) คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเนื่องมาจาก
ประสบการณ์ที่คนเรามีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อมหรือจากการฝึกหัด เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่ง
เนื่องมาจากประสบการณ์หรอื การฝกึ หัด และพฤติกรรมนั้นอาจจะคงอยรู่ ะยะหน่ึง หรอื ตลอดไปกไ็ ด้

ทฤษฎกี ารเรียนรู้(Learning theory)

หมายถึงข้อความรู้ที่พรรณา / อธิบาย / ทำนาย ปรากฏการณ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับการเรียนรู้ซึ่ง ได้รับการ
พิสูจน์ทดสอบตามกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และได้รับการยอมรับว่าเชื่อถือได้และ สามารถนำไปนิรนัย
เป็นหลักหรือกฎการเรียนรู้ย่อย ๆ หรือนำไปใช้เป็นหลักในการจัดกระบวนการ เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนได้ทฤษฎี
โดยทวั่ ไปมกั ประกอบดว้ ยหลกั การยอ่ ย ๆ หลายหลกั การ ในเรอ่ื งของการเรยี นรู้มผี ใู้ ห้ความหมายของคำว่าการ
เรียนรู้ไว้หลากหลาย นักการศึกษาต่างมีแนวคิด โดยนำมาจากพัฒนาการของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ เกิดเป็น
ทฤษฎีที่แตกต่างกันไป อาทิ การเรียนรู้(Learning) คือ กระบวนการของประสบการณ์ที่ทำให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อย่างค่อนข้างถาวร ซึ่งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนี้ไม่ได้มาจากภาวะชั่วคราว วุฒิ
ภาวะ หรือ สญั ชาตญาณ(Klein 1991:2) การเรยี นรู้(Learning) คอื การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมซึง่ เนือ่ งมาจาก
ประสบการณ์( ประสบการณ์ ตรงหรือประสบการณ์ทางอ้อม) การเรียนรู้(Learning) คือ การเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมซึ่งเนื่องมาจากประสบการณ์ที่คนเรามี ปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อมหรือจากการฝึกหัด (สุรางค์โค้วต

12

ระกูล :2539) การเรียนรู้คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเนื่องมาจากประสบการณ์หรือการฝึกหัด และ
พฤติกรรม นั้นอาจจะคงอยู่ระยะหนึ่ง หรือตลอดไปก็ได้ การเรียนรู้(Learning) คือ กระบวนการที่ทำให้คน
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรียน ได้จากการได้ยินการสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยีการ
เรียนรู้ของเด็กและผู้ใหญ่จะต่างกัน เด็กจะ เรียนรู้ด้วยการเรียนในห้อง การซักถาม ผู้ใหญ่มักเรียนรู้ด้วย
ประสบการณ์ที่มีอยู่แต่การเรียนรู้จะ เกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่ผู้สอนนำเสนอ โดยการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
ผู้สอนและผู้เรียน ผู้สอนจะเปน็ ผู้ ที่สร้างบรรยากาศทางจิตวทิ ยาท่ีเอ้ืออำนวยตอ่ การเรียนรู้ที่จะให้เกิดข้ึนเป็น
รปู แบบใดก็ได้เชน่ ความ เป็นกันเอง ความเข้มงวดกวดขนั หรือความไม่มรี ะเบียบวินัย สิง่ เหล่าน้ีผู้สอนจะเป็น
ผู้สร้างเงอ่ื นไข และสถานการณเ์ รียนรู้ใหก้ ับผ้เู รียน ดังนน้ั ผสู้ อนจะตอ้ งพิจารณาเลือกรปู แบบการสอน รวมท้ัง
การ สรา้ งปฏสิ มั พนั ธ์กบั ผเู้ รียน

ทฤษฎกี ารเรยี นรู้(Learning Theory)
มนษุ ย์สามารถรบั ข้อมูลโดยผ่านเส้นทางการรบั รู้3 ทาง คอื
1. พฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
2. ปญั ญานิยม (Cognitivism)
3. การสรา้ งสรรคอ์ งคค์ วามรูด้ ว้ ยปัญญา (Constructivism)
พฤติกรรมนิยม (Behaviorism)

พฤตกิ รรมนิยมมองผ้เู รียนเหมือนกับ กระดานชนวนทว่ี ่างเปลา่ ผูส้ อนเตรียม ประสบการณ์
ให้กับผเู้ รยี น เพ่อื สร้างประสบการณ์ใหมใ่ หผ้ ู้เรยี น อาจ กระทำซำ้ จนกลายเป็นพฤตกิ รรม ผูเ้ รยี นทำใน
สิง่ ที่พวกเขาได้รับฟงั และจะไม่ทำการคดิ รเิ ริ่มหา หนทางดว้ ยตนเองตอ่ การเปล่ยี นแปลง หรือพัฒนา
ปรบั ปรงุ เปล่ียนแปลงสง่ิ ต่าง ๆ ให้ดีขึน้

ปญั ญานิยม (Cognitivism)
ปัญญานยิ มอยบู่ นฐานของกระบวนการคิดก่อน แสดงพฤติกรรม การเปลย่ี นแปลง พฤตกิ รรม

ท่จี ะถกู สังเกต สิง่ เหล่านั้น มนั กเ็ ปน็ เพียงแต่การบง่ ช้ีว่าส่งิ นกี้ ำลังดำเนินต่อไปในสมองของผ้เู รียน
เท่านัน้ ทักษะใหม่ๆ ทจ่ี ะทำ การสะท้อนส่งออกมา กระบวนการประมวลผลขอ้ มลู สารสนเทศทาง
ปัญญา
การสร้างสรรคอ์ งค์ความรูด้ ้วยปญั ญา (Constructivism)

การสร้างสรรคค์ วามรดู้ ว้ ยปญั ญาอยู่บนฐานของ การอา้ งอิงหลักฐานในสิ่งท่พี วกเราสร้างขนึ้
แสดงให้ปรากฏแกส่ ายตาของ เราดว้ ยตวั ของเราเอง และอยบู่ นฐานประสบการณข์ องแตล่ ะบุคคล
องคค์ วามร้จู ะถกู สร้างขึ้นโดยผูเ้ รยี น และโดยเหตผุ ลทท่ี กุ คนตา่ งมีชดุ ของประสบการณ์ตา่ งๆ ของการ
เรียนร้จู งึ มลี กั ษณะเฉพาะตน และมีความแตกต่างกนั ไปในแต่ละคน

13

ทัง้ สามทฤษฎตี ่างมีความสำคัญเท่าเทียมกัน เมื่อได้การตัดสินใจท่ีจะใช้ยทุ ธศาสตรน์ ี้มสี ่ิงที่ สำคญั และ
จำเปน็ ทส่ี ดุ ของชวี ิตท่ตี อ้ งพจิ ารณาทง้ั สองระดับ คอื ระดับองค์ความรขู้ องนักเรยี นของท่าน และระดับการ
ประมวลผลทางสตปิ ญั ญาท่ตี ้องการในผลงานหรอื ภาระงานแหง่ การเรียนรรู้ ะดับการ ประมวลผลทาง
สตปิ ัญญาทีต่ ้องการสร้างผลงาน/ภาระงาน และระดับความชำนชิ ำนาญของนกั เรยี น ของเราน้กี ารมองหา
ภาพทางทฤษฎีจะมคี วามเป็นไปได้ท่สี นับสนุนการมีความ พยายามทจี่ ะเรยี นรู้ ทางยทุ ธวธิ ีบางทีกม็ คี วาม
ซับซ้อนและมีความเลอื่ มล้ำกันอยบู่ า้ ง และก็มีความจำเปน็ เหมอื นๆ กนั ใน การวบรวมยุทธวธิ ตี า่ ง ๆ จาก
ความแตกต่างท่ีเป็นจริง ทางทฤษฎีเมื่อเรามีความต้องการทมี่ า : ไตรรงคเ์ จนการ สำนกั วชิ าการและ
มาตรฐานการศกึ ษา, สพฐ

แนวคดิ ทฤษฎกี ารดูแลตนเอง
ทฤษฎีดแู ลตวั เอง (Self – care Theory) เป็นแนวคิดท่ีอธิบายการดุแลตนเองของบุคคล และการดูแล

บุคคลที่พ่งึ พอ กลา่ วคือ บุคคลที่ มีวุฒิภาวะเปน็ ผใู้ หญแ่ ละกำลังเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ มีการเรยี นร้ใู นการกระทำ
และผลของการกระทำเพ่ือ สนองตอบความต้องการดูแลตนเองท่จี ำเปน็ โดยการควบคมุ ปัจจัยท่มี ผี ลต่อ
หน้าที่ หรอื พฒั นาการ ของบุคคลเพื่อคงไวซ้ ่ึงชวี ติ สขุ ภาพ และความผาสกุ การกระทำดงั กล่าวรวมไปถึง
การกระทำเพอื่ บุคคลที่ต้องพึ่งพาซ่งึ สมาชิกในครอบครัวหรือบคุ คลอ่ืน

แนวคิดของโอเรม็ การดูแลตนเองเปน็ รูปแบบหน่ึงของการกระทำอยา่ งจงใจและมเี ปา้ หมาย ซง่ึ เกิดขน้ึ
อย่างเปน็ กระบวนการประกอบด้วย 2 ระยะสัมพันธ์กนั คือ

ระยะท่ี 1 เปน็ ระยะของการประเมนิ และตดั สนิ ใจ ในระยะนบี้ คุ คลจะต้องหาความรแู้ ละขอ้ มลู เกย่ี วกับ
สถานการณ์ทเ่ี กิดขน้ึ และสะท้อนความคิด ความเข้าใจในสถานการณ์และพิจารณาวา่ สถานการณน์ นั้ จะ
สามารถเปล่ยี นแปลงได้หรอื ไม่ อยา่ งไร มีทางเลือกอะไรบ้าง ผลทไ่ี ด้รับแตล่ ะทางเลือกเป็นอย่างไร แล้วจึง
ตัดสินใจที่จะกระทำ

ระยะท่ี 2 ระยะของการกระทำและประเมินผลของการกระทำ ซง่ึ ในระยะน้จี ะมีการแสวงหาเปา้ หมาย
ของการกระทำ ซง่ึ เป้าหมายมีความสำคัญเพราะจะช่วยกำหนดทางเลือกกจิ กรรมทีต่ ้องกระทำและเปน็
เกณฑ์ที่จะใชใ้ นการตดิ ตามผลของการปฏิบัตกิ จิ กรรม

วัตถปุ ระสงค์หรือเหตุผลของการกระทำการดแู ลตนเองน้ัน โอเร็ม เรียกว่า การดูแลตนเอง ท่ีจำเปน็
(Self-care requisites) ซึง่ เปน็ ความตง้ั ใจหรือเป็นผลทีเ่ กดิ ได้ทันทีหลังการกระทำ การดูแล ตนเองท่ี
จำเป็นมี3 อยา่ ง คือ การดูแลตนเองที่จำเป็นโดยทว่ั ไป ตามระยะพฒั นาการ และเมื่อมีภาวะ เบย่ี งเบน
ทางด้านสุขภาพ (Orem, 2001 : 47-49) ดงั นี้
1. การดแู ลตนเองท่ีจำเปน็ โดยทว่ั ไป (Universal self-care requisites) เปน็ การดูแลตนเองท่ี เก่ียวข้องกับ
การส่งเสริม และรักษาไว้ซ่ึงสุขภาพและสวสั ดิภาพของบุคคล และการดูแลตนเอง เหล่าน้ี จำเป็นสำหรบั
บุคคลทุกคน ทุกวัย แต่จะต้องปรับใหเ้ หมาะสมกับระยะพฒั นาการ จดุ ประสงค์และ กจิ กรรมการดูแล
ตนเองท่จี ำเป็นโดยท่วั ไปมีดังน้ี

14

1.1 คงไว้ซง่ึ อากาศ น้ำ และอาหารทีเ่ พยี งพอ
1.1.1 บริโภคอาหาร น้ำ อากาศ ให้เพียงพอกับหน้าท่ีของร่างกายทีผ่ ดิ ปกติและคอยปรับตัว

ตามความเปลยี่ นแปลงทงั้ ภายในและภายนอก
1.1.2 รกั ษาไวซ้ ง่ึ ความคงทนของโครงสร้างและหนา้ ทขี่ องอวัยวะทเ่ี กีย่ วข้อง
1.1.3 หาความเพลดิ เพลนิ จากการหายใจ การดืม่ และการรบั ประทานอาหาร โดยไม่ทำให้

เกดิ โทษ
1.2 คงไว้ซ่งึ การขับถ่ายและการระบายให้เปน็ ไปตามปกติ
1.2.1 จัดการใหม้ กี ารขับถ่ายตามปกติทั้งจัดการกับตนเองและสง่ิ แวดล้อม
1.2.2 จัดการเก่ยี วกบั กระบวนการในการขับถา่ ยซ่งึ รวมถึงการรกั ษาโครงสร้าง และหน้าที่ให้

เปน็ ไปตามปกตแิ ละการระยายสง่ิ ปฏกิ ูลจาการขับถา่ ย
1.2.3 ดแู ลสุขวทิ ยาสว่ นบคุ คล
1.2.4 ดแู ลส่งิ แวดล้อมให้สะอาดถกู สขุ ลักษณะ

1.3 คงไวซ้ ่ึงความสมดุลระหว่างการมกี ิจกรรมและการพกั ผ่อน
1.3.1 เลือกกิจกรรมใหร้ า่ งกายได้เคลื่อนไหวออกกำลังกายการตอบสนองทางอารมณ์ทาง

สตปิ ญั ญา และมีปฏสิ มั พนั ธ์กับบุคคลอ่ืนอย่างเหมาะสม
1.3.2 รับรู้และสนใจถึงความตอ้ งการการพักผ่อนและการออกกำลังกายของตนเอง
1.3.3 ใช้ความสามารถ ความสนใจ ค่านยิ ม และกฎเกณฑจ์ ากขนบธรรมเนียมประเพณีเปน็

พ้นื ฐานในการสรา้ งแบบแผนการพักผ่อน และการมีกจิ กรรมของตนเอง
1.4 คงไว้ซึ่งความสมดลุ ระหว่างการอยู่คนเดียวกับการมปี ฏิสัมพนั ธ์กับผู้อน่ื
1.4.1 คงไวซ้ ่ึงคุณภาพและความสมดลุ ที่จำ เปน็ ในการพัฒนาเพ่ือเปน็ ทพี่ ึ่งของตนเอง และ

สรา้ งสมั พนั ธภาพ กับบุคคลอ่ืนเพื่อทจ่ี ะช่วยให้ตนเองทำหนา้ ท่ไี ด้อย่างมปี ระสิทธิภาพรู้จกั ติดต่อของความ
ช่วยเหลือจากบคุ คลอ่นื ในเครือข่ายสังคมเมื่อจำเปน็

1.4.2 ปฏบิ ัติตนเพือ่ สรา้ งมิตร ใหค้ วามรัก ความผูกพนั กับบคุ คลรอบข้าง เพ่ือจะได้พงึ่ พาซึ่ง
กนั และกนั

1.4.3 ส่งเสรมิ ความเปน็ ตัวของตวั เอง และการเป็นสมาชกิ ในกลุ่ม
1.5 ป้องกันอนั ตรายตา่ ง ๆ ต่อชวี ิต หนา้ ที่และสวัสดิภาพ

1.5.1 สนใจและรบั รูต้ อ่ ชนิดของอันตรายที่อาจจะเกดิ ขึ้น
1.5.2 จดั การป้องกันไมใ่ หเ้ กิดเหตกุ ารณ์ท่ีอาจจะเป็นอันตราย
1.5.3 หลกี เลีย่ งหรอื ปกป้องตนเองจากอนั ตรายต่าง ๆ
1.5.4 ควบคุมหรอื ขจัดเหตกุ ารณ์ท่เี ป็นอันตรายตอ่ ชวี ติ และสวสั ดิภาพ
1.6 ส่งเสริมการทำหน้าทแ่ี ละพัฒนาการใหถ้ งึ ขีดสงู สดุ ภายใต้ระบบสังคมและความสามารถของ
ตนเอง (Promotion of normalcy)
1.6.1 พัฒนาและรักษาไว้ซงึ่ อัตมโนทัศน์ทเ่ี ป็นจรงิ ของตนเอง1

15

1.6.2 ปฏบิ ัตใิ นกิจกรรมทสี่ ง่ เสรมิ พฒั นาการของตนเอง
1.6.3 ปฏิบัตกิ จิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ และรักษาไว้ซงึ่ โครงสร้างและหน้าท่ีของบุคคล(Health
promotion & preventions)
1.6.4 คน้ หาและสนใจในความผิดปกติของโครงสรา้ ง และหน้าท่ีแตกตา่ งไปจากปกติของ
ตนเอง (Early detection)
2. การดูแลตนเองทจี่ ำเปน็ ตามระยะพัฒนาการ (Developmental self-care requisites) เป็นการ
ดูแลตนเองท่ีเกิดข้ึนจากกระบวนการพัฒนาการของชวี ิตมนุษย์ในระยะตา่ งๆ เชน่ การตง้ั ครรภก์ าร
คลอดบตุ ร การเจริญเติบโต เข้าสวู่ ัยต่างๆ ของชีวิต และเหตุการณ์ท่ีมผี ลเสยี หรือเปน็ อุปสรรค ต่อ
พัฒนาการ เชน่ การสูญเสียคู่ชีวติ หรือบิดามารดา หรืออาจเป็นการดแู ลตนเองทจี่ ำเป็นโดยทว่ั ไปท่ี
ปรบั ใหส้ อดคล้อง เพ่ือการสง่ เสรมิ พฒั นาการ การดูแลตนเองท่จี ำเป็นสำหรับกระบวนการพฒั นาการ
แบ่งออกเป็น 2 อยา่ งคือ
2.1 พฒั นาและคงไวซ้ ง่ึ ภาวะความเปน็ อยทู่ ่ชี ่วยสนบั สนุนกระบวนการของชีวติ และพัฒนาการของ
ชวี ิตและพฒั นาการท่ีช่วยให้บคุ คลเจรญิ เขา้ สวู่ ุฒภิ าวะใน ระหวา่ งที่
2.1.1 อยใู่ นครรภม์ ารดา และการคลอด
2.1.2 ในวัยทารก วยั เด็ก วยั ร่นุ วยั ผใู้ หญ่ วัยชรา และในระยะตั้งครรภ์
2.2 ดูแลเพอ่ื ป้องกันการเกดิ ผลเสียต่อพฒั นาการโดยจัดการเพ่ือบรรเทาเบาบางอารมณเ์ ครียดหรือ
เอาชนะต่อผลที่เกดิ จาก
2.2.1 การขาดการศึกษา
2.2.2 ปญั หาการปรับตัวทางสังคม
2.2.3 การสญู เสียญาติมติ ร
2.2.4 ความเจ็บป่วย การบาดเจบ็ และการพิการ
2.2.5 การเปล่ียนแปลงเน่ืองจากเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ในชวี ิต
2.2.6 ความเจ็บปว่ ยในขั้นสดุ ท้ายและการท่ีจะตอ้ งตาย
3. การดแู ลตนเองที่จำเป็นในภาวะเบีย่ งเบนทางด้านสุขภาพ (Health deviation self-care
requisites) เปน็ การดูแลตนเองท่ีเกิดข้นึ เนื่องจากความพกิ ารตัง้ แต่กำเนิด โครงสร้างหรือหนา้ ท่ขี อง
รา่ งกายผดิ ปกติเช่น เกิดโรคหรอื ความเจ็บป่วย และจากการวนิ จิ ฉยั และการรักษาของแพทยก์ าร
ดูแลตนเองทจ่ี ำเป็นในภาวะน้ีมี6 อย่างคือ
3.1 แสวงหาและคงไว้ซง่ึ ความช่วยเหลอื จากบคุ คลทีเ่ ชือ่ ถือได้เช่น เจ้าหน้าที่สุขภาพอนามัย
3.2 รบั ร้สู นใจ และดแู ลผลของพยาธสิ ภาพ ซ่ึงรวมถึงผลท่กี ระทบต่อพฒั นาการของตนเอง
3.3 ปฏิบตั ิตามแผนการรักษา การวนิ ิจฉยั การฟน้ื ฟูและการป้องกนั พยาธสิ ภาพท่ีเกิดข้ึนอยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ
3.4 รบั รู้และสนใจทจ่ี ะคอยปรบั และปอ้ งกันความไม่สขุ สบายจากผลข้างเคียงของการรกั ษาหรอื จาก
โรค

16

3.5 ดดั แปลงอัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์ในการที่จะยอมรับภาวะสุขภาพของตนเองตลอดจนความ
จำเปน็ ที่ตนเองต้องการความช่วยเหลือเฉพาะจากระบบบริการสขุ ภาพ รวมท้งั การปรบั บทบาทหน้าที่และ
การพงึ่ พาบุคคลอ่นื การพัฒนาและคงไว้ซงึ่ ความมีคุณคา่ ของตนเอง

3.6 เรยี นรู้ท่จี ะมชี ีวติ อยกู่ ับผลของพยาธสิ ภาพหรอื ภาวะท่ีเปน็ อยรู่ วมทง้ั ผลของ การวนิ ิจฉยั และการ
รักษาในรูปแบบแผนการดำเนินชวี ติ ทีส่ ่งเสริมพัฒนาการของตนเองให้ดีท่ีสุดตามความสามารถท่เี หลืออยู่
รูจ้ กั ตง้ั เป้าหมายที่เปน็ จรงิ ซง่ึ จะเห็นว่าการสนองตอบต่อความต้องการการดูแลตนเองในประเดน็ น้ีจะต้อง
มีความสามารถในการผสมผสานความตอ้ งการดตู นเองในประเด็นอ่ืนๆ เขา้ ดว้ ยกัน เพื่อจัดระบบการดูแลท่ี
จะชว่ ยป้องกัน อุปสรรคหรือบรรเทาเบาบางผลทเี่ กดิ จากพยาธสิ ภาพ การวินิจฉัย และการรักษาต่อ
พฒั นาการของตนเอง

ความสามารถในการดูแลตนเอง (Self-care agency)ความสามารถในการดูแลตนเองเป็น
มโนมติท่ีกล่าวถงึ คณุ ภาพอันสลับซบั ซ้อนของมนุษย์ซ่งึ บุคคลที่มีคุณภาพดังกล่าวจะสร้าง หรอื
พฒั นาการดูแลตนเองไดโ้ ครงสร้างของความสามารถในการดูแลตนเองมี3 ระดบั คือ (Orem,
2001 : 258-265)1. ความสามารถในการปฏิบตั กิ ารเพ่ือดแู ลตนเอง (Capabilities for self-care
operations)2. พลังความสามารถในการดูแลตนเอง (Power components:enabling capabilities
for self-care)3. ความสามารถและคุณสมบตั ิขน้ั พนื้ ฐาน (Foundational capabilities and
disposition)
1. ความสามารถในการปฏบิ ตั กิ ารเพ่ือการดแู ลตนเอง (Capabilities for self-care operations)(Orem,
2001 : 258-260)เปน็ ความสามารถที่จำเปน็ และจะต้องใช้ในการดูแลตนเองในขณะน้ันทันทีซ่ึง
ประกอบดว้ ยความสามารถ 3 ประการ คือ

1.การคาดการณ์(Estimative) เป็นความสามารถในการตรวจสอบสถานการณ์และองคป์ ระกอบใน
ตนเองและสิ่งแวดลอ้ มทส่ี ำคัญสำหรบั การดูแลตนเอง ความหมาย และความต้องการในการปรบั การดูแล
ตนเอง

2. การปรบั เปล่ียน (Transitional) เปน็ ความสามารถในการตดั สินใจเกยี่ วกับสงิ่ ทสี่ ามารถควรและจะ
กระทำเพ่ือสนองตอบต่อความตอ้ งการในการดูแลตนเองท่ีจำเปน็

3. การลงมือปฏิบัติ(Productive operation) เปน็ ความสามารถในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมต่าง ๆเพ่อื
สนองตอบต่อความต้องการดูแลตนเองที่จำเป็น

2. พลังความสามารถในการดูแลตนเอง (Power components:enabling capabilities for selfcare)
(Orem, 2001 : 264-265) โอเร็ม มองพลังความสามารถท้ัง 10 ประการน้ใี นลกั ษณะของตัวกลาง ซ่ึงเชอ่ื ม
การรับรู้และการกระทำของมนุษยแ์ ต่เฉพาะเจาะจงสำหรับการกระทำอย่างจงใจเพ่ือการดแู ลตนเอง ไม่ใช่
การกระทำโดยทัว่ ไป พลงั ความสามารถ 10 ประการนี้ได้แก่

17

2.1 ความสนใจและเอาใจใส่ในตนเอง ในฐานะทีต่ นเปน็ ผูร้ ับผิดชอบในตนเอง รวมทงั้ สนใจและเอาใจ
ใส่ในตนเอง ในฐานะที่ตนเป็นผรู้ บั ผิดชอบในตนเอง รวมท้งั สนใจและเอาใจใสภ่ าวะแวดลอ้ มใน-ภายนอก
ตนเอง ตลอดจนปจั จยั ท่สี ำคัญสำหรับการดูแลตนเอง

2.2 ความสามารถที่จะควบคุมพลังงานทางด้านรา่ งกายของตนเองใหเ้ พียงพอ สำหรับการรเิ ร่มิ และ
การปฏบิ ตั กิ ารดูแลตนเองอย่างตอ่ เน่ือง

2.3 ความสามารถท่ีจะควบคุมสว่ นต่างๆ ของรา่ งกายเพอื่ การเคลื่อนไหวทจ่ี ำเปน็ ในการรเิ รมิ่ หรือ
ปฏบิ ตั กิ ารเพื่อดูแลตนเองให้เสรจ็ สมบูรณ์และต่อเนือ่ ง

2.4 ความสามารถทจี่ ะใช้เหตุใชผ้ ลเพือ่ การดูแลตนเอง
2.5 มแี รงจูงใจท่ีจะกระทำการดูแลตนเอง เช่น มเี ปา้ หมายของการดูแลตนเองที่สอดคล้องกับ
คณุ ลกั ษณะและความหมายของชีวติ สุขภาพ และสวสั ดภิ าพ
2.6 มที กั ษะในการตดั สนิ ใจเกี่ยวกับการดแู ลตนเองและปฏิบัติตามท่ีไดต้ ัดสนิ ใจ
2.7 มคี วามสามารถในการเสาะแสวงหาความรเู้ กย่ี วกับการดแู ลตนเองจากผทู้ เ่ี หมาะสม และเช่ือถือได้
สามารถจะจดจำและนำความรไู้ ปใชใ้ นการปฏิบตั ิได้
2.8 มีทกั ษะในการใชก้ ระบวนการทางความคิดและสติปัญญา การรบั ร้กู ารจดั กระทำ การติดต่อ และ
การสร้างสัมพนั ธภาพกับบคุ คลอื่น เพื่อปรับการปฏิบตั ิการดแู ลตนเอง
2.9 มคี วามสามารถในการจัดระบบการดูแลตนเอง
2.10 มีความสามารถทจี่ ะปฏิบัตกิ ารดแู ลตนเองอย่างต่อเนื่อง และสอดแทรกการดูแลตนเองเข้าไปเปน็
สว่ นหน่งึ ในแบบแผนการดำเนนิ ชวี ติ ในฐานะบุคคลซึง่ มีบทบาทเป็นสว่ นหนึ่งของครอบครัวและชมุ ชน
3. ความสามารถและคุณสมบัติขน้ั พืน้ ฐาน (Foundational capabilities and disposition) (Orem,
2001 : 264-265) เปน็ ความสามารถข้นั พน้ื ฐานของมนุษย์ทจ่ี ำเป็นสำหรบั การกระทำอย่างจงใจ
(Deliberate action) โดยทวั่ ๆ ไป ซง่ึ แบ่งออกเป็น
3.1 ความสามารถท่จี ะรู้(Knowing) กับความสามารถทจ่ี ะกระทำ (Doing) (ทางสรรี ะและจติ วิทยา
แบง่ เปน็ การรับความรู้สกึ การรบั รู้ความจำ และการวางตนให้เหมาะสม เป็นตน้ )
3.2 คุณสมบตั ิหรือปัจจัยที่มีผลตอ่ การแสวงหาเปา้ หมายของการกระทำ ความสามารถและคณุ สมบัติ
ข้ันพืน้ ฐาน ประกอบด้วย
3.2.1 ความสามารถและทักษะในการเรยี นรไู้ ด้แก่ความจำ ความสามารถในการอา่ น เขียนนับเลข
รวมทั้งความสามารถในการหาเหตุผลและการใช้เหตผุ ล
3.2.2 หนา้ ที่ของประสาทรบั ความรู้สกึ (Sensation) ทั้งการสัมผัส การมองเหน็ การได้ยินการได้กล่นิ
และการรับรส
3.2.3 การรบั รู้ในเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ทงั้ ภายในและภายนอกตนเอง
3.2.4 การเหน็ คณุ ค่าในตนเอง
3.2.5 นิสยั ประจำตวั
3.2.6 ความตงั้ ใจ

18

3.2.7 ความเข้าใจในตนเอง
3.2.8 ความห่วงใยในตนเอง
3.2.9 การยอมรับตนเอง
3.2.10 ระบบการจัดลำดับความสำคญั ร้จู ักจดั แบ่งเวลาในการกระทำกิจกรรมต่าง ๆ
3.2.11. ความสามารถที่จะจัดการเกี่ยวกับตนเอง เป็นต้นจะเห็นว่าหากบุคคลขาดความสามารถและ
คุณสมบตั ขิ น้ั พ้ืนฐานเหลา่ น้เี ชน่ ผู้ป่วยไมร่ สู้ กึ ตวั ยอ่ มขาดความสามารถในการกระทำกจิ กรรมท่ีจงใจ และ
มีเปา้ หมายโดยทั่วไป และไมส่ ามารถจะพัฒนาความสามารถเพ่ือสนองตอบต่อความต้องการดแู ลตนเองได้
นั่นคือขาดทั้งพลังความสามารถเพื่อสนองตอบต่อความต้องการการดูแลตนเอง ได้นั่นคือขาดทั้งพลั ง
ความสามารถ 10 ประการ และความสามารถในการปฏบิ ัติการเพื่อดูแลตนเองการประเมนิ ความสามารถ
ในการดูแล ตนเอง โดยประเมนิ วา่ บคุ คลสามารถจะกระทำการดแู ลตนเอง เพอื่ สนองตอบตอ่ ความต้องการ
การดูแลตนเองทีจ่ ำเปน็ ในแต่ละข้อท่ีใช้แจกแจงไว้นอกจากโครงสร้างของความสามารถในการดูแลตนเอง
ของบคุ คลยงั ตอ้ งคำนึงถึงปัจจยั พื้นฐานซ่ึงมีอิทธิพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง

แนวคดิ ทฤษฎเี ศรษฐกจิ พอเพยี ง
"เศรษฐกจิ พอเพียง" เป็นแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวท่ีพระราชทาน มานานกว่า

๓๐ ปีซึ่งเป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนาขั้นพื้นฐานที่ตั้งอยู่บน
ทางสายกลางและความไม่ประมาทซึ่งคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุมีผลการสร้างภูมิคุ้มกันใน
ตัวเองตลอดจนการใช้ความร้แู ละคณุ ธรรมเพ่ือเปน็ พืน้ ฐานในการดำเนินชวี ติ ซึ่งต้องมี"สติปัญญา และความ
เพียร" เป็นที่ตัง้ ซึ่งจะนำไปสู่ความสุขในชีวิตทีแ่ ท้จริง เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาชีถ้ ึงแนวการดำรงอยู่
และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัวระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการ
พัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อ
โลกยุคโลกาภิวัตน์ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะตอ้ ง
มีระบบภูมิคุ้มกันในตวั ที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก
ทง้ั นจ้ี ะต้องอาศัยความรอบรู้ความรอบคอบ และความระมดั ระวังอยา่ งย่ิงในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ใน
การวางแผนและการดำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนใน
ชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์
สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความ
รอบคอบเพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ
สังคมส่ิงแวดลอ้ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ป็นอย่างดีมลู นิธิชยั พัฒนา (2017).

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นกรอบแนวคิด ซึ่งมุ่งให้ทุกคนสามารถพึ่งพาตัวเองได้รวมถึงการพัฒนาให้ดี
ยิ่งขึ้น จนเกิดความยั่งยืน คำว่า พอเพียง คือ การดำเนินชีวิตแบบทางสายกลาง โดยตั้งอยู่บนหลักสำคัญ
สามประการ คอื ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล และการมภี ูมคิ ุ้มกันทีด่ ี

19

ความพอประมาณ
คือ การดำรงชีวิตให้เหมาะสม ซึ่งเราควรจะมีความพอประมาณทั้งการหารายได้และพอประมาณใน

การใช้จ่าย ความพอประมาณในการหารายได้คือ ทำงานหารายได้ด้วยช่องทางสุจริตทำงานให้เต็ม
ความสามารถ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ส่วนความพอประมาณในการใช้จ่าย หมายถึง การใช้จ่ายให้เหมาะกับ
ฐานะความเป็นอยู่ ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยหรือใช้จ่ายเกินตัว และในขณะเดียวกัน ก็ใช้จ่าย ในการดูแลตนเอง
และครอบครวั อย่างเหมาะสม ไมอ่ ยู่อย่างลำบาก และฝดื เคืองจนเกนิ ไป
ความมเี หตผุ ล

ไม่ว่าจะเป็นการทำธุรกิจ หรือการดำรงชีวิตประจำวัน เราจำเป็นต้องมีการตัดสินใจ ตลอดเวลา ซ่ึง
การตัดสินใจที่ดีควรตั้งอยู่บนการไตร่ตรองถึงเหตุรวมทั้งคำนึงถึงผลที่อาจตามมาจาก การตัดสินใจอย่าง
รอบคอบ ไม่ใช่ตัดสินใจตามอารมณ์หรอื จากส่งิ ที่คนอื่นบอกมาโดยปราศจากการ วิเคราะห์
การมีภมู คิ ้มุ กันที่ดี

คือ การเตรยี มตัวใหพ้ รอ้ มรับกับความเปลีย่ นแปลง ในโลกทไ่ี มม่ ีอะไรแน่นอน ท้ังสภาพลม ฟ้า อากาศ
ที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการทำเกษตร การเปลี่ยนแปลงในบริษัทคู่ค้า การเลิกจ้างพนักงานใน บริษัทใหญ่ หรือ
แม้แต่ความไม่แน่นอนของสถานการณท์ ั้งในและต่างประเทศท่ีมีผลตอ่ การลงทุน เรา จึงจำเป็นต้องเรยี นรู้
ที่จะดำรงอยู่ไดด้ ้วยการพ่งึ พาตนเอง และต้งั อยูใ่ นความไมป่ ระมาทอยู่เสมอ เชน่ เตรยี มแผนสำรองสำหรับ
แต่ละสถานการณ์การมีรายได้หลายทางเพื่อลดความเสี่ยงในวันที่ถูกเลิกจ้าง หรือการกระจายความเสี่ยง
ในการลงทนุ

โดยการดำรงชีวิตตามหลักการทั้งสามข้อนั้น จำเป็นต้องมีความรู้และคุณธรรมประกอบด้วย ความรู้
ชว่ ยสรา้ งภูมคิ ุม้ กันท่ีเหมาะสม เชน่ ความรูใ้ นการประกอบวิชาชีพชว่ ยให้ธุรกิจและการงาน เจรญิ ก้าวหน้า
หรือความรู้ในการลงทุนช่วยสร้างภูมิคุ้มกันให้นักลงทุน ทั้งนี้ความรู้และประสบการณ์ จะช่วยทำให้เรา
ตัดสินใจได้อย่างเป็นเหตุเป็นผล ถึงแม้ว่า พื้นฐานความคิดและประสบการณ์ท่ี แตกต่างกันอาจทำให้
เหตุผลของแต่ละคนนั้นแตกต่างกัน แต่หากทุกคนยึดมั่นอยู่ในหลักคุณธรรม ก็ จะทำให้การอยู่ร่วมกันใน
สังคมเปน็ ไปอย่างสงบสุข

อยา่ งทก่ี ลา่ วมาขา้ งตน้ การพงึ่ พาตัวเองได้เป็นเพยี งส่วนเรม่ิ ตน้ ของการพฒั นาเศรษฐกิจ พอเพยี ง โดย
เมื่อทุกคนสามารถดูแลตัวเอง และครอบครัวได้แล้ว ขั้นต่อไปอาจทำการพัฒนาธุรกิจ โดยมีการรวมกลุ่ม
กันในวิชาชีพเดียวกัน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในการรวมกลุ่มกันน้ัน
ไม่จำกัดเฉพาะการรวมกลุ่มของชาวบ้าน เกษตรกร ในรูปของสหกรณ์การ ทำงานในเมืองก็สามารถมีการ
รวมกลุ่มกันได้เช่น การแบ่งปันความรู้ประสบการณ์ในการทำธุรกิจ ของกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกัน การ
แลกเปลี่ยนแนวคิดการลงทุน เพื่อเป็นการต่อยอดความรู้รวมไป จนถึงการแบ่งปันความช่วยเหลือส่งกลับ
คืนสู่สังคม ไปสู่กลุ่มที่ยังต้องการความช่วยเหลืออยู่ เช่น กิจกรรมจิตอาสา เพื่อสร้างสังคมที่เข้มแข็งและ
อยู่ร่วมกนั อย่างสงบสุข

20

จะเหน็ ได้วา่ แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพยี งนน้ั เป็นแนวคิดทตี่ ั้งอย่บู นความไมป่ ระมาท ด้วยการ ใช้ความรู้
และคุณธรรม เพื่อให้เกิดการพึ่งพาตัวเองได้และเผื่อแผ่ไปถึงสังคม ซึ่งเราสามารถนำ หลักการปฏิบัติไป
ปรับใชไ้ ดท้ ง้ั ในชวี ติ การทำงาน และการดำรงชวี ิต
3.หลกั การแนวคดิ ทฤษฎที ่เี กย่ี วกับการประเมนิ ผลโครงการ
แนวคิด ความหมาย และความสำคัญของประเมินโครงการ

พิสณุ ฟองศรีได้กล่าวว่า การประเมินหมายถึง กระบวนการตัดสินคุณค่าของส่ิงหนึ่งสิ่งใด โดยการนำ
สารสนเทศหรือผลจากการวัดมาเปรียบเทยี บกับเกณฑ์ท่ีกำหนด (พิสณุ ฟองศรี, 2550 : น. 4 อ้างถึงใน
เชาว์ อนิ ใย, 2553 : น. 3)

สมหวงั พธิ ิยานวุ ฒั นไ์ ดก้ ล่าววา่ การประเมินค่าหรือการประเมนิ ผลหมายถึง การตัดสิน
คุณค่าของสง่ิ ใดสิง่ หนงึ่ ซ่งึ ถือเป็นนิยามพนื้ ฐานในทางการจดั การ นยิ มนิยามการประเมนิ ค่าหรือการ
ประเมนิ ผลว่า เป็นกระบวนการทกี่ อ่ ใหเ้ กิดสารสนเทศเพ่ือการตดั สินใจ การตัดสินใจเลอื กทางเลือก
โดยอาศยั สารสนเทศทถี่ ูกต้องเหมาะสม เมื่อผ่านการสังเคราะห์ให้เป็นองคค์ วามรจู้ ะทำให้เกดิ ปัญญา
ได(้ สมหวัง พิธยิ านุวฒั น์, 2549 : น. 6 อ้างถงึ ใน เชาว์ อนิ ใย, 2553 : น. 3)

เชาว์ อินใย ได้ให้ความหมายของการประเมินหมายถึง กระบวนการพิจารณาตัดสินคุณค่า ของสิ่งใด
สิ่งหน่ึงว่า มีความเหมาะสมหรือไม่เพียงใด โดยนำสารสนเทศหรือผลจากการวัดมา เปรียบเทียบกับเกณฑ์
ที่กำหนดเพื่อช่วยในการตัดสินใจ ตีค่าผลการดำเนินการนั้น ๆ ว่าบรรลุ วัตถุประสงค์หรือไม่ ใช้เป็นส่วน
หนง่ึ ของกระบวนการจัดการ ส่วนคำวา่ โครงการหมายถึง ส่วนย่อย ส่วนหน่ึงของแผนงาน ซ่งึ ประกอบด้วย
ชุดของกิจกรรมที่จัดขึ้นอย่างมีระบบ มีการกำหนดทรัพยากร ในการดำเนินงาน ระยะเวลาดำเนินงานไว้
อย่างชดั เจน โดยออกแบบมาเพื่อใหบ้ รรลุเปา้ หมายตาม ตอ้ งการ ดงั นัน้ จงึ สรปุ ไดว้ ่า การประเมนิ โครงการ
หมายถึง กระบวนการพิจารณาตัดสินคุณค่าโดย การค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ จากชุดของ
กิจกรรมที่จัดขึ้นอย่างมีระบบมาประกอบการ ตัดสินใจ ตีค่าผลการดำเนินการนั้นว่าบรรลุวัตถุประสงค์
หรอื ไม่ ใชเ้ ป็นสว่ นหน่ึงของกระบวนการ จดั การ (เชาว์ อินใย, 2553 : น. 4)
ความสำคญั ของการประเมินโครงการ

เชาว์ อินใย ได้อธิบายความสำคัญของการประเมินโครงการไว้ว่า การประเมินโครงการเป็น ส่วนหนง่ึ
ของการวิจัย เป็นกระบวนการท่ีมีระบบเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงหรือกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ทั้งยังเป็น กระบวนการ
ท่มี ีระบบเพอ่ื ตัดสนิ ความสำเรจ็ ของโครงการอกี ดว้ ย การประเมนิ โครงการเป็นการ ดำเนนิ งานที่ไม่ใชค้ วาม
พยายามในการสร้างทฤษฎีหรือพัฒนาองค์ความรู้ทางสังคมศาสตร์การ ประเมินโครงการท่ีนำมาใช้ในทาง
สังคมศาสตร์นั้น เป็นการเตรียมสารสนเทศเพื่อใช้ในการปรับปรุง โครงการทางสังคม เหตุผลประการ
สำคัญที่จำเป็นต้องประเมินโครงการก็คือ มีทางเลือกในการดำเนิน โครงการได้มากมายที่จะทำให้การ
ดำเนินงานโครงการมีประสิทธิภาพ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องประเมิน โครงการว่า ประสบความสำเร็จหรือไม่
(เชาว์ อินใย, 2553 : น. 12)

21

แนวคดิ ทฤษฎเี กยี่ วกบั การประเมินผลโครงการ
แนวคิด หลักการและโมเดลการประเมินของไทเลอร (Tyler’s Rationale and Model of
Evaluation)

แนวคิดทางการประเมินของไทเลอร์ จัดเปนแนวคิดของการประเมินในระดับชั้นเรียน โดยไทเลอรมี
ความเหนว่าการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน จะมีสวนชวยอย่างมากใน การพัฒนา
กระบวนการเรียนการสอน

Ralph W.Tyler : 1943 (90-93) ไทเลอรได้เร่ิมตนการนําเสนอแนวความคดทางการ ประเมินโดยยดึ
กระบวนการเรียนการสอนเป็นหลักกลาวคือไทเลอรได้นิยามวากระบวนการจัดการ เรียนการสอนเป็น
กระบวนการท่ี มงุ จัดขึ้นเพ่ือก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมท่ีพงึ ปรารถนาในตัวของผู้เรียน ด้วยเหตุ
นีจ้ ดุ เน้น ของการเรยี นการสอน จงึ ข้ึนอยกู่ บั การที่ผ้เู รียนจะตองมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหลังการสอน
ดังนั้น เพื่อให้การสอนเกิดการเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมในตัวผู้เรียนตามที่มุ่งหวงั กระบวนการ ดังกลาวจึงมี
ขัน้ ตอนในการดำเนนิ การ ดงั น้ี

ขั้นที่ 1 ต้องมีการระบุหรือกำหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนลงไปวาเมื่อสิ้นสดุ การจัดการเรียน การสอนแลว
ผู้เรยี นควรเกดพฤติกรรมใด หรือสามารถกระทำสงิ่ ใดได้บา้ งหรอื ทเ่ี รยี กวา วัตถุประสงค เชิงพฤตกิ รรม

ขั้นที่ 2 ต้องระบุต่อไปว่าจากวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ดังกล่าวนั้นมีเนื้อหาใดบ้างที่ผู้เรียน จะต้องเรียนรู้
หรอื มีสาระใดบา้ งที่เม่ือผ้เู รยี นเกดิ การเรียนรูแลวจะกอใหเกดิ การเปล่ยี นแปลง พฤติกรรม

ขั้นที่ 3 หารปู แบบและวิธกี ารจัดการเรียนการสอนใหสอดคลองกบั เนอ้ื หาและจุดประสงคที่ กำหนดไว
ข้ันท่ี 4 ประเมนิ ผลโครงการโดยการตดั สินด้วยการวัดผลทางการศึกษา หรือการทดสอบ ผลสมั ฤทธิใ์ นการ
เรียน ต่อมาไทเลอร์ได้สร้างวงจรของวัตถุประสงค์ในการจัดการเรียนการสอนและประเมินผลขึ้น ซึ่งเขียนเป็น
โมเดลพน้ื ฐานไดด้ งั นี้

ภาพที่ 2.1 โมเดลการประเมินโครงการไทเลอร์

22

จากโมเดลดงั กลา่ วจะเหน็ วา่ หวั ลูกศรจะชไ้ี ปยงั ทิศทางทั้งสองทิศทางของทกุ องคประกอบ มี ความหมาย
วา่ ในการจัดการเรยี นการสอนนัน้ ตามทศั นะของไทเลอร์แลว องค์ประกอบท้งั 3 คือ 1. วัตถปุ ระสงค์ 2. การ
จดั การเรยี นการสอน และ 3. การประเมินผลผู้เรยี นจะตองดำเนนิ การให้ ประสานสมั พันธก์ นั ไปเสมอ

แนวคดิ หลักการและโมเดลการประเมนิ ของ ครอนบาค (Cronbach’s Concepts and Model)
ตามทัศนะของครอนบาค เชื่อว่าการประเมินเป็นการรวบรวมข้อมูลการใช้สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ

เกี่ยวกับการจัดโปรแกรมทางการศึกษาในสวนของการตัดสินใจท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษานั้น ครอนบาค
ได้แบงออกเป็น 3 ประเภท คือ

1.การตดั สินใจเพอ่ื ปรบั ปรุงรายวชิ า
2.การตดั สินใจที่เกยี่ วข้องกบั ตวั นกั เรยี นเปน็ รายบุคคล
3.การจดั การบริหารโรงเรียน
ซ่งึ ครอนบาคได้มีความเหน็ ว่า การประเมินนน้ั ไม่ควรกระทำโดยใช้แบบทดสอบอย่างเดียว จึงได้เสนอแนว
ทางการประเมนิ เพมิ่ เตมิ ไวอ้ กี 4 แนวทาง คือ
1.การศกึ ษากระบวนการ (Process Studies) คอื การศึกษาภาวะต่าง ๆ ทีเ่ กิดข้นึ ในช้นั เรียน
2.การวัดศักยภาพของผู้เรียน (Proficiency Measurement) ครอนบาคได้ใหความสำคัญต่อคะแนนราย
ขอมากกวาคะแนนจากแบบทดสอบทั้งฉบับ และใหความสำคัญตอการสอนเพื่อวัดสมรรถภาพของผู้เรียน
ระหวา่ งการเรียนการสอนวามีความสำคัญมากกวาการสอบประจำปลายภาคเรยี นหรือการสอบปลายปี
3.การวัดทัศนคติ (Attitude Measurement) ครอนบาคใหทัศนะวาการวัดทัศนคตเป็นผลที่เกิดจากการ
จัดการเรียนการสอนสวนหนึ่ง ซึง่ มคี วามสำคัญเชน่ กัน
4.การติดตาม (Follow - Up Studies) เป็นการติดตามผลการทำงาน หรือภาวะการเลือกศึกษาตอใน
สาขาต่าง ๆ รวมทั้งการใหบุคคลที่เรียนในระดับขั้นพื้นฐานที่ผ่านมาแลวได้ประเมินถึงขอดีและขอจำกัดของ
วิชาต่าง ๆ วาควรมีการปรบั ปรุงเพ่ิมเติมอยา่ งไรเพอ่ื ชวยในการพฒั นาหรือปรบั ปรงุ รายวชาเหลา่ นั้นตอไป
สรุปแนวคิดของครอนบาคข้างตนแลวจะเห็นว่าครอนบาคมีความเชื่อวาการประเมินท่ี เหมาะสมนั้นตอง
พจิ ารณาหลาย ๆ ดา้ น ดังทีก่ ล่าวมาแลวทั้ง 4 ประการโดยเนนวาการประเมนิ โครงการด้านการเรียนการสอน
นัน้ ไม่ควรประเมินเฉพาะแตจ่ ุดมุ่งหมายท่ีตง้ั ไวเทาน้นั แต่ควรประเมนิ หรือตรวจสอบผลขางเคียงของโครงการ
ด้วย ครอนบาคยังมีความเห็นเพิ่มเติมอีกวาหนาที่สำคัญ ประการหนึ่งของการประเมินโครงการด้านการเรียน
การสอนก็คือการคนหาขอบกพรองของโครงการ เพ่อื จะไดห้ าทางปรับปรงุ แกไขกระบวนการเรียนการสอนใหมี
ประสิทธภิ าพต่อไป

23

แนวคิด หลักการและโมเดลการประเมินของ สครีฟเวน (Scriven’s Evaluation Ideologies and
Model)

Scriven, 1967 สครีฟเวน ได้ให้นิยามการประเมนิ ไววา “การประเมิน” เป็นกิจกรรมที่ เกี่ยวของกับ การ
รวบรวมขอมูลการตัดสินใจเลือกใชเครื่องมือเพื่ออเก็บข้อมูลและการกำหนดเกณฑประกอบในการ ประเมิน
เป้าหมายสำคญั ของการประเมนิ กค็ ือการตัดสนิ คุณคาใหกับกจิ กรรมใด ๆ ท่ตี องการจะ ประเมนิ สครฟี เวน ได้
จําแนกประเภทและบทบาทของการประเมินออกเป็น 2 ลักษณะคือ 1. การ ประเมินระหว่างดำเนินการ
(Formative Evaluation) เปน็ บทบาทของการประเมินงาน กิจกรรม หรือโครงการใด ๆ ที่บงช้ถี งึ ขอดีและขอ
จำกัด ที่เกิดขึ้นในระหว่างการดําเนินงานนั้น ๆ อาจเรียกการ ประเมินประเภทนี้วา เป็นการประเมินเพื่อการ
ปรับปรุง 2. การประเมินผลรวม (Summative Evaluation) เป็นบทบาทของการประเมินเมื่อกิจกรรมหรือ
โครงการใด ๆ สิ้นสุดลงเพื่อเป็นตัวบงชี้ถึง คุณคาความสำเร็จของโครงการนั้น ๆ จึงอาจเรียกการประเมิน
ประเภทนว้ี าเป็นการประเมนิ สรุปรวม

นอกจากนี้สครฟี เวน ยงั ได้เสนอส่ิงทตี่ องประเมนิ ออกเป็นสวนสำคัญอีก 2 สวน คือ 1. การ ประเมินเกณฑ์
ภายใน (Intrinsic Evaluation) เป็นการประเมินในส่วนที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของ เครื่องมือที่ใชในการเก็บ
ข้อมูลรวมทั้งคุณภาพของคุณลักษณะต่าง ๆ ที่เกี่ยวของกับการดำเนิน โครงการ 2. การประเมินความคุมคา
(Payoff Evaluation) เป็นการประเมินในสวนที่เกี่ยวข้องกับ คุณภาพของโครงการ ทฤษฎีหรือสิ่งอื่น ๆ ของ
โครงการเป็นการประเมนิ ในสว่ นซง่ึ เปน็ ผลทีม่ ตี อผ้รู บั บริการจากการดำเนินโครงการ

สามารถสรุปได้ว่า สครีฟเวนใหความสำคัญตอการประเมินเกณฑภายในมากแต่ขณะเดียวกัน จะตอง
ตรวจสอบผลผลติ ในเชิงสมั พนั ธข์ องตัวแปรระหว่างกระบวนการกับผลผลิตอืน่ ๆ ทเ่ี กดิ ขึ้น ด้วยแนวคิดทางการ
ประเมินของสครีฟเวนได้พัฒนาไปจากแนวคิดเดิมของการประเมินที่ยึดตามวัตถุ ประสงคแต่เพียงอย่างเดียว
มาเปน็ การประเมนิ ทีม่ ุ่งเนน้ ถงึ ผลผลิตต่าง ๆ ทเ่ี กิดขนึ้ จากการทำกจิ กรรม หรือโครงการใด ๆ ในทุกดา้ นโดยให
ความสนใจต่อผลผลิตตา่ ง ๆ ที่เกิดขน้ึ ทัง้ ทเี่ ป็นผลโดยตรง
หลกั วงจรคณุ ภาพเดมม่งิ “PDCA”

วงจรการควบคุมคุณภาพ (PDCA Cycle) หรือ วงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) คอื แนวคิด การพัฒนาการ
ทำงานเพื่อควบคุมคุณภาพงานให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง พัฒนามาจากแนวคิดของ วอล์ทเตอร์ซิวฮาร์ท
(Walter Shewhart) นักสถิติในงานอุตสาหกรรม ต่อมาแนวคิดนี้เริ่มเป็นที่รู้จัก กันมากขึ้นเมื่อ เอดวาร์ด เดม
มิ่ง (W.Edwards Deming) นักจัดการบริหารคุณภาพ ได้นำเสนอและ เผยแพร่ใช้เป็นเครื่องมือสำหรับการ
ปรบั ปรงุ กระบวนการทำงานของพนักงานภายในโรงงานใหด้ ีขน้ึ ซึ่งจะใชใ้ นการค้นหาปัญหาอุปสรรคในขั้นตอน
การทำงานโดยพนักงาน จนเป็นท่ีรูจ้ กั กนั ในช่อื วา่ วงจร เดมม่ิง หรอื วงจร PDCA

แนวคดิ วงจร PDCA เปน็ แนวคดิ ท่ีงา่ ยไม่ซับซ้อน สามารถนำไปใช้ไดใ้ นเกือบจะทุกกิจกรรม จึงทำให้เป็นที่
รู้จักกันอย่างแพร่หลายมากขึ้นทั่วโลก PDCA เป็นอักษรนำของภาษาอังกฤษ 4 คำคือ 1. การวางแผน (Plan)
คือ การวางแผนการดำเนินงาน เพื่อให้เกิด การทำงานที่ได้ผลงาน การ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง การพัฒนาสิ่ง
ใหม่การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน มีส่วนที่สำคัญเช่น การกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์การจัด
อันดับความสำคัญของเป้าหมาย กำหนดการดำเนนิ งาน กำหนดระยะเวลาการดำเนินงาน กำหนดผรู้ ับผิดชอบ

24

ดำเนินการ และกำหนดงบประมาณที่จะใช้การ วางแผนที่ดีควรต้องเกิดจากการศึกษาที่ดีมีการวางแผนไว้
รดั กมุ รอบคอบปรับเปลย่ี นได้ตามความ เหมาะสมของงานและเหตุการณ์แผนที่ได้ต้องช่วยในการคาดการณ์ส่ิง
ที่เกดิ ขน้ึ และสามารถชว่ ยลด ความสูญเสียทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ ไดก้ ารวางแผนควรมีการกำหนด

- การกำหนดเปา้ หมาย
- วตั ถปุ ระสงค์
- กำหนดผู้รับผดิ ชอบ
- ระยะเวลาดำเนินการ
- งบประมาณท่กี ำหนด
- มีการเสนอเพื่อขออนุมตั ิก่อนดำเนินการ เปน็ ต้น
2. ปฏิบัติตามแผน (Do) คือ การดำเนินการเพื่อให้ได้ตามแผนที่มีการกำหนดไว้อาจมีการกำหนดโครงสร้าง
คณะทำงานรองรับการดำเนินการเช่น คณะกรรมการ ฯลฯ กำหนดวิธีในการดำเนินงานขั้นตอน ผู้ดูแล
รบั ผดิ ชอบ ผูต้ รวจสอบและทำการประเมินผล การปฎบิ ตั ิการควรมี
- มคี ณะทำงานคอยควบคมุ กำหนดนโยบาย ติดตามตรวจสอบการทำงาน
- มกี ารกำหนดขั้นตอนที่ชัดเจน
- มีวธิ ีการดำเนินการทส่ี ามารถดำเนินการไดจ้ รงิ ไม่ยากจนเกนิ ความสามารถของผู้ทีจ่ ะทำ
- มผี รู้ ับผดิ ชอบดำเนินการที่ชัดเจน เพียงพอ
- มรี ะยะเวลาท่กี ำหนดท่เี หมาะสม
- มงี บประมาณในการทำงาน เปน็ ตน้
3. ตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามแผน (Check) คือ ข้ันตอนท่ีเริ่มเมื่อมีการดำเนนิ โครงการตามข้อ 2 ควรจะต้องทำ
การประเมินผลการดำเนินงานว่าเป็นไปตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ อาจประเมินในส่วนการประเมินผล
งานการดำเนินการ การประเมนิ ผลการดำเนินตามขน้ั ตอน และการประเมนิ ผลงานตามเป้าหมายของแผนงาน
ที่ได้มีการกำหนดไว้ในการประเมินนี้เราอาจสามารถทำได้เองโดยใช้คณะกรรมการที่รับผิดชอบในแผนการ
ดำเนินงานภายในเปน็ การประเมินตนเอง แต่การใช้คนภายในอาจทำให้ขาดความน่าเชื่อถือหรอื ประเมินผลได้
ไม่เต็มที่ จะดีหากมีการตั้งคณะประเมินจากภายนอกมาช่วย เพราะน่าจะได้ผลการประเมินที่ดีกว่าทีมงาน
ภายใน เพราะอาจมีปญั หาชว่ ยกนั ประเมินผลให้ดเี กนิ จรงิ แนวทางทีจ่ ะใชใ้ นการประเมินเชน่
- กำหนดวิธกี ารประเมินแยกให้ชดั เจนสามารถทำไดง้ ่าย
- มีรูปแบบการประเมนิ ตรงกับเปา้ หมายในงานทท่ี ำ
- มคี ณะผู้จะเข้าทำการประเมินทีม่ ีความรเู้ พียงพอ
- แนวคำตอบผลของการประเมิน ตอ้ งสามารถตอบโจทย์และตรงกับวัตถปุ ระสงค์ท่วี างไว้
- เน้นการประเมนิ ปัญหา / จดุ ออ่ น / ข้อดี/ จดุ แขง็ ทม่ี ีในการดำเนนิ การ เป็นตน้
4. ปรับปรุงแก้ไขพัฒนาต่อเนื่อง (Act) คือ การนำผลประเมินที่ได้มาทำการวิเคราะห์เพื่อพัฒนาแผนในการ
ปรับปรุงต่อไป ในส่วนน้ีควรจะเสนอแนะปัญหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไขปญั หา หรือการพัฒนาระบบที่มอี ยู่
แล้วให้ดียิ่งขนึ้ ไปอีกไม่มีท่ีส้ินสดุ

25
- ทำการระดมสมอง เพื่อหาทางแกไ้ ข ปัญหา / จดุ ออ่ น / ข้อดี/ จดุ แข็ง ทีพ่ บ ปรับปรุงใหด้ ียิง่ ขน้ึ
- นำผลทไ่ี ด้จากการระดมสมองเสนอผูเ้ กย่ี วข้องเพ่อื พจิ ารณาใช้วางแผนตอ่ ไป
- กำหนดกลยุทธใ์ นการจดั ทำแผนครั้งตอ่ ไป
- กำหนดผ้รู บั ผดิ ชอบดำเนินงานครงั้ ตอ่ ไป
การพัฒนาระบบ PDCA เป็นการปรับปรุงพัฒนาระบบงานที่มีอยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้นไปอีก โดยควรจะมีการ
ดำเนนิ การต่อเนื่องไมม่ ีทส่ี ้นิ สุด จึงเป็นทม่ี าขอแนวคิดการควบคมุ คุณภาพและการพัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง ในการ
ปรับปรุงพัฒนาต่อเนื่องควรมีการดำเนนิ การ
วงจรคุณภาพ คือ กระบวนการทำงานที่เปรียบกับวงล้อ ที่เต็มไปด้วยขั้นตอน 4 ขั้นตอน คือการวางแผน
การดำเนินตามแผน การตรวจสอบ การปรับปรุง แก้ไข เมื่อวงล้อหมุนไป 1 รอบ จะทำให้งานบรรลุผลตาม
เป้าหมายที่กำหนดไว้และหากการดำเนินงานนั้นเกิดสะดุด แสดงว่ามีบางขั้นตอน หายไป โทชาวะ (2544 :
117-122) ซง่ึ หลกั การประเมินโครงการรปู แบบ PDCA ดงั นี้

หลักการ PDCA
หลกั การประเมนิ ผลโครงการรปู แบบ CIPP MODEL

“การประเมนิ คือ กระบวนการของการระบหุ รือ กำหนดข้อมูลที่ต้องการ รวมถงึ การ ดำเนนิ การเก็บขอ้ มลู
และนำข้อมลู ทีเ่ ก็บมาแล้วนั้นมาจดั ทำใหเ้ กิดสารสนเทศท่ีมีประโยชน์เพื่อ นำเสนอสำหรบั ใชเ้ ป็นทางเลอื กใน
การประกอบการตัดสนิ ใจ” (Danial . L. Stufflebeam)

แบบจำลอง(Model) หมายถึง วิธีการสื่อสารทางความคิด ความเข้าใจ ตลอดจนจินตนาการ ทีม่ ีต่อ
ปรากฎการณ์หรือเร่ืองราวใด ๆ ให้ปรากฏโดยใช้การส่ือในลกั ษณะต่าง ๆ เช่น แผนภมู แิ ผนผัง ระบบสมการ
และรูปแบบอื่น เปน็ ต้น เพ่ือให้เข้าใจได้ง่าย และสามารถนำเสนอเร่ืองราวได้อย่างมี ระบบ การประเมนิ ผล

26

โครงการนั้น มีแนวคดิ และโมเดลหลายอยา่ ง ณ ทีน่ ข้ี อเสนอแนวคิดและโมเดล การประเมินแบบซปิ ปห์ รือ CIPP
Model ของสตัฟเฟิลบีม (Danial . L. Stufflebeam) เพราะเปน็ โมเดลทไี่ ด้รบั การยอมรับกันท่วั ไปในปจั จบุ นั

แนวคดิ การประเมินของสตัฟเฟลิ บมี (Stufflebeam’s CIPP Model) ในปี ค.ศ. 1971 สตฟั เฟิลบีม และ
คณะ ได้เขียนหนงั สือทางการประเมินออกมาหนง่ึ เล่ม ชื่อ “Educational Evaluation and decision
Making” หนงั สือเล่มนีไ้ ดเ้ ปน็ ทีย่ อมรับกันอยา่ งกว้างขวาง เพราะให้แนวคดิ และวิธีการทางการวดั และ
ประเมนิ ผล ได้อย่างนา่ สนใจและทันสมยั ดว้ ย นอกจากน้ัน สตฟั เฟิลบีมกไ็ ด้เขียนหนังสือเกี่ยวกับการประเมิน
และรูปแบบของการประเมนิ อกี หลายเล่มอยา่ งต่อเนื่อง จึงกล่าวได้ว่า ทา่ นผนู้ ้เี ปน็ ผู้มบี ทบาทสำคญั ในการ
พัฒนาทฤษฎกี ารประเมนิ จนเปน็ ที่ยอมรบั กันทั่วไปในปจั จุบนั เรยี กวา่ “CIPP Model”

“CIPP MODEL” เปน็ การประเมินทเี่ ป็นกระบวนการต่อเนื่อง มจี ดุ เน้นทีส่ ำคญั คอื ใช้ควบคกู่ บั การบริหาร
โครงการ เพื่อหาข้อมลู ประกอบการตดั สินใจ อย่างต่อเน่ืองตลอดเวลา วัตถปุ ระสงคก์ ารประเมนิ คือ การให้
สารสนเทศเพ่ือการตัดสนิ ใจ เน้นการแบง่ แยกบทบาทของการทำงานระหวา่ งฝ่ายประเมินกับ ฝา่ ยบริหารออก
จากกันอย่างเด่นชัด กลา่ วคือฝ่ายประเมนิ มหี นา้ ทีร่ ะบุจัดหา และนำเสนอสารสนเทศใหก้ ับฝา่ ยบรหิ าร สว่ นฝา่ ย
บริหารมีหนา้ ทเ่ี รยี กหาขอ้ มลู และนำผลการประเมนิ ท่ีได้ไปใช้ประกอบการตัดสินใจ เพื่อดำเนนิ กจิ กรรมใด ๆ ที่
เกย่ี วข้องแลว้ แตก่ รณีทงั้ นีเ้ พอ่ื ปอ้ งกันการมีอคติในการประเมนิ และ เขาไดแ้ บ่งประเดน็ การประเมินผล
ออกเป็น 4 ประเภท คอื

1. การประเมินดา้ นบรบิ ทหรือสภาวะแวดลอ้ ม (Context Evaluation : C) เป็นการประเมนิ ให้ไดข้ ้อมูล
สำคัญ เพอื่ ช่วยในการกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ ความเป็นไปได้ของโครงการ เป็นการตรวจสอบวา่
โครงการทจ่ี ะทำสนองปญั หาหรือความต้องการจำเปน็ ทีแ่ ท้จรงิ หรือไมว่ ตั ถุประสงคข์ องโครงการชัดเจน
เหมาะสม สอดคลอ้ งกับนโยบายขององค์การ หรอื นโยบายหน่วยเหนือหรอื ไม่ เป็นโครงการทม่ี ีความเปน็ ไปได้
ในแงข่ องโอกาสทจ่ี ะไดร้ บั การสนับสนุนจากองค์กรตา่ งๆ หรือไม่ เป็นต้นการประเมนิ สภาวะแวดลอ้ มจะช่วยใน
การตัดสินเกีย่ วกบั เรื่อง โครงการควรจะทำในสภาพแวดล้อมใด ตอ้ งการจะบรรลุเป้าหมายอะไร หรอื ต้องการ
บรรลวุ ัตถุประสงคเ์ ฉพาะอะไร เป็นต้น

2. การประเมนิ ปัจจัยเบอื้ งตน้ หรือปัจจยั ปอ้ น (Input Evaluation : I ) เป็นการประเมินเพ่ือพจิ ารณาถึง
ความเป็นไปไดข้ องโครงการ ความเหมาะสม และความพอเพียงของทรัพยากรทีจ่ ะใช้ในการดำเนนิ โครงการ
เช่น งบประมาณ บคุ ลากร วัสดอุ ปุ กรณ์เวลา รวมทัง้ เทคโนโลยแี ละแผนการดำเนินงาน เปน็ ตน้ การประเมินผล
แบบนจ้ี ะทำโดยใช้เอกสารหรืองานวจิ ยั ที่มีผทู้ ำไว้แลว้ หรือใชว้ ิธีการวจิ ยั นำรอ่ งเชิงทดลอง (Pilot
Experimental Project) ตลอดจนอาจใหผ้ เู้ ช่ยี วชาญ มาทำงานใหอ้ ยา่ งไรก็ตาม การประเมินผลนีจ้ ะต้อง
สำรวจสิ่งท่มี อี ยเู่ ดมิ ก่อนวา่ มีอะไรบา้ ง และตดั สินใจว่าจะใช้วิธีการใด ใชแ้ ผนการดำเนินงานแบบไหน และต้อง
ใช้ทรพั ยากรจากภายนอก หรอื ไม่

3. การประเมนิ กระบวนการ (Process Evaluation : P ) เป็นการประเมินระหวา่ งการดำเนนิ งานโครงการ
เพือ่ หาขอ้ บกพร่องของการดำเนนิ โครงการ ทจี่ ะใช้เป็นข้อมลู ในการพัฒนา แกไ้ ขปรับปรุง ใหก้ ารดำเนินการ
ช่วงตอ่ ไปมีประสิทธภิ าพมากขึ้น และเป็นการตรวจสอบกิจกรรม เวลาทรพั ยากรที่ใช้ในโครงการ ภาวะผู้นำ
การมีสว่ นร่วมของประชาชนในโครงการ โดยมกี ารบนั ทกึ ไว้เป็นหลกั ฐานทุกขนั้ ตอน การประเมนิ กระบวนการน้ี

27

จะเป็นประโยชน์อยา่ งมากต่อการค้นหาจดุ เด่น หรือ จุดแข็ง (Strengths) และจดุ ด้อย (Weakness) ของ
นโยบาย/แผนงาน/โครงการ มกั จะไม่สามารถ ศึกษาไดภ้ ายหลงั จากสนิ้ สดุ โครงการแลว้ การประเมิน
กระบวนการจะมีบทบาทสำคัญในเรอ่ื งการใหข้ ้อมลู ย้อนกลับเป็นระยะ ๆ เพอื่ การ ตรวจสอบการดำเนนิ ของ
โครงการโดยทว่ั ไป การประเมินกระบวนการมีจุดมุ่งหมาย คือ

3.1 เพื่อการหาข้อบกพร่องของโครงการ ในระหวา่ งที่มีการปฏิบตั กิ าร หรือการดำเนนิ งาน ตามแผนน้นั

3.2 เพ่อื หาข้อมลู ต่าง ๆ ทจ่ี ะนำมาใช้ในการตัดสนิ ใจเก่ียวกับการดำเนินงาน ของโครงการ

3.3 เพอ่ื การเกบ็ ข้อมลู ต่าง ๆ ทไ่ี ด้จากการดำเนินงานของโครงการ

4. การประเมนิ ผลผลิต (Product Evaluation : P ) เป็นการประเมินเพือ่ เปรยี บเทียบผลผลิตท่ีเกดิ ข้ีนกับ
วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ หรือความต้องการ/ เปา้ หมายที่กำหนดไว้รวมทง้ั การพิจารณาในประเด็นของการยุบ
เลิก ขยาย หรอื ปรบั เปล่ยี นโครงการและการประเมินผล เรื่องผลกระทบ (Impact) และผลลัพธ์( Outcomes )
ของนโยบาย / แผนงาน / โครงการ โดยอาศัยข้อมูลจากการประเมินสภาวะแวดล้อม ปจั จยั เบ้ืองต้นและ
กระบวนการร่วมดว้ ย จะเหน็ ได้วา่ การประเมินแบบ CIPP เป็นการประเมนิ ที่ครอบคลุมองค์ประกอบของระบบ
ทง้ั หมด ซ่งึ ผู้ประเมินจะต้องกำหนดวัตถปุ ระสงค์ของการประเมนิ ท่ีครอบคลมุ ทัง้ 4 ดา้ น กำหนดประเดน็ ของตวั
แปรหรือตัวชี้วัดกำหนดแหลง่ ขอ้ มลู ผใู้ ห้ข้อมูล กำหนดเคร่ืองมือการประเมิน วิธีการที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวม
ขอ้ มูลกำหนดแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล และเกณฑ์การประเมินทช่ี ัดเจนเมอ่ื พิจารณาถึงช่วงเวลาของการ
ประเมินผลโครงการ เพื่อจำแนกประเภทของการประเมนิ ผลโครงการโดยละเอยี ดแล้ว เราสามารถจำแนกไดว้ า่
การประเมนิ ผลโครงการมี4 ระยะดังตอ่ ไปน้ี

1) การประเมนิ ผลโครงการก่อนการดำเนินงาน (Pre-evaluation) เปน็ การประเมินว่ามีความจำเปน็ และ
ความเปน็ ไปไดใ้ นการกำหนดใหม้ ีโครงการหรอื แผนงานนนั้ ๆ หรอื ไม่ บางครั้ง เรยี กการประเมินผล ประเภทนี้
วา่ การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) หรอื การประเมนิ ความต้องการทจ่ี ำเป็น (Need
Assessment)

2) การประเมินผลโครงการขณะดำเนนิ งาน (On-going Evaluation) เป็นการประเมนิ ผลโครงการเพ่ือ
ติดตามความกา้ วหน้าของการดำเนนิ งาน (Monitoring) และการใชท้ รัพยากรตา่ ง ๆ

3) การประเมินผลโครงการเมื่อส้นิ สดุ การดำเนนิ งาน (Post-evaluation) เป็นการประเมนิ ว่าผลของการ
ดำเนินงานนน้ั เป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการท่วี างไวห้ รือไม่

4) การประเมนิ ผลกระทบจาการดำเนินโครงการ (Impact Evaluation) เป็นการประเมนิ ผลโครงการ
ภายหลงั จากการสน้ิ สุดการดำเนนิ โครงการหรอื แผนงาน โดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่ือตรวจสอบผลการดำเนินงานท่ี
เกดิ ข้ึน ซง่ึ อาจจะไดร้ ับอิทธิพลจากการมีโครงการหรือปจั จัยอื่น ๆ

ซงึ่ หลักการ CIPP MODEL มีรปู แบบดังน้ี

28

หลกั การประเมินผลรูปแบบ CIPP MODEL

กรอบแนวคดิ การประเมินผลโครงการ

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ขอ้ มูลส่วนบุคคล ประเมนิ ผลโครงการตามวงจรเดมมิง่ PDCA ตาม
แนวคดิ CIPP ของของสตัฟเฟลบีม

1.เพศ 1. การประเมินบรบิ ทหรือสภาวะแวดล้อม
2.อายุ 2. การประเมินปัจจัยเบ้ืองตน้ ปจั จยั ปอ้ น
3.อาชพี 3. การประเมินกระบวนการ
4.จงั หวัดที่อยู่ 4. การประเมินผลผลิต

5.รายได้

กรอบแนวคิดการประเมินผลโครงการ

29

บทท่ี 3

วธิ กี ารประเมินโครงการ

วิธีการประเมนิ ของโครงการผมสวยด้วยแชมพมู ะกรดู มีกระบวนการขน้ั ตอนในการวิเคราะห์ ข้อมลู ดงั น้ี
1. รปู แบบการประเมนิ โครงการ
2. วิธีการประเมินโครงการ
3. ประชากรกลุม่ ตวั อยา่ ง
4. เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการประเมินโครงการ
5. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
6. การวิเคราะห์ผลการประเมินงาน

รูปแบบการประเมินโครงการ
การประเมนิ โครงการ “ขายเส้อื ผ้าเดก็ และผู้ใหญ่” ใช้รูปแบบการประเมินโครงการแบบCIPP MODEL

ของสตัฟเฟลบีม ( D.L. Stufflebeam, 1997 , P. 261-265 ) ดงั น้ี

รูปแบบการประเมนิ โครงการแบบ CIPP MODEL

30

วธิ กี ารประเมินโครงการ
โครงการขายเสื้อผา้ ออนไลน์เด็กและผูใ้ หญ่ มวี ิธกี ารประเมินโครงการแบบ การประเมินโครงการ คุณภาพ

โดยใชห้ ลกั การวงจรเดมม่ิง “PDCA” ตามแนวคิด “CIPP” ของสตฟั เฟลบมี ในการติดตาม และประเมินผล
โครงการ
ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง

ประชากรและกลุ่มตวั อย่างทใี่ ชใ้ นการตดิ ตามและประเมินผลโครงการขายเสื้อผา้ เดก็ และผู้ใหญ่ มดี ังนี้
ประชากร คือ ประชาชน ผทู้ เี่ กย่ี วข้องกับการดำเนนิ โครงการและคณะผจู้ ดั ทำโครงการ จำนวน 10 คน
กลุม่ ตัวอยา่ ง คือ กลุ่มลูกค้าเกยี่ วขอ้ งกับการดำเนินโครงการและคณะผ้จู ดั ทำโครงการ จำนวน 10 คน

โดยใช้วธิ สี มุ่ ตวั อยา่ งแบบเฉพาะเจาะจง
เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ในการประเมินโครงการ

การประเมินโครงการใชก้ ระบวนการศึกษาคณุ ภาพ จึงมเี ครื่องมือที่ใชใ้ นการประเมนิ โครงการผมสวยด้วย
แชมพมู ะกรูด ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ การสงั เกต การมสี ว่ นร่วมและการบนั ทึกภาพ

โดยเครื่องมือทีใ่ ช้ในการประเมินโครงการขายเส้อื ผ้าเด็กและผูใ้ หญ่ มจี ำนวน 10 ฉบบั ดังน้ี
สว่ นท1่ี เปน็ แบบสอบถามข้อมลู ทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสมั ภาษณไ์ ด้แก่ เพศ อายุ อาชีพ จงั หวัดท่ีอยู่ รายได้
โดยเป็นแบบปลายเปดิ ให้เลือกตอบในชอ่ งที่กำหนด
สว่ นท2ี่ เป็นแบบสมั ภาษณ์ประเมินโครงการผมสวยด้วยแชมพมู ะกรดู โดยใช้แบบประเมนิ CIPP MODEL
มี4 ดา้ น จำนวน 12 ขอ้ ดังน้ี
1.1 สภาวะด้านแวดล้อม ( Context ) จำนวน 3 ขอ้ โดยผตู้ อบสามารถเขียนรายละเอียดการตอบได้อย่าง
อสิ ระ
1.2 ดา้ นปจั จยั ( Input ) จำนวน 3 ขอ้ โดยผ้ตู อบสามารถเขียนรายละเอยี ดการตอบได้อยา่ งอสิ ระ
1.3 ด้านกระบวนการ ( Process ) จำนวน 3 ข้อ โดยผ้ตู อบสามารถเขียนรายละเอยี ดการตอบได้อยา่ งอสิ ระ
1.4 ดา้ นผลผลติ ( Product ) จำนวน 3 ขอ้ โดยผู้ตอบสามารถเขียนรายละเอียดการตอบไดอ้ ยา่ งอสิ ระ

สว่ นท3ี่ ปัญหาหรือข้อเสนอแนะเกยี่ วกับการดำเนนิ งานในการจัดทำโครงการโดยเป็นแบบปลายเปิดให้
ตอบแบบบรรยาย
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู

การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้จัดทำได้ทำหนา้ ท่ีในการเก็บรวบรวมข้อมลู ดว้ ยตนเอง โดยมีรายละเอยี ดในการ
เก็บรวบรวมข้อมูล ดงั นี้
1. แจง้ ใหท้ ราบล่วงหน้าวา่ จะทำการติดต่อสมั ภาษณ์เพ่ือในการประเมนิ ผลโครงการ
2. ใช้เวลาสมั ภาษณ์5-10 นาทีต่อคนโดยประมาณ

31

3. ผสู้ มั ภาษณ์ทำการตรวจสอบความถกู ต้องสมบูรณ์เพื่อนำไปใชใ้ นการเคราะห์ข้อมลู ของโครงการต่อไป

การวิเคราะห์ผลการประเมินโครงการ
วเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ โครงการ โดยใชก้ ารวเิ คราะหเ์ ชิงคุณภาพ

การวิเคราะหข์ อ้ มลู เชงิ คุณภาพ
ขั้นตอนท่ี1 การทำใหข้ อ้ มลู ท่ีเก็บรวบรวมไดม้ าอยใู่ นสภาพท่สี ะดวกและงา่ ยต่อการนำไปวเิ คราะห์
ขน้ั ตอนท่ี 2 ทำดชั นหี รือกำหนดรหัสของข้อมูล ซึ่งเป็นการจดั ระเบียบของเน้ือหา คือ การจัดข้อมูลโดยการใช้
คำหลักซึ่งอาจมีลักษณะเป็นวลีหรือข้อความหนึ่งมาแทนข้อมูลที่บันทึกไว้ในบันทึกภาคสนาม ส่วนที่เป็นการ
บันทกึ พรรณนา หรือบันทกึ ละเอยี ดส่วนใดสว่ นหน่ึง เพอ่ื แสดงให้เหน็ ข้อมลู ในการบันทึกพรรณนาส่วนน้ันเป็น
เรื่องเกี่ยวกับอะไร คำหลัก (วลีหรือข้อความ) ที่กำหนดขึ้นนั้นจะมีลักษณะเป็นมโนทัศน์(concep) ซึ่งมี
ความหมายแทนข้อมูลบันทึกละเอียดส่วนนั้น การจัดทำดัชนหี รือกำหนดรหัสของข้อมูลนัน้ สามารถทำได้สอง
ลักษณะคือ จัดทำไว้ล่วงหน้าก่อนเช้า สนามวิจัยและจัดท าตามข้อมูลที่ปรากฎในบันทึกภาคสนาม หรือ
บางครัง้ เรยี กว่า การจดั ทำดชั นีข้อมูลแบบนิรนยั (deductive coding) และแบบอปุ นยั (inductive coding)
ขั้นตอนที่ 3 การกำจัดข้อมูลหรือสร้างข้อสรุปชั่วคราว นี้คือการสรุปเชื่อมโยงดัชนีคำหลักเข้าด้วยกันภาย
หลังจากผ่านกระบวนการทำดัชนีหรือกำหนดรหัส ข้อมูลแล้ว การเชื่อมโยงคำหลักเข้าด้วยกันจะเขียนเป็ น
ประโยคข้อความที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคำหลัก และจากการเชื่อมโยงดัชนีคำหลักใน38ตัวอย่างเข้า
ด้วยกนั จะเหน็ วา่ ทำให้ข้อมูลในสว่ นทเ่ี ป็นบนั ทึกละเอยี ดทม่ี ีอยู่มากน้ันถูกลดทอนหรือตัดทิ้งไปจนกระทั่งเหลือ
เฉพาะประเดน็ หลกั ๆ ที่นำมาผูกโยงกันเทา่ นั้น
ขั้นตอนที่ 4 สร้างบทสรุป คือ การเขียนเชื่อมโยงข้อสรุปชั่วคราวที่ผ่านการตรวจสอบยืนยันแล้วเข้าด้วยกัน
การเชื่อมข้อสรุปชัว่ คราวนั้นจะเช่ือมโยงตามลำดับข้อสรุปแต่ละข้อสรปุ เป็นบทสรุปย่อยและเชื่อมโยงบทสรปุ
ย่อยแต่ละบทสรปุ เข้าดว้ ยกันเป็นบทสรุปสดุ ท้าย
ขั้นตอนที่ 5 พิสูจน์ความน่าเชื่อถือของผลการวิเคราะห์เพื่อพิสูจน์ว่าบทสรุป นั้นสอดคล้องกันหรือไม่ซ่ึง
โดยทั่วไปแล้วการพิสูจน์นับทสรุปก็มักจะเป็นการพิจารณาวิธีการเก็บข้อมูลนั้นว่าดำเนินการอย่างรอบคอ บ
หรอื ไม่เพียงไร และข้อมูลทเี่ ก็บรวบรวมได้มานน้ั เป็นข้อมูลท่ีมคี ุณภาพนา่ เชือ่ ถือหรือไม่

32

บทที่ 4

ผลการประเมิน

การศึกษาการประเมินโครงการขายเสื้อผ้าออนไลน์เด็กและผู้ใหญ่ ได้ใช้วิธีการสัมภาษณ์จากลูกค้า/
ผู้เกี่ยวข้อง ผู้จัดทำโครงการ เพื่อวิเคราะห์เพื่อประเมินผลโครงการ จากการดำเนินโครงการ ผู้รับผิดชอบ
โครงการจะนำเสนอผลการดำเนนิ โครงการออกเปน็ 3 ส่วน มีหัวขอ้ นำเสนอดงั นี้
1. ข้อมูลทว่ั ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
2. ผลการประเมนิ โครงการขายเส้อื ผ้าออนไลนเ์ ดก็ และผใู้ หญ่
3. ปญั หาหรือขอ้ เสนอแนะเกยี่ วกับการดำเนนิ โครงการ
ขอ้ มลู ทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสัมภาษณ์จากผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ

จากการเก็บรวบรวมข้อมูลในการประเมนิ ผลโครงการขายเสื้อผ้าออนไลน์เด็กและผู้ใหญ่ สามารถเกบ็
รวบรวมขอ้ มลู จากการสัมภาษณไ์ ด้ทง้ั หมด 11 คน จำแนกรายละเอียดของผ้ทู ่ีให้ สัมภาษณ์ ได้ดงั นี้

ผู้ตอบ ประเภทของผ้ตู อบสัมภาษณ์
ลำดับที่

1. ลูกค้า

2. ลูกค้า

3. ลูกค้า

4. ลูกคา้

5. ลูกค้า

6. ลูกคา้

7. ผ้เู กย่ี วขอ้ ง

8. ผเู้ ก่ียวขอ้ ง

9. ผู้จัดทำโครงการ

10. ผจู้ ัดทำโครงการ

11. ผู้จัดทำโครงการ

ตาราง จำนวนผู้ใหส้ ัมภาษณแ์ ละประเภทของผู้ให้สัมภาษณ์ขอ้ มูล

33

ผลการประเมนิ โครงการขายเสอื้ ผา้ ออนไลน์เด็กและผู้ใหญ่
ผลการประเมินโครงการขายเสื้อผ้าออนไลน์เด็กและผู้ใหญ่ ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้นำเสนอผลการ

ประเมินโครงการ จำนวน 4 ตอน ดังนี้
ตอนท่ี 1 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นสภาวะแวดลอ้ ม
ตอนที่ 2 ผลการประเมินโครงการดา้ นปจั จยั
ตอนท่ี 3 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นกระบวนการ
ตอนท่ี 4 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นผลผลิต

ตอนที่ 1 ผลการประเมินโครงการด้านสภาวะแวดลอ้ ม หลังการดำเนินโครงการ
ผลการประเมินโครงการด้านสภาวะแวดล้อม หลังการดำเนินโครงการ สามารถแยกเป็น ประเด็น

คำถาม และมีผู้สัมภาษณ์ตอบแบบสอบถามตามข้อคำถามต่าง ๆ ของการประเมินโครงการ ด้านสภาวะ
แวดล้อม ดงั ตาราง

ตาราง การซื้อผ่านชอ่ งทางออนไลน์เข้าถึงงา่ ยมีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด

ผู้ตอบ รายละเอียดของการประเมิน
ลำดับที่

1. ซื้อผ่านออนไลน์มคี วามทนั สมยั และมใี หเ้ ลอื กท่หี ลากหลายและสะดวกสบาย

2. พอ่ ค้าตอบคำถามอยา่ งรวดเรว็ และพูดจาสภุ าพให้คำแนะนำทดี่ ี

3. ส่งั ซ้อื สะดวกมีบริการเกบ็ ปลายทางจา่ ยตอนรับของได้เลย

4. เลือกดสู นิ คา้ ก่อนตัดสนิ ใจซ้อื ไดห้ ลายช่องทางและส่งั ซอื้ ไดต้ ามความพอพึงพอใจ

5. พ่อค้าตอบคำถามในการซือ้ ไดอ้ ย่างรวดเร็ว สอบถามได้ตลอด

6. ซอื้ ผา่ นออนไลน์เขา้ ใจงา่ ยและมรี วี วิ สินค้าใหด้ ูถงึ ผลติ ภัณฑ์

7. จัดโปรสนิ คา้ ทห่ี ลากหลายในการสง่ั ซ้ือหลายรปู แบบ

8. ซ้อื ขายไมย่ ุง่ ยากแคม่ ีแอพMobile Banking ก็สามารถซ้อื ขายได้ตลอดเวลา

9. สามารถเลอื กการจัดส่งไดห้ ลากหลายบริษทั ตามต้องการ

10. ไมต่ อ้ งไปเดนิ หา้ งกส็ ามารถเลือกซ้อื ไดผ้ า่ นโทรสพั ท์มอื ถือแท็ปเลต อน่ื ๆ

34

จากตารางที่ 4.2 คำตอบของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยรวมได้ให้รายละเอียดการประเมินไว้ คือ การซื้อผ่าน
ช่องทางออนไลน์เข้าถึงง่าย มีการส่งสินค้าที่รวดเร็ว สามารถที่จะเข้าถึงสินค้าได้หลากหลายช่องทาง ซื้อผ่าน
ออนไลน์ผ่าน Mobile Banking ไดต้ ามสดวกสบาย

ตาราง ทางร้านมกี ารใหบ้ รกิ ารและใหค้ ำแนะนำทด่ี ีมากนอ้ ยเพยี งใด
ผู้ตอบ

รายละเอียดของการประเมิน
ลำดบั ท่ี

1. ติดต่อสอบถามไดห้ ลายชอ่ งทาง
2. ติดต่อสอบถามรายละเอียดสินคา้ ได้ตลอดเวลาทำการ
3. รา้ นมกี ารแนะนำสินคา้ ตา่ งๆ
4. พอ่ ค้าสามารถตอบคำถามลูกค้าไดท้ ุกอยา่ งเก่ยี วกบั สนิ ค้า
5. พอ่ คา้ มกี ารแนะนำสนิ คา้ ท่ีใชด้ ีใหก้ ับลกู คา้
6. มีรางวัลสำหรับลกู คา้ ประจำ
7. สรา้ งความคนุ้ เคยกับลูกคา้ ทุกคนทมี่ าใชบ้ รกิ าร
8. มีบริการทด่ี แี ละมคี ำแนะนำทีด่ ีใหก้ ับลูกค้าท่มี าใชบ่ รกิ ารทง้ั หนา้ รา้ นและออนไลน์
9. แสดงความใส่ใจถามเปน็ ระยะๆ
10. สามารถสอบถามเกี่ยวกบั สนิ คา้ ได้ตามความต้องการของลกู คา้

จากตาราง คำตอบของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยรวมได้ให้รายละเอียดการประเมินไว้ คือ ทางร้านมี
การให้บริการและให้คำแนะนำที่ดี สามารถตอบคำถามที่ลูกค้าถามได้ได้ดี มีการใช้ถ้อยคำที่สุภาพ ให้
คำแนะนำทดี่ เี กีย่ วกับของสินคา้

35

ตาราง มบี ริการจดั ส่งสินคา้ ได้ครอบคลมุ ทุกพ้นื ที่มากน้อยเพยี งใด
ผตู้ อบ

รายละเอยี ดของการประเมนิ
ลำดับที่

1. มีช่องทางในการจดั สง่ หลากหลายบริษทั
2. มบี ริการเก็บเงนิ ปลายทางจา่ ยทบ่ี า้ นได้เลย
3. คา่ จัดส่งไม่แพงลูกค้าส่งั เยอะคดิ ราคา ตวั ถนดั ไปบวก5บาท
4. สินค้าแพค็ อย่างดกี ่อนจดั สง่
5. มบี ริการสง่ ของพ้ืนที่ใกลเ้ คียง นดั รับสนิ คา้ หรือจะมารบั สนิ คา้ ทรี่ า้ นได้เลย
6. สง่ ของได้ทกุ ท่ีตามพน้ื ท่ที ลี่ กู คา้ สั่ง
7. หากเปน็ พน้ื ทีต่ า่ งจงั หวดั อาจจะมีการเพิ่มค่าบริการจัดสง่ สนิ คา้
8. ตรวจเช็คขนสง่ ตลอดวา่ บริษทั ไหนสามารถสง่ สินคา้ ถงึ บา้ นลกู ค้าไดบ้ ้าง
9. มีการรับประกนั สนิ คา้ ในกรณไี ด้สนิ คา้ ไม่ครบหรอื เสยี หาย
10. ลกู คา้ เลือกขนส่งได้ตรามใจลกู คา้ ได้เลย

จากตาราง คำตอบของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยรวมได้ให้รายละเอียดการประเมินไว้ คือ มีบริการจัดส่งสินคา้
ได้ครอบคลุมทุกพ้ืนที่ มีบริการเก็บเงินปลายทาง มีการส่งของได้ครอบคลมุ ทุกพ้ืนที่ มีบริการส่งพ้ืนที่ใกล้เคยี ง
หรอื นดั รบั สนิ ค้าได้ตามความตอ้ งการของลูกค้า

ตอนท่ี 2 ผลการประเมินโครงการดา้ นปจั จัย หลังการดำเนินโครงการ

ผลการประเมินโครงการด้านปัจจยั หลังการดำเนนิ โครงการ สามารถแยกเป็น ประเด็นคำถาม และมี
ผู้สัมภาษณต์ อบแบบสอบถามตามขอ้ คำถามตา่ ง ๆ ของการประเมนิ โครงการ ดา้ นปัจจยั ดงั ตารางท่ี 4.5 – 4.7

36

ตาราง ชอ่ งทางหรือช่วงเวลาในการจดั จำหน่ายมีความเหมาะสมมากนอ้ ยเพียงใด
ผตู้ อบ

รายละเอยี ดของการประเมนิ
ลำดับที่

1. ลกู ค้าสามารถเลอื กเวลาส่ังซื้อหรอื จดั ส่งไดต้ ามสดวก
2. ลกู คา้ สามารถเลือกขนสง่ ไดต้ ามความต้องการ
3. เลือกการส่งั ซ้ือสนิ คา้ ไดต้ ามความตอ้ งการของลกู ค้า
4. การจดั ส่ง 1-3 วนั ลกู ค้ารบั ของไดเ้ ลย
5. ช่วงเวลารบั สนิ ค้าจะมีเบอรข์ นสง่ โทรหาลูกค้ากอ่ นตลอดในกรณเี ก็บเงินปลายทาง
6. ลกู คา้ สามารถเลอื กที่รบั ลองไดด้ ้วยตวั เอง
7. ลกู ค้าสมารถไปรับสนิ คา้ ได้ทบ่ี รษิ ทั ขนส่งสินคา้ หรือใหข้ นสง่ สนิ คา้ ไปสง่ ทบี่ า้ นก็ได้
8. ส่งสนิ คา้ รวดเรว็ ตามเวลาทีข่ นสง่ แจ้ง
9. เลอื กสง่ ตามทล่ี กู ค้าสะดวกตามเวลาทต่ี อ้ งการรบั สนิ ค้า
10. ส่งสนิ คา้ วันตอ่ วนั ไม่มีการดองสนิ คา้ ไวห้ ลายวนั
จากตาราง คำตอบของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยรวมได้ให้รายละเอียดการประเมินไว้ คือ สามารถที่จะให้
ลูกคา้ เลอื กเวลาในการจัดสง่ ได้ เพอื่ ความสะดวกสบายในการรับสินคา้ ลูกคา้ สามารถเลือกบริษทั ขนส่งสินค้าได้
ตามความสะดวกและจัดส่งสินค้าตามกำหนดตามทล่ี ูกคา้ สง่ั สินค้า

37

ตาราง การสั่งซอ้ื สนิ คา้ มคี วามสะดวกรวดเร็วมากน้อยเพียงใด
ผูต้ อบ

รายละเอียดของการประเมิน
ลำดับท่ี

1. ลกู คา้ เลือกสนิ ค้าไดท้ กุ เวลา
2. สามารถเปรียบเทยี บราคาได้รวดเร็ว
3. ไม่ต้องไดเ้ ดินซื้อสนิ ค้าสามารถซ้ือผ่านออนไลนไ์ ด้ตลอดเวลา
4. ซอ้ื สินค้าจา่ ยเงนิ ผา่ น MoBile Banking ได้ตลอดเวลา
5. ไม่ตอ้ งขับรถไปเดนิ หาสินคา้
6. ลูกคา้ สามารถเลือกซ้อื สนิ ค้าไดห้ ลากหลาย
7. มสี ินคา้ หลายประเภทให้ลูกค้าเลอื ก
8. มีการจัดส่งสนิ คา้ ท่ีรวดเร็วทนั ใจ
9. มบี ริการเก็บเงนิ ปลายทางทล่ี ูกค้าจะไดไ้ มโ่ ดนโกงหรือโดนหลอก
10. ลูกคา้ สมารถเชค็ เชค็ สนิ คา้ ได้ตลอดเวลา

จากตาราง คำตอบของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยรวมได้ให้รายละเอียดการประเมินไว้ คือ การสั่งซ้ือ
สินค้ามีความสะดวกรวดเร็ว ลูกค้าสามารถที่จะสั่งสินคา้ ได้ทุกเวลาตามต้องการ ลูกค้าสมารถเช็คเลขสินค้าได้
ตลอดเวลา และมสี ินค้าหลายประเภทให้ลูกค้าเลือกได้ตามใจชอบ ส่งั ซ้อื ง่ายจ่ายเงนิ ผ่าน MoBile Banking ได้
เลย

38

ตาราง สินคา้ ทำมาจากผ้าแบบไหนมีความนา่ สนใจมากนอ้ ยเพียงใด
ผ้ตู อบ

รายละเอียดของการประเมนิ
ลำดับที่

1. เราเลือกผ้ามีทค่ี ุณภาพใหก้ บั ลกู ค้า
2. สนิ ค้าไมเ่ ปอ่ื ยย้ยุ ลูกค้าสามารถซักล้างไดป้ กติ
3. มเี นือ้ ผา้ ทดี่ ีสวมใสส่ บาย
4. สินคา้ มีราคายอ่ มเยาไม่แพงจนเกนิ ไปลกู คา้ ทุกคนสามารถจบั ตอ้ งได้
5. สนิ คา้ สว่ นใหญเ่ ปน้ สนิ คา้ ท่นี ยิ มกนั
6. ถ้าลกู คา้ ใสเ่ บ่ือแลว้ ลูกค้าสมารถขายเป็นผา้ มือ2ได้
7. มีการรับตัวแทนตวั แทนจะไดเ้ หรดราคาทีต่ ำ่ ลง
8. ผ้าทน่ี ำมาขายจะเปน็ ผา้ ใหม่สัง่ ทำมาจากโรงงานโดยตรง
9. มีหลากหลายแบบให้ลกู ค้าเลือก
10. มีขนาดไซร้หลากหลาย ตามท่ีลกู คา้ ส่ัง ทงั้ พรีออเดอร์ และหนา้ รา้ น

จากตาราง คำตอบของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยรวมได้ให้รายละเอียดการประเมินไว้ คือ สินค้าจะเป็นสินค้า
ใหม่ส่ังทำจากดรงงานโดยตรง มีเน้อื ผา้ ท่ดี ี ซักลา้ งงา่ ย ไม่เปอ่ื ยยุ่ย มรี าคาย่อมเยาวล์ ูกคา้ ทุกคนสามารถจับต้อง
ได้ มีไซรใ์ ห้เลือกหลากหลายขนาด ตามความต้องการของลกู คา้

ตอนที่ 3 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นกระบวนการ หลังการดำเนนิ โครงการ

ผลการประเมินโครงการด้านกระบวนการ หลังการดำเนินโครงการ สามารถแยกเป็น ประเด็นคำถาม
และมีผู้สัมภาษณ์ตอบแบบสอบถามตามข้อคำถามต่าง ๆ ของการประเมินโครงการ ด้านกระบวนการ ดัง
ตารางที่ 4.8 – 4.10

39

ตาราง มชี ่องทางการติดตอ่ สอื่ สารท่ีหลากหลายมากน้อยเพียงใด
ผู้ตอบ

รายละเอียดของการประเมิน
ลำดับที่

1. สามารถโทรตดิ ต่อได้ตามเบอร์โทรสัพท์
2. สามารถนัดรบั ได้ตามทล่ี ุกคา้ ตอ้ งการ
3. สามารถตดิ ตอ่ ได้หลายช่องทาง
4. มชี อ่ งทางให้ติดต่อไดผ้ ่านผชู่ ว่ ยพอ่ ค้า
5. สอบถามพอ่ คา้ ได้หลากหลายชอ่ งทาง Facebook / Line / Instagram
6. สามารถติดต่อซอื้ กบั ตวั แทนไดต้ ลอดเวลา
7. ลูกคา้ จะให้พ่อค้าไปสง่ ของทบี่ า้ นได้ เฉพาะพืน้ ที่ใกล้เคยี ง
8. ลูกคา้ สามารถมารบั สนิ ค้าได้ด้วยตวั เองตามเวลาทำการ
9. ตดิ ต่อสอบถามไดก้ บั ทางครอบครวั พอ่ ค้า
10. สามารถตดิ ต่อผา่ นคนรู้จักพ่อค้า

จากตาราง คำตอบของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยรวมไดใ้ ห้รายละเอียดการประเมินไว้ คือ มชี อ่ งทางการ
ตดิ ตอ่ สอ่ื สารทหี่ ลากหลายชอ่ งทาง เบอรต์ ิดต่อพ่อค้า หรอื ทกั เพจ Facebook / Line / Instagram ได้
ตลอดเวลาทำการ

40

ตาราง มรี ะบบการจดั การและการจัดส่งสินค้าไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ มากนอ้ ยเพยี งใด

ผู้ตอบ
รายละเอยี ดของการประเมิน

ลำดับท่ี
1. ลูกค้าสง่ั สนิ ค้ากอ่นเวลา 12.00 ลูกค้าจะไดร้ บั สนิ ค้า 1-2 วนั
2. ถ้าลกู ค้าอยากรบั สนิ ค้ารวดเร็ว พอ่ ค้าแนะนำ ส่งแบบ ดว่ น หรอื EMS
3. ลูกค้าพ้ืนทใี่ กล้เคยี งนัดรบั ได้ตลอดเวลา
4. ลูกคา้ พ้นื ทใี่ กลเ้ คียงมบี รกิ ารสง่ ถึงบา้ น
5. จัดส่งสนิ คา้ ตามความตอ้ งการของลกู ค้า
6. ลกู คา้ สัง่ ของไมม่ กี ารดองของทข่ี นส่ง
7. ลกู คา้ สามารถมารับสนิ ค้าได้ดว้ ยตวั เอง
8. ส่งของตามเวลาทข่ี นสง่ กำหนด
9. จดั สง่ สนิ คา้ ทนั ทีเมือ่ ลกู คา้ สัง่ ไมม่ กี ารรอของเยอะนอ้ ย
10. ลูกคา้ สามารถตรวจเลขสินคา้ ของตวั เองไดต้ ลอดเวลา

จากตาราง คำตอบของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยรวมไดใ้ ห้รายละเอียดการประเมินไว้ คือ ลูกคา้ สามารถ
ตรวจเช็คสินคา้ ไดด้ ้วยตวั เองตามเลขสินคา้ ลูกคา้ เลอื กขนส่งไดต้ ามใจชอบ มีการสง่ ของตามเวลาที่กำหนด มี
ทัง้ ส่ง ธรรมดา และสง่ แบบ รวดเรว็ หรอื EMS

41

ตาราง มชี ่องทางการชำระเงินหลากหลายช่องทางมากน้อยเพียงใด
ผตู้ อบ รายละเอียดของการประเมิน
ลำดับท่ี

1. สามารถโอนผ่าน Mobile Banking ไดต้ ลอดเวลา

2. มีบริการเก็บเงนิ ปลายทางทบ่ี ้านลกู ค้า

3. ชำระสนิ คา้ แจง้ สลปิ ได้ ผ่านหนา้ เพจ ออนไลน์

4. ลูกค้าจะชำระสนิ คา้ ไดต้ ามเวลาท่ีกำหนด

5. ชำระสนิ คา้ ตามสนิ คา้ ทล่ี กู ค้าต้องการส่งั ซอ้ื

6. สามารถเลอื ก ชำระไดต้ ามชอ่ งทางตา่ งๆ

7. ชำระเงนิ ผ่าน Truewallet ไดเ้ ลย

8. ชำระเงนิ ผ่าน คิวอาโคช้ ได้ มีควิ อาโค้ชให้ลกู ค้าสแกน

9. มาชำระสินคา้ ไดท้ พ่ี อ่ คา้ แลว้ รับสินค้าไปเลย

10. รบั การชำระผา่ น Shoppy ไดเ้ ลย

จากตาราง คำตอบของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยรวมได้ให้รายละเอียดการประเมินไว้ คือ มีช่องทางการชำระ
สินค้าที่หลากหลาย ทั้งชำระผ่าน การ คิวอาโค้ช ลูกค้าสแกนได้เลย หรือ ชำระผ่าน Mobile Banking ผ่าน
โทรสัพท์มอื ถอื และ ชำระผ่าน TrueWallet ได้ ตลดิ เวลาตามทีล่ ูกคา้ ตอ้ งการ

ตอนท่ี 4 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นผลผลติ หลงั การดำเนินโครงการ

ผลการประเมินโครงการดา้ นผลผลิต หลังการดำเนินโครงการ สามารถแยกเป็น ประเด็นคำถาม และ
มีผสู้ ัมภาษณต์ อบแบบสอบถามตามข้อคำถามตา่ ง ๆ ของการประเมินโครงการด้านผลผลติ ดังตารางที่ 4.11 –
4.13

42

ตาราง สินคา้ ที่ผลติ มาขายมีคณุ ภาพมากน้อยเพยี งใด
ผ้ตู อบ

รายละเอยี ดของการประเมนิ
ลำดับที่

1. สั่งทำตามทล่ี ูกค้าสง่ั
2. เปน็ ผ้านมุ่ ไมย่ ุ่ยไม่เปือ่ ย
3. ใส่แลว้ สบายตวั ไม่อดึ อดั เกินไป
4. มีไซร์หลายขนาดให้ลูกค้าเลือกตามใจชอบ
5. ลูกค้าสามารถเลอื กผา้ ตามสไตลข์ องลูกค้าได้เลย
6. เนอื้ ผ้ามีความละเอยี ดสูงคดั ผา้ ทด่ี ีให้ลูกคา้
7. ไม่เอาผา้ มือ2มาขาย สินคา้ จะเป็นสนิ คา้ ส่งั ทำจากโรงงานโดยตรง
8. มกี ารออกแบบดีไซด์ทเ่ี หมาะห์กับวยั รนุ่ และเดก็
9. มรี อบเย็บทด่ี ีตรงสวยตามแบบผา้
10. เน้อื ผ้าดดู ซบั เหงอื่ แหละแห้งไว

จากตาราง คำตอบของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยรวมได้ให้รายละเอียดการประเมินไว้ คือ เนื้อผ้ามส่แล้วสบาย
ตัว ดูดซับเหงื่อและแห้งรวดเร็ว มีใยผ้าที่ดี มีการเย็บที่ตรงสวย ตามแบบ ใส่แล้วไม่อึดอัดจนเกินไป เป็นผ้ายืด
ใสส่ บายท้งั เดก็ และผู้ใหญ่

43

ตาราง สินค้าตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการมากน้อยเพียงใด
ผ้ตู อบ

รายละเอยี ดของการประเมิน
ลำดับที่

1. ลกู คา้ ซ้อื แลว้ กลับมาซ้ือใหม่
2. มีฐานลูกคา้ ทีม่ ัน่ คง
3. สนิ คา้ มีคุณภาพลูกคา้ แนะนำเพอื่ นๆมาซ้ือตอ่
4. เป็นสนิ คา้ ท่ีวัยรนุ่ และเด็กๆ ผ้ใู หญ่ นยิ ม
5. สินคา้ ตอบโจทยค์ วามตอ้ งการของลกู คา้
6. ซ้ือสินค้างา่ ยปลอดภัย
7. สนิ ค้ามีคณุ ภาพใชง้ า่ ยลูกคา้ ชน่ื ชอบ
8. ชำระสนิ คา้ ได้หลากหลายชอ่ งทางลกู คา้ พงึ พอใจ
9. ไม่มีการเอาเปรยี บลูกค้าให้คำแนะนำกบั ลูกคา้ ทกุ คน
10. ลูกค้าชื่นชอบสนิ ค้าท่นี ำมาจำหน่าย

จากตาราง คำตอบของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยรวมได้ให้รายละเอียดการประเมนิ ไว้ คือ สินค้าได้รับการตลอด
รับทีด่ ี เปน็ ทีน่ ยิ มของ ผใู่ หญ่และเดก็ ลูกคา้ ซือ้ แลว้ กลับมาซื้อใหม่ รวมถึงซื้อแล้วบอกคนอ่ืนให้มาซื้อต่อ มีฐาน
ลกุ คา้ ทีม่ นั่ คง ไมเ่ อารดั เอาเปรยี บลกู ค้าให้คำแนะนำกับลกู ค้าทกุ คน

44

ตาราง คุณภาพของสนิ คา้ หลงั จากไดใ้ ช้สนิ คา้ มากน้อยเพียงใด
ผู้ตอบ

รายละเอยี ดของการประเมิน
ลำดบั ท่ี

1. ใส่แล้วสบายลูกค้าชอบ
2. ใส่แล้วไม่ทำใหร้ ะคลายผวิ ตัว
3. ใสแ่ ลว้ น่มุ นวล ยดื ยนุ่ ไดด้ ี
4. สินคา้ เปน็ ผา้ ยืดได้ ใสแ่ ลว้ รู้สกึ สบายตัว
5. มกี ารเย็บปกั ที่ ตรงสวย น่าใสม่ าก
6. เลือกเนื้อใยผ้าท่ดี ี กอ่ นสัง่ ทำ
7. ไมต่ อ้ งรีดเยอะกเ็ รยี บไว
8. จัดการเหงื่อได้ดี
9. ไม่เปน็ ขนขยุ
10. สนิ ค้าเครอื บ สาร Microban กันแบตทเี รยี

จากตาราง คำตอบของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยรวมได้ให้รายละเอียดการประเมินไว้ คือ ใช้แล้วดีผา้
ยืดได้ นุ่มนวล ไม่ต้องรดี มากกเ็ รยี บไว ไม่เป้นขนขุย ซับเหงอ่ื ไดด้ ี แหง้ ไว สินค้าเครือบสาร Mivroban กันแบท
ทีเรยี สอาดปลอดภัย ใสแ่ ลว้ รู้สกึ สบายไมอ่ ึดอัดตัว

ตอนท่ี 5 ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ

ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ หลงั การดำเนนิ โครงการ ดงั ตารางที่ 4.14

45

ตาราง ขอ้ เสนอแนะอ่ืน ๆ
ผู้ตอบ

รายละเอียดของการประเมนิ
ลำดับที่

1. ควรมีสนิ ค้าหลายประเภท
2. ควรมเี นื้อผา้ ใหเ้ ลือกหลายๆแบบ
3. ไมค่ วรส่ังสนิ คา้ พรีออเดอร์เพราะใชเ้ วลาให้การจดั ทำนาน
4. ควรผลติ สินคา้ หลายหลายรปู แบบ หลากหลายขนาดแก่ผ่สู งู อายุ
5. ควรมแี อดมิน ตอบกลบั เพือ่ ความรวดเรว็ ในการสง่ั ซ้อื สินค้า
6. ควรมีสนิ ค้าของคนนำ้ หนักเยอะ
7. ควรมีโปรโมชน่ั หลากหลายให้ลูกค้าไดเ้ ลอื ก
8. ควรมีส่วนลดสำหรบั ผู้ซ้อื เยอะๆ
9. ควรมีกจิ กรรมแจกสนิ คา้
10. ควนมีส่วนลดสำหรบั การจดั สง่ สนิ ค้า

จากตาราง คำตอบของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยรวมไดใ้ ห้รายละเอียดการประเมินไว้ คือ ควรมีสินค้า
หลายประเภทให้ลูกค้าไดเ้ ลือกซื้อ ควรมแี อดมินคอยตอบสินคา้ จะไดม้ กี ารตอบสนองกับลูกค้าท่ีรวดเรว็ ควรมี
กิจกรรมแจกสินค้าให้กับลูกคา้ หรอื มโี ปรโมช่ันต่างๆให้ลกู คา้ เลือก

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf