Nightingale rose diagram ม ช อเร ยกภาษาไทยค อ

  • 1. Infographics.........................................................................................................................4 หมวดหมู่ของ Infographics ..............................................................................................................................5 การเตรียมข้อมูล ข้อภาพ และสถิติที่ถูกต้องสามารถใช้อ้างอิงได้......................................................10 วิธีหารูปมาใช้ฟรีโดยไม่ผิดลิขสิทธิ์จาก Google Search.....................................................................10 วรรณะของสี.....................................................................................................................................................11 ระบบสี RGB......................................................................................................................................................12 ขั้นตอนการออกแบบอินโฟกราฟิกส์ (Infographics)............................................................................13 ออกแบบ Infographic ด้วย 9 Layout............................................................................................................15 การสรุปใจความไว้ใน Infographic.............................................................................................................25 การสร้างภาพกราฟิกด้วย Illustrator................................................................................................................29 รู้จักกับภาพ Vector และ Bitmap..................................................................................................................29 พื้นฐานการสร้างภาพกราฟิกชนิด Vector...............................................................................................31 หน้าจอของ .....................................................................................................................................32Illustrator แถบคําสั่ง (Menu Bar) .....................................................................................................................................32 กล่องเครื่องมือ (Tool Box).............................................................................................................................33 สร้างรูปทรงต่างๆ...........................................................................................................................................34 การจัดการวัตถุ.................................................................................................................................................39 การสร้างตัวอักษร...........................................................................................................................................41 ..............................................................................................................................................45การระบายสีภาพ
  • 2. และรูปภาพ...................................................................................................................53
  • 3. คืออะไร Infographic ยอมาจาก Information Graphic คือ ภาพหรือกราฟกซึ่งบงชี้ถึงขอมูล ไมวาจะเปนสถิติ ความรู ตัวเลข ฯลฯ เรียกวาเปนการยนยอขอมูลเพื่อใหประมวลผลไดงายเพียงแคกวาดตามอง ซึ่งเหมาะสําหรับผูคนในยุคไอที ที่ตองการเขาถึงขอมูลซับซอนมหาศาลในเวลาอันจํากัด (เหตุผลเพราะมนุษยชอบและจดจําภาพสวยๆ ไดมากกวาการ อาน) และในปจุบันกําลังเปนที่นิยมในโลกของ Social Network ขอความน้ําทวมทุง ตารางซับซอน ภาพประกอบสุดเชย และอีกหลายเครื่องมือเลาเรื่องยุคเกาที่ทําใหมนุษย โลกเบื่อหนายกําลังจะกลายเปนอดีต เพราะวันนี้โลกมี Infographic เครื่องมือเลาเรื่องพันธุใหมที่จะเปลี่ยนขอมูลยากๆ ใหเปนเรื่องงายๆที่ทุกคนจะชมไดอยางสนุกสนาน Infographic นั้นมาจากคําในภาษาอังกฤษสองคําคือ Information และ Graphics คําแรกนั้นหมายถึง สารสนเทศ หรือขอมูลที่ถูกประมวลผลและจัดระบบไวแลว สวนคําที่ 2 นั้นเปนคําที่ใชเรียกภาพหรือลวดลายประกอบ ตางๆ ซึ่งสามารถปรากฏในมุมมองหรือวัสดุที่หลากหลาย เมื่อรวมกันแลว Infographic จึงเปนการแสดงขอมูลหรือ แหลงที่มารูปภาพ : //www.oknation.net/blog/digitalmarketing/2013/01/01/entry-2
  • 4. Infographic จึงมีอิทธิพลมากในการบอกเลาเรื่องราวทุกแขนง ทั้งวิทยาการ ประวัติศาสตร คณิตศาสตร และ สถิติศาสตร และกลายเปนเครื่องมือสําคัญของนักการตลาด นักการเงิน นักประวัติศาสตร บริษัทหางราน รวมถึงนัก การศึกษาเพื่อการแสดงขอมูลที่ซับซอนใหดูเขาใจงาย ประโยชนและพลังของ Infographic นั้นมีอยูมากมาย เพราะดวยแผนภาพสวยๆนี้ สามารถทําใหคนทั่วๆไป สามารถเขาถึง เขาใจ ขอมูลปริมาณมากๆ ดวยแผนภาพภาพเดียวเทานั้น ดวยขอมูลที่ถูกคัดกรองมาเปนอยางดี ทําให ผูอานเขาใจไดงาย เปนวิธีการนําเสนอขอมูลเชิงสรางสรรค ซึ่งสามารถหยิบยกเรื่องราวเล็กๆ ไปจนถึงเรื่องราวใหญโต มานําเสนอ ในมุมมองที่แปลกตา ทันสมัย ทันตอเหตุการณในโลกปจจุบัน โดยรูปแบบหรือประเภทของ Infographic ตามวัตถุประสงคในการใชงาน ความเปนมาของ Infographics กุหลาบของไนติงเกล อินโฟกราฟกยุคบุกเบิก กอนที่จะมาคลายขอสงสัยกันวา ทําไมถึงอินจัง? ลองกลับไปดูการทํางานของอินโฟกราฟกในยุคแรกๆ กัน คง คิดไมถึงวานอกจากฟลอเรนซ ไนติงเกล (Florence Nightingale) จะเปนพยาบาลในตํานานผูอุทิศตนดูแลคนไขอยาง ไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อยแลว ไนติงเกลยังเปนผูออกแบบอินโฟกราฟกที่มีคุณูปการตอการสาธารณสุข (ของทหารและชน ชั้นลาง) อยางมหาศาล ดวยการอุทิศเวลารวบรวมขอมูลและออกแบบ “กุหลาบไนติงเกล” ไดอะแกรมทรงพลังระดับ เปลี่ยนสังคมขึ้นมาได จากการไดเขาไปดูแลทหารที่ผานสงครามมาในคาย เธอพบวาสิ่งที่คราชีวิตของทหารผานศึกไดในจํานวนมาก เทาๆ กับทหารที่ตายในสงคราม ก็คือสภาพความเปนอยูในสถานพยาบาลของทหารที่ทั้งสกปรกและแออัดยัดเยียด ทํา ใหเกิดการติดเชื้อรุนแรงและการสูญเสียชีวิตโดยไมจําเปน ไนติงเกลเสนอขอมูลนี้ตอรัฐ แตสถาบันชั้นสูงไมสนใจเสียง แหลงที่มารูปภาพ : //www.learningstudio.info/infographics-design/
  • 5. เธอจึงคิดคนหาทางนําเสนอขอมูลใหมโดยปรึกษากับนักสถิติศาสตร จนในที่สุด ไนติงเกลก็สามารถออกแบบ Diagram of the Causes of Mortality ที่เปรียบเทียบสวนตางของจํานวนการเสียชีวิต ของทหารจากเหตุสุดวิสัย และเหตุที่สามารถปองกันไดดวยการสาธารณสุขที่ดีขึ้น แทนที่จะนําเสนอเปนตารางบรรจุ ขอมูลยาวเหยียด ไดอะแกรมของไนติงเกลบงชี้ความตางของขอมูลดวยสีและขยายพื้นที่ออกจากศูนยกลางจนดูเหมือน กลีบดอกกุหลาบ (ในเวลาตอมาผูคนจึงเรียกผลงานชิ้นนี้วา Nightingale Rose Diagram) ฟลอเรนซ ไนติงเกล รูวาเธอมีเวลาดึงความสนใจจากผูมีอํานาจไดไมมาก ฉะนั้น เธอจึงตองนําเสนอขอมูล ในรูปแบบที่ทั้งดึงดูดที่สุดและเขาใจงายที่สุดไปพรอมกัน เธอเริ่มเผยแพรไดอะแกรมนี้สูผูมีอํานาจที่เกี่ยวของ (ไป จนถึงพระราชินีวิคตอเรียที่ก็มีโอกาสไดทอดพระเนตร) จนในที่สุด ขอเสนอของเธอก็ถูกรับฟง สงผลใหการ สาธารณสุขในคายทหารคอยๆ พัฒนาดีขึ้น หมวดหมูของ Infographics สามารถแบงไดเปน 7 กลุมใหญๆ ดังนี้ 1.ขาวเดน ประเดนรอน และสถานการณวิกฤต เปน Infographics ที่ไดรับการแชรมากๆ มักจะเปนประเด็นใหญระดับประเทศ เชน ประเด็นการแกไข รัฐธรรมนูญ แหลงที่มารูปภาพ : //www.oknation.net/blog/digitalmarketing/2013/01/01/entry-2
  • 6. เชน เลาถึงกลยุทธการออมเงิน ที่ใครๆ ก็มักมองขาม 3.ใหความรู ในรูปแบบของ Did You Know หรือ สถิติสําคัญทางประชากรตางๆตลอดจนการถายทอดความรูทางวิชาการ ที่นาเบื่อ ใหมีสีสัน สนุก และ นาติดตาม แหลงที่มารูปภาพ : //www.oknation.net/blog/digitalmarketing/2013/01/01/entry-2
  • 7. Infographics จะชวยทําใหตํานานเหลานั้นบรรจุ อยูในพื้นที่ๆ จํากัดไดอยางนาทึ่ง 5.อธิบายผลสํารวจ และงานวิจัย Infographics เหมาะที่สุดที่จะถายทอดงานวิจัยที่ดูยุงเหยิงไปดวยตัวเลขและขอมูลมหาศาลออกมาเปน แผนภาพสวยๆ และทรงพลัง มีหลายบริษัทเริ่มใชเครื่องมือนี้ เพื่อทําใหงานวิจัยของตัวเองเขาถึงคนหมูมาก แหลงที่มารูปภาพ : //www.oknation.net/blog/digitalmarketing/2013/01/01/entry-2
  • 8. ขอเท็จจริงเหลานี้ลวน มุงหวังใหคนอานเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนในสังคมใหดีขึ้น หากไดรับการแชรมากๆ ในโลกออนไลน ก็อาจ สรางกระแส จนถึงขั้นนําพาไปสูการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในโลกออนไลนในที่สุด 7.โปรโมทสินคาและบริการ ตัวอยางการใช Infographic ในการโปรโมทสินคา เหตุผลวาทําไมถึงเปลี่ยนไปใช Nokia Lumia ในสไตล Infographic แหลงที่มารูปภาพ : //www.oknation.net/blog/digitalmarketing/2013/01/01/entry-2
  • 9. กลาววาเหตุผลที่ตองการใช Nokia Lumia นั้นเปนเพราะ มั่นใจในแบรนด ชื่อดัง และยังหลงรักหรือเปนแฟนพันธุแทของ Nokia อยางเหนียวแนน ในขณะที่เหตุผลอันดับสองที่ ตามมาที่ 20.8% กลาววา ชอบในการออกแบบที่มีความโดดเดนและไมเหมือนใครของ Nokia Lumia อยางไรก็ตาม ภาพ Infographic ที่ Nokia จัดทําขึ้นนี้เปนสวนหนึ่งของการโปรโมทแคมเปญที่มีชื่อวา “Switched to Lumia” ซึ่ง Nokia ตั้งใจใหเห็นถึงเหตุผลของความตองการที่จะเปลี่ยนใจมาใช Nokia Lumia นั่นเอง
  • 10. ขอภาพ และสถิติที่ถูกตองสามารถใชอางอิงได สวนประกอบหลักของ Infographics คือ ขอมูลหรือความรูที่ตองการนําเสนอ และภาพกราฟกซึ่ง ประกอบดวยเสน กลอง ลูกศร สัญลักษณตางๆ รวมไปถึงสัญลักษณ pictogram ที่อธิบายความหมายในตัวของมันเอง ผานภาพเลียนแบบวัตถุตางๆ เชน สัญลักษณหนาหองน้ําชายและหญิง, สัญลักษณหามนําเครื่องดื่ม อาหาร และสัตว เขาในสถานที่ เปนตน ดังนั้น ผูที่ตองการสราง Infographic จะตองจัดหาวัตถุดิบเหลานี้มาใหได วิธีหารูปมาใชฟรีโดยไมผิดลิขสิทธิ์จาก Google Search วิธีคนหารูปภาพจาก Google เพื่อใหสามารถนําไปใชไดอยางสบายใจไมตองกลัวเรื่องลิขสิทธิ์ • เขาเว็บไซท Google.com แลวคลิกที่รูปเฟอง แลวเลือกคําสั่ง • • กําหนดคา usage rights
  • 11. to use share or modify นําไปใช แบงปน หรือแกไขไดฟรี Free to use, share or modify, even commercially นําไปใช แบงปน หรือแกไขไดฟรีแมในเชิงพาณิชย วรรณะของสี คือ สีที่ใหความรูสึกรอน-เย็น ในวงจรสีจะมีสีรอน 7 สี และสีเย็น 7 สี ซึ่งแบงที่ สีมวงกับสีเหลือง ซึ่งเปนไดทั้ง สองวรรณะ 1. สีตรงขาม หรือสีตัดกัน หรือสีคูปฏิปกษ เปนสีที่มีคาความเขมของสี ตัดกันอยางรุนแรง ในทางปฏิบัติไมนิยม นํามาใชรวมกัน เพราะจะทําใหแตละสีไมสดใสเทาที่ควร การนําสีตรงขามกันมาใชรวมกัน อาจกระทําไดดังนี้ 1. มีพื้นที่ของสีหนึ่งมาก อีกสีหนึ่งนอย 2. ผสมสีอื่นๆ ลงไปสีสีใดสีหนึ่ง หรือทั้งสองสี 3. ผสมสีตรงขามลงไปในสีทั้งสองสี 2. สีกลาง คือ สีที่เขาไดกับสีทุกสี สีกลางในวงจรสี มี 2 สี คือ a. สีน้ําตาล กับ สีเทา i. สีน้ําตาล เกิดจากสีตรงขามกันในวงจรสีผสมกัน ในอัตราสวนที่เทากัน สีน้ําตาลมีสมบัติ สําคัญ คือ ใชผสมกับสีอื่นแลวจะทําใหสีนั้น ๆ เขมขึ้นโดยไมเปลี่ยน แปลงคาสี ถาผสมมาก ๆ เขาก็จะกลายเปนสีน้ําตาล แหลงที่มารูปภาพ : //www.prc.ac.th/newart/webart/colour09.html
  • 12. สีเทา เกิดจากสีทุกสี ๆ สีในวงจรสีผสมกัน ในอัตราสวนเทากัน สีเทา มีสมบัติที่สําคัญ คือ ใช ผสมกับสีอื่น ๆ แลวจะทําให มืด หมน ใชในสวนที่เปนเงา ซึ่งมีน้ําหนักออนแกในระดับตาง ๆ ถาผสมมาก ๆ เขาจะกลายเปนสีเทา ระบบสี RGB ระบบสี RGB เปนระบบสีของแสง ซึ่งเกิดจากการหักเหของแสงผานแทงแกวปริซึม จะเกิดแถบสีที่เรียกวา สีรุง (Spectrum) ซึ่งแยกสีตามที่สายตามองเห็นได 7 สี คือ แดง แสด เหลือง เขียว น้ําเงิน คราม มวง ซึ่งเปนพลังงานอยูใน รูปของรังสีที่มีชวงคลื่นที่สายตาสามารถมองเห็นได แสงสีมวงมีความถี่คลื่นสูงที่สุด คลื่นแสงที่มีความถี่สูงกวาแสงสีมวง เรียกวา อุลตราไวโอเลต (Ultra Violet) และคลื่นแสงสีแดง มีความถี่คลื่นต่ําที่สุด คลื่นแสงที่ต่ํากวาแสงสีแดงเรียกวา อินฟราเรด (InfraRed) คลื่นแสงที่มี ความถี่สูงกวาสีมวง และต่ํากวาสีแดงนั้น สายตาของมนุษยไมสามารถรับได และเมื่อศึกษาดูแลวแสงสีทั้งหมดเกิดจาก แสงสี 3 สี คือ สีแดง (Red) สีน้ําเงิน (Blue) และสีเขียว (Green) ทั้งสามสีถือเปนแมสีของแสง เมื่อนํามาฉายรวมกัน จะทําใหเกิดสีใหมอีก 3 สี คือ สีแดงมาเจนตา สีฟาไซแอน และสีเหลือง และถาฉายแสงสีทั้งหมดรวมกันจะไดแสงสีขาว จากสมบัติของแสงนี้ไดนํามาใชประโยชนทั่วไปในการฉายภาพยนตร การบันทึกภาพวิดีโอ ภาพโทรทัศน การสรางภาพเพื่อการนําเสนอทางจอคอมพิวเตอร และการจัดแสงสีในการแสดง เปนตน แหลงที่มารูปภาพ : //www.prc.ac.th/newart/webart/colour06.html
  • 13. (Infographics) 1. ดานขอมูล ขอมูลที่จะนําเสนอ ตองมีความหมาย มีความนาสนใจ เรื่องราวเปดเผยเปนจริง มีความถูกตอง แหลงที่มารูปภาพ : //sites.google.com/a/hoksib.ac.th/kar-srang-websit/home/chud-si-baeb-infographic
  • 14. การเลือกหัวขอ b. สืบคนขอมูลวิจัยและสถิติที่เกี่ยวของกับหัวขอที่เลือก c. วิเคราะหขอมูล d. เลือกวิธีการนําเสนอขอมูล • กราฟ ไดอะแกรม แผนผัง • ภาพถาย • สัญลักษณ • ภาพประกอบ • ตัวหนังสือ ขอความ 2. ดานการออกแบบ การออกแบบตองมีรูปแบบ แบบแผน โครงสราง หนาที่การทํางาน และความสวยงาม โดย ออกแบบใหเขาใจงาย ใชงานงาย และใชไดจริง 1. การเลือกใชโปรแกรมหรือเครื่องมือ เครื่องมือวิเคราะหขอมูลเพื่อออกแบบ Infographics ไดแก 1. ผังกราฟกแบบผังโยงใย (Webbing) 2. ผังกราฟกแบบผังจัดกลุมขอมูล (Cluster Diagram) 3. ผังกราฟกแบบผังแสดงความสัมพันธเหมือนตาง (Venn Diagram) 4. ผังกราฟกแบบผังอภิปญญา (KWLH) 5. ผังกราฟกแบบผังกางปลา (Fishbone Diagram) 6. ผังกราฟกแบบผังแกปญหา (Problem / Solution) 7. ผังกราฟกแบบผังแมงมุม (Spider Map) 8. ผังกราฟกแบบผังความคิดรวบยอด (Concept Map) เครื่องมือสําหรับสราง Infographics
  • 15. การเลือกโทนสีเพื่อใหดูเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน กําหนดสีหลัก สีรอง 3. การจัดลําดับความนาสนใจของขอมูล อะไรควรขึ้นกอน อะไรควรอยูหลัง อะไรควรเนน 4. การออกแบบวางระบบการรับขอมูล เชน บนลงลาง ซายไปขวา ตรงกลางกอน 5. การออกแบบภาพประกอบใหออกมาแนวเดียวกัน และเขาใจงาย นาสนใจ 6. ตรวจสอบความถูกตองและภาพรวมความสวยงาม 7. เผยแพร ออกแบบ Infographic ดวย 9 Layout เชื่อหรือไมวา หากมีขอมูลดีๆอยูในมือ แตนําเสนอมันไมถูกวิธี ขอมูลดีๆก็อาจกลายเปนไมดีได (เหมือนเจตนา ดีแตพูดไมเปนก็กลายเปนไมดีไปซะงั้น) การทํา Infographic ก็เชนกัน ถาเลือกรูปแบบของ Infographic ไมเหมาะสม กับขอมูล ก็จะทําใหขอมูลถูกลดความหมาย หรือไมนาสนใจเทาที่ควร วันนี้ Infographic Thailand เลยมาเสนอรูปแบบ Infographic แบบตางๆ ที่สามารถนําไปใชสรางงาน Infographic ของใหเปน Infographic ภาพไดทันที! แหลงที่มารูปภาพ : //www.learningstudio.info/infographics-design/
  • 16. Visualised Article เหมาะสําหรับการนําบทความ งานเขียน มาเลาผาน Infographic เพราะฉะนั้น Infographic แบบ นี้จึงตองใชการนําเสนอที่เหมาะสมกับขอมูลแตละชนิด เชน ถามีตัวเลขก็ควรนําเสนอผานกราฟแบบตางๆ หรือ ตัวหนังสือก็สามารถสื่อสารดวยภาพประกอบ หรือ icon เทคนิค : สรุปบทความ และเลือกประเด็นกอนนําเสนอ ตัวอยาง จาก Infographic Thailand
  • 17. Listed เปน Infographic ที่คนไทยนาจะคุนเคยกันดี มักจะใชตัวเลขนําในเฮดไลน เชน “5วิธี” ดูแลหุนสวย, “4 เทคนิค” พิชิตใจนายจาง การนําเสนอแบบเปนขอๆแบบนี้เหมาะกับเรื่องที่ไมยาวนัก และไมควรเปนเรื่องที่เครียดมาก เกินไป เทคนิค : ลองวิเคราะหวาขอไหนสามารถรวบเปนขอเดียวกันได เพราะยิ่งมีหลายขอยิ่งจดจําไดยาก ตัวอยาง จาก Infographic Thailand
  • 18. Comparison เหมาะกับใชเพื่อเปรียบเทียบระหวางของสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่ง โดยการนําเสนอคูกันแบบนี้ทําใหเห็นภาพได ชัดเจนวาแตกตางอยางไรบาง เทคนิค : ใชการจัดวางที่เหมือนกันทั้งสองฝง ทําใหเห็นความตางที่ชัดเจน, ใชสีคูตรงขามเปนตัวแบงฝง ทําให ดูงายขึ้น ตัวอยาง โดย Infographic Thailand
  • 19. Structure เหมาะกับการใชอธิบายสวนประกอบของบางสิ่ง เทคนิค : พยายามสรางภาพใหเห็นแตละสวนประกอบ เชน ภาพเหมือนสแกนเขาไปภายใน หรือ การแยกแต ละสวนออกหางกัน ไมซอนกัน ตัวอยางโดย Infographic Thailand
  • 20. TimeLine เหมาะสําหรับใชเลาประวัติความเปนมาเปนไปของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยใชเสนแทนระยะเวลา สามารถใชได กับทุกอยาง เชนประวัติคน ประวัติองคกร ประวิติสถานที่ เทคนิค : ใชความหางของแตละจุด ชวยบอกความหางของแตละชวงเวลาได ตัวอยาง โดย visual.ly
  • 21. Flowchart เปนการนําเสนอแบบเปนลําดับขั้น เหมาะกับการเสนอเปนควิซใหผูอานไดทราบคําตอบที่ตองการโดย การอานไลลงไปตามเสนจนถึงดานลางสุด เทคนิค : ระวังเรื่องความยุงเหยิงของเสน, ใชสีชวยแยกเสน ลดความสับสนในการอาน ตัวอยางโดย Infographic Thailand
  • 22. RoadMap เปนการอธิบายทีละขั้นตอน เหมาะกับการอธิบายขั้นตอนการทํางาน หรือการเดินทาง เชน ขั้นตอนการ ทํางานขององคกร ขั้นตอนการรับพนักงานเขาทํางาน การเดินทางของเด็กนักเรียนสูการเปนนิสิต เทคนิค : เรื่องตองนาสนใจพอที่คนอยากจะรูทีละขั้นตอนขนาดนี้ ตัวอยาง โดย Infographic Thailand
  • 23. Useful Bait เปน Infographic ที่ทําใหเห็นวิธีทําบางอยาง โดยที่เห็นแลวสามารถนําไปใชไดทันที เทคนิค : ตองใหความสําคัญกับการอานงาย และความเขาใจงาย มากกวาความสวยงาม ตัวอยาง โดย Infographic Thailand
  • 24. NumberPorn คือ Infographic ที่เต็มไปดวยตัวเลข และกราฟ หากมีตัวเลขที่นาสนใจมากเพียงพอก็สามารถนําเสนอ ในรูปแบบนี้ได เทคนิค : ไมใชแคมีตัวเลขมาก แตตัวเลขตองนาสนใจ หรือเกี่ยวของกับคนอานมากพอ, ถึงจะมีกราฟหลายประเภทแตควรเลือกสไตลกราฟฟคแบบเดียวกันทั้งภาพ เชน 3D, Flat ตัวอยาง โดย Infographic Thailand
  • 25. รูปแบบ Infographic ทั้ง 9 แบบ ทาง Infographic Thailand หวังเปนอยางยิ่ง วาบทความนี้จะชวยใหผูอานไดเพิ่มพูนความรู Infographic มากยิ่งขึ้น และสามารถนําไปปรับใชในงาน Infographic ของเพื่อใหเปน Infographic ที่สมบูรณมากยิ่งขึ้นนะ การสรุปใจความไวใน Infographic ‘หัวใจ’ ของการทําอินโฟกราฟฟกที่ดี นั่นคือ ความเขาใจในความหมายของขอมูล ปญหาหนึ่งที่พบบอยคือ อินโฟกราฟฟกจํานวนมากดูดีแตทําใหคนสับสนวาตองการจะสื่ออะไร เนื่องจากไมไดจัดวางขอมูล (โดยเฉพาะตัวเลข) ในทางที่รักษาความหมายของมันเอาไว ดีไซน ‘สวย’ แตไม ‘สื่อ’ เสนที่ลากรูปถวยกาแฟแตละยี่หอไปยังราคา รวมถึงการจัดวางตําแหนงถวยกาแฟตางๆ ไมมีความเกี่ยวของ ใดๆ กับตัวเลข “ราคา” ที่แสดง ใช “ขนาด” ของแทงกราฟเพื่อสื่อราคาของกาแฟแตละยี่หอ ซึ่งก็ทําไดงายๆ เริ่มจากการพล็อตราคาของกาแฟยี่หอตางๆ โดยเรียงลําดับราคาจากแพงสุดไปถูกสุด หรือถูกสุดไปแพงสุด และเปลี่ยนความยาวของเสนใหไดสัดสวนตามราคา คน มองปราดเดียวจะไดเห็นชัดวายี่หอไหนแพงกวากัน แหลงที่มารูปภาพ : //thaipublica.org/2012/09/good-infographics-1/
  • 26. ‘สื่อ’ แต ‘ผิดสาร’ จากรูปเปนการนําเอารูปถวยกาแฟแตละยี่หอมาวางแทนกราฟ ปรับความสูงของถวยใหเทากับความสูงของ กราฟแทง (ไมนับหลอด) จุดแข็งของภาพนี้คือนอกจากจะเห็นชัดทันทีวากาแฟยี่หอไหนแพงกวากันแลว ยังสื่อระดับความแตกตางของ ราคาดวย เชน ในเมื่อกาแฟคาปูชิโนเย็นของสตารบัคสแพงกวายี่หอบลูคัพประมาณ 1.5 เทา (125 เทียบกับ 85 บาท) และแพงกวากาแฟยี่หอแอมะซอน 2.8 เทา (125 เทียบกับ 45 บาท) ถวยกาแฟสตารบัคสในรูปจึงสูงกวาถวยกา แฟบลูคัพ 1.5 เทา และสูงกวาถวยกาแฟแอมะซอน 2.8 เทาตามลําดับ จุดออนที่ใหญกวาจุดแข็งของภาพนี้คือ เนื่องจากมันใช ‘ขนาด’ ของถวยกาแฟแทน ‘ราคา’ จึงมีความเสี่ยงสูง ที่ผูดูจะเขาใจผิดวา กาแฟเหลานี้มีขนาดถวยแตกตางกันมาก ทั้งที่ในความจริงไมใช และในอินโฟกราฟฟกตนฉบับ รวมทั้งฉบับเลียนแบบของผูเขียนดานบนก็มีขอความ “ราคาแกวขนาดใหญสุดของแตละยี่หอ มีปริมาณประมาณ 22 ออนซ (650 มิลลิลิตร)” เพื่อสื่อวาแตละถวยมีปริมาณกาแฟใกลเคียงกัน แหลงที่มารูปภาพ : //thaipublica.org/wp-content/uploads/2012/09/coffee-myversion.png แหลงที่มารูปภาพ : //thaipublica.org/2012/09/good-infographics-1/
  • 27. ตองใชเวลา ทักษะ ความคิดสรางสรรค และความเขาใจอยางลึกซึ้งใน ขอมูลและสารที่ตองการจะสื่อ คนทํา (จะทําคนเดียวหรือเปนทีมก็ตาม) ตองถามตัวเองตลอดเวลาวา ดีไซนของอินโฟ กราฟฟกนี้ตอบโจทยหรือไม สื่อสารหลักที่ตองการจะสื่อจริงๆ หรือไม นอกจากการใชกราฟฟกไมเหมาะสม (ทําใหคนไมเขาใจหรือเขาใจขอมูลผิด) หลายครั้งคนทําอินโฟกราฟฟกยัง บกพรองในขั้นพื้นฐานกวานั้นอีก คือใชรูปแบบกราฟที่ไมเหมาะสมกับขอมูลที่ตองการจะสื่อดวย
  • 28. Infographics ชื่อเรื่อง : วัตถุประสงค : ประเภท :  Static  Video ลักษณะเนื้อหา : Hot Topic How To Did You Know Legend : Research & Survey Campaign : Promote อื่น ๆ........................................................................ กลุมเปาหมาย : การใชสี : Monochrome สีเดียว สีที่เลือกใชคือ(ระบุ) : โครงสีขางเคียง สีที่เลือกใชคือ(ระบุ) : คูสีตัดกัน 2 สีที่เลือกใชคือ(ระบุ) : คูสีตัดกัน 3 สีที่เลือกใชคือ(ระบุ) : คูสีตัดกัน 4 สีที่เลือกใชคือ(ระบุ) : วรรณะรอน สีที่เลือกใชคือ(ระบุ) : วรรณะเย็น สีที่เลือกใชคือ(ระบุ) สีอื่น ๆ : แบบอักษรที่ใช : เนื้อหา ขอเท็จจริง : โครงราง : ประเภทสื่อ : สิ่งพิมพออนไลน ระยะเวลาการ เผยแพร : โลโกหนวยงาน : ใช ไมใช แหลงขอมูลอางอิง : อื่น ๆ :
  • 29. Illustrator โปรแกรม Illustrator เปนโปรแกรมสําหรับสรางภาพลายเสนที่มีความคมชัดสูง ใชในการวาดภาพ โดยจะ สรางภาพที่มีลักษณะเปนลายเสน หรือที่เรียกวา Vector Graphic จัดเปนโปรแกรมระดับมืออาชีพที่ใชกันเปน มาตรฐานในการออกแบบระดับสากลสามารถทํางานออกแบบตางๆ ไดหลากหลาย ไมวาจะเปนสิ่งพิมพ บรรจุภัณฑ เว็บ และภาพเคลื่อนไหวตลอดจนการสรางภาพเพื่อใชเปนภาพประกอบในการทํางานอื่นๆ เชน การตูน ภาพประกอบ หนังสือ เปนตน รูจักกับภาพ Vector และ Bitmap กราฟกแบบ Bitmap คือ ภาพที่เกิดจากจุดภาพในรูปภาพที่รวมกันเปนภาพขึ้น โดยภาพหนึ่งๆ จะประกอบไปดวยจุดภาพหรือ พิกเซลมากมาย และเเตละภาพที่สรางขึ้นจะมีความหนาเเนนของจุดภาพ หรือบางครั้งแทนวาความละเอียด (ความ คมชัด)ที่เเตกตางกันไป จึงใชในการบอกคุณสมบัติของภาพ จอภาพ หรือ อุปกรณแสดงผลภาพได ไฟลภาพแบบ Bitmap ในระบบวินโดวสคือ ไฟลที่มีนามสกุล .BMP, .PCX. , .TIF, .GIF, .JPG, .MSP, .PCD เปนตน สําหรับโปรแกรมที่ใชสรางกราฟกแบบนี้คือ โปรแกรม Paint ตางๆ เชน Paintbrush, PhotoShop, Photostyler เปนตน กราฟกแบบ Vector ภาพที่เกิดจากการกําหนดพิกัดและการคํานวณคาบนระนาบสองมิติ รวมทั้งมุมและระยะทาง ตามทฤษฎี เวกเตอรในทางคณิตศาสตร ในการกอใหเกิดเปน เสน หรือรูปภาพ ขอดีคือ ทําใหสามารถยอขยายได โดยคุณภาพไมเปลี่ยนแปลง ขอเสียคือภาพไมเหมือนภาพจริงเปนไดเพียง ภาพวาด หรือใกลเคียงภาพถายเทานั้น ขอมูลภาพพวกนี้ไดเเกไฟลสกุล eps, ai (adobe illustrator) เปนตน ลักษณะเดนของ Vector คือ สามารถยืดหรือหดภาพเทาใดก็ได โดยที่ภาพจะไมแตก ความละเอียดของภาพไม เปลี่ยนแปลง คงคุณภาพของภาพไวไดเหมือนเดิม และยังสามารถขยายเฉพาะความกวางหรือความสูง เพื่อใหมองเห็น
  • 30. Bitmap ภาพแบบ Vector จึงเหมาะสําหรับ งานแบบวาง Layout งานพิมพตัวอักษร Line Art หรือ Illustration ไฟลรูปภาพแบบ Vector ในระบบวินโดวสคือ ไฟลที่มีนามสกุล .EPD, .WMF, .CDR, .AI, .CGM, .DRW, .PLT เปนตน โดยมีโปรแกรมประเภทวาดรูป (Drawing Program) เชน CorelDraw หรือ AutoCAD เปนโปรแกรมสราง ขณะที่บนแมคอินทอชใช Illustrator และ Freehand ในกรณีที่โปรแกรมที่ใชงานอยูไมสามารถอานไฟลแบบ Vector ตนฉบับได วิธีที่ดีที่สุดก็คือ บันทึกไฟลเปน นามสกุล .EPS (Encapsulated Postscript) ไฟลประเภทนี้สรางขึ้นจาก Vector ซึ่งทําใหมีคุณสมบัติเปนแบบ Vector นอกจากนี้เราสามารถบันทึกไฟล Bitmap ใหเปนแบบ EPS ได เนื่องจากโปรแกรมกราฟกทุกประเภทลวนสนับสนุน ไฟลแบบ EPS ทั้งสิ้น อยางไรก็ตามอุปกรณแสดงผล ไมวาจะเปนเครื่องพิมพแบบ Dot Matrix หรือ Laser รวมทั้งจอภาพ จะ แสดงผลแบบ Raster Devices หรือแสดงผลในรูปของ Bitmap โดยอาศัยการรวมกันของ Pixel ออกมาเปนรูป แมวา ภาพกราฟกที่สรางจะเปนแบบ Vector เมื่อจะพิมพหรือแสดงภาพบนหนาจอจะมีการเปลี่ยนเปนการแสดงผลแบบ Bitmap หรือเปน Pixel ความแตกตางระหวางกราฟกแบบ Bitmap และ Vector Bitmap Vector 1. ลักษณะภาพประกอบขึ้นดวยจุดตางๆ มากมาย 1. ใชสมการทางคณิตศาสตรเปนตัวสรางภาพ โดยรวม เอา Object (เชน วงกลม เสนตรง) ตางชนิดมาผสม กัน 2. ภาพมีจํานวนพิกเซลคงที่จึงตองการคาความละเอียดมาก ขึ้นเมื่อขยายภาพ โดยจะคํานวณคาสีทีละ pixels ทําใหภาพ แตกเมื่อขยายภาพใหใหญ 2. สามารถยอและขยายขนาดไดมากกวา โดยสัดสวน และลักษณะของภาพยังเหมือนเดิม ความละเอียดของ ภาพไมเปลี่ยนแปลง 3. เหมาะสําหรับงานกราฟก ในแบบตองการใหแสงเงาใน รายละเอียด 3. เหมาะสําหรับงานแบบวาง Layout งานพิมพ ตัวอักษร Line Art หรือ Illustration 4. แสดงภาพบนจอทันที เมื่อรับคําสั่งยายขอมูลจาก หนวยความจําที่เก็บภาพไปยังหนวยความจําของจอภาพ 4. คอมพิวเตอรจะใชเวลาในการแสดงภาพมากกวา เนื่องจากตองทําตามคําสั่งที่มีจํานวนมากกวา
  • 31. 2 สวนหลัก ๆ คือ สวนที่เปนเสนขอบ(Stroke) และพื้นวัตถุ(Fill) การสรางภาพดวยวิธีนี้มีขอดีคือ สามารถขยายภาพมากๆ ได โดยไมเสียรายละเอียด (เพราะภาพเกิดจากการ คํานวณ) ซึ่งตางจากภาพชนิด Bitmap (หรือ Raster) ที่เปนภาพอันเกิดจากจุดสีเล็กๆ (พิกเซล) มารวมกันเปนภาพ
  • 32. (Menu Bar) เปนเมนูคําสั่งหลักโปรแกรม แบงออกเปนหมวดหมูตางๆ ดังนี้ 1. File: เปนหมวดของคําสั่งที่จัดการเกี่ยวกับไฟลและโปรแกรมทั้งหมด ไมวาจะเปนการ เปด-ปดไฟล การบันทึก ไฟล การนําภาพเขามาใช (Place) ตลอดจนการออกจากโปรแกรม (Exit) 2. Edit: เปนหมวดของคําสั่งที่จัดการแกไข เชน Undo Cut Copy Paste Select รวมทั้งการกําหนดคุณสมบัติ ตางๆ ที่มีผลตอการปรับแตงภาพดวย เชนการสรางรูปแบบ (Define Pattern) การกําหนดคาสี (Color Setting)เปนตน 3. Type: เปนหมวดของคําสั่งที่ใชจัดการตัวหนังสือ เชน Fonts Paragraph เปนตน 4. Select: เปนหมวดของคําสั่งที่ใชในการเลือกวัตถุ สามารถเลือกดวยคุณสมบัติได เชน เลือกวัตถุที่มี Fill และ Stroke แบบเดียวกัน วัตถุที่อยูบน Layer เดียวกัน เปนตน 5. Filter: เปนหมวดของคําสั่งที่ใชสรางเทคนิคพิเศษใหกับภาพ โดยจะมีผลตอรูปรางของ Path
  • 33. เปนหมวดของคําสั่งที่ใชสรางเทคนิคพิเศษใหกับภาพคลาย Filter แตจะไมมีผลกับรูปรางของ Path 7. View: เปนหมวดของคําสั่งเกี่ยวกับการมองทุกสิ่งในงาน เชน Zoom Show/Hide Ruler Bounding BoxOutline Mode/Preview Mode เปนตน 8. Window: เปนหมวดของคําสั่งเกี่ยวกับการเปด-ปดหนาตางเครื่องมือตางๆ เชน Palette Tool Box เปนตน 9. Help: เปนหมวดที่รวบรวมวิธีการใชงานและคําแนะนําเพื่อชวยเหลือผูใชโปรแกรม กลองเครื่องมือ (Tool Box) Tool Box เปนเครื่องมือพื้นฐานที่ใชในการทํางานเกี่ยวกับภาพทั้งหมด ซึ่งจะแบงออกเปนชวงๆ ตามกลุมการ ใชงาน ดังนี้ ขอบคุณภาพจาก www.vectordiary.com
  • 34. จะประกอบไปดวย Fill และ Stroke ซึ่ง Fill นั้นจะหมายถึง บริเวณที่เปนสวนของ รูปทรง หรือสีของรูปทรงนั้น ๆ สวน Stroke นั้นคือ สวนของขอบของรูปทรง หรือเสนขอบ เราสามารถเปลี่ยนคาของสี และความโปรงใสไดโดยการเลือกวัดถุที่ตองการใสสีหรือเสนขอบ แลวตามดวยการกดคียลัด Shift+Ctrl+F เพื่อทําการ เรียกหนาตางปรับแตงคา Fill และ Stroke ขึ้นมาได  Fill – สําหรับการกําหนดสีของรูปทรง  Stroke paint – สําหรับการกําหนดสีของเสนขอบ  Stroke style – สําหรับการกําหนดรูปแบบของเสนขอบ เชน เสนประ เปนตน สรางรูปทรงตางๆ การวาดสี่เหลี่ยมดวย Rectangle Tool เครื่องมือวาดภาพสี่เหลี่ยม สามารถวาดไดสองแบบคือภาพสี่เหลี่ยมมุมมนและภาพสี่เหลี่ยมมุมเหลี่ยม 1. คลิกเครื่องมือ Rectangle ถาตองการแบบมุมมนก็คลิกคางไวสักครู ก็จะปรากฏเครื่องมือวาด สี่เหลี่ยมแบบมุมมน 2. คลิกเลือกสีระบาย (Fill) 3. คลิกเลือกสีที่ตองการในจานสี 4. ถาไมตองการระบายสีภาพ ตองการใหเปนภาพโปรงใส ก็คลิกปุมไมระบายสี 5. คลิกปุมสีเสนขอบ 6. คลิกเลือกสีเสนขอบที่ตองการ 7. ถาไมตองการใหมีเสนขอบ เปนภาพที่ไมมีเสนขอบ ก็คลิกปุมไมเอาเสนขอบ
  • 35. การวาดก็เลื่อนเมาสไปที่พื้นที่ทํางาน กดปุมซายของเมาสคางไว แลวลากออก เมื่อไดขนาดของ สี่เหลี่ยมตาม ตองการแลว ก็ปลอยปุมซายของเมาส 10. การวาดสี่เหลี่ยมจัตุรัสใหกดปุม Shift คางไวขณะวาด วาดเสร็จแลวปลอยเมาสกอน แลวปลอย ปุม Shift 11. เสร็จแลวคลิกเครื่องมือสําหรับเลือก แลวคลิกที่วางๆ 12. การวาดสี่เหลี่ยมที่มีขนาดตามตองการ ก็คลิกเครื่องมือ Rectangle แลวคลิกที่พื้นที่ทํางาน 13. จะปรากฏกรอบขอความขึ้นมา ใหกําหนดขนาดกวาง x ยาว (Width x Height) 14. ในกรณีที่ใชเครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมมุมมน ก็กําหนดคา Corner Radius ตามตองการ ถาตองการ มุมเหลี่ยมก็ กําหนดคาเทากับ 0 15. กําหนดคาเสร็จแลว ก็คลิกปุม OK การวาดวงรี วงกลมดวย Ellipse Tool 1. คลิกเครื่องมือ Ellipse Tool โดยคลิกที่เครื่องมือ Rectangle Tool คางไวแลวลากเมาสไปเลือก เครื่องมือวาดวงรี วงกลม 2. คลิกเลือกสีระบาย (Fill) สีเสนขอบ และขนาดเสนขอบใหเรียบรอย 3. ชี้ลูกศรที่พื้นที่ทํางาน กดปุมซายคางไวแลวลากออก วาดวงรีหรือวงกลมตามตองการ แลวก็ปลอย ปุมเมาส
  • 36. Shift ที่แปนพิมพคางไวกอน แลววาดวงกลม วาดเสร็จแลวก็ปลอยเมาส กอนแลวจึง ปลอยปุม Shift 5. การวาดวงกลมที่ตองการระบุขนาดเสนผาศูนยกลางที่แนนอนก็สามารถทําได โดยคลิกเลือกเครื่อง มือ Ellipse แลวคลิกที่พื้นที่ทํางาน 6. จะปรากฏกรอบขอความขึ้นมา ก็กําหนดคาในสวน Width และ Height ใหเทากันแลวคลิก OK การวาดรูปหลายเหลี่ยมดวย Polygon Tool 1. คลิกเครื่องมือ Polygon Tool คลิกเลือกสีระบาย สีเสนขอบ ขนาดเสนขอบใหเรียบรอย
  • 37. การวาดรูปหลายเหลี่ยมแบบสมสวน ใหกดปุม Shift คางไวขณะวาด 4. การวาดรูปที่มีขนาดตามตองการ ก็คลิกที่พื้นที่ทํางาน แลวกําหนดคาตางๆ เชน Radius เปนจํา นวนมุมรัศมีของ ภาพหลายเหลี่ยม และ Sides เปนจํานวนดาน เสร็จแลวคลิกปุม OK การวาดรูปดาวดวย Star Tool 1. คลิกเครื่องมือ Star Tool 2. การวาดก็ลากเมาสวาดภาพตามตองการ 3. การวาดดาวแบบสมสวน ใหกดปุม Shift คางไวขณะวาด 4. การวาดที่ตองการขนาดที่แนนอน ก็คลิกที่พื้นที่ทํางาน กําหนดคาตางๆ เชน Radius1, Radius2 และ Point เสร็จ แลวคลิกปุม OK
  • 38. Segment Tool เปนเครื่องมือไวสําหรับวาดเสนตรง เสนเฉียง 45 องศา 1. คลิกเครื่องมือ Line Segment Tool 2. คลิกปุมสีเสนขอบ แลวคลิกเลือกสีที่ตองการ 3. คลิกเลือกขนาดของเสน 4. ชี้ที่พื้นที่ทํางาน กดปุมซายของเมาสคางไว แลวลากออก เพื่อวาดภาพ 5. เสร็จแลวคลิกเลือกเครื่องมือ Selection Tool แลวคลิกที่วางๆ เสร็จสิ้นการวาด 6. อาจวาดอีกแบบโดยคลิกที่พื้นที่ทํางาน กําหนดคาตามตองการแลวคลิกปุม OK ก็ได 7. วิธีนี้สามารถกําหนดความยาวของเสนและมุมของเสนได การวาดเสน/รูปทรงอิสระ วาดเสนแบบจุดดวย Pen Tool การวาดแบบที่ 1 หัวใจแบบเหลี่ยมๆ 1. คลิกเลือกเครื่องมือ Pen Tool 2. คลิกเลือกขนาดของเสนตามตองการ 3. สวนสีระบายภายใน ใหยกเลิกไมตองมีสีระบาย 4. ในพื้นที่ทํางาน ใหคลิกจุดที่ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 5. เมื่อคลิกจุดที่ 6 เสร็จแลว ก็คลิกซ้ําจุดที่ 1 ตําแหนงเดียวกัน เพื่อใหเปนรูปแบบปด จึงสามารถระบายสีได การวาดแบบที่ 2 หัวใจแบบมนๆ ใน Illustrator CS
  • 39. Pen Tool 2. กําหนดขนาดของเสนใหเรียบรอย สีระบายเลือกใหเปนภาพโปรง ไมระบายสี 3. คลิกจุดที่ 1 4. คลิกจุดที่ 2 พรอมกับกดปุมซายของเมาสคางไว แลวลากใหเปนเสนโคง ไดที่แลวก็ปลอยเมาส 5. คลิกจุดอื่นๆ สวนใดที่โคง ก็กดปุมซายคางไว แลวลากใหโคงตามตองการกอน แลวปลอยเมาส 6. เสร็จแลวคลิกซ้ําจุดที่ 1 ใหตรงกันพอดี เพื่อใหเปนภาพปดระบายสีได การจัดการวัตถุ การหมุนภาพดวยเครื่องมือ Rotate Tool 1. เลือกภาพดวยเครื่องมือสําหรับเลือก 2. คลิกเครื่องมือ Rotate Tool 3. ชี้ที่บริเวณใดๆ ในพื้นที่ทํางาน ตรงไหนก็ได กดปุมซายของเมาสคางไว แลวลากในลักษณะหมุน การยอขยายขนาดภาพดวยเครื่องมือ Scale Tool 1. คลิกเลือกเครื่องมือ Selection Tool แลวคลิกเลือกภาพที่ตองการยอหรือขยายขนาด 2. คลิกเครื่องมือ Scale Tool 3. ชี้ที่พื้นที่ทํางาน กดปุมซายคางไวแลวลากเมาสออก เพื่อยอหรือขยายขนาดภาพ 4. เมื่อไดขนาดภาพตามตองการแลว ก็ปลอยเมาส
  • 40. และ Ungroup) ภาพบางภาพที่เกิดจากการวาดหรือนําภาพเล็กๆ หลายๆ ภาพมาประกอบเขาดวยกัน ก็ควรที่จะรวมเปน กลุม เดียวกันกอน เพื่อความสะดวกในการยายตําแหนง ซึ่งก็สามารถแยกจากกันไดเมื่อตองการแกไขเพียงสวน หนึ่งสวนใด ของภาพเทานั้น 1. เลือกภาพที่ตองการทั้งหมดดวยเครื่องมือ Selection Tool 2. คลิกเมนู Object>>Group 3. การยกเลิกก็คลิกเลือกภาพนั้นๆ แลวคลิกเมนู Object>>Ungroup 4. กรณีรวมภาพเขาดวยกันแลว และก็ตองการแกไขสีของภาพบางตัว ใหใชเครื่องมือ Magic Wand คลิกเลือก ภาพที่ตองการ แลวจึงคลิกเปสี่ยนสีภาพ จัดเรียงภาพดวย Align Palette เปนรูปแบบการจัดเรียงภาพ ใหภาพอยูในตําแหนงเดียวกัน เชน ทุกภาพอยูตรงกลาง หรือชิดขอบ ซาย ชิด ขอบขวามือ เปนตน 1. ภาพตนฉบับกอนจัดเรียง 2. จัดเรียงทุกภาพชิดขอบซาย 3. จัดเรียงทุกภาพชิดขอบขวา 4. จัดเรียงทุกภาพไวตรงกลางในแนวตั้ง 5. จัดเรียงทุกภาพไวตรงกลางในแนวนอน 6. จัดเรียงทุกภาพไวดานบนในแนวเดียวกัน 7. จัดเรียงทุกภาพไวดานลางในแนวเดียวกัน วิธีจัดเรียงภาพ ใน Illustrator CS 1. คลิกเมนู Windows > Align 2. เลือกทุกภาพที่ตองการจัดเรียงดวยเครื่องมือ Selection 3. คลิกปุมเลือกลักษณะการจัดเรียง อาจตองคลิกเลือกมากกวา 1 ตัวเลือก เพื่อใหไดรูปแบบการจัด เรียงภาพ ตามตองการ
  • 41. จะถูกจัดวางแบบซอนๆ กัน ภาพที่วาดกอนจะอยูดานลาง ภาพที่วาดทีหลังจะอยูดานบน แตก็สามารถจัดตําแหนงภาพใหเลื่อนไปอยูดานบนหรือดานลางได 1. วาดภาพซอนกัน 3 รูปดังตัวอยาง 2. คลิกเครื่องมือสําหรับเลือก แลวคลิกเลือกภาพสามเหลี่ยมที่อยูบนสุด 3. คลิกเมนู Object > Arrange > Send to Back 4. ภาพจะถูกสงไปอยูลางสุด 5. คําสั่งอื่นๆ ที่เหลือ ก็ทดลองคลิกแตละคําสั่ง การสรางตัวอักษร ในโปรแกรมนี้สามารถพิมพขอความไดหลากหลายรูปแบบ ทําใหการออกแบบตัวหนังสือดูนาสนใจมาก ยิ่งขึ้น เชน สรางตัวหนังสือในแนวนอน ในแนวตั้ง หรือโคงไปตามแนวเสน เปนตน ลักษณะการพิมพตัวหนังสือแบบตางๆ 1. Type Tool 2. Area Type Tool 3. Type on a Path Tool 4. Vertical Type Tool 5. Vertical Area Type Tool 6. Vertical Type on a Path Tool การพิมพขอความแนวตั้งดวย Type Tool 1. คลิกเครื่องมือพิมพขอความ 2. คลิกเลือกตัวหนังสือแบบ Times New Roman ขนาด 15 ตัวหนา (Bold) 3. คลิกและพิมพขอความ 4. พิมพเสร็จแลวคลิกเครื่องมือสําหรับเลือก 5. คลิกเลือกสวนระบายสีภายใน 6. คลิกเลือกสีที่ตองการ 7. คลิกเลือกสวนระบายสีเสนขอบ 8. คลิกเลือกสีที่ตองการ 9. ถาเสนขอบหนาเกินไป ก็คลิกเลือกขนาดที่บางลง เชน 0.5 pt
  • 42. Effect>>Stylize>>Drop Shardow 11. กําหนดคาตางๆ ตามตองการ ใหคลิกติ๊กถูก Preview กอนเพื่อดูผลงานขณะปรับแตง 12. เสร็จแลวคลิกปุม OK พิมพขอความดวย Area Type Tool 1. วาดวงรี 1 รูป แลวก็อปปไวดวยคําสั่ง Edit>>Copy 2. คลิกเครื่องมือ Area Type Tool 3. คลิกเลือกตัวหนังสือแบบ Times New Roman ขนาด 8 pt 4. ชี้ที่เสนขอบของวงรีที่ไดวาดไวแลวคลิกหนึ่งครั้ง 5. พิมพขอความเขาไปไดเลย ขอความจะอยูแตในวงกลมเทานั้น พิมพเสร็จแลวคลิกที่วางๆ ระหวาง พิมพ ถา ตัวหนังสือเล็กเกินไป ก็ลบออก คลิกเลือกขนาดตัวหนังสือที่ใหญกวาเดิม แลวพิมพขอความอีกครั้ง 6. ตัววงรีจะหายไป เพราะถูกกําหนดใหโปรงใส 7. นําภาพวงรีที่ก็อปปไวเขามา 8. ยายขอความจัดไวดวยกัน 9. อาจระบายสีวงรีใหสวยงาม พิมพขอความดวย Type on a Path Tool เปนการพิมพขอความใหไตไปตามเสนโคง 1. คลิกเครื่องมือ Pen Tool แลววาดเสนโคงดังภาพ 2. คลิกเครื่องมือ Type on a Path Tool คลิกเลือกตัวหนังสือและขนาดตามตองการ 3. คลิกที่เสนโคงที่ไดวาดไว 4. พิมพคําวา Type on a Path Tool 5. พิมพเสร็จแลวคลิกเครื่องมือสําหรับเลือก แลวคลิกที่วางๆ 6. อาจวาดภาพประกอบใหดูสวยงาม การพิมพขอความดวย Vertical Type Tool 1. วาดภาพสี่เหลี่ยม ระบายสีตามตองการ 2. คลิกเครื่องมือ Vertical Type Tool 3. คลิกเลือกตัวหนังสือแบบ Times New Roman ขนาด 27 pt ตัวหนา Bold 4. คลิกที่พื้นที่ทํางานแตหามคลิกโดนภาพสี่เหลี่ยม แลวพิมพ CS2 ดังตัวอยาง 5. คลิกเครื่องมือสําหรับเลือก แลวยายตําแหนงไวดังตัวอยาง 6. เปลี่ยนแปลงคา Opacity โดยคลิกและพิมพ 50 แลวกด Enter
  • 43. Type on a Path Tool ใน Illustrator CS 1. คลิกเครื่องมือ Pen Tool วาดเสนโคงในแนวตั้งดังตัวอยาง 2. คลิกเครื่องมือ Type on a Path Tool เลือกขนาดแบบตัวหนังสือตามตองการ 3. คลิกที่เสนโคงที่ไดวาดไว 4. พิมพขอความลงไป ขณะพิมพถาตัวหนังสือมีขนาดใหญเกินไป ก็ลบออก เลือกขนาดที่เล็กลง แลวก็พิมพใหม 5. ขอความที่ได ใหใชเครื่องมือ Rotate Tool หมุนใหอยูในตําแหนงที่ตองการ 6. อาจวาดภาพอื่นๆ ประกอบ ตกแตงใหสวยงาม พิมพขอความโคงเปนวงกลม 1. วาดวงกลม 1 วง แบบโปรงใส และจัดการก็อปปไวกอน ดวยคําสั่ง Edit>>Copy 2. คลิกเครื่องมือ Type on a Path Tool คลิกเลือกตัวหนังสือตามตองการ 3. คลิกที่เสนขอบวงกลมที่ไดวาดไว 4. พิมพขอความตามตองการ 5. ถาขอความมีขนาดใหญเกินไป ก็สรางแถบดําที่ขอความแลวเลือกขนาดที่เล็กลง 6. เสร็จแลวคลิกที่วางๆ 7. การแกไขภาพ ก็เลือกภาพดวยเครื่องมือสําหรับเลือกกอน 8. ชี้ที่เสนสีแดงที่ตัวขอความ กดปุมซายคางไวแลวลากในลักษณะหมุน เพื่อดูผลงานที่ได 9. เสร็จแลวก็จัดการยายวงกลมที่ไดก็อปปไว มาจัดเขาดวยกัน อาจตองลดขนาดลงเล็กนอย 10. แลวก็จัดการระบายสีตามใจชอบ สรางขอความใหพลิ้วไวกับริบบิ้น 1. สร้างข้อความ 2. สร้าง stoke ให้เป็นรูปริบบิ้น 3. เลือกข้อความโดยใช้ seletion tool
  • 44. Object > Expand 5. เลือก Object > Ungroup 6. กด shift ที่แป้นพิมพ์ จากนั้นให้เลือกตัวอักษรที่จะให้อยู่บนริบบิ้น 7. เลือก Object > Arrange > Bring to Front 8. จากนั้นจะได้รูปแบบตามที่เราต้องการเรียบร้อยแล้ว
  • 45. Color ไมปรากฏบนหนาจอ ก็คลิก เมนู Windows แลวคลิกติ๊กถูก Color เพื่อใหแสดงบนหนาจอ การระบายดวยสีใน Color Palette ใน Illustrator CS 1. คลิกเลือกภาพดวยเครื่องมือ Selection Tool 2. คลิกตัวเลือกเพื่อระบายสีภายใน 3. คลิกสีที่ตองการ 4. คลิกตัวเลือกเพื่อระบายสีเสนขอบ 5. คลิกเลือกสีเสนขอบ 6. คลิกที่วางๆ ใหจุดที่ภาพหายไป เพื่อยกเลิกการเลือกภาพ วาดรูประบายสีงายๆ กับ PATHFINDER เครื่องมือหลักในครั้งนี้นั่นคือ Pathfinder เครื่องมือ pathfinder ใครหาในโปรแกรมไม่เจอให้เข้าไปที่ Window > Pathfinder เอาล่ะเปิดขึ้นมาแล้วจะเห็นมีหลายอันมากมาย เรามาไล่ดูไปทีละตัวดีกว่า
  • 46. เป็นการรวม shape เข้าด้วยกันให้เป็นชิ้นเดียวกัน Minus Front – เป็นการนํา shapeชิ้นที่อยู่ข้างบน มาตัด shape ชิ้นที่อยู่ข้างล่าง Intersect – เป็นการนําส่วนของ shape ที่เลือกไว้ ที่ซ้อนทับกันมาใช้ ส่วนอื่นจะตัดทิ้งออกไปจ้ะ
  • 47. จะตรงข้ามกับ Intersect ก็คือจะเอาแต่ส่วนของ shape ที่ไม่ซ้อนทับกันมาใช้งาน Divide – เป็นการตัด shape ที่ซ้อนๆกัน ให้แยกออกมาเป็นส่วนๆ Trim – นํา shape ส่วนบนไปตัดด้านล่าง แต่ว่าจะเก็บทั้งคู่ไว้ไม่ได้หายไปไหน ก็จะได้รูปสีเหลืองแบบจันทร์เสี้ยว ส่วนรูปสีแดงคงเดิม
  • 48. Merge จะทําหน้าที่เหมือน Trim แต่ว่าถ้า shape ที่เลือกไว้มีสีเดียวกันจะทําการ merge ไปด้วย Crop – เป็นการเอา shape ที่อยู่ข้างบนสุดเป็นแม่แบบ และshape ที่อยู่ข้างล่างจะอยู่แต่ใรกรอบของรูป Outline – จะเหมือนกัน Devide แล้วเปลี่ยนจาก fill เป็น sttroke ให้อัตโนมัติ
  • 49. – ตรงข้ามกับ Minus Front คือเอา shape ข้างล่างตัด shape ข้างบน การเลือกโหมดของสีนั้นสําคัญมาก ผู้ใช้งานควรเลือกโหมดสีให้ตรงกับงานที่ต้องการใช้ เช่นถ้าเป็นงาน สิ่งพิมพ์ก็ควรเลือก CMYK เพื่อให้ได้สีที่แสดงบนหน้าจอทํางานตรงกับสี่ที่ปริ้นเนื้องานออกมา ถ้าเลือกเป็น RGB ภาพที่แสดงบนหน้าจอกับภาพที่ปริ้นออกมาจะแตกต่างกันมาก การเปลี่ยนแปลงโหมดสี ตามที่เคยกล่าวไปแล้วว่าโหมดสีนั้นสําคัญมากต่อชิ้นงาน ซึ่งถ้าเราต้องการเปลี่ยนแปลงโหมดสีนั้นก็ทําได้ ง่ายๆดังนี้ ไปที่เมนูหลัก (Menu Bar) เลือก Flie > Document color mode ให้เราเลือกโหมดสีที่ต้องการ
  • 50. Save document ตามรูป (หรือคียลัด Ctrl+S) จากนั้นทําตามลําดับดังตอไปนี้ 1. เลือกโฟลเดอรที่ตองการเก็บงาน 2. เลือกซับโฟลเดอรที่จะเก็บงานจนกวาจะเจอโฟลเดอรที่ตองการ 3. พิมพชื่อไฟล 4. เลือกนามสกุลที่จะเก็บงาน นามสกุลมาตรฐานของ Inkscape คือ SVG ซึ่งเปนรูปแบบมาตรฐานของ W3C สําหรับ งานกราฟกที่เปน Vector อยางไรก็ตาม Inkscape ยังรองรับการเก็บไฟลฟอรแม็ตอื่นที่สําคัญ อยางเชน eps หรือ ps (Postscript) การบันทึกไฟล และการบันทึกใหเปนเวอรชั่นตางๆกัน ถ้าเรานําไฟล์ที่สร้างด้วย Illustrator CS6 ไปเปิดกับ Illustrator CS5 ย่อมมีปัญหาเกิดขึ้นเนื่องมาจากว่า CS6 นั้นมีคําสั่งใหม่ ที่ไม่มีใน CS5 ทําให้ไฟล์ที่เราทํามานั้นเปิดไม่ได้ ดังนั้นในหัวข้อนี้จะเป็นการ Save ไฟล์ และ เปลี่ยนให้เป็นเวอร์ชั่นต่างๆ การบันทึกชิ้นงานนั้นมีขั้นตอนดังนี้ 1.ไปที่เมนูหลัก (Menu bar) จากนั้นไปที่ File จะเป็นดังรูป
  • 51. บันทึกงานที่ทําอยู่ในปัจจุบัน 1.2 Save as บันทึกงานที่ทําอยู่เป็น โดยบันทึกเป็นไฟล์ใหม่ 1.3 Save a copy บันทึกงานที่ทําอยู่ในปัจจุบันโดยบันทึกซํ้าไฟล์เดิม 1.4 Save for web บันทึกชิ้นงานเป็นไฟล์ที่ใช้สําหรับเว็บไซต์ ซึ่งจะเหมือนเครื่องมือของ Photoshop เมื่อเราเลือก save แบบใดแบบหนึ่งในครั้งแรกจะมีหน้าต่างดังรูปขึ้นมา
  • 52. จะมีหน้าต่างดังรูป ให้เราเลือกเวอร์ชั่นของไฟล์ที่ต้องการบันทึกจากนั้น คลิกที่ปุ่ม OK
  • 53.

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf