Ef การสร างภ ม ค มก นยาเสพต ดในเด กปฐมว ย

ถอดบทเรยี น

ดกาว้ รยสกราา้รงพภฒั ูมคิ นมุ้ ากทันกั ยษาะสเสมพอตงิด(ในEเFด)ก็ ปฐมวัย

ใน 4 พนื้ ท่ีเชยี งราย สรุ ินทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

หนังสือถอดบทเรยี น

การสรา้ งภูมิคุ้มกนั ยาเสพตดิ ในเด็กปฐมวัย ด้วยการพัฒนาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พืน้ ทเี่ ชยี งราย สรุ ินทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

จดั ท�ำ โดย มูลนธิ พิ ฒั นาชุมชนอย่างยงั่ ยืน เพื่อคณุ ภาพชวี ิตดี จงั หวดั ขอนแก่น โทร. 099-146-5928

2 ถอดบทเรียน การสร้างภูมิค้มุ กันยาเสพติดในเดก็ ปฐมวยั ดว้ ยการพัฒนาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พ้นื ท่ีเชยี งราย สุรนิ ทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

บทน�ำ

การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นนโยบายสาธารณะท่ีเก่ียวข้องกับ การควบคมุ พฤตกิ รรมของบคุ คลเพอ่ื ประโยชนต์ อ่ สงั คมสว่ นรวม (Protective regulatory policy) ส�ำ นักงานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) จึงกำ�หนด แผนยทุ ธศาสตรก์ ารปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ พ.ศ. 2558 – 2562 ซงึ่ มแี นวคดิ หลกั ในการมงุ่ เนน้ แกป้ ญั หาแบบองคร์ วมอยา่ งเปน็ ระบบ ครบวงจร ดว้ ยวสิ ยั ทศั นว์ า่ “สงั คมไทย เข้มแข็งและรอดพ้นภัยจากยาเสพติดด้วยภูมิคุ้มกันและมาตรการลดผู้ค้าและผู้เสพ และความร่วมมือระหว่างประเทศด้านยาเสพติดบรรลุผลตามพันธกรณีและวิสัยทัศน์ อาเซียนภายในปี 2562” โดยข้อมลู สถิติพบกลุ่มเยาวชนอายุ 15 - 24 ปีเปน็ กลุม่ หลกั ท่เี ข้ามาเก่ียวข้อง กบั ยาเสพติด และแนวโนม้ มอี ายนุ อ้ ยลง อกี ท้ังเกดิ การแพรร่ ะบาดของยาเสพตดิ บนเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ (Cyber drugs) และการใช้ยาในทางทผ่ี ดิ มากขึ้น แผนยทุ ธศาสตรน์ จี้ งึ มเี ปา้ ประสงคใ์ หเ้ ดก็ และเยาวชนมภี มู คิ มุ้ กนั ยาเสพตดิ ทกุ คน ใหห้ มบู่ า้ น/ชมุ ชน สถานศกึ ษา สถานประกอบการมคี วามเขม้ แขง็ ในการปอ้ งกนั ยาเสพตดิ เพ่ือเดก็ เยาวชน ประชาชน ชุมชน ไม่เขา้ ไปเกย่ี วข้องกับยาเสพตดิ โดยเนน้ ความส�ำ คญั ของการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคีท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือบูรณาการไปสู่การเสริมสร้าง ภูมคิ ุม้ กนั เพ่อื ปอ้ งกันยาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนมิให้เป็นผ้เู สพรายใหม่ จากยทุ ธศาสตรด์ งั กลา่ ว ส�ำ นกั งาน ป.ป.ส. ไดด้ �ำ เนนิ แผนงานการสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ยาเสพติดในเด็กปฐมวัยมาอย่างตอ่ เนอ่ื งต้งั แต่ปี 2558 โดยน�ำ องค์ความรูเ้ พ่ือการพัฒนา ทักษะสมอง (Brain Executive Functions : EF) มาเปน็ เครอ่ื งมือเสริมสรา้ งภมู คิ ้มุ กัน ยาเสพติดในกลุ่มเป้าหมายปฐมวัย พร้อมทั้งสนับสนุนส่ือต้นแบบเพ่ือพัฒนาทักษะ EF ท่ีจัดทำ�ข้ึนให้กับครูปฐมวัย อาทิ หนังสือนิทานชุด “อ่านอุ่นรัก” ส่ือการเล่นชุด “เลน่ ลอ้ มรกั ” ทงั้ นเ้ี พอื่ ใหค้ รผู สู้ อน/ครผู ดู้ แู ลเดก็ ในระดบั ปฐมวยั สงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงมหาดไทย และกรุงเทพมหานคร ได้นำ�องค์ความรู้ EF ไปประยุกต์ใช้ รวมถึง การสร้างเครือข่ายการทำ�งานในระดับพ้ืนท่ี และการต่อยอดขยายองค์ความรู้ตามบริบท แต่ละพื้นท่ีอย่างต่อเนื่อง จนก่อให้เกิดรูปแบบการดำ�เนินงานท่ีโดดเด่นท่ีสามารถ เป็นตัวอย่างการดำ�เนินงานและเสริมสร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผู้ขับเคล่ือนงานในพ้ืนท่ีได้ เป็นอย่างดี นอกจากนี้ ยังเป็นสื่อเผยแพร่สร้างการรับรู้ในการสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด ทจ่ี ะเป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไป

ถอดบทเรยี น 3

การสร้างภูมิคมุ้ กนั ยาเสพติดในเดก็ ปฐมวัยด้วยการพฒั นาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พื้นท่เี ชียงราย สรุ ินทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

4 ถอดบทเรยี น การสร้างภูมคิ ้มุ กันยาเสพตดิ ในเดก็ ปฐมวยั ด้วยการพัฒนาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พืน้ ที่เชียงราย สรุ ินทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

EFxueBnrccatuiitonivnes สารบญั 6 พญาเม็งราย

ขบั เคลอื่ น EF

พฒั นาสขุ ภาพ

ขจดั ปัญหาชมุ ชน 9 สรุ ินทร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั นำ�ร่องพัฒนาหลกั สูตร ผลิตครู EF ระยอง

EF29 เอกชนจบั มือทอ้ งถน่ิ ขับเคล่อื น ทัง้ จังหวดั

อบขตยา.ยผกล�ำ EโFลน 49

จากศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ ไปสชู่ ุมชน

7 3

ถอดบทเรียน 5

การสร้างภมู คิ ุ้มกนั ยาเสพตดิ ในเด็กปฐมวัยด้วยการพัฒนาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พ้นื ทีเ่ ชยี งราย สรุ นิ ทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

BFuranicntioExnes c(uEtFiv) e

Brain Executive Functions (EF) คอื กระบวนการทำ�งานของสมองสว่ นหนา้ มีความสำ�คัญในการควบคุมอารมณ์ ความคิด การวางแผนและการแก้ไขปัญหา ซึ่งจะสามารถเช่ือมโยงข้อมูลต่าง ๆ จากความจำ�มาสู่การกระทำ�เพ่ือให้บรรลุ เปา้ หมายไดด้ ขี ึ้น หรอื ทเ่ี รยี กกันว่า ทกั ษะสมองเพ่อื การบรหิ ารจัดการชีวิต

กลมุ่ ทกั ษะ EF ท่ีสำ�คญั มีทงั้ หมด 9 ด้าน

1. ความจำ�ทน่ี ำ�มาใช้งาน (Working Memory) คือทกั ษะจ�ำ หรือเก็บข้อมลู จาก ประสบการณ์ท่ีผ่านมา และดึงมาใช้ประโยชน์ตามสถานการณ์ที่พบเจอ เด็กที่มี Working Memory ดี ไอคิวกจ็ ะดีด้วย 2. การยับยั้งช่ังใจ-คิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) คือความสามารถ ในการควบคุมความตอ้ งการของตนเองใหอ้ ย่ใู นระดบั ที่เหมาะสม เดก็ ท่ขี าดความยับยง้ั ชัง่ ใจ อาจทำ�สงิ่ ใดโดยไมค่ ิด มีปฏกิ ิรยิ าในทางทีก่ อ่ ใหเ้ กิดปัญหาได้ 3. การยดื หยนุ่ ความคดิ (Shift Cognitive Flexibility) คอื ความสามารถในการ ยดื หยุ่นหรอื ปรับเปลยี่ นใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ท่เี กดิ ขึ้นได้ ไมย่ ดึ ตายตวั 4. การใสใ่ จจดจอ่ (Focus focus Attention) คอื ความสามารถในการใสใ่ จจดจอ่ มุ่งความสนใจอยูก่ บั สิง่ ทที่ ำ�อย่าง ตอ่ เนือ่ งในชว่ งเวลาหนึง่ 5. การควบคมุ อารมณ์ (Emotion Control) คือ ความสามารถในการควบคมุ แสดงออกทางอารมณใ์ หอ้ ยู่ในระดับท่เี หมาะสม เดก็ ที่ควบคมุ อารมณ์ตวั เองไม่ได้ มักเปน็ คน โกรธเกรย้ี ว ฉนุ เฉียว และอาจมอี าการซึมเศรา้ 6. การประเมนิ ตัวเอง (Self-Monitoring) คอื การสะทอ้ นการกระทำ�ของตนเอง รจู้ กั ตนเอง รวมถึงการประเมินการงานเพ่ือหาขอ้ บกพรอ่ ง 7. การริเร่ิมและลงมือทำ� (Initiating) คือ ความสามารถในการริเร่ิมและลงมือ ทำ�ตามที่คดิ ไม่กลวั ความล้มเหลว ไมผ่ ดั วนั ประกันพรุ่ง 8. การวางแผนและการจัดระบบดำ�เนินการ (Planning and Organizing) คอื ทกั ษะการทำ�งาน ตัง้ แตก่ ารตัง้ เป้าหมาย การวางแผน การมองเหน็ ภาพรวม ซ่งึ เด็กที่ขาด ทกั ษะนจี้ ะวางแผนไมเ่ ป็น ท�ำ ใหง้ านมีปัญหา 9. การมงุ่ เปา้ หมาย (Goal-Directed Persistence) คอื ความพากเพยี รมงุ่ สเู่ ปา้ หมาย เมือ่ ตงั้ ใจและลงมอื ท�ำ สิง่ ใดแลว้ กม็ คี วามมุง่ มนั่ อดทน ไมว่ ่าจะมีอปุ สรรคใด ๆ กพ็ รอ้ ม ฝ่าฟนั ใหส้ ำ�เร็จ 6 ถอดบทเรยี น

การสรา้ งภูมิคมุ้ กันยาเสพติดในเดก็ ปฐมวยั ด้วยการพฒั นาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พ้ืนทเี่ ชียงราย สุรินทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

ทกั ษะ Executive Functions (EF) 9 ดา น

กลมุ ทกั ษะพื้นฐาน

EF1 จดจำเพอ� ใชง าน EF2 ยบั ยัง้ ชัง่ ใจ คิดไตรต รอง EF3 ยดื หยุนความคิด

กลุม ทักษะกำกบั ตนเอง

EF4 ควบคุมอารมณ EF5 ใสใจจดจอ EF6 ประเมนิ ตนเอง

กลุมทกั ษะปฏบิ ัติ

EF7 ริเรมิ่ และลงมอื ทำ EF8 วางแผนและจัดการ EF9 มงุ เปา หมาย

ถอดบทเรียน 7

การสรา้ งภมู คิ ้มุ กันยาเสพตดิ ในเด็กปฐมวัยด้วยการพฒั นาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พืน้ ท่ีเชียงราย สุรนิ ทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

8 ถอดบทเรยี น การสร้างภูมคิ ้มุ กันยาเสพตดิ ในเดก็ ปฐมวยั ด้วยการพัฒนาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พืน้ ที่เชียงราย สรุ ินทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

พญาเมง็ ราย

ขับเคลอื่ น EF

พฒั นาสุขภาพ

ขจัดปัญหาชุมชน

เครือข่ายอำ�เภอพญาเม็งราย ประกอบด้วยโรงพยาบาล พญาเมง็ ราย รพ.สต.แมเ่ ปา อบต.แมเ่ ปา และภาคใี นพน้ื ที่ ขบั เคลอื่ น EF ผ่านศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศพด.) และ รพ.สต. เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพ และปัญหาสังคมในชมุ ชน อบต. แม่เปา เป็นหนึ่งในพื้นท่ีขับเคล่ือนท่ีสำ�คัญของ พญาเมง็ รายในยุทธศาสตรพ์ ฒั นาคณุ ภาพชีวิตของพลเมือง โดยน�ำ EF เขา้ มาเป็นเคร่ืองมือ ด้วยการนำ�ไปใช้ใน ศพด. ท้งั 6 แหง่ ใน อบต. ไดแ้ ก่ ศพด.แม่เปา ศพด.บ้านห้วยน้ําฮาก ศพด.บ้านขุนห้วยแม่เปา ศพด.บา้ นกระแล ศพด.บ้านทงุ่ เจ้า และ ศพด.บา้ นสบเปาใหม่ เพื่อให้มีแนวทางการเลี้ยงดูเด็กไปในทิศทางเดียวกันด้วย การน�ำ EF เขา้ มาสอดแทรกในทกุ กจิ กรรม โดยมโี รงพยาบาลพญาเมง็ ราย เปน็ พเ่ี ลย้ี งน�ำ ความรทู้ ไี่ ดร้ บั การอบรมจากส�ำ นกั งาน ป.ป.ส. มาถา่ ยทอด เปน็ แนวทางปฏิบตั ริ ว่ มกันในพนื้ ท่ี

โจทย์ใหญ่ปัญหารว่ มในสังคม

สถานการณ์ของอ�ำ เภอพญาเมง็ รายในระยะเวลา 10 ปีที่ผ่าน

  1. พ่อแมเ่ ดก็ ไปท�ำ งานต่างจังหวัด เด็กอยกู่ ับอยุ้ คอื ปยู่ า่ ตายาย 50% ส่วนอกี 50% อยกู่ บั พอ่ กับแม่ ซึ่งแม่อ้ยุ พ่ออ้ยุ ก็มปี ัญหาสุขภาพเป็นเบาหวาน ความดัน
  2. ท่ศี ูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ พบวา่ เด็กมีพฤตกิ รรมเลียนแบบผ้ใู หญ่ เช่น พอกินขา้ วเสร็จ เดก็ ก็จะเอาแก้วน้าํ มาชนกนั เหมอื นด่มื เหล้า
  3. มภี าวะท้องก่อนวยั อนั ควร มากข้ึน
  4. มีเดก็ อายุ 9 ขวบ ถูกใชใ้ ห้เป็นเด็กเดินยาเสพตดิ โดยเฉพาะพื้นที่สงู
  5. เด็กเกเร ติดเกม และกา้ วร้าว
  6. สถานการณช์ มุ ชน มกี ารกระท�ำ รนุ แรงในครอบครวั พอ่ แมเ่ มาเหลา้ ตลี กู จนหลงั ลาย
  7. มเี ดก็ มธั ยมฆา่ ตวั ตายเพราะแกป้ ญั หาเรอ่ื งความรกั ไมไ่ ด้

“ที่ผ่านมาส่ิงที่เราทำ�เราคิดว่าเราทำ�ถูกแล้วนะ บางทีเราทำ� เฉพาะโครงสร้างพ้ืนฐาน แต่มันก็ไม่ใช่วิธีแก้ปัญหา ไม่ได้ตอบโจทย์ตรง นั้น ก็เลยเข้าไปสู่การพัฒนาคน ซ่ึงมันสำ�คัญกว่าเรื่องอ่ืน เราเลยพุ่งเป้า มาทศี่ นู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ”

นายณัฐศกั ด์ิ พงษ์มา นายก อบต.แมเ่ ปา “ถา้ เราใหบ้ รกิ ารเฉพาะในระบบสาธารณสขุ ฝากทอ้ ง ฉดี วคั ซนี ตรวจพัฒนาการเดก็ วางแผนครอบครวั ทำ�คลอดตามระบบปกติ เราแก้ โจทยต์ รงนไ้ี มไ่ ด้ อนั นคี้ อื ประเดน็ วา่ ท�ำ ไมพญาเมง็ รายถงึ ตอ้ งมาแกท้ เ่ี ดก็ เพราะเป็นการสรา้ งภูมชิ ีวิตใหก้ ับเด็ก”

นางประภาพร เชอ้ื เมอื งพาน (พห่ี ลอ่ น) พยาบาลวชิ าชพี หวั หนา้ กลมุ่ งานบรกิ ารดา้ นปฐมภมู แิ ละองคร์ วม

โรงพยาบาลพญาเมง็ ราย

10 ถอดบทเรยี น การสรา้ งภมู ิค้มุ กันยาเสพตดิ ในเด็กปฐมวัยด้วยการพัฒนาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พื้นท่ีเชียงราย สุรินทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

วิธแี ก้เพอ่ื ตอบโจทย์

เร่มิ ตน้ จากโรงพยาบาล

กอ่ นหนา้ นโ้ี รงพยาบาลพญาเมง็ รายท�ำ เรอ่ื งคาราวานเสรมิ สรา้ งเดก็ มาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอ่ื ตอบโจทยเ์ รอ่ื งยา เดก็ ทอ้ งกอ่ นวยั อนั ควร เดก็ กนิ เหลา้ เลยี นแบบผู้ใหญ่ แต่กย็ งั ไม่สามารถตอบโจทยแ์ ก้ปัญหาเหล่าน้ีได้

“โดยบริบทของโรงพยาบาลพญาเม็งราย เราต้องการที่จะ พฒั นาคณุ ภาพชีวิตของคนทกุ กลุ่มวัย แตว่ ่าปัญหาของคนแต่ละกลมุ่ วัยเบื้องลึกเบ้ืองหลังมันมาจากต้ังแต่เด็ก เราถึงมุ่งเน้นที่จะพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ ตง้ั แตใ่ นวยั เดก็ เพอื่ จะสง่ ผลใหเ้ กดิ คณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ใี น วันขา้ งหนา้ ของทุกกลมุ่ วัยค่ะ”

แพทย์หญงิ อัมพวัน ศรคี รฑุ รานันท์ ผู้อำ�นวยการโรงพยาบาลพญาเม็งราย “ปลายปี 58 อาจารย์ ดร.นายแพทย์อภนิ ันท์ อรา่ มรัตน์ ผู้อำ�นวยการศนู ย์ วิชาการสารเสพติดภาคเหนือ ท่านให้ไปประชุมแทน เป็นเรื่อง EF จัดโดย ป.ป.ส. ตรงกับที่พญาเม็งรายทำ�เรื่องเด็กเล็กอยู่จะได้เอามาเช่ือมแล้วก็ต่อยอดได้ จึงชวน core team ของอำ�เภอพญาเม็งรายไปด้วยกัน พอไปประชุมแล้วเห็นเลยว่าน่ีคือ กระบวนการทต่ี อบโจทยส์ งิ่ ทเ่ี ราก�ำ ลงั พยายามท�ำ คอื จะแกป้ ญั หาเรอื่ งคณุ ภาพชวี ติ คน อําเภอพญาเม็งรายเพอ่ื ให้เด็กเติบโตเป็นคนท่ีมคี ุณภาพ” นางประภาพร เชื้อเมืองพาน (พ่ีหล่อน) พยาบาลวิชาชีพ หัวหน้ากลุ่มงาน บริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลพญาเม็งราย พร้อมด้วยผู้อำ�นวยการ โรงเรยี น และเจา้ หนา้ ท่ี รพ.สต. ซง่ึ เปน็ core team อ�ำ เภอพญาเมง็ ราย เขา้ รบั การอบรม ด้วยกันในคร้ังนั้น เป็นครู ก ในโครงการฝึกอบรมหลักสูตร เสริมศักยภาพวิทยากร ครูตน้ แบบเพือ่ สรา้ งภูมิคุ้มกันยาเสพติดในเดก็ ปฐมวยั ทีส่ �ำ นกั งาน ป.ป.ส. จดั ขน้ึ

ถอดบทเรียน 11

การสร้างภูมิคมุ้ กันยาเสพติดในเด็กปฐมวัยดว้ ยการพฒั นาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พ้นื ทเ่ี ชียงราย สุรินทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

มงุ่ เปา้ ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็

เมอื่ กลบั จากการอบรมกับสำ�นกั งาน ป.ป.ส. พ่หี ลอ่ นมอง เหน็ ภาพชัดเจนที่จะน�ำ EF มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในพนื้ ที่

ครูพชั รี ต๊ะชิ ศพด.บา้ นขุนหว้ ยแมเ่ ปา

“เราจะเอามาเช่ือมกับคนที่เก่ียวข้องกับเด็กทั้งหมดของอำ�เภอ พญาเม็งราย ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหารโรงเรียน ผู้บริหารองค์กรปกครองท้องถ่ิน ครูปฐมวัย เพราะ EF ต้องทำ�ในเด็ก ถ้าจะให้ดีสุดคือเด็กที่ต่ํากว่า 6 ขวบ เพ่ือฝังส่ิงดี ๆ เพราะถ้า EF ดีแล้วเด็กจะเป็นคนคิดวิเคราะห์ ลงมือทำ�เรื่อง ต่าง ๆ เปน็ อยูก่ บั คนอน่ื เป็น แก้ปญั หาเป็น แลว้ ก็หาความสุขเปน็ นีค่ อื สิ่งที่ เราหามาตลอดนะ”

พ่ีหล่อน “ท่ีผ่านมาเราถือว่าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นท่ีรับดูแลเด็ก แต่ต่อไปน้ี ไมใ่ ชแ่ ลว้ หลงั จากทเ่ี ราขบั เคลอื่ นเรอื่ งสขุ ภาพมาเปน็ ระบบสขุ ภาพ การดแู ล รบั เล้ยี งเดก็ จะต้องมกี ารพฒั นาการในทกุ ดา้ น”

นายก อบต.แม่เปา “เมอ่ื กอ่ นไมร่ จู้ กั ค�ำ วา่ EF ตงั้ แตโ่ รงพยาบาลพญาเมง็ รายไดม้ สี ว่ นรว่ ม กับการทำ�เรื่อง EF ก็เริ่มที่จะเข้าใจว่า EF มนั คืออะไร EF ตามความเขา้ ใจ คอื เป็นการพัฒนาสมองส่วนหน้าของเด็ก ๆ ซ่ึงการพัฒนาสมองส่วนหน้าน้ีคือ ชว่ ยในเรอ่ื งของกระบวนการทเ่ี ดก็ ๆ เวลาเตบิ โตเปน็ ผใู้ หญจ่ ะไดม้ กี ระบวนการ คดิ ที่ดี เป็นเดก็ ดี เปน็ คนทีด่ ขี องสังคม”

ครพู ชั รี ตะ๊ ชิ ศพด.บา้ นขุนห้วยแมเ่ ปา 12 ถอดบทเรียน

การสรา้ งภูมิคมุ้ กันยาเสพติดในเดก็ ปฐมวยั ดว้ ยการพฒั นาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พน้ื ทเ่ี ชียงราย สรุ นิ ทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

“ปญั หาในความรกั ของผปู้ กครอง เปน็ สง่ิ ทก่ี ระทบมาถงึ ศนู ยฯ์ ท�ำ ใหค้ ณุ ครดู แู ล ยากในเรอ่ื งการปฏิบัตหิ นา้ ทีต่ ่อเด็ก คอื เดก็ จะขาดในเร่ืองระเบียบวินยั สำ�คญั เลยคอื ไม่มี ความอดทนรอคอยไม่มีเลย คือเวลาเด็กร้องไห้อยู่กับผู้ปกครอง พ่อแม่ตามใจเด็ก เด็ก อยากไดอ้ ะไรก็หาใหท้ กุ อย่างโดยทไี่ ม่ใหเ้ ดก็ ไดร้ ูจ้ กั คำ�วา่ อดทนรอคอยเลย หลังจากที่เดก็ เขา้ มาอยู่ศนู ย์ฯ ตอ้ งปรบั ตัวอยู่นานเหมอื นกนั ประมาณ 2-3 เดอื นทค่ี ณุ ครูตอ้ งมาปฏบิ ตั ิ และสอนให้เดก็ รับรเู้ รือ่ งตรงน้ี มนั ส่งผลดกี บั เดก็ ทำ�อะไรกต็ ามถ้าได้ท�ำ ด้วยตวั เองเด็กจะ มีความภาคภมู ใิ จ มีความสขุ และกส็ ามารถทำ�ต่อเนอ่ื งไดค้ ะ่ ”

ครนู ติ ยา อนิ่ ใจ ศพด.บ้านขุนหว้ ยแมเ่ ปา “ถ้าเด็กไม่ได้รับการส่งเสริม EF จะเห็นเลยว่ามีปัญหา เด็กจะไม่รู้จักการ แก้ปัญหา ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ สังเกตตอนมาเข้าศูนย์ฯ ทีแรก กินข้าวเองก็ไม่ได้ เล่นของเล่นถ้าไม่ได้ดังใจก็จะทิ้งของเล่น ถ้าเด็กได้รับการส่งเสริมเด็กจะรู้จักการรอคอย รู้จกั การแกป้ ัญหา ถา้ คณุ ครสู ่งเสริมได้และผูป้ กครองส่งเสริมดว้ ย เวลาเด็กออกไปสสู่ งั คม เดก็ กจ็ ะรจู้ กั การเอาตวั รอด รจู้ กั การแกป้ ญั หา อยกู่ บั คนอน่ื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ เดก็ กจ็ ะไมม่ ี ปญั หา เด็กเขากจ็ ะเรยี นรู้อยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ และไมม่ ีปญั หาค่ะ”

ครูพกิ ลุ คุณาพรศริ ิ (ครกู ุล) ศพด.บ้านแมเ่ ปา

ถอดบทเรียน 13

การสรา้ งภมู คิ ุ้มกันยาเสพติดในเดก็ ปฐมวยั ดว้ ยการพัฒนาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พื้นทเี่ ชยี งราย สรุ นิ ทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

ขยายผลครอบคลุมทั้งชมุ ชน

“สำ�คัญก็คือการพัฒนาเด็กต้ังแต่การต้ังครรภ์จนกระท่ังส่งต่อถึง คนทุกกลุ่มวัย เครือข่ายพ่อแม่ผู้ปกครองจะมีส่วนร่วมในการดูแลตั้งแต่ตั้งครรภ์ พอหลงั จากเดก็ คลอดมาปบุ๊ สงิ่ ทส่ี �ำ คญั กค็ อื ในสว่ นของสาธารณสขุ พอ่ แม่ รวมถงึ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ผู้น�ำ ในชมุ ชน อสม. แล้วก็ภาคีเครือขา่ ยครู น่ีคอื ภาคี เครอื ขา่ ยของเราทงั้ หมดทมี่ สี ว่ นรว่ มในเรอ่ื งของการสรา้ งเดก็ ในอ�ำ เภอพญาเมง็ ราย คะ่ พอ่ แมผ่ ปู้ กครองเรม่ิ ตระหนกั เหน็ ความส�ำ คญั ของการเลย้ี งดแู ลเดก็ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ เตบิ โตขนึ้ เป็นผู้ใหญท่ ีด่ ีมีคณุ ภาพในวันขา้ งหนา้ ”

พญ.อมั พวัน ผอ.รพ.พญาเม็งราย

“EF ตอ้ งเขา้ ไปตงั้ แตค่ ลนิ กิ ฝากครรภเ์ พอื่ เตรยี มพอ่ แม่ ใหเ้ ขารวู้ า่ การ โอบกอดลกู ใน3ขวบปแี รกเปน็ GoldenPeriodทส่ี รา้ งความมนั่ คงทางใจใหก้ บั ลกู ” พห่ี ลอ่ น “EF จะมาชว่ ยในการดแู ลเดก็ ในต�ำ บลแมเ่ ปาคะ่ เราเรม่ิ ตง้ั แตอ่ ยใู่ นทอ้ ง คอื ตอนตง้ั ทอ้ งเรากใ็ หแ้ มร่ จู้ กั เรอ่ื ง EF และหลงั คลอดเรากไ็ ปตดิ ตามอยา่ งตอ่ เนอ่ื งคะ่ ”

มณรนิ ทร์ ค�ำ ดา พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.แม่เปา

มณรนิ ทร์ คำ�ดา พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.แม่เปา 14 ถอดบทเรยี น

การสรา้ งภมู ิคุม้ กันยาเสพติดในเด็กปฐมวัยด้วยการพัฒนาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พนื้ ท่เี ชียงราย สุรนิ ทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

ปัจจัยสูค่ วามสำ�เร็จ

ครู ก เชอื่ มน่ั ทุม่ เท ประสานทุกฝ่าย เช่ือมร้อยกิจกรรม

เพราะความเขา้ ใจถงึ สภาพปญั หาในพนื้ ที่ และเขา้ ใจในกระบวนการ EF ทไี่ ดร้ บั การอบรมจากส�ำ นกั งาน ป.ป.ส. ท�ำ ใหพ้ หี่ ลอ่ นเชอื่ มน่ั และมองเหน็ วธิ ี ที่จะนำ� EF มาแกป้ ญั หา มงุ่ ม่นั ตอ่ ยอดจากงานเดมิ ท่ีทำ�อยู่เพื่อกระจายความรู้ สเู่ ครอื ขา่ ยใหเ้ กดิ การเช่อื มรอ้ ยกจิ กรรม “EF จ�ำ เปน็ และส�ำ คญั มากกบั เดก็ ไทยในสภาวะความเปน็ อยขู่ องโลก ที่ผนั ผวน เศรษฐกิจไมแ่ น่นอน สงิ่ ย่ัวยุเยอะ โลกในยคุ โลกาภวิ ัตน์ EF เปน็ สงิ่ ท่ี จะบม่ เพาะให้เด็ก ๆ คดิ เปน็ มีความคดิ ลงมอื ทำ�เรือ่ งต่าง ๆ เป็นด้วยตวั เอง แกป้ ญั หาได้ อยกู่ ับคนอนื่ ได้ หาความสขุ ได้ ซึ่งตรงน้ีจ�ำ เป็นมาก จะตอ้ งฝังชปิ ลงไปในตัวเด็กท่ีอายตุ าํ่ กว่า 6 ขวบซง่ึ เปน็ กลุ่มปฐมวยั ”

พีห่ ล่อน เริ่มต้นด้วยการกลับมานำ�เสนอผู้บริหาร ขออนุญาตทำ�โครงการ ประสานหนว่ ยงานและวทิ ยากร จดั อบรมใหเ้ ครอื ขา่ ยเพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั จิ รงิ ในพ้นื ท่ี “ทำ�ยังไงก็ได้ให้คนที่เกี่ยวข้องกับเด็กได้รับรู้ว่าถ้าเขามีทักษะสมอง ส่วนหนา้ ดี ๆ ไม่ว่าจะสรา้ งโดยพ่อแม่ หรืออุ้ย เป็นการบ่มเพาะเดก็ ทำ�ใหเ้ ด็ก เติบโตเป็นคนท่มี คี ุณภาพ เรากเ็ ลยเชอื่ มโยงทกุ ภาคที ่ีเกี่ยวข้องกับเด็ก ไม่ว่า จะเป็นผู้นำ�ชุมชน องคก์ รปกครองทอ้ งถิน่ พอ่ แม่เด็ก และผ้บู รหิ ารโรงเรยี น ครปู ฐมวัย ใหม้ ารับรู้เร่ืองน”้ี

พหี่ ลอ่ น

ถอดบทเรียน 15

การสร้างภมู คิ ุ้มกันยาเสพตดิ ในเด็กปฐมวัยด้วยการพัฒนาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พืน้ ท่ีเชยี งราย สุรนิ ทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

ผู้บรหิ ารสนบั สนนุ

จดุ เรม่ิ ตน้ จากการที่ ประภาพร เชอ้ื เมอื งพาน (พหี่ ลอ่ น) พยาบาล วชิ าชพี หวั หน้ากล่มุ งานบริการด้านปฐมภูมิและองคร์ วม ได้รบั โอกาสให้ ไปเขา้ รว่ มอบรมในโครงการของส�ำ นกั งาน ป.ป.ส. ซง่ึ ไมเ่ พยี งแคอ่ นญุ าตให้ ไปอบรมไดเ้ ทา่ นนั้ พญ.อมั พวนั ศรคี รฑุ รานนั ท์ ผอู้ �ำ นวยการโรงพยาบาล พญาเมง็ ราย ยงั มคี วามเขา้ ใจ เหน็ ดว้ ย และสนบั สนนุ ความคดิ ทจ่ี ะตอ่ ยอด งานด้วย EF ใหเ้ ห็นผลอยา่ งจรงิ จัง “พอกลบั จากอบรมกบั ป.ป.ส. พหี่ ลอ่ นเขา้ ไปคยุ กบั ผอู้ �ำ นวยการ เองเลยค่ะ บอกว่าอยากจะเคล่ือนเร่ืองนี้ จะต่อยอดจากคาราวาน เสริมสร้างเดก็ จะทำ�ใหเ้ ด็กพญาเม็งรายมคี ุณภาพชวี ิตท่ีดีและตอบโจทย์ ท่ีเรากำ�ลังพยายามทำ�อยู่ คุณหมอก็บอกว่าเอาเลย ก็เลยทำ�โครงการ เรม่ิ ตน้ ดว้ ยการจดั อบรมกลุ่มเป้าหมาย โดยประสานผ่านศูนย์วชิ าการ สารเสพติดภาคเหนอื อนั นีค้ ือปฐมบทของอำ�เภอพญาเมง็ รายเลยค่ะ”

พ่หี ล่อน

16 ถอดบทเรียน การสร้างภมู คิ ุ้มกันยาเสพตดิ ในเด็กปฐมวยั ดว้ ยการพฒั นาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พนื้ ทเ่ี ชียงราย สุรินทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

เม่ือผู้อำ�นวยการเห็นชอบให้การสนับสนุนและช่วยช้ีแนะ กลุม่ เปา้ หมาย พห่ี ล่อนจงึ เสนอโครงการ โดยเร่มิ ต้นจดั อบรมกลมุ่ เปา้ หมาย ให้รู้จักและเข้าใจ EF มีกลุ่มเป้าหมายจากอำ�เภอเวียงชัย 20 คน และ อำ�เภอพญาเม็งราย 200 กว่าคนเข้าร่วมอบรมในคร้ังน้ัน ติดต่อประสาน ผา่ นศนู ยว์ ชิ าการสารเสพตดิ ภาคเหนอื เพอื่ เชญิ วทิ ยากรระดบั ประเทศ ไดแ้ ก่ คุณสุภาวดี หาญเมธี (อาจารย์ปิง) รศ.ดร.นวลจนั ทร์ จฑุ าภักดีกลุ นกั วจิ ัย ศูนย์ประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัย มหิดล ผศ.ดร.ปนดั ดา ธนเศรษฐกร (ดร.หมอ่ ม) และ ดร.ปยิ วลี ธนเศรษฐกร (ดร.ใหม่ ) ผอ.สถาบันพัฒนาสมองและศักยภาพเด็กด้วยวินัยเชิงบวก ให้ไปช่วยอบรมในพ้ืนที่ ทำ�ให้กลุ่มเป้าหมายซ่ึงเป็นเครือข่ายการทำ�งาน ขับเคล่ือนในพื้นที่เข้าใจตรงกันและเห็นเป้าหมายร่วมกัน เกิดเป็นครู ข ขึ้นในศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กและขยายผลเต็มพ้นื ท่ี

“ในทางสขุ ภาพ เรามองทเี่ รอื่ ง ของการพัฒนาการเด็กท่ีสมวัยมากขึ้น ให้เด็กได้มีความพร้อมในการพัฒนา ทกั ษะสมองส่วนหนา้ มากขน้ึ ค่ะ”

พญ.อัมพวนั ผอ.รพ.พญาเมง็ ราย

ถอดบทเรียน 17

การสร้างภูมคิ มุ้ กนั ยาเสพตดิ ในเด็กปฐมวยั ดว้ ยการพฒั นาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พื้นทเ่ี ชยี งราย สุรนิ ทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

ท้องถ่นิ ใหค้ วามสำ�คญั

“ปัญหาในปัจจุบันคือเด็กขาดการยับย้ังชั่งใจ ทำ�อะไรตามใจ ตัวเอง ไม่เช่ือฟังพ่อแม่ครูบาอาจารย์ งั้นถ้าเด็ก ๆ ของเราเป็นอย่างน้ี วธิ กี ารแกไ้ ขจะต้องเปน็ ยงั ไง”

นายก อบต.แม่เปา

ปัญหาเด็กท่ีทุกฝ่ายหาวิธีแก้ไขและป้องกัน เป้าสำ�คัญคือศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็

“พอเข้าสู่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ถ้าคุณครูไม่รู้เรื่อง EF ไม่รู้เร่ือง ทักษะสมองส่วนหน้า คุณครูก็รู้แค่กินเล่นเต้นร้อง รู้แค่เต้นไปเพื่ออะไร เพือ่ กล้ามเนอ้ื แขง็ แรงข้ึน แตเ่ ดก็ ๆ มคี วามคิดไหม จะท�ำ อย่างไรให้เขา ไดค้ ิด จะทำ�อย่างไรทจ่ี ะปรบั เรื่องแผนการเรยี นการสอนให้เด็ก ๆ ไดค้ ิด เปน็ ระบบ ไดค้ ดิ วเิ คราะห์ ไดเ้ รยี นรจู้ ากสง่ิ ทอ่ี ยรู่ อบตวั เขาโดยไมต่ อ้ งมใี คร มาส่ัง ซ่ึงอันน้ีควรจะถูกกำ�หนดเป็นนโยบายลงมาเพื่อให้การขับเคล่ือน เร่ืองการพฒั นาเด็กไปพร้อม ๆ กนั ”

พ่ีหล่อน

“พอดที าง ป.ป.ส. ภาค 5 และทา่ นนายแพทยอ์ ภนิ นั ท์ อรา่ มรตั น์ บอกว่ามีการขับเคลื่อนระบบสุขภาพของตำ�บล สุขภาพของอำ�เภอ แล้วก็เอาเร่ืองปัญหายาเสพติดเข้ามาจับ ตอนนั้น ดร.นวลจันทร์ จาก มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล บอกวา่ เดก็ ตอ้ งไดร้ บั การพฒั นาสมองสว่ นหนา้ ถา้ ได้ รบั การพัฒนาสมองส่วนหน้าทด่ี ี เดก็ จะร้จู กั ยบั ย้งั ชง่ั ใจคิดคำ�นวณเกง่ เอาตัวรอดในสังคมได้ เราเลยอยากจะพัฒนาเดก็ ตรงน้ี แลว้ การพัฒนา เราจะทำ�ยังไงล่ะ ต้องเริ่มที่บุคลากรก่อนก็เลยให้บุคลากรในส่วนของ ทาง อบต. ท่านปลดั กองการศกึ ษา คณะผบู้ รหิ าร ผมเองก็ไปรับฟังทาง คุณหมอรว่ มกันเข้ารบั การอบรม ไดร้ ับความรสู้ ิง่ ใหม่ ๆ และถา้ จะพฒั นา ในเชงิ คณุ ภาพตอ้ งใหค้ รผู ดู้ แู ลทง้ั หมดรวู้ า่ สอ่ื การเรยี นการสอนสอื่ ไหนทจ่ี ะ พัฒนาสมองสว่ นหนา้ วธิ กี ารดแู ลเดก็ ที่จะใหเ้ ปน็ คนมคี ณุ ภาพในอนาคต ท�ำ อยา่ งไร ก็เลยสง่ ครไู ปอบรมเร่อื ง EF ด้วยครับ”

นายก อบต.แม่เปา

18 ถอดบทเรยี น การสร้างภมู ิคุ้มกนั ยาเสพตดิ ในเด็กปฐมวัยดว้ ยการพฒั นาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พืน้ ท่ีเชียงราย สรุ นิ ทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

เครอื ข่ายร่วมดว้ ยช่วยหนุนซ่ึงกันและกนั

“แคป่ ญั หาสขุ ภาพเรอื่ งเดยี วมนั เชอื่ มโยงไปในหลายๆ เรอ่ื ง ท�ำ ใหเ้ ราจ�ำ เปน็ จะตอ้ งมีภาคเี ครือขา่ ยท่มี าร่วมกันแกป้ ัญหา”

นายก อบต.แม่เปา “เราท�ำ งานรว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ย เพราะวา่ คนคนหนงึ่ จะมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ไี ด้ ต้องอาศยั ทกุ ภาคส่วนมาร่วมกันในการท่ีจะบรู ณาการเพอื่ สร้างคณุ ภาพชีวิตค่ะ”

พญ.อมั พวัน ผอ.รพ.พญาเม็งราย “ที่ รพ.สต.แมเ่ ปา เราจะมีการประเมินพฒั นาการใหเ้ ด็ก 5 คร้งั คือตอนอายุ 9 เดอื น 18 เดอื น 30 เดอื น 42 เดอื น และ 60 เดอื น เมอื่ กอ่ นผปู้ กครองไมใ่ หค้ วามส�ำ คญั ไมพ่ าเด็กมาประเมินพัฒนาการ แต่พอเราใช้ EF และมีการติดตาม เอา EF มาให้เขา รู้จักด้วย การพาเดก็ มาประเมนิ พฒั นาการเพ่มิ ข้นึ เกอื บ 100% เลยค่ะ ท�ำ ใหเ้ ด็กที่มี พัฒนาการล่าช้า ลดจำ�นวนลง แล้วเรายังมีอีกหนึ่งตัวช่วย คือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซง่ึ คณุ ครรู จู้ กั EF และใชก้ ระบวนการ EF สง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ถา้ เดก็ คนไหนมพี ฒั นาการ ลา่ ชา้ คณุ ครูจะช่วยกระตุน้ ท�ำ ใหก้ ลับมาเปน็ ปกตไิ ด้ค่ะ”

มณรนิ ทร์ รพ.สต.แม่เปา

ถอดบทเรียน 19

การสร้างภูมคิ ้มุ กนั ยาเสพติดในเดก็ ปฐมวยั ด้วยการพฒั นาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พ้นื ท่ีเชยี งราย สุรินทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

“เด็กปฐมวัยจะเป็นช่วงเวลาท่ีเขาจดจ�ำ มากท่ีสุดถ้าเราสอนสิ่งดี ๆ ให้กับเดก็ ๆ เขากจ็ ะจดจำ�ไปตลอดชวี ิต กจ็ ะมีชวี ติ ทด่ี ีในวันข้างหนา้ ”

ครพู ัชรี ศพด.บา้ นขนุ หว้ ยแม่เปา “ส่ิงท่ีอยากให้เด็กได้คือเรื่องวินัย ระเบียบ สิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก เพื่อให้เด็กนำ�ไปใช้ที่บ้านตามบริบทท่ีบ้านและส่ิงแวดล้อมเพื่อจะให้เด็กมี ระเบยี บวนิ ยั ในเรอื่ งความอดทนรอคอย การเขา้ แถว แมแ้ ตก่ ารทงิ้ ขยะ ครจู ะเนน้ เร่อื งการทิง้ ขยะ ในเม่ือสอนท่นี ี่ไดค้ รกู อ็ ยากใหน้ �ำ ไปปฏิบตั ิท่ีบ้านด้วย”

ครูนติ ยา ศพด.บา้ นขนุ หว้ ยแมเ่ ปา “เรามกี ารอบรมให้ความร้เู ร่ืองการพฒั นา EF การพัฒนาสมองส่วนหน้า เป็นการจัดอบรมเรื่องคาราวานเสริมสร้างเด็ก โดยให้ทางผู้ปกครองมามีส่วนร่วมและก็จัดฐานให้เขาทำ� ผลสะท้อนก็คือ ผูป้ กครองบอกว่าหลงั จากนำ�เร่ืองดี ๆ ส่ิงเหลา่ น้ไี ปใชก้ ับเด็ก ลูกหลานของเขามี การพัฒนาการท่ีดีขน้ึ มกี ารเปลยี่ นแปลง ทางโรงพยาบาลกเ็ ขา้ มาติดตาม ครกู ็มี การประเมนิ เดก็ ก็เห็นวา่ มกี ารเปลยี่ นแปลงขน้ึ มาเปน็ ทีน่ า่ พอใจครบั ”

นายก อบต.แมเ่ ปา

20 ถอดบทเรียน การสรา้ งภูมิคมุ้ กันยาเสพติดในเด็กปฐมวัยดว้ ยการพฒั นาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พ้ืนทเ่ี ชยี งราย สรุ ินทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

สรา้ งสภาพแวดลอ้ มและเครอ่ื งมอื ทจ่ี บั ตอ้ งได้

“รพ.สต. เราจะมี Guideline ในการดแู ลเด็กแต่ละช่วงวยั เรยี กว่า EF Guideline แรกเกดิ ถงึ 6 เดือน จะใหล้ ูกกินยงั ไง นอนยังไง กนิ นอนกอดเลน่ เลา่ ช่วยเหลอื ตัวเอง งานบา้ น แต่ละช่วงวัยจะมีพัฒนาการท่ีแตกต่างกัน จะมีวิธีเป็นกระบวนการท่ีสามารถท�ำ ได้ง่ายคือมัน สอดแทรกกับการเลีย้ งดูอยแู่ ล้วค่ะ”

มณรนิ ทร์ รพ.สต.แมเ่ ปา “คุณครูทำ�หน้าที่เป็นครูผู้สอนของเด็ก และต้องมีการพัฒนาสภาพแวดล้อม ใหน้ ่าเรียนน่าอยู่ ให้เดก็ มีความสนใจ”

ครูกลุ ศพด.แม่เปา “ในศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ของเรากจ็ ะสอดแทรก EF ในเรอ่ื งของการเลน่ ซะสว่ นใหญค่ ะ่ EF จะอยใู่ นวถิ ชี วี ติ ประจ�ำ วนั ของเดก็ ๆ อยแู่ ลว้ คะ่ แตว่ า่ เราจะน�ำ มาใชไ้ ดถ้ กู หรอื เปลา่ กต็ อ้ งมี คนคอยกระตนุ้ ด้วย เด็ก ๆ ส่วนใหญเ่ ปน็ คนเผา่ ม้ง บริบทขา้ งบนก็จะไม่เหมอื นข้างล่าง กจ็ ะ สอดแทรกในเรอื่ งของการท�ำ กจิ กรรมนอกโรงเรยี นกค็ อื ไปส�ำ รวจพนื้ ทใี่ นหมบู่ า้ น เวลาพาเดก็ ๆ ไปก็จะสอดแทรกในเร่ืองของความร้เู ก่ยี วกบั วิชาการนดิ หน่อยค่ะ เช่น เราจะไปดูสวนมะม่วง กจ็ ะสอนในเร่ืองของการรอคอยในการเข้าแถวเพ่อื จะไปดู ก็ตอ้ งสรา้ งกฎกติกาใหเ้ ดก็ ๆ ด้วย เด็ก ๆ วัยน้ีต้องมีวินัยบ้าง รู้จักรอคอย แต่ก็มีด้ือเป็นบางเวลา เป็นวัยของเขา คุณครูก็ต้อง เข้าใจด้วย”

ครูพัชรี ศพด.บ้านขนุ หว้ ยแม่เปา “ครูกุลคิดว่าการผลิตสื่อการเรียนการสอนเป็นส่วนหน่ึงที่เป็นหน้าที่ของครูทุกคน จะต้องทำ� เพื่อเอามาประกอบการเรียนการสอนอยู่แล้ว แต่ส่วนตัวครูกุลมีใจรักในการผลิต สอื่ การเรียนการสอนเพราะวา่ ประโยชน์ ท�ำ ใหจ้ ัดประสบการณ์ให้เด็กไดง้ ่าย เพราะวา่ ปฐมวยั 2 - 4 ขวบ จะเรียนรผู้ ่านการเล่น เราใชส้ ่อื เหลา่ น้ปี ระเมินพัฒนาการเด็กได้ด้วยค่ะ”

ครกู ุล ศพด.แม่เปา

ครูกลุ ศพด.แม่เปา ถอดบทเรยี น 21

การสร้างภูมคิ มุ้ กันยาเสพติดในเด็กปฐมวยั ดว้ ยการพฒั นาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พืน้ ทเ่ี ชียงราย สุรินทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

ครูพชั รี ต๊ะชิ ศพด.บา้ นขุนห้วยแมเ่ ปา ดงึ ผ้ปู กครองและชุมชน มาเป็นแนวรว่ ม

“สง่ิ ทที่ างศนู ยฯ์ ไดต้ ระหนกั กค็ อื คนทต่ี อ้ งมสี ว่ นรว่ มมากทสี่ ดุ คอื ผปู้ กครอง ชมชน และครู อนั ดบั แรกเลยตอ้ งมาจากครอบครัวเปน็ พน้ื ฐานเลย คอื สอนใหเ้ ดก็ เรยี นรจู้ ากครอบครวั ดที ส่ี ดุ แลว้ กเ็ ขา้ มาสศู่ ูนยฯ์ และสงั คม”

ครูนิตยา ศพด.บ้านขุนหว้ ยแมเ่ ปา

“ทส่ี �ำ คญั ทส่ี ดุ ในความคดิ ของคณุ ครคู อื มาจากผปู้ กครองกอ่ น คณุ ครอู ยกู่ บั เดก็ มากท่ีสุด แต่ผู้ปกครองก็ต้องร่วมด้วยช่วยกันกับคุณครูด้วย EF เป็นเรื่องที่ใกล้ตัวเรา มากท่สี ุด เป็นเรอ่ื งของกระบวนการใชช้ ีวิต การดำ�รงชีวติ ของเด็ก ๆ เราหยบิ สว่ นนั้น มาสอนเด็ก ๆ ได้ค่ะ ก็คือการใช้ชีวิตประจำ�วันที่บ้านก็สอนให้เด็ก ๆ ช่วยพ่อแม่ ทำ�งานบ้านเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่ต้องทำ�ได้เหมือนผู้ใหญ่ แค่สอนให้มีความรับผิดชอบ เทา่ นั้นเอง เราอยากได้ตรงน้นั คะ่ รกั ลกู ต้องสอนให้ลูกทำ�งานเป็น ใชช้ ีวติ ให้เปน็ คะ่ ”

ครูพชั รี ศพด.บ้านขุนห้วยแม่เปา “เราต้องรู้จักวิธีท่ีจะพูดกับผู้ปกครอง ตัวเราเองทำ�คนเดียวไม่สำ�เร็จ เราต้องดึงผู้ปกครองเข้ามา ดึงผู้ใหญ่บ้านมาเป็นประธานศูนย์ฯ กรรมการศูนย์ฯ เวลาเรามีงานแค่เรามีใบขอความกรุณา ขาดตกบกพร่องอย่างไรท่านก็จะเข้ามาช่วย ทีน่ ก้ี ารท�ำ งานก็ไม่เหนอ่ื ยเหมือนเมอ่ื ก่อน”

ครกู ุล ศพด.บา้ นแม่เปา

22 ถอดบทเรยี น การสรา้ งภูมิคุม้ กันยาเสพติดในเดก็ ปฐมวยั ดว้ ยการพัฒนาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พื้นท่เี ชียงราย สรุ นิ ทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

ปจ จยั สคู วามสำเรจ็

ครู ก เช�อมน่ั ทุมเท ประสานทกุ ฝา ย เช�อมรอยกจิ กรรม ผบู ริหารสนับสนุน ทอ งถน่ิ ใหค วามสำคัญ

เครือขายรวมดวยชวยหนุนซง่ึ กนั และกนั สรา งสภาพแวดลอ มและเคร�องมอื ที่จบั ตองได

รพ.สต. ศพด.

EF Guideline o พัฒนาสภาพแวดลอ ม ใหน า เรียนนา อยู

o เรยี นรธู รรมชาติ สำรวจชุมชน o ผลิตสอ� การสอน

เรยี นรูผา นการเลน ประเมินพัฒนาการ

ดงึ ผูปกครองและชมุ ชนมาเปนแนวรว ม

ถอดบทเรยี น 23

การสรา้ งภูมิค้มุ กันยาเสพติดในเดก็ ปฐมวยั ดว้ ยการพฒั นาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พื้นทเ่ี ชยี งราย สรุ ินทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

ผลลพั ธท์ ไ่ี ด้

“ตง้ั แตร่ จู้ กั EF นอ่ี ยา่ งแรกเลยท�ำ ใหค้ รใู จเยน็ ขน้ึ รจู้ กั คดิ ย�ำ้ คดิ ไตรต่ รอง กอ่ นทจ่ี ะท�ำ งานอะไร คอื ครกู ลุ เอามาใชก้ บั ตวั เองกอ่ น แตก่ อ่ นทมุ่ เทกบั เดก็ มาก เลยคะ่ พอเงนิ เดอื นออกจะไปซอ้ื อปุ กรณท์ �ำ สอ่ื ใหเ้ ดก็ เลย ไมไ่ ดน้ กึ ถงึ ตวั เองวา่ ต้องดูแลครอบครัว ต้องส่งลูกเรียน แต่เด๋ยี วน้รี ้จู ักว่าต้องยำ�้ คิดไตร่ตรองก่อน มนั กจ็ ะมปี ระโยชนก์ บั การท�ำ งานของเราท�ำ ใหร้ จู้ กั การวางแผน เชน่ ถา้ เราจะท�ำ สอ่ื การเรยี นการสอนเราจะท�ำ อยา่ งไรท�ำ แลว้ จะไดผ้ ลกบั เดก็ ไหม เมอ่ื ท�ำ มาแลว้ เดก็ ไดเ้ ลน่ สอ่ื การเรยี นการสอนนก้ี ส็ ง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการดขี น้ึ ครไู ดก้ อ่ น และ เดก็ ๆ กไ็ ดต้ ามมา และกผ็ ปู้ กครองอกี ตา่ งหาก”

ครูกลุ อบต.แมเ่ ปา

“จากทีเ่ ราประเมินกอ่ นที่จะมกี ารใส่ EF เข้าไปในเด็ก กับหลังจาก ให้ EF กับเด็กแล้ว จะเห็นได้ว่าเด็กมีพัฒนาการทางด้าน EF ดีข้ึน รวมถึง การส่งต่อเรื่องของการค้นหาเด็กผิดปกติ เราจะทำ�ให้เด็กที่ผิดปกติสามารถ ใช้ชีวิตอยู่กับเด็กท่ีปกติได้ เพราะเรามีระบบการส่งต่อท่ีชัดเจน ซึ่งระบบ การส่งต่อท่ีชัดเจนนี้ส่งผลให้เด็กที่มีความผิดปกติเข้าสู่ระบบมากข้ึน ผู้ท่ีมี สว่ นเกีย่ วข้องมคี วามตระหนกั ในเร่อื งของการดแู ลเด็กกลุม่ น้ีมากขนึ้ คะ่ ”

พญ.อมั พวัน ผอ.รพ.พญาเม็งราย

“ส�ำ หรับครูกลุ EF เปน็ กระบวนการท�ำ งานทีเ่ ปน็ ระบบเป็นขั้นตอน เราจะมีการวางแผนในการทำ�งานว่าสุดท้ายเราจะมาถึงจุดมุ่งหมายและ ประสบผลสำ�เร็จอย่างไร”

ครกู ุล อบต.แมเ่ ปา 24 ถอดบทเรียน

การสรา้ งภมู คิ ุ้มกันยาเสพติดในเดก็ ปฐมวยั ด้วยการพัฒนาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พน้ื ท่เี ชียงราย สรุ ินทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

ตอบโจทย์ ป.ป.ส. อยา่ งไร

“เร่ือง EF ก็คือการที่เราฝังชิปดี ๆ ให้เด็ก ช่วงท่ีทำ�ได้ดีท่ีสุด ง่ายท่ีสุดก็คือ 3 - 6 ปีค่ะ ซึ่งเป็นช่วงที่อยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและอยู่กับ ผปู้ กครอง ถา้ เขาไดร้ บั การกระตนุ้ ทกั ษะสมอง EF เขาจะสนั ดานดไี ปจนเขาโต เป็นผู้ใหญ่ สามารถท่ีจะคิดเป็น ทำ�เป็น แก้ปัญหาเป็น อยู่กับคนอ่ืนเป็น หาความสขุ เปน็ รถู้ กู ผดิ ดชี วั่ ยบั ยง้ั ชงั่ ใจ จะไมไ่ ปยงุ่ เกยี่ วกบั ยาเสพตดิ หรอื มีท้องก่อนวันอนั ควร หรือตดิ เกม ลดปัญหาพวกนลี้ งไดค้ ะ่ ”

มณรนิ ทร์ รพ.สต.แม่เปา

25 “สิ่งท่ีเราได้สอนเด็กมาตั้งแต่เล็ก ๆ ครูคิดว่าเขาสามารถที่ จะน�ำ ไปใช้ถึงตอนโตได้ เพราะว่าการสอน EF จะต้องเร่ิมตงั้ แต่เด็ก ๆ เริ่มสอดแทรกเข้าไป เราจะเน้นเป็นนิทาน การท่ีเล่านิทานเป็นเรื่อง เกยี่ วกบั ยาเสพตดิ หรอื สงิ่ ทไี่ มด่ ี เชน่ ลกู อมทก่ี นิ แลว้ ท�ำ ใหฟ้ นั ผุ หลงั จาก ท่ีเราสอนสอดแทรกเข้าไปเด็กก็จะเห็นโทษจากส่ิงนี้ และสิ่งท่ีเด็กเห็น ในบ้านเหน็ ผูป้ กครองสบู บหุ รี่ เดก็ กจ็ ะมาเล่าให้ครฟู ัง ครูก็จะบอกสอน กับเด็กว่ามันไม่ดีนะลูกเพราะมันจะทำ�ให้ร่างกายเส่ือมโทรม ฟันก็ดำ� คนเขา้ ใกลต้ วั ก็เหมน็ ก็คือสอนงา่ ย ๆ ให้เดก็ ได้เหน็ และก็เรียนรูด้ ว้ ย”

ครนู ิตยา ศพด.บา้ นขนุ ห้วยแม่เปา

ถอดบทเรียน

การสรา้ งภูมคิ ุ้มกนั ยาเสพติดในเด็กปฐมวัยด้วยการพัฒนาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พ้ืนทเี่ ชยี งราย สรุ ินทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

“เป้าหมายจริง ๆ คือเราต้องการผใู้ หญท่ ่ีเตบิ โตแล้วเป็นคนท่ีมคี ณุ ภาพ เราจะสรา้ งบา้ นแปงเมอื งดว้ ยการพฒั นาเดก็ สรา้ งเดก็ ซง่ึ มนั ยง่ั ยนื กวา่ การสรา้ งถนน มันจะพัฒนาบ้านเมืองได้ดีกว่า แล้วถ้าเขารู้จักระงับยับยั้งชั่งใจ เอดส์ก็จะลดลง โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ก็จะลดลง ยาเสพติดก็จะลดลง ท้องก่อนวัยก็จะลดลง เบาหวานความดนั กจ็ ะลดลง เพราะถกู ระงับยับย้งั ช่งั ใจกวา่ เกา่ ได้คะ่ ”

พ่ีหลอ่ น “จุดท่ีเปน็ Golden Period ของการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยเฉพาะในเร่ือง EF อยู่ท่ี 3 - 6 ขวบปีแรกเพราะฉะน้นั ถา้ หลดุ จากตรงนไี้ ปแลว้ การพัฒนาจะช้าลงไป โดยเฉพาะในช่วงปฐมวัย การใส่ทักษะสมองส่วนหน้าเข้าไป เราเชื่อม่ันว่าเด็กกลุ่มน้ี จะโตข้ึนเป็นผู้ใหญ่ท่ีมีคุณภาพชีวิตดี และสามารถช่วยพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคม ท่ีก้าวสปู่ ระเทศทพ่ี ฒั นาแลว้ และมคี วามสขุ มากข้ึนคะ่ ”

พญ.อัมพวนั ผอ.รพ.พญาเมง็ ราย

26 ถอดบทเรยี น การสรา้ งภูมิค้มุ กนั ยาเสพตดิ ในเดก็ ปฐมวยั ดว้ ยการพฒั นาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พื้นที่เชยี งราย สรุ ินทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

บทสรุปความสำ�เรจ็

และการสานตอ่ เพอื่ ไปถึงเป้าหมาย

“ในเรอื่ งของ EF เม่อื ครเู ข้าใจแลว้ ก็จะประชาสมั พันธ์ให้ผูป้ กครองเขา้ ใจวา่ EF คืออะไร แลว้ มคี วามส�ำ คัญอย่างไร ทาง อบต.แมเ่ ปา กใ็ ห้ความส�ำ คัญเร่อื งนี้ จัดโครงการ คาราวานเสริมสร้างเดก็ สอดแทรกเรอื่ ง EF มีการอบรมให้ผู้ปกครองทราบ รวมไปถงึ วธิ ี การเลี้ยงดูลกู ของตัวเองด้วยคะ่ ”

ครพู ชั รี ศพด.บา้ นขุนหว้ ยแม่เปา

“ทุกคนที่เกี่ยวข้องกับเด็กต้องรู้จัก EF เช่น เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขที่ดูเรื่อง พฒั นาการเดก็ ต้องบูรณาการเร่อื ง EF เข้ากบั DSPM ให้ได้ ซึง่ จะบรู ณาการไดห้ รือไมไ่ ด้ ระดับกรมกองกระทรวงทีเ่ กย่ี วขอ้ งนา่ จะต้องกำ�หนดเป็นนโยบาย”

พีห่ ลอ่ น

“ตอ้ งขอขอบคณุ อบต.แมเ่ ปา ผบู้ รหิ าร ผอ.กองการศกึ ษา ทเ่ี หน็ ความส�ำ คญั และมีส่วนสำ�คัญในการผลักดันสนับสนุนให้ครูไปอบรม ประชุมหรือสัมมนา และ ถา้ คุณครูไม่มีใจรักไม่ไดท้ ุ่มเทในการท�ำ งาน ถา้ ครไู ม่ท�ำ มันกไ็ ม่เกดิ ตรงนข้ี ึ้นมานะคะ”

ครูกุล ศพด.แมเ่ ปา

“ณ วนั น้ผี มใชค้ ำ�ว่าระบบ เรามีการจัดเปน็ ระบบที่น่าจะเปน็ ทพ่ี อใจของทุกฝา่ ย แมแ้ ตภ่ าคเี ครอื ขา่ ยเราทม่ี สี ว่ นรว่ มทกุ คนกพ็ อใจ ในเมอื่ ระบบเราดี ผมมน่ั ใจวา่ ความตอ่ เนอื่ ง โดยเฉพาะโครงการกจิ กรรมนนั้ ไมม่ ปี ญั หาแลว้ ครบั ไมว่ า่ จะสภาชดุ ไหนผบู้ รหิ ารชดุ ไหนเขา ก็จะต้องดำ�เนินการต่อเพราะเป็นส่ิงที่ดีท่ีฝังรากไปแล้วก็งอกต่อไปครับ ไม่ว่าใครจะเป็น ผบู้ ริหาร ผมม่ันใจวา่ ระบบมนั ดีมนั กต็ ้องเดินตอ่ ไปดี โอกาสจะถอยไม่มีครับ”

นายก อบต.แม่เปา

ติดตอ่ ขอขอ้ มูล นางประภาพร เช้ือเมืองพาน (พหี่ ล่อน) พยาบาลวชิ าชีพ หัวหนา้ กลมุ่ งานบรกิ ารด้านปฐมภมู ิและองค์รวม โรงพยาบาลพญาเมง็ ราย โทร. 089-556-2002 ถอดบทเรยี น 27 การสร้างภูมคิ ุ้มกันยาเสพตดิ ในเดก็ ปฐมวัยดว้ ยการพัฒนาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พื้นที่เชยี งราย สรุ ินทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

28 ถอดบทเรยี น การสร้างภูมิคมุ้ กนั ยาเสพตดิ ในเด็กปฐมวยั ด้วยการพฒั นาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พืน้ ทเี่ ชยี งราย สุรินทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

สรุ นิ ทร์

มหาวิทยาลยั ราชภฏั นำ�ร่องพฒั นาหลักสตู ร ผลติ ครู EF

จังหวัดสุรินทร์ขับเคล่ือนเรื่อง EF ผ่านมหาวิทยาลัย ราชภัฏสุรินทร์ โดยแกนนำ�สำ�คัญคือ ผศ.ดร.คนึง สายแก้ว นักวิชาการด้านการศึกษาปฐมวัย อดีตข้าราชการอาจารย์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ร่วมกับทีมอาจารย์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ นิ ทร์ น�ำ EF สอดแทรกเขา้ สรู่ ายวชิ าการเรยี น การสอน พัฒนาหลักสูตร ผลิตครู EF ต้นแบบ และเป็นวิทยากร ให้กับสำ�นักงาน ป.ป.ส. ภาค 3 ในการจัดอบรม EF ให้กับครู ในจงั หวดั สุรินทรแ์ ละศรสี ะเกษ

ถอดบทเรียน 29

การสรา้ งภมู คิ ุ้มกนั ยาเสพตดิ ในเดก็ ปฐมวัยดว้ ยการพฒั นาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พนื้ ทเี่ ชยี งราย สุรินทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

จุดเร่ิมท่ที ำ�ให้รู้จัก EF

“เดมิ ทที ที่ างสถาบนั รกั ลกู เรมิ่ มกี ารอบรมเรอ่ื งของ EF อ.คนงึ ไดร้ บั เชญิ เขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในการอบรม พอกลบั มากศ็ กึ ษาจากเอกสารทไี่ ดม้ าและ น�ำ เรอื่ งนไี้ ปพดู คยุ กบั อาจารยท์ ใ่ี นคณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ นิ ทร์ เกดิ การรวมตวั เปน็ ทมี เรม่ิ แรกมดี ว้ ยกนั 2 - 3 คน จากนนั้ กช็ วนอาจารยท์ อ่ี ยู่ สาขาอน่ื เขา้ มารว่ มทีมทำ�เร่ืองการพัฒนาทกั ษะทางสมอง EF ในช่วงแรก ๆ ท่ีมกี ารรวมตัวเปน็ ทีมก็ไดร้ บั การประสานงานจาก ส�ำ นักงาน ป.ป.ส. ภาค 3 ขอความช่วยเหลอื ให้เขา้ มาเปน็ วทิ ยากรแกนนำ�อบรมเรอื่ ง EF ให้กับคณุ ครู ท่ีมาอบรมในจังหวัดสุรินทร์และศรีสะเกษ เลยได้มีโอกาสนำ�องค์ความรู้ที่มี พรอ้ มกบั ทีมงานเขา้ มาชว่ ยอบรมครูตอ่ เนอ่ื ง 3 - 4 ร่นุ ”

ผศ.ดร.คนึง สายแก้ว นกั วชิ าการด้านการศกึ ษาปฐมวัย

30 ถอดบทเรียน การสร้างภมู ิคมุ้ กนั ยาเสพตดิ ในเด็กปฐมวยั ดว้ ยการพฒั นาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พ้นื ท่เี ชยี งราย สรุ ินทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

ขับเคลอื่ นขยายผล โดย ผศ.ดร.คนงึ สายแก้ว และทมี งานมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุรนิ ทร์

บูรณาการสู่การสอน พฒั นาหลักสูตร ผลิตครู EF ตน้ แบบ

เรม่ิ ตน้ จากการพฒั นาอาจารยก์ อ่ น เมอื่ ไดอ้ าจารยค์ ณะครศุ าสตรม์ ารว่ มทมี จึงเริ่มวิเคราะห์สาระเน้ือหาในหลักสูตรการจัดการศึกษาปฐมวัยตลอดหลักสูตรว่า มีวิชาอะไรบ้างท่ีจะสามารถนำ�เอา EF เข้าไปแทรกในการจัดการเรียนการสอนให้กับ นักศึกษาได้ จึงออกแบบให้ EF เขา้ ไปอยู่ทุกรายวชิ า เรมิ่ จาก อ.คนึง ทีส่ อนในรายวชิ า นิทานและหุ่น นำ�องค์ความรู้มาประยุกต์เข้าด้วยกันโดยใช้การเล่านิทาน ให้นักศึกษา วเิ คราะหน์ ทิ าน เขยี นบทละครทมี่ ี EF สรา้ งหนุ่ เชดิ ประกอบการเลา่ และจดั งานมหกรรม แสดงผลงาน ออกเรใ่ หเ้ ด็ก ๆ ตามโรงเรยี นต่าง ๆ ไดด้ ู

ดว้ ยบทบาทหนา้ ทขี่ องอาจารยใ์ นมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ นิ ทร์ นอกจากมหี นา้ 31 ท่ีในการสอนนักศึกษาในมหาวิทยาลัยแล้ว อาจารย์ยังมีอีกบทบาทหน้าท่ีหน่ึง คือ การบรกิ ารวชิ าการ โดยขณะนนั้ มอี าจารยจ์ ากภาควชิ าพละศกึ ษา และภาควชิ าจติ วทิ ยา มารว่ มทมี ในการพฒั นาหลกั สตู ร EF และน�ำ ไปอบรมคณุ ครใู นสงั กดั สพฐ. คณุ ครสู งั กดั อบต. และคุณครูสงั กัดเทศบาล

ถอดบทเรียน

การสรา้ งภมู คิ มุ้ กันยาเสพตดิ ในเดก็ ปฐมวัยดว้ ยการพฒั นาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พนื้ ที่เชียงราย สรุ นิ ทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

นำ�ความรู้ EF สู่ผปู้ กครอง

พ่อแม่ผู้ปกครองมีส่วนสำ�คัญมากในการ สร้างการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมในชีวิตประจำ�วัน ทกุ ครงั้ ของการพฒั นาครจู ะพฒั นาพอ่ แมผ่ ปู้ กครอง ไปพร้อม ๆ กัน ให้คำ�แนะนำ�ผู้ปกครองอย่างง่าย ในการนำ�หลกั EF ไปสอนลกู ๆ ตนเองที่บ้าน

สรา้ งครตู น้ แบบ เรียนรสู้ ูก่ ารเปล่ยี นแปลง

EF ควรจะฝงั ลงไปในหลกั สตู ร จงึ มกี ารขบั เคลอ่ื นเรอื่ งการพฒั นาหลกั สตู ร เกดิ หลกั สตู ร ทเ่ี ปน็ รายวชิ าบงั คบั ของหลกั สตู รปฐมวยั โดยสถาบนั รกั ลกู ท�ำ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื ทางวชิ าการ ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ และมหาวิทยาลัยท่ัวประเทศ ท่ีจะขับเคล่ือนครูปฐมวัย ให้มีความรแู้ ละสามารถนำ� EF ไปใช้ในโรงเรียนได้ การขับเคลอ่ื นอีกสว่ นหน่งึ คือในโรงเรยี น โรงเรียนในสงั กัด สพฐ. ให้ความส�ำ คญั กบั EF แล้วบรรจุเป็นยุทธศาสตร์ชาติในการขับเคล่ือน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษามีการ ขบั เคล่อื น มกี ารอบรมพฒั นาครใู นเร่ือง EF กันชัดเจนมากขนึ้ โดยมหาวทิ ยาลับราชภัฏสรุ นิ ทร์ เป็นตัวนำ�ร่อง ให้ครูที่เข้าร่วมอบรมนำ�องค์ความรู้ไปปฏิบัติจริงที่โรงเรียนของตนเอง จากน้ัน ทีมงานของ อ.คนึง ก็ติดตาม และมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้กันในไลน์กลุ่ม EF จังหวัดสุรินทร์ หลงั จากนน้ั เดอื นกวา่ ใหน้ �ำ เสนอผลงานทไี่ ดไ้ ปปฏบิ ตั กิ ลบั มาแลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ นั ผลงานของใคร ถูกใจเพือ่ นครทู ่ีมาร่วมอบรม จะไดร้ ับยกย่องใหค้ ณุ ครูคนนน้ั เปน็ ตน้ แบบ EF ของจงั หวัดสุรินทร์ หน่ึงในน้ันก็คือครูนิด (น.ส.ณัฏฐณิชา หม้อทอง) ที่โรงเรียนบ้านขามศึกษาคาร และยังมีคุณครู อีกหลาย ๆ คนทเี่ ป็นตน้ แบบครู EF ทจ่ี ะขบั เคล่ือน EF ลงส่ผู ู้ปกครองและนักเรยี นได้อยา่ งดี

32 ถอดบทเรยี น การสร้างภมู ิคุ้มกันยาเสพติดในเด็กปฐมวัยดว้ ยการพฒั นาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พนื้ ทเี่ ชยี งราย สุรินทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

ยกระดบั การอบรม EF ผลกั ดัน ให้เกิดข้อเสนอเชิงนโยบายขยายผล

พอมีทีมงานและมีหลักสูตรแล้ว ก้าวต่อไปคือ ไปช่วยทีม ป.ป.ส. ภาค 3 ในการขับเคล่อื นและพัฒนาครตู น้ แบบให้เกิดขึ้นในพนื้ ท่ตี า่ ง ๆ โดยใช้ การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเปน็ เครอื่ งมอื ในการสรา้ งครตู น้ แบบ ใชห้ ลกั การสรา้ ง ความเขา้ ใจกบั ผบู้ ริหาร สพฐ. ช้ีใหเ้ หน็ ถงึ ความสำ�คัญและจ�ำ เปน็ จะต้องมกี าร ขบั เคลอื่ นในเรอื่ งของการพฒั นาครตู น้ แบบใหเ้ กดิ ขนึ้ กบั หลาย ๆ โรงเรยี นอยา่ ง เป็นวงกวา้ ง ขณะเดียวกันสถาบันรักลูกก็เข้ามาในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์และ ศรสี ะเกษ น�ำ เรอื่ ง EF มาพฒั นาเปน็ โมเดลตวั อยา่ งของประเทศ เปน็ ทางเลอื ก หน่ึงของจงั หวดั สรุ ินทร์ จึงเชอื่ มตอ่ การทำ�งานและน�ำ ครู อบต. เข้าไปมีสว่ น ร่วมด้วย นอกจากน้ีอ.คนงึ ยงั เปน็ คณะอนกุ รรมการปฐมวยั ของจงั หวดั สรุ นิ ทร์ ด้วย จึงนำ�เร่ือง EF ไปเสนอต่อที่ประชุม โดยมีรองผู้ว่าราชการจังหวัด เปน็ ประธาน

ถอดบทเรยี น 33

การสรา้ งภูมิค้มุ กนั ยาเสพติดในเด็กปฐมวยั ดว้ ยการพัฒนาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พน้ื ทีเ่ ชียงราย สรุ ินทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

ขยายเครอื ข่ายครูต้นแบบ การนำ� EF สูโ่ รงเรยี น

คณุ ครณู ัฏฐณชิ า หมอ้ ทอง (ครนู ิด) ครูวิทยฐานะช�ำ นาญการพเิ ศษ โรงเรียนบ้านขามศึกษาคาร ตำ�บลบุแกรง อำ�เภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ เคยเข้ารบั การอบรมหลกั สูตรพัฒนาทกั ษะสมอง EF จากทีมงาน อ.คนงึ และ ครูนดิ เองก็เป็นศษิ ยเ์ ก่าของคณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ หลังจากอบรม ครูนิดกลับมาวิเคราะห์บริบทโรงเรียนตนเอง ซ่ึงมีสถานที่กว้างขวาง มีสนามเด็กเล่นตามรอยพระยุคคลบาท จึงจัด กจิ กรรมกลางแจง้ และออกแบบใหม้ คี วามหลากหลาย พฒั นา EF ดว้ ยการเลน่ อยา่ งสร้างสรรค์

34 ถอดบทเรยี น การสร้างภมู คิ ุ้มกนั ยาเสพติดในเด็กปฐมวัยด้วยการพัฒนาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พ้นื ทเ่ี ชียงราย สรุ ินทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

ขบั เคล�อนขยายผล

บรู ณาการสูก ารสอน นำความรู EF สรา งครตู น แบบ พัฒนาหลักสูตร สผู ปู กครอง เรยี นรสู ู ผลติ ครู EF การเปลี่ยนแปลง ตนแบบ

ยกระดบั ขยายเครอื ขาย การอบรม EF ครตู น แบบ

ผลักดนั ใหเ กิดขอ เสนอ การนำ EF เชิงนโยบายขยายผล สโู รงเรียน

ถอดบทเรียน 35

การสร้างภมู ิคุม้ กนั ยาเสพติดในเด็กปฐมวัยด้วยการพัฒนาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พ้นื ทเ่ี ชียงราย สรุ ินทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

ปัจจยั สู่

ความสำ�เรจ็

แกนนำ�มบี ทบาทในสังคม

เป็นครูสรา้ งครู ดึงลกู ศิษยเ์ ปน็ แนว ร่วมขยายผล

“ในตอนนั้นได้นำ�เอาหลักสูตรท่ีทีมงาน รว่ มกนั พฒั นาไปอบรมครใู นสงั กดั สพฐ. ครใู นสงั กดั อบต. และครใู นสงั กดั เทศบาล จบไปหลายรุ่น และ ทนี่ า่ ภาคภูมิใจเป็นอย่างยง่ิ คือ ครูท่เี ขา้ รับการอบรม หลกั สตู รพฒั นาทกั ษะทางสมอง EF เปน็ ศษิ ยเ์ กา่ ของ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ทำ�ให้ การท�ำ งานคล่องตัวและมเี ครอื ขา่ ยท่ีกว้างข้ึน”

ผศ.ดร.คนงึ สายแกว้

36 ถอดบทเรียน การสรา้ งภมู คิ มุ้ กันยาเสพตดิ ในเด็กปฐมวัยดว้ ยการพัฒนาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พืน้ ท่เี ชยี งราย สุรินทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

“ได้รับความรู้มาจากคุณครู ดร.คะนึง สายแก้ว ซ่ึงตอนนั้นครูนิด เป็นตัวแทนของโรงเรียนท่ีเข้าไปอบรมและรับการขยายผลจากคุณครูค่ะ EF คืออะไรตอนแรกไม่รู้เลยค่ะ รู้แต่ว่าเขาบอกว่าให้ไปอบรมป้องกันยาเสพติด ในระดบั ปฐมวยั คะ่ พอเขา้ ไปอบรมแลว้ กเ็ ลยไดร้ วู้ า่ EF คอื Executive Function เป็นทักษะสมองทเ่ี ราจะฝกึ พัฒนาเดก็ เล็ก ๆ เด็กปฐมวัยของเรา”

ครนู ดิ โรงเรยี นบ้านขามศกึ ษาคาร

เช่ือมประสานงานในบทบาทองคก์ รเพอื่ สังคม

“ตอนน้ี อ.คนงึ มีอีกภาระหนา้ ทหี่ นงึ่ คอื ท�ำ หนา้ ท่ีในมูลนธิ ิเดก็ น้อย พัฒนา มูลนิธิน้ีจะมาช่วยในเร่ืองการพัฒนาเด็กพัฒนาครูท่ีศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กท่ีสังกัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลนะคะ และเช่ือมโยงกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสรุ นิ ทร์โดยมีการท�ำ MOU ดว้ ยกนั แลว้ เรากม็ าท�ำ งานร่วมกันกบั ทมี ของอาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์และทีมผู้บริหารคณะครุศาสตร์ เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพของการจดั การศึกษาเดก็ ปฐมวัยของจงั หวัดสุรินทร์ค่ะ”

ผศ.ดร.คนงึ สายแก้ว ผลกั ดันนโยบายในฐานะคณะทำ�งานจงั หวัด “นอกจากน้ีตัว อ.คนึง เองเป็นคณะอนุกรรมการของปฐมวัย จังหวัดสุรินทร์ด้วย จึงได้เอาเรื่อง EF ไปเสนอในที่ประชุม โดยมี ท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานและได้มอบเอกสารหนังสือแนะนำ� ว่า EF มีความสำ�คัญอย่างไรและจำ�เป็นอย่างไรที่จังหวัดสุรินทร์ต้องมีการ ขบั เคลอ่ื นเร่อื ง EF”

ผศ.ดร.คนึง สายแก้ว

ถอดบทเรียน 37

การสรา้ งภมู ิคุม้ กนั ยาเสพตดิ ในเดก็ ปฐมวัยดว้ ยการพัฒนาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พนื้ ทีเ่ ชยี งราย สุรนิ ทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

วิเคราะหภ์ าพรวม มยี ทุ ธศาสตร์ชัดเจน

ก�ำ หนดเปา้ หมาย

“EF เป็นเร่ืองสำ�คัญที่จะต้องพัฒนาเด็ก พัฒนานักศึกษา พัฒนาครู เราเลยเริ่มต้นพัฒนาอาจารย์ก่อน เอาคู่มือ EF มาพูดคุยกับน้อง ๆ ทีมงาน ในราชภฏั ตอนที่ยังไม่เกษียณ”

ผศ.ดร.คนงึ สายแกว้

สร้างทมี

“จากการไปอบรมทสี่ ถาบันรกั ลูกน่ีคือจุดเร่มิ ตน้ แล้วกเ็ อามาเผยแพร่ ให้อาจารย์ในสาขาเด็กปฐมวัยของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ไดร้ จู้ กั EF จากนน้ั เรามาวเิ คราะหเ์ นอื้ หาสาระในหลกั สตู รการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ตลอดหลักสูตรว่ามีวิชาอะไรบ้างท่ีเราจะสามารถเอา EF เข้าไปแทรก เข้าไป ขบั เคล่ือนในนักศกึ ษาของเรา เรากท็ �ำ มาทกุ รายวิชา”

ผศ.ดร.คนงึ สายแก้ว

38 ถอดบทเรียน การสร้างภูมิค้มุ กันยาเสพตดิ ในเดก็ ปฐมวัยดว้ ยการพฒั นาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พพน้ื ้นื ทท่เี ชี่เชยี ยี งรงารยายสรุ สนิ ุรทินร์ทรระ์ยรอะงยนอคงรศนรคีธรรศรมรรีธารชรมราช

พัฒนาหลักสตู ร

“เราจะกระจาย EF ไปยังคณุ ครูท่อี ยใู่ นสงั กดั สพฐ. อบต. และ เทศบาล ซึ่งบทบาทหน้าท่ีของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์น้ัน นอกจากจะมหี นา้ ทก่ี ารสอนแลว้ ยังมหี น้าที่บรกิ ารวชิ าการแกช่ ุมชนและ สังคมด้วย เราก็เลยมาคุยกันว่าหลักสูตรอะไรที่จะเหมาะกับครู อบต. หลักสูตรอะไรท่ีจะเหมาะสำ�หรับครู สพฐ. ในตอนน้ันมีอาจารย์ท่ีสนใจ เข้าร่วมทีมจากภาควิชาพละศึกษา และภาควิชาจิตวิทยาด้วย ซ่ึงเป็น การรวมกันของหลาย ๆ ศาสตร์ทำ�ให้เกิดผลดีในการพัฒนาหลักสูตร จึงไดห้ ลกั สูตรที่เราพัฒนากันขนึ้ มา”

ผศ.ดร.คนงึ สายแก้ว

ขยายผล 39

“จากน้ันเรากเ็ อาหลกั สตู รนมี้ าอบรมครู ทง้ั ครขู อง สพฐ. อบต. หลายร่นุ มากทีเดียว แล้วเราก็ยกทมี งานไปชว่ ยกันกบั ทมี ป.ป.ส. ภาค 3 ในการอบรมพฒั นา EF ใหค้ รูในจังหวดั สรุ ินทร์และศรสี ะเกษ การพฒั นาในช่วงปี 2558 - 2559 เราจะพัฒนานักศึกษา และ ในปี 2559 - 2562 เราจะเริ่มไปยงั พื้นท่ชี มุ ชน เพราะแคน่ ักศึกษาไม่พอ แค่ครู อบต. ครู สพฐ. ไม่พอ เราต้องลงไปทำ�กับพ่อแม่ผู้ปกครองด้วย เพราะฉะนั้นทุกครั้งของการพัฒนาครูเราจะพัฒนาพ่อแม่ผู้ปกครอง เรือ่ งของ EF ไปพร้อม ๆ กันดว้ ย”

ผศ.ดร.คนงึ สายแก้ว

ถอดบทเรยี น

การสร้างภมู ิค้มุ กนั ยาเสพตดิ ในเด็กปฐมวยั ดว้ ยการพฒั นาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พ้ืนทเ่ี ชยี งราย สรุ นิ ทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

สร้างครตู น้ แบบ

“เราหาครูต้นแบบ EF โดยให้คุณครูท่ีอบรมแล้วนำ�องค์ความรู้เหล่าน้ีกลับไป ปฏิบัติที่โรงเรียน เป็นเรื่องของ Active Learning เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงท่ีโรงเรียน จากน้ันทีมงานอาจารย์ก็ติดตามและมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในไลน์ เราจะมี LINE กลุ่ม EF ของจังหวัดสุรินทร์ หลังจากน้ันเราให้เวลาคุณครูประมาณเดือนกว่า กลับมา แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในเวทีนำ�เสนอผลงานที่คุณครูแต่ละท่านไปปฏิบัติที่โรงเรียนกับเด็ก หรือกบั ผปู้ กครอง หรือกบั เพือ่ นครู ผลงานของใครมีผู้พอใจมากที่สดุ เราจะยกย่องคุณครู เหล่านนั้ ใหม้ าเปน็ ต้นแบบ EF ของจงั หวัดสุรินทร์ บอกไดเ้ ลยวา่ เรามีต้นแบบของครู EF ท่จี ะขับเคลอ่ื น EF ลงสผู่ ้ปู กครอง ลงสนู่ กั เรยี นไดอ้ ยา่ งดีค่ะ”

ผศ.ดร.คนึง สายแก้ว

ผลกั ดันนโยบาย

“เราเห็นชัดต้ังแต่เริ่มผลักดัน EF ต้องไม่หยุดอยู่เพียงแค่การเรียนการสอน หรือแค่เรา แต่ควรจะฝังไปในหลักสูตร ก็เลยมีการขับเคล่ือนเร่ืองการพัฒนาหลักสูตร เกดิ หลกั สตู รทเ่ี ปน็ รายวชิ าบงั คบั ของปฐมวยั โดยสถาบนั รกั ลกู ท�ำ MOU กบั มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏทั่วประเทศที่จะขับเคลื่อนการพัฒนาครูปฐมวัย อันน้ีก็คือเริ่มจากต้นนํ้า พัฒนาหลักสูตรเร่ืองสมองกับการเรียนรู้แล้วฝังชิปเรื่อง EF ไปยังผู้ท่ีจะเป็นครูปฐมวัย ในอนาคต ทกุ คนตอ้ งร้จู กั เรอ่ื ง EF อันน้คี ือสว่ นหนึ่งของการขับเคลอ่ื น การขับเคล่ือนอีกส่วนหน่ึง คือ โรงเรียนของ สพฐ. เราก็เข้าไปคุยกับผู้บริหาร ของ สพฐ. วา่ ควรจะตอ้ งมกี ารขบั เคลอ่ื นในเรอื่ งการพฒั นาครู สพฐ. เองกไ็ ดใ้ หค้ วามส�ำ คญั กับเร่ือง EF แล้วบรรจุเข้าไปเป็นยุทธศาสตร์ในการขับเคล่ือน หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับ การจดั การศกึ ษาเรม่ิ มีการขบั เคลอ่ื นพัฒนาครูในเร่อื ง EF กันชัดเจนมากขนึ้ ในการอบรม พฒั นาครู โดยมมี หาวิทยาลัยราชภัฏสรุ นิ ทรเ์ ปน็ ตัวนำ�ร่องนะคะ”

ผศ.ดร.คนงึ สายแก้ว 40 ถอดบทเรียน

การสรา้ งภูมิคมุ้ กนั ยาเสพตดิ ในเด็กปฐมวัยดว้ ยการพัฒนาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พืน้ ที่เชียงราย สรุ นิ ทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

ผู้บรหิ ารเหน็ ความสำ�คญั

ผมมโี อกาสไดศ้ กึ ษาทกั ษะ EF แลว้ มคี วามสนใจ เหน็ ความส�ำ คญั ครบั กเ็ ลยสง่ ครเู ขา้ รบั การอบรมความรเู้ พอื่ ทจ่ี ะน�ำ มาถา่ ยทอดใหเ้ ดก็ เราจดั ประชมุ ชี้แจงกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ให้เขาได้เห็นความสำ�คัญ ซึ่งได้รับ ความรว่ มมอื จากผปู้ กครองเปน็ อยา่ งดี กจิ กรรมหรอื ทกั ษะเหลา่ นจ้ี ะตดิ ตวั เดก็ ไปตลอดชวี ติ นะครบั ระดบั ปฐมวยั นา่ จะมคี วามส�ำ คญั ทจี่ ะไดผ้ า่ นกระบวนการ นเี้ พอ่ื ใหต้ ดิ ตัวไปตลอดชีวิตได”้

นายบรรพต ดาสี ผู้อำ�นวยการโรงเรียนบ้านขามศกึ ษาคาร “เราสนับสนุนตามภารกิจของบทบาทมหาวิทยาลัยนะคะ ในส่วน ท่ี 1 เบือ้ งต้นเราสนบั สนนุ ในส่วนที่เปน็ รายวิชาเอกของการศกึ ษาปฐมวยั เอาไว้ กอ่ นนะคะ ในส่วนที่ 2 การบริการวชิ าการ เรามผี ู้เช่ียวชาญไปจัดอบรมให้กบั ครู ผปู้ กครอง ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา เทศบาล รวมถงึ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บลตา่ ง ๆ และในสว่ นท่ี 3 คอื พัฒนาองคค์ วามรู้ใหม่ ทำ�วจิ ัยเรอ่ื งการพัฒนา EF ด้วยค่ะ”

ดร.นจุ รี บญุ เกตุ รองคณบดฝี ่ายบริหารของคณะครุศาสตร์

มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสุรนิ ทร์

ถอดบทเรียน 41

การสร้างภูมคิ ุ้มกันยาเสพติดในเด็กปฐมวยั ดว้ ยการพัฒนาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พืน้ ที่เชยี งราย สุรนิ ทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

ผ้ปู กครองเข้าใจและมสี ว่ นร่วม

“โรงเรยี นเปน็ เพยี งแคส่ ่วนหนึ่ง ส่วนใหญเ่ ด็กอยทู่ ่ีบ้าน เพราะฉะนัน้ จำ�เป็น มากเลยทโ่ี รงเรียนจะประสานสมั พนั ธ์กับผูป้ กครอง เราจะต้องให้ความรู้กบั ผู้ปกครอง ดว้ ย ท�ำ ยงั ไงใหผ้ ปู้ กครองฝกึ ทกั ษะ EF ใหก้ บั เดก็ ได้ การน�ำ EF มาใชพ้ ฒั นาทกั ษะทาง สมองได้ส�ำ เรจ็ น้ันไม่ได้อยู่ทคี่ ุณครู หรอื โรงเรยี น หรือกจิ กรรมท่โี รงเรียนจดั ขน้ึ เทา่ น้นั แตย่ งั รวมถงึ พ่อ แม่ ผู้ปกครองของเด็กดว้ ยท่จี ะต้องร่วมวางแผนกับครู ในการช่วยกัน พัฒนาการเรยี นรู้ของเด็ก เพ่ือให้มพี น้ื ฐานและความพรอ้ มท่ีจะเรยี นร้ตู ่อไป ครูนิดตั้งเป็นกลุ่มไลน์ผู้ปกครอง ผู้ปกครองได้รับรู้เห็นลูกกระโดดตาราง 20 กระโดดขา้ มรั้ว กระโดดขา้ มยางรถ หรอื เลน่ สระนํา้ ทีโ่ รงเรยี นจดั กิจกรรมตรงน้ีให้ พอผู้ปกครองได้เห็นลูกกิจกรรมท่ีหลากหลายคุณครูนิดก็จะเริ่มอธิบายว่ากิจกรรม ท่ีครูนิดจัดให้เป็นกิจกรรมที่สามารถส่งเสริมทักษะ EF ได้ ส่วนท่ีบ้านก็ให้ผู้ปกครอง สอนให้ลูกทำ�งานบ้านช่วยกิจกรรมที่ผู้ปกครองทำ� น่ันแหละค่ะคือการฝึกทักษะ EF ใหก้ บั เด็กส�ำ หรบั ผ้ปู กครอง”

ครนู ดิ โรงเรียนบา้ นขามศกึ ษาคาร

42 ถอดบทเรียน การสรา้ งภมู คิ ้มุ กันยาเสพติดในเด็กปฐมวยั ด้วยการพัฒนาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พืน้ ที่เชยี งราย สุรนิ ทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

ปจ จยั สูความสำเรจ็

แกนนำมีบทบาท วิเคราะหภาพรวม ในสงั คม มียุทธศาสตรชัดเจน

- เปนครสู รางครู - กำหนดเปาหมาย ดึงลูกศิษยเ ปน แนวรว ม - สรางทมี ขยายผล - พัฒนาหลักสูตร - ขยายผล - เชอ� มประสานงาน - สรางครูตนแบบ ในบทบาทองคกร - ผลักดนั นโยบาย เพ�อสงั คม

- ผลกั ดันนโยบายในฐานะ คณะทำงานจังหวดั

ผบู ริหาร ผปู กครองเขาใจ เหน็ ความสำคญั และมีสว นรวม

ถอดบทเรยี น 43

การสร้างภมู คิ มุ้ กนั ยาเสพติดในเด็กปฐมวยั ดว้ ยการพัฒนาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พ้ืนทเ่ี ชยี งราย สุรนิ ทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

ความ เปลี่ยนแปลง

ท่ีเกิดขึน้

“ก่อนท่ีหลานจะมาเรียนที่น่ีเคยไปเรียนที่อ่ืนหลายแห่ง เขาเป็นเด็กอยู่ไม่น่ิง มคี วามสนใจสนั้ พอมาเรยี นทนี่ ห่ี นงึ่ ภาคเรยี นมสี มาธขิ นึ้ เยอะ เขานง่ิ มากขน้ึ ความคดิ ความอา่ น กด็ ขี น้ึ สามารถควบคมุ ตนเองได้ เขาฟงั แลว้ คดิ ตามสงิ่ ทเี่ ราพดู รสู้ กึ ภมู ใิ จทโี่ รงเรยี นมกี จิ กรรม ใหม่ ๆ ส่งเสรมิ ใหเ้ ขามีพัฒนาการในทางทดี่ ขี ้นึ ”

(นายไชยนั ต์ พงศ์พิพฒั น์ ผปู้ กครอง) “คุณครูท่ีน่ีเขาสอนให้ช่วยเหลือตนเองมากข้ึนนะคะ เพราะว่าปกติเขาจะเล่น อย่างเดียว พอลูกมาเรียนท่ีนี่แล้ว สังเกตเห็นความเปล่ียนแปลงลูกกลับบ้านอยากจะช่วย ท�ำ งานบา้ น อยากกวาดบ้าน อยากล้างจาน พอมกี ารบ้านเขาจะท�ำ การบ้านกอ่ นคอ่ ยไปเลน่ กิจกรรมบวกเลขด้วยตารางกระโดด ทำ�ให้ลูกสามารถบวกเลข คูณเลขได้ คิดว่าโรงเรียน จดั กิจกรรมดที ำ�ใหล้ ูกมพี ฒั นาการในทางท่ีดขี ึ้น”

(สุพิศทา ดาศรี ผู้ปกครอง)

“ลกู มปี ญั หาพดู ไมช่ ดั อายทจ่ี ะพดู พอเขา้ มาเรยี นคณุ ครพู าท�ำ กจิ กรรมตา่ งๆสงั เกตวา่ เขามคี วามมน่ั ใจในการพดู มากขน้ึ และมากลบั บา้ นกจ็ ะชว่ ยท�ำ งานทกุ อยา่ ง มคี วามรบั ผดิ ชอบ กับตัวเอง เช่น เก็บผ้าเอง พับผ้าเอง สำ�คัญคืออยากให้เขาทำ�แบบนี้ติดเป็นนิสัยของตัวเอง จนโตเลย ถา้ โตกวา่ นเี้ ราสอนไปเขาจะไมเ่ อาแลว้ คะ่ ตอ้ งใหเ้ ขารจู้ กั รบั ผดิ ชอบตวั เองตง้ั แตเ่ ลก็ ”

(ดวงใจ ดาศรี ผู้ปกครอง) “ความเปล่ียนแปลงของลูกศิษย์คนหนึ่งนะคะ เร่ิมแรกท่ีเข้ามาเป็นเด็กที่มีสมาธิ สั้นมาก ขณะที่คุณครูสอนหรือจัดกิจกรรมอยู่เขานอนกล้ิงไปมาในห้อง ไม่สนใจคุณครูเลย พอทกั เขาปบั๊ เขากจ็ ะรสู้ กึ ตวั นงั่ ไดแ้ ปบ๊ นงึ ไมถ่ งึ 2 วนิ าที ผปู้ กครองบอกวา่ เดก็ เลน่ สมารท์ โฟน เล่นเกม ก็เลยพยายามคุยกับผู้ปกครองว่าพยายามลดนะ หากิจกรรมอ่ืนให้เด็กทำ�แทน ให้เขาออกห่างจากสมาร์ทโฟนให้ได้มากที่สุด ตอนนี้เด็กสามารถที่จะออกจากตรงนั้น ได้บา้ งแล้วอย่างนอ้ ยจำ�กัดเวลาให้เขารวู้ ่าเล่นได้เวลาไหน กิจกรรมที่ให้ฝึกทกั ษะ EF พอมาดู ตอนน้ีเกดิ ความเปล่ยี นแปลงขน้ึ มาก เขาจะเป็นเดก็ ที่นงั่ นิ่งได้สามารถรอคอยได”้

ครนู ดิ โรงเรยี นบ้านขามศึกษาคาร 44 ถอดบทเรียน

การสรา้ งภูมคิ มุ้ กนั ยาเสพติดในเดก็ ปฐมวัยด้วยการพัฒนาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พนื้ ทเ่ี ชยี งราย สุรนิ ทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

ตอบโจทย์ ป.ป.ส. อยา่ งไร

“เรอ่ื งอารมณเ์ ดก็ เปน็ สง่ิ ทสี่ �ำ คญั แลว้ กเ็ รอ่ื งการรจู้ กั ก�ำ กบั ตนเองประเมนิ ตนเอง มุง่ ส่เู ปา้ หมาย ถ้าเดก็ ฝึกทกั ษะ EF ตรงนี้มา เชอื่ แนไ่ ด้เลยวา่ จะเกิดการฝงั แนน่ เพราะวา่ เราวางพน้ื ฐานตงั้ แตป่ ฐมวยั ถา้ เดก็ มที กั ษะการยงั้ คดิ การไตรต่ รองกอ่ นทจี่ ะท�ำ อะไรอยา่ ง ถี่ถ้วนแล้ว ถ้าผ่านข้ันตอนตรงนั้นมาได้เด็กจะสามารถคิดวิเคราะห์และตัดสินใจในสิ่งที่ ถูกต้องได้ค่ะ ในอนาคตเมื่อเขาเข้าสู่วัยรุ่น ซ่ึงเป็นวัยที่อยากรู้อยากลอง ถ้าเขาถูกฝัง เร่อื งทกั ษะ EF ไวใ้ นสมองของเขา เชอ่ื ว่าเขาสามารถแยกแยะผดิ ถกู ชว่ั ดี ได”้

ครนู ิด โรงเรยี นบา้ นขามศึกษาคาร

“ศตวรรษท่ี 21 เป็นโลกแห่งการท่ีเราจะต้องเตรียมเยาวชนของเราให้พร้อม ที่จะสู้กับโลกในอนาคต ผู้เรียนจะต้องมีการคิดแบบมีวิจารณญาณมีการคิดในเชิงเหตุผล เพอ่ื ไปอยใู่ นสงั คมไดเ้ วลามปี ญั หาตา่ ง ๆ ผเู้ รยี นกส็ ามารถผา่ นอปุ สรรคปญั หานน้ั ไปไดค้ ะ่ ”

ดร.นจุ รี ม.ราชภัฏสุรินทร์

ถอดบทเรยี น 45

การสรา้ งภมู ิคุ้มกนั ยาเสพติดในเดก็ ปฐมวยั ดว้ ยการพัฒนาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พ้นื ที่เชียงราย สรุ ินทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

บแลทะกสารรสปุ าคนวตา่อมสำ�เรจ็

เพ่ือไปถงึ เป้าหมาย “หลังจากมกี ระบวนการเรยี นการสอนทกั ษะ EF ส�ำ หรบั เด็กปฐมวัย ก็มีข้อสังเกตว่าเด็กนักเรียนท่ีผ่านกระบวนการทักษะ นี้มีความเปล่ียนแปลงทางด้านการประพฤติปฏิบัติเป็นอย่างมาก เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั เดก็ ประถมแลว้ ผมวา่ นา่ จะพดู งา่ ยและดกี วา่ เดก็ ประถมด้วยกันนะครับ ก็เลยคิดว่าถ้ากระบวนการน้ีได้ถ่ายทอดให้ ครบทุกช้ันน่าจะเป็นเร่ืองที่ดี แต่อย่างน้อยปฐมวัยต้องดำ�เนินการ ให้ได้ทุกคนก่อน น่าจะมีความพร้อมทุกช้ันต่อไปส่งผลให้คุณภาพ การเรียนได้ดขี ึน้ นะครับ” นายบรรพต ดาสี ผ้อู ำ�นวยการโรงเรียนบา้ นขามศึกษาคาร “ตอนที่เราไปทำ� MOU มหาวิทยาลัยราชภัฏกับมูลนิธิ เดก็ นอ้ ยพฒั นาเราเอาEFเปน็ ฐานของการพฒั นาเรามองวา่ การพฒั นา ไม่ได้หยุดอยู่ที่นักศึกษา ครู อาจารย์ เท่านั้น เราเกิดข้อคิดในเชิง นโยบายใหมว่ า่ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ควรเป็นฐานเปน็ แหล่งวิชาการ ใหก้ บั ชมุ ชน เราอยากต้ังเป็นศนู ย์ EF และเปน็ ความรู้ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั EF ใหก้ บั ชมุ ชนหรือหนว่ ยงานอน่ื ๆ อันนค้ี ือ สว่ นท่ี 1 สว่ นที่ 2 เราอยากเนน้ งานวจิ ยั เรอ่ื ง EF ตอนนก้ี �ำ ลงั พฒั นา อาจารย์ให้ท�ำ ผลงานวิจัยทาง EF เพ่ือทจี่ ะขยายองค์ความรูเ้ ก่ยี วกับ EF ใหก้ ว้างข้นึ

46 ถอดบทเรยี น การสร้างภูมคิ มุ้ กนั ยาเสพติดในเด็กปฐมวัยดว้ ยการพัฒนาทักษะสมอง (EF) ใน 4 พืน้ ทเี่ ชยี งราย สุรนิ ทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

ส่วนท่ี 3 ที่เราไปคุยกับมูลนิธิก็คือ เราจะให้มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรนิ ทรเ์ ป็นจุดเรม่ิ ต้นแลว้ จะขยายไปมหาวิทยาลัยราชภฏั ท่ัวประเทศ ว่าราชภัฏ ทั่วประเทศจะต้องเป็นแหล่งทางวิชาการท่ีจะอบรม ตอนน้ีเราทำ� Pre-Service Learning กบั นักศึกษา แตต่ อ่ ไปจะท�ำ In-Service Learning กับคณุ ครทู จี่ บท่ี ท�ำ งานอยใู่ นโรงเรยี นหรอื ในศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ในจงั หวดั สรุ นิ ทรม์ ี 500 กวา่ ศนู ย์ ท�ำ อยา่ งไรถงึ จะขับเคล่ือนเร่ือง EF ได้ เราจะให้มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ทัว่ ประเทศ เปน็ ฐานของการพฒั นาครแู ละเราจะเปน็ ตวั อยา่ งของหลกั สตู รทจ่ี ะน�ำ ขบั เคลอื่ น ของการพฒั นาคณุ ครทู วั่ ประเทศแลว้ กใ็ หค้ ณุ ครไู ปสเู่ ดก็ และผปู้ กครอง เราก�ำ ลงั ขบั เคลอ่ื นกนั อยวู่ า่ ท�ำ อยา่ งไรทจ่ี ะท�ำ ใหม้ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั เปน็ ฐานของการ พัฒนาครใู นระบบให้ได้คะ่ ”

ผศ.ดร.คนึง สายแก้ว

“เบอื้ งตน้ ในสว่ นที่1ในสว่ นของการเรยี น 47 การสอน เราสนับสนนุ EF ในรายวชิ าเอกของการ ศึกษาปฐมวัยเอาไว้กอ่ นนะคะ ต่อไปเราจะขยับไป ในส่วนของรายวิชาชีพครู ซึ่งนักศึกษาครูทุกคน ต้องเรียน และในระดับต่อไปก็วางแผนว่าจะขยับ ในสว่ นของรายวชิ าการศกึ ษาทว่ั ไปซง่ึ นกั ศกึ ษาทกุ คนในมหาวทิ ยาลยั ต้องเรยี นค่ะ ส่วนท่ี 2 ส่วนของการบริการวิชาการ เรามีทั้งผู้เชี่ยวชาญของคณะฯ ไปจดั อบรมใหก้ บั ครู ผปู้ กครอง ในสว่ นของการเตรยี มพรอ้ มทง้ั เกย่ี วกบั กระทรวง ศึกษาธิการ สำ�นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา เทศบาล รวมถึงองค์การบริหาร สว่ นต�ำ บลในส่วนตา่ ง ๆ สว่ นที่ 3 คอื พฒั นาองคค์ วามรใู้ หมโ่ ดยอาจารยข์ องเรากท็ �ำ วจิ ยั ในสว่ น ของการพฒั นา EF ดว้ ยค่ะ เป็นความตง้ั ใจทจี่ ะเปน็ ต้นแบบ เป็น Best Practice ที่ดีหรือเป็นลักษณะของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซ่ึงกันและกันกับส่วนอ่ืนที่พัฒนา ในสว่ นของกระบวนการ EF ค่ะ”

ดร.นุจรี ม.ราชภฏั สรุ ินทร์ ติดตอ่ ขอข้อมูล ผศ.ดร.คนงึ สายแกว้ นกั วชิ าการดา้ นการศึกษาปฐมวัย 095-364-2981 น.ส.ณัฏฐณิชา หม้อทอง (ครูนดิ ) โรงเรียนบา้ นขามศึกษาคาร 098-447-8997

ถอดบทเรยี น

การสรา้ งภมู คิ ุม้ กันยาเสพติดในเดก็ ปฐมวัยด้วยการพฒั นาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พืน้ ท่ีเชียงราย สรุ นิ ทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

48 ถอดบทเรยี น การสร้างภูมิคมุ้ กนั ยาเสพตดิ ในเด็กปฐมวยั ด้วยการพฒั นาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พืน้ ทเี่ ชยี งราย สุรินทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

ระยอง EFเอกชนจบั มือทอ้ งถน่ิ

ขบั เคลื่อน ทั้งจงั หวดั

จังหวัดระยองขับเคล่ือนโครงการ EF ทั้งจังหวัด ตามนโยบายของ ผู้วา่ ราชการจังหวัด ทเี่ หน็ ความสำ�คัญและลงนาม MOU ร่วมกับหน่วยงานรัฐ ท้องถิ่น เอกชน และทุกภาคส่วนในจังหวัด เพื่อแก้ปัญหาสังคมและปัญหา ยาเสพติด มุ่งเน้นพัฒนาตั้งแต่เด็กปฐมวัยซึ่งเป็นช่วงวัยสำ�คัญ โดยผลักดัน การใช้ EF ในศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก ขยายผลสูโ่ รงเรยี น และชุมชน ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ (ศพด.) วัดห้วยโปง่ สังกัดกองการศึกษา เทศบาล เมืองมาบตาพุด อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง หน่ึงในพ้ืนท่ีเข้มแข็งของโครงการ EF จังหวัดระยอง แบ่งการเรียนการสอนสำ�หรับเด็กเล็กก่อนระดับชั้นอนุบาล ออกเปน็ 4 หอ้ ง และก�ำ ลงั ขยายเป็นระดบั ช้ันอนบุ าล 1 ตามนโยบายรฐั บาล โรงเรียนเทศบาลวัดโขดทมิ ทาราม สงั กดั กองการศึกษา เทศบาลนคร ระยอง อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง เปน็ อีกแห่งหนงึ่ ที่มีความเขม้ แขง็ ในการน�ำ EF ไปพัฒนาทักษะเด็กเล็กระดับชั้นอนุบาล และเตรียมขยายไปสู่ระดับช้ัน ประถมศกึ ษา ถอดบทเรยี น 49

การสร้างภูมคิ มุ้ กันยาเสพติดในเดก็ ปฐมวยั ดว้ ยการพฒั นาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พ้ืนท่เี ชยี งราย สรุ นิ ทร์ ระยอง นครศรธี รรมราช

จดุ เร่มิ ต้น EF จังหวดั ระยอง “ประมาณปี 2558 ที่ไปอบรมของ สำ�นักงาน ป.ป.ส. ตอนแรกยังไม่เข้าใจค่ะ ป.ป.ส. ก็แจกสื่อมาให้ เป็นบัตรคำ�ท่ัวไป แต่ครูยังไม่รู้จักการนำ�มาใช้ประโยชน์ พอปี 2560 ได้อบรมร่วมกิจกรรมกับบริษัทดาว และสถาบันรักลูก เลยรู้ว่า EFเป็นการฝึก ทักษะทางสมองส่วนหน้า แต่ก็ยังไม่รู้ อกี วา่ เปน็ ยงั ไง ซงึ่ เขากม็ กี ารอบรมมาเรอื่ ย ๆ คะ่ ” นางพรเพ็ญ ประดิษฐ์ (ครปู อ้ ม) หวั หน้า ศพด.วัดหว้ ยโปง่ “เร่ิมแรก EF เข้ามาสู่โรงเรียนด้วย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ร่วมกับ สำ�นักงาน ป.ป.ส. อบรมครูส่วนหนึ่งเพื่อจะ พฒั นา EF มเี ปา้ หมายเพอ่ื ลดปญั หายาเสพตดิ ต อ น น้ั น ส่ ง ค รู ไ ป อ บ ร ม แ ล ะ ใ ห้ ก ลั บ ม า ดำ�เนินการโดยท่ีเราเองไม่ได้กำ�กับติดตาม ว่ า สุ ด ท้ า ย ป ล า ย ท า ง เ ข า ไ ป ไ ด้ แ ค่ ไ ห น จนกระทง่ั ในปี 2559 ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ระยองไดก้ �ำ หนดเปน็ นโยบาย การพัฒนาทักษะ EF ให้กับนักเรียนในระดับช้ันอนุบาล หรือช้ันก่อน อนบุ าล ในจังหวดั ระยอง ตวั เองจงึ ไดไ้ ปอบรม EF และให้ความส�ำ คญั ในการใช้ EF สอนเดก็ มากขึ้น”

นางสภุ ลักษณ์ ตั้งกลชาญ ผ้อู �ำ นวยการโรงเรยี นเทศบาลวดั โขมทมิ ทาราม 50 ถอดบทเรยี น

การสร้างภูมคิ ุ้มกันยาเสพติดในเดก็ ปฐมวัยด้วยการพฒั นาทกั ษะสมอง (EF) ใน 4 พ้ืนทเ่ี ชยี งราย สุรินทร์ ระยอง นครศรีธรรมราช

ทักษะสมอง EF (Executive Functions) คืออะไร

EF หรือ Executive Function คือ ความสามารถที่เกิดจากการทำงานของสมองส่วนหน้าที่ช่วยให้คนเราสามารถควบคุม ความคิด อารมณ์ พฤติกรรม เพื่อให้ได้ผลลัพท์ที่ตนต้องการสำเร็จ โดยมีชื่อเรียกในภาษาไทยได้หลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็น “ความสามารถในการจัดการ” “ทักษะที่จำเป็นในการทำกิจที่มีเป้าหมาย” หรือ “ทักษะการคิด”

EF สำคัญต่อช่วงวัยอย่างไร

วัยเด็ก EF สำคัญอย่างมากต่อความสำเร็จด้านการเรียนเพราะเด็กใช้มันเพื่อจดจำเนื้อหาที่เรียน ทำตามคำสั่ง ได้ต่อเนื่อง หลีกเลี่ยงต่อสิ่งเร้าที่จะทำให้วอกแวกกับการทำงาน ปรับตัวเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบ แก้ปัญหาต่างๆ ได้เหมาะสม และทำงานที่ได้รับมอบหมายเป็นเวลายาวนานได้นอกจากเรื่องการเรียนแล้วยัง ช่วยเรื่องสังคม เช่น การ ...

กิจกรรมเสริมEFมีอะไรบ้าง

5 กิจกรรม สนุกส่งเสริมทักษะ EF.

1.เล่นเกมที่เริ่มมีกฎ.

เช่น บอร์ดเกม หมากรุก หมากเก็บ.

2.บทบาทสมมุติ.

เช่น การเล่นพ่อแม่ลูก การแสดงบทละคร สวมบทบาทเป็นตัวละครในการ์ตูนที่ชอบ.

4.วาดรูประบายสี.

5.เล่นนักสำรวจ.

เช่น เกมซ่อนของ เดินป่า จับแมลง.

EF สำคัญกับเด็กปฐมวัยอย่างไร

ประโยชน์ของการพัฒนาทักษะสมอง EF ในเด็ก รู้จักยับยั้งและควบคุมตนเองเพื่อไม่ให้ทำสิ่งที่ไม่เหมาะสม แม้ว่าจะถูกชักชวนหรือมีสิ่งกระตุ้นมาล่อ มีความยืดหยุ่นทางความคิด สามารถปรับเปลี่ยนความคิดได้ เมื่อเงื่อนไขหรือสถานการณ์เปลี่ยนไป ไม่ยึดติดกับแนวคิดใด ๆ อย่างตายตัว มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถคิดนอกกรอบได้

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf