Duty tax สำหร บอาหารเสร ม ก เปอร เซ นต

50 ค�ำ ศัพทไ์ ทย-อังกฤษ สำ�หรับตดิ ตอ่ ราชการและการประชมุ ระหวา่ งประเทศ การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกจิ ของสงั คม Stabilization Function ภารกิจของรัฐบาลจะต้องควบคุม ดูแลให้เศรษฐกิจของสังคมเป็นไปด้วย ความราบรนื่ ดว้ ยการรกั ษาระดบั การจา้ งงานใหอ้ ยใู่ นอตั ราสงู ระดบั ราคาสนิ คา้ และบรกิ าร มเี สถยี รภาพ รวมท้งั มีอัตราการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจ (Economic Growth) อยใู่ น ระดบั ทีน่ า่ พอใจ การวดั ผลการดำ�เนินงาน Performance Measurement การวัดผลการดำ�เนินงานในภาพใหญ่ ได้แก่ การวัด การวิเคราะห์ และ การ จดั การความรู้ ซงึ่ ประกอบดว้ ย 2 หมวดยอ่ ยดว้ ยกนั คอื (1) การวดั วเิ คราะหแ์ ละปรบั ปรงุ ผลการดำ�เนินการ และ (2) การจัดการสารสนเทศ ความรู้ และเทคโนโลยีสารสนเทศ สำ�หรับในบทความน้ีก็จะขอลงในรายละเอียดในเรื่องของกระบวนการวัดผลการดำ�เนิน การขององค์การ การประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน Performance Appraisal (30) กระบวนการประเมินค่าของบุคคลผู้ปฏิบัติงานในด้านต่างๆ ท้ังผลงานและคุณ ลกั ษณะอน่ื ๆ ทม่ี คี า่ ต่อการปฏบิ ตั ิงานภายในระยะเวลาทก่ี �ำ หนดไว้อย่างแน่นอน ภายใต้ การสงั เกต จดบนั ทึก และประเมนิ โดยหัวหนา้ งาน โดยอยูบ่ นพน้ื ฐานของความเป็นระบบ และมีมาตรฐานแบบเดียวกนั มีเกณฑ์การประเมนิ ที่มปี ระสิทธิภาพในทางปฏิบตั ิ และให้ ความเปน็ ธรรมโดยทว่ั กนั การจัดระบบการจดั ซื้อจัดจ้าง Procurement Management ระบบหรือกระบวนการในการจัดซื้อจัดจ้างของส่วนราชการ เพ่ือจะช่วยลดการ สูญเสียงบประมาณและความคุ้มค่าคุ้มทุน เป็นภาระที่สำ�คัญของทุกส่วนราชการท่ีจัด ระบบและวางแผนในการจัดซื้อจัดจ้างให้มีประสิทธิภาพ ท่ีจะบ่งบอกว่าจะจัดซ้ือจัดจ้าง พสั ดุชนิดไหน จ�ำ นวนเท่าไร ในเวลาใด และจะจดั อย่างไร เพอ่ื ให้ไดม้ าซ่งึ ทรัพยากรท่ใี ช้ ในการดำ�เนินงานได้ทันเวลา มีปริมาณ คุณภาพ มีราคาท่ีเหมาะสม และสมประโยชน์ ในการใช้ ในปัจจุบันมีการนำ�ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government Procurement: e-GP) เข้ามาใช้แทนระบบเดิม เพื่อความรวดเร็ว ถกู ตอ้ ง ชัดเจน โปร่งใส ยตุ ธิ รรม และตรวจสอบไดใ้ นทุกขั้นตอนการจัดซ้อื จัดจา้ ง

โครงการส่อื การเรยี นรู้ “อาเซียน กรู ”ู (Learning Package) 51 การตรวจสอบภายใน Internal Audit กิจกรรมการให้ความเชือ่ ม่นั และการใหค้ �ำ ปรกึ ษาอยา่ งเที่ยงธรรมและเปน็ อสิ ระ ซ่ึงจัดให้มีข้ึนเพ่ือเพ่ิมคุณค่าและปรับปรุงการปฏิบัติงานของราชการให้ดีขึ้นด้วยการ ตรวจสอบภายใน จะช่วยให้สว่ นราชการบรรลุเป้าหมายและเปา้ ประสงค์ท่ีก�ำ หนดไว้ด้วย การประเมนิ และปรบั ปรงุ ประสทิ ธผิ ลของกระบวนการบรหิ ารความเสยี่ ง การควบคมุ และ การกำ�กบั ดูแลอย่างเทยี่ งธรรม การควบคุมภายใน Internal Controlling กระบวนการการปฏิบัติงานที่ผู้กำ�กับดูแลฝ่ายบริหารและบุคลากรในองค์การ ก�ำ หนดขึ้น เพ่ือให้เกดิ ความเชือ่ ม่ันในการบรรลวุ ตั ถุประสงคใ์ นเรอ่ื งตอ่ ไปน้ี (1) ความมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลของการด�ำ เนนิ งาน ซงึ่ รวมถงึ การปอ้ งกนั รกั ษาทรพั ย์สนิ (2) ความเชอื่ ถือไดข้ องข้อมูลและรายงานทางการเงิน การป้องกนั การทจุ รติ และขอ้ ผิดพลาด (3) การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ การบริหารคณุ ภาพ Quality Management: QM การจัดการระบบคุณภาพโดยทุกคนท่ีเกี่ยวข้องท้ังภายในและภายนอกองค์การ รบั ผดิ ชอบตอ่ งานทต่ี นเองกระท�ำ อยา่ งเตม็ ทเ่ี พอ่ื ใหส้ นิ คา้ และบรกิ ารเปน็ ไปตามตอ้ งการของ ลูกค้า เชน่ การใชร้ ะบบการบรหิ ารคุณภาพสมบรู ณ์แบบ (Total Quality Management หรือ TQM) การควบคมุ คุณภาพ Quality Control: QC กจิ กรรมและกลวธิ กี ารปฏบิ ตั เิ พอ่ื สนองความตอ้ งการดา้ นคณุ ภาพภายในองคก์ าร โดยการตรวจสอบ การวัด และการทดสอบท่ีมุ่งจะควบคุมวัตถุดิบ กระบวนการ และ การก�ำ จดั สาเหตขุ องขอ้ บกพรอ่ งทเี่ กดิ ขน้ึ จากการด�ำ เนนิ การทง้ั หมด การควบคมุ คณุ ภาพ เน้นการตรวจสอบ และแยกแยะของดีและของเสียออกจากกัน โดยระบุเป็นร้อยละของ ของเสียที่พบจากล็อตการผลิต เพื่อควบคุมมิให้ของเสียมีมากเกินกว่าที่กำ�หนด และใน ปัจจบุ นั การควบคมุ คุณภาพมุ่งเน้นทข่ี องเสยี ต้องเปน็ ศูนย์ (Zero Defect)

52 คำ�ศพั ทไ์ ทย-อังกฤษ ส�ำ หรบั ติดต่อราชการและการประชุมระหวา่ งประเทศ การลงทนุ ในโครงการขนาดใหญ่ของภาครฐั Mega Projects โครงการลงทุนขนาดใหญภ่ าครัฐ (Mega Projects) เป็นโครงการที่สว่ นราชการ และรัฐวิสาหกิจลงทุน โดยมีวงเงินลงทุนตั้งแต่ 1,000 ล้านบาทข้ึนไป และมีระยะเวลา ด�ำ เนนิ การในชว่ งแผน 4 ปี กรมบัญชกี ลาง CGO: Comptroller General’s Office หรือ Comptroller General’s Department: CGD เปน็ กรมในกระทรวงการคลงั มอี �ำ นาจหนา้ ทคี่ วบคมุ และก�ำ หนดระบบบญั ชขี อง รัฐบาลไทย ระบบบัญชขี องสว่ นราชการและรัฐวิสาหกจิ ก�ำ หนดหลกั เกณฑแ์ ละปรบั ปรุง แก้ไขกฎหมาย รวมทั้งระเบียบการเงินการคลัง บริหารเงินคงคลังของประเทศให้เพียง พอต่อการใช้จ่ายของรัฐบาล ทั้งท่ีเป็นเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ กำ�หนด เงนิ เดือนคา่ จา้ ง ตลอดจนบ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญและเงนิ ตอบแทนของขา้ ราชการและลูกจ้าง คณะกรรมการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ NESDB: National Economic and Social Development Board ต้ังขึ้นตามข้อกำ�หนดในพระราชบัญญัติพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2521 มหี นา้ ทสี่ �ำ คญั คอื เสนอแนะและใหค้ วามเหน็ เกย่ี วกบั การพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศตอ่ คณะรฐั มนตรี พจิ ารณาแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ กับขอ้ เสนออ่ืนๆ ของ สศช. แลว้ ทำ�ความเหน็ เสนอตอ่ คณะรัฐมนตรี เสนอความเหน็ ตอ่ นายกรัฐมนตรีในกิจการเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศตามท่ี นายกรฐั มนตรขี อใหพ้ จิ ารณา และจดั ใหม้ กี ารประสานงานระหวา่ ง สศช. กบั สว่ นราชการ และรัฐวสิ าหกิจท่ีเกี่ยวขอ้ งทัง้ ในดา้ นการจัดท�ำ แผนงาน โครงการพัฒนา และในดา้ นการ ปฏิบัติตามแผนงาน เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ

โครงการสือ่ การเรียนรู้ “อาเซียน กูร”ู (Learning Package) 53 ผลิตภณั ฑม์ วลรวมในประเทศเบื้องต้น Gross Domestic Product: GDP มูลค่าตลาดของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตในประเทศในช่วงเวลาหนึ่งๆ โดยไม่คำ�นึงว่าผลผลิตนั้นจะผลิตข้ึนมาด้วยทรัพยากรของชาติใด ซ่ึงคิดค้นโดย Simon Kuznets นักเศรษฐศาสตร์ชาวรัสเซีย ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศสามารถใช้เป็นตัว บง่ ชถี้ งึ มาตรฐานการครองชพี ของประชากรในประเทศนนั้ ๆ อยา่ งไรกต็ าม GDP เปน็ ดชั น ี ชว้ี ดั ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมของประเทศ แตไ่ ม่สามารถช้ีวดั คุณภาพชีวิตทีแ่ ท้จรงิ ได้ รายจา่ ยสาธารณะ Public Expenditure รายจา่ ยรฐั บาลหรอื รายจา่ ยสาธารณะ หมายถงึ รายจา่ ยทรี่ ฐั บาลไดใ้ ชจ้ า่ ยไปเพอ่ื การดำ�เนินงานอันเป็นภาระหน้าที่ของรัฐโดยท่ัวไป และการจัดให้มีสินค้าและบริการอัน เปน็ ประโยชนแ์ กป่ ระชาชนในประเทศโดยส่วนรวม “การใชจ้ า่ ยของรัฐบาล” เป็นเครอ่ื ง มือทางการคลังควบคู่กับการหารายได้ของรัฐบาล เพื่อก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงทาง เศรษฐกจิ ใหเ้ ปน็ ในทางทร่ี ฐั บาลตอ้ งการ ทง้ั ในดา้ นการสง่ เสรมิ การเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ การกระจายรายได้ทเ่ี ป็นธรรม และการรกั ษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ ระบบการบริหารผลการปฏบิ ัติงาน Performance Management System: PMS คือ เครื่องมือท่ีสะท้อนให้เห็นถึงผลงานและคุณภาพของงาน รวมถึงภาพรวม ความสำ�เร็จขององค์การและพนักงานรายบุคลากร เป็นเคร่ืองมือที่เช่ือมโยงการวางแผน เชิงกลยุทธ์กับการปฏิบัติงานของบุคลากรในทุกระดับ ช่วยให้ผู้บริหารสามารถนำ�วิสัย ทศั นแ์ ละแผนงานของสว่ นราชการมาเปน็ เปา้ หมายทว่ี ดั ได้ และผกู โยงเขา้ กบั วตั ถปุ ระสงค ์ เปา้ หมาย ภารกิจ และการวดั ผลการด�ำ เนินงานขององคก์ ารเข้าด้วยกนั วิธีการงบประมาณ Budget Procedure วธิ กี ารงบประมาณ มีความหมายเช่นเดียวกบั ค�ำ วา่ “กระบวนการงบประมาณ” (Budget Process) และคำ�ว่า “วงจรงบประมาณ” (Budget Cycle) กล่าวคือ ทั้ง

54 คำ�ศัพท์ไทย-อังกฤษ สำ�หรบั ตดิ ตอ่ ราชการและการประชมุ ระหวา่ งประเทศ 3 ค�ำ น้ีต่างก็มคี วามหมายถึงกิจการทุกข้ัน เร่ิมตั้งแต ่ การประมาณการรายรับ-รายจ่าย จนกระทั่งถึงข้ันท่ีรัฐบาลเสนอรายงานการรับ-จ่ายประจำ�ปีต่อรัฐสภาช้ันต่างๆ ของ กระบวนการหรือวิธีการงบประมาณแผ่นน้ีมีอยู่หลายช้ันด้วยกัน ถ้าจะจำ�แนกออกเป็น ขั้นตอนทสี่ ำ�คัญๆ แล้ว กจ็ ะมอี ยู่ 3 ข้ันตอน คอื (1) ข้ันตอนการจดั เตรยี มงบประมาณ (2) ข้ันตอนการอนมุ ตั ิงบประมาณ (3) ขน้ั ตอนการบรหิ ารงบประมาณ วิธีการจดั ท�ำ งบประมาณแบบเบื้องบนสเู่ บอ้ื งลา่ ง Top-down Process เปน็ วธิ กี ารจดั ท�ำ งบประมาณในลกั ษณะเบอื้ งบนก�ำ หนดวงเงนิ ให้ แลว้ สว่ นราชการ และรฐั วสิ าหกจิ จดั ท�ำ รายละเอยี ดค�ำ ของบประมาณใหแ้ กร่ ฐั มนตรแี ละสว่ นราชการจะตอ้ ง พิจารณาจัดสรรและจัดทำ�งบประมาณให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตินโยบายกระทรวง ทบวง กรม ภายในกรอบของวงเงิน ที่ไดร้ บั วธิ ีการก�ำ หนดงบประมาณจากลา่ งขนึ้ ส่เู บื้องบน Bottom-up Process เปน็ วธิ กี ารจดั สรรงบประมาณแบบวเิ คราะหร์ ายละเอยี ดค�ำ ขอตง้ั งบประมาณของ ส่วนราชการ (Bottom-up Process) ทจ่ี ัดท�ำ เสนอข้ึนมา งบการเงิน Financial Statement หมายถึง รายงานการเงินที่แสดงฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงาน ของ กิจการในระยะเวลาใดเวลาหน่ึง ณ วันสน้ิ งวดบญั ชี อาจจะเป็นระยะเวลา 3 เดอื น 6 เดือน หรือ 1 ปี สว่ นประกอบของงบการเงินท่สี มบรู ณ์ ควรประกอบด้วย (1) งบดลุ (Balance Sheet) (2) งบกำ�ไรขาดทุน (Profit and Loss Statement) (3) งบแสดงการ เปล่ียนแปลงในสว่ นของเจ้าของ (Statement of Changes in Owner’s Equity) (4) งบ กระแสเงินสด (Cash Flow Statement) (5) หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ (Note to Financial Statement)

โครงการสอื่ การเรยี นรู้ “อาเซยี น กูรู” (Learning Package) 55 งบประมาณเงนิ สด Cash Budget การวางแผนการใช้จ่ายเงนิ ระยะสน้ั ในแต่ละปี เพ่อื ใหท้ ราบวา่ มีการรบั และจา่ ย เงินสดระหว่างเดอื นเปน็ จำ�นวนเท่าใด มีเงนิ เพยี งพอ มีเงนิ สดคงเหลือเป็นจ�ำ นวนเทา่ ใด 2.1.2 คำ�ศพั ท์เกยี่ วกับระบบการจัดท�ำ งบประมาณแผน่ ดนิ งบประมาณแผ่นดนิ Legislative Budget แผนเก่ียวกับการใช้จ่ายของรัฐบาล และการจัดหารายรับให้เพียงพอกับ การใชจ้ า่ ยในรอบระยะเวลาหนงึ่ โดยปกตมิ รี ะยะเวลา 1 ปี ดงั น้นั จงึ เรียกว่า งบประมาณ แผ่นดินประจ�ำ ปี ซึ่งจะเร่ิมต้นในวันที่ 1 ตุลาคมของปี ไปจนถึงวนั ที่ 30 กนั ยายนของปี ถดั ไป นโยบายงบประมาณสมดลุ Balanced Budget Policy นโยบายการประมาณการใหร้ ายจา่ ยประจ�ำ ปเี ทา่ กบั ประมาณการรายไดใ้ นปนี นั้ ๆ งบประมาณทร่ี ายไดข้ องรฐั บาลรวมกนั แลว้ เทา่ กบั รายจา่ ยของรฐั บาลพอดี ดงั นน้ั รฐั บาล ไม่จ�ำ เปน็ ตอ้ งกเู้ งนิ มาใชจ้ ่าย หรอื นำ�เงนิ คงคลงั ออกมาใช้ นโยบายงบประมาณขาดดุล Deficit Budget Policy การก�ำ หนดใหม้ กี ารจดั ท�ำ งบประมาณการรายจา่ ยสงู กวา่ งบประมาณการรายได้ ในปเี ดยี วกนั ซงึ่ ท�ำ ใหเ้ กดิ การกยู้ มื เงนิ หรอื น�ำ เงนิ ส�ำ รองมาใชจ้ า่ ยเพม่ิ เตมิ ในปงี บประมาณ ดังกล่าว นโยบายงบประมาณเกนิ ดลุ Surplus Budget Policy การประมาณการให้รายจ่ายประจำ�ปีตำํ่�กว่าประมาณการรายได้ในปีเดียวกัน แนวทางนี้ต้องเรียกว่าเป็นแนวเศรษฐกิจพอเพียง คือ การใช้จ่ายอย่างระมัดระวัง ไม่เกนิ ตัวนั่นเอง

56 ค�ำ ศัพทไ์ ทย-อังกฤษ สำ�หรบั ติดตอ่ ราชการและการประชุมระหวา่ งประเทศ ระบบงบประมาณแบบดง้ั เดิม Line-item Budget or Traditional Budgeting System ระบบงบประมาณท่ีเก่าแก่ท่ีสุด ระบบนี้จะมุ่งเน้นที่วัตถุประสงค์การควบคุม การใชจ้ ่ายเงนิ อย่างประหยดั เท่าที่จ�ำ เปน็ ระบบงบประมาณแบบมงุ่ เนน้ ผลงาน Performance Budgeting ระบบงบประมาณท่ีให้ความสนใจความสัมพันธ์ระหว่างค่าใช้จ่าย (Cost) และ ผลสำ�เร็จของงาน (Achievement) เน้นประสิทธิภาพ (Efficiency) หรือวิธีการในการ ระบุพันธกิจ (Mission) เป้าหมาย และวัตถุประสงค์อย่างเป็นระบบ มีการประเมินผล อย่างสม่ําเสมอ โดยเชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรที่ใช้เพ่ือให้ได้ผลผลิตและผลลัพธ์ ตามทีก่ �ำ หนดไว้ ระบบงบประมาณแบบแผนงาน Planning Budgeting System: PBS จดุ มงุ่ หมายส�ำ คญั ของระบบน้ี คอื การเชอื่ มโยงระหวา่ งวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมาย กบั แผนงานและกจิ กรรม เพอื่ ใหม้ กี ารเชอ่ื มโยงการจดั สรรงบประมาณเขา้ กบั การวางแผน และเพอ่ื ใหก้ ารจดั สรรทรพั ยากรเปน็ ไปอยา่ งเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาทกี่ �ำ หนด ระบบงบประมาณแบบเพิ่มยอดเงนิ Incremental Budgeting ระบบงบประมาณทอ่ี าศยั งบประมาณและรายจา่ ยจรงิ ปกี อ่ นเปน็ เกณฑใ์ นการขอ และการพจิ ารณาเพ่ิมงบประมาณ ระบบงบประมาณแบบฐานศนู ย์ Zero-based Budgeting พจิ ารณางบประมาณจากฐานศนู ย์ โดยมไิ ดย้ ดึ ถอื งบประมาณทไ่ี ดใ้ นปที แ่ี ลว้ และ ปนี ้เี ป็นหลกั แตพ่ จิ ารณาจากความจ�ำ เป็นและความเหมาะสม ระบบงบประมาณรวมศูนย์ Centralized Budgeting System ระบบงบประมาณท่รี าชการบริหารสว่ นกลางเปน็ ผู้จดั ทำ�

โครงการส่ือการเรียนรู้ “อาเซยี น กูรู” (Learning Package) 57 ระบบงบประมาณแบบกระจายอ�ำ นาจ Decentralization Budgeting System ระบบงบประมาณท่ีเป็นหน้าที่ของราชการบริหารส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถ่ิน เป็นผจู้ ดั ทำ� 2.2 คำ�ศพั ทเ์ ก่ียวกบั ระบบบัญชแี ละการเงินการคลัง (32) 2.2.1 ค�ำ ศพั ทเ์ กย่ี วกับระบบการเงนิ การคลงั 2.2.2 คำ�ศัพท์เกี่ยวกับระบบบัญชีและภาษี 2.2.1 ค�ำ ศพั ทเ์ กีย่ วกับระบบการเงนิ การคลัง การคลัง Finance การศึกษาถึงหลักการวิธีการจัดหารายรับ (Government Revenue) การ ใช้จ่ายของรัฐบาล (Government Expenditure) หน้ีของรัฐบาลหรือหนี้สาธารณะ (Government Debt or Public Debt) นโยบายการคลงั (Fiscal Policy) และการบรหิ าร การคลงั (Financial Administration) ซงึ่ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ตา่ งๆ เหลา่ นเี้ ปน็ กจิ กรรม ท่ีสง่ ผลตอ่ การใชท้ รพั ยากร ภาวะการบรโิ ภคและการผลิตของประชาชนอย่างรอบดา้ น การเงินระดบั ฐานราก Microfinance กจิ กรรมทางการเงนิ ทเี่ นน้ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื แกป่ ระชาชนผมู้ รี ายไดน้ อ้ ยหรอื วสิ าหกจิ รายยอ่ ย การกู้เงนิ จากแหลง่ ใหม่ Refinance การกู้เงินจากแหล่งใหม่ท่ีมีเงื่อนไขเงินกู้ดีกว่าแหล่งเดิม เพื่อนำ�ไปใช้คืน แหลง่ เงนิ กเู้ ดิม ซ่ึงเปน็ การลดตน้ ทนุ การขยายระยะเวลาเงนิ กู้ Roll Over การขยายระยะเวลาเงินกู้ออกไปอีก หลังจากที่เงินกู้นั้นได้ครบกำ�หนดชำ�ระคืน เงินต้น ทั้งนี้ เพื่อให้เงินกู้ดังกล่าวมีระยะเงินกู้สอดคล้องกับระยะคืนทุนสำ�หรับโครงการ ลงทนุ หนึ่งๆ

58 คำ�ศพั ท์ไทย-อังกฤษ สำ�หรบั ติดตอ่ ราชการและการประชมุ ระหวา่ งประเทศ กองทุนรวม Mutual Fund กองทุนทรัพย์สินที่จัดตั้งและบริหารโดยบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม หรอื เรยี กยอ่ ๆ วา่ “บลจ.” มวี ตั ถปุ ระสงคท์ จ่ี ะน�ำ เงนิ ทไี่ ดจ้ ากการจ�ำ หนา่ ยหนว่ ยลงทนุ แก ่ ผู้ลงทุนไปลงทนุ ในหลกั ทรพั ย์ประเภทตา่ งๆ ดัชนีรวมเตอื นภยั ดา้ นการคลัง Fiscal Crisis Composite Index ผลรวมของดัชนีตัวชี้นำ�หรือตัวชี้วัดปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสภาวะด้านการคลัง โดยจะสง่ สญั ญาณเตอื นภยั ลว่ งหนา้ กอ่ นการเกดิ วกิ ฤตการคลงั ซง่ึ สามารถจ�ำ แนกตวั ชวี้ ดั ตามลกั ษณะความเสย่ี งดา้ นการคลงั ไว้ 4 ดา้ น คอื ดา้ นสถานการณก์ ารคลงั ดา้ นเศรษฐกจิ มหภาค ดา้ นความยั่งยนื ทางการคลัง และดา้ นโครงสร้างการคลัง ความยง่ั ยืนทางการคลัง Fiscal Sustainability ความมเี สถยี รภาพดา้ นการคลงั ในระยะปานกลางและระยะยาว ซงึ่ แนวความคดิ ในการกำ�หนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง 4 ด้าน คือ (1) การรักษาเสถียรภาพของสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อผลิตภัณฑ์มวลรวม ในประเทศ (GDP) (2) ความสามารถของรฐั บาลในการจดั เกบ็ รายไดเ้ พยี งพอตอ่ การช�ำ ระหน้ี ทงั้ ที่ เป็นเงินต้นและดอกเบีย้ (3) ความสามารถในการจดั สรรงบประมาณรายจา่ ย โดยไมเ่ บยี ดบงั งบประมาณ ในการพฒั นาประเทศ (4) การดำ�เนินนโยบายการคลังของรัฐบาลไม่ก่อให้เกิดปัญหาเสถียรภาพของ เศรษฐกจิ อยา่ งรุนแรง ดอกเบีย้ Interest ตน้ ทนุ ของการกยู้ มื ซงึ่ ผขู้ อกจู้ ะตอ้ งจา่ ยใหผ้ ใู้ หก้ ู้ เพอื่ เปน็ การคมุ้ ครองความเสย่ี ง ในกรณีที่ผู้กู้เกิดการเบ้ียวหน้ี และรวมไปถึงค่าเสียโอกาสที่ผู้ให้กู้จะได้ ถ้านำ�เงินจำ�นวน น้นั ๆ ไปลงทุนในรปู แบบอนื่

โครงการสื่อการเรียนรู้ “อาเซียน กรู ู” (Learning Package) 59 ดุลการช�ำ ระเงิน Balance of Payments ผลสรุปของการทำ�ธุรกรรม (Economic Transactions) ระหว่างผู้มีถิ่นฐาน ในประเทศ (Residents) กับผู้มีถ่ินฐานในต่างประเทศ (Nonresidents) ในช่วง ระยะเวลาใดเวลาหน่ึง ดุลเงินสดกอ่ นกู้ Cash Deficit or Surplus รายได้รัฐบาลหักลบด้วยรายจ่ายรัฐบาล (ทั้งในและนอกงบประมาณ) ที่ไม่รวม การกู้เงินเพอ่ื ชดเชยการขาดดุล ดุลบญั ชเี งนิ ทนุ Capital and Finance Account (16) ธรุ กรรมทเี่ กี่ยวข้องกับสนิ ทรพั ยแ์ ละหนี้สินระหว่างผู้มถี ่ินฐานในประเทศ กับผู้มี ถนิ่ ฐานในตา่ งประเทศ โดยสนิ ทรพั ยจ์ ะแสดงถงึ สทิ ธใิ นการเรยี กรอ้ ง ขณะทหี่ นส้ี นิ จะแสดง ถึงภาระทจ่ี ะถกู เรยี กรอ้ ง ประกอบด้วย บญั ชีทนุ (Capital Account) และบญั ชกี ารเงนิ (Financial Account) ดลุ บัญชเี ดินสะพดั Current Account ผลรวมสทุ ธิของดลุ การค้า ดุลบริการ ดุลรายได้ และดุลเงินโอนและบรจิ าค ความเสี่ยงด้านการคลงั Fiscal Risk สถานการณ์ที่รัฐบาลไม่ได้ดำ�เนินนโยบายทางการคลังได้อย่างเหมาะสมซึ่งจะมี ผลให้เกิดความเสี่ยงหรือความออ่ นแอทางการคลังในอนาคตข้ึนได้ คา่ เงินแขง็ คา่ ข้ึน Appreciation การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนที่ส่งผลให้ค่าเงินของสกุลหนึ่ง แพงกว่า คา่ เงนิ สกุลท่ีเปรียบเทยี บ เชน่ ปี 2548 คา่ เงนิ บาทอยทู่ ่ี 41 บาท/เหรียญสหรัฐ ปี 2549 ค่าเงนิ บาทอยูท่ ่ี 38 บาท/เหรยี ญสหรัฐ แสดงวา่ ค่าเงินบาทแพงขน้ึ หรอื แข็งค่าขนึ้

60 ค�ำ ศัพทไ์ ทย-อังกฤษ ส�ำ หรบั ตดิ ต่อราชการและการประชมุ ระหวา่ งประเทศ ค่าเงนิ บาทที่แท้จรงิ Real Effective Exchange Rate ดัชนีค่าเงินบาทท่ีนำ�ผลของราคามาคำ�นวณด้วย เพราะหากราคาสินค้า ท้ังในประเทศหรือต่างประเทศเปลี่ยนแปลง จะทำ�ให้กำ�ลังซ้ือของเงินแต่ละสกุล เปลย่ี นแปลงไป คา่ เงินอ่อนคา่ ลง Depreciation การเปล่ียนแปลงของอัตราแลกเปล่ียนท่ีส่งผลให้ค่าเงินของสกุลหน่ึงถูกกว่า ค่าเงินสกุลทเ่ี ปรียบเทียบ เชน่ ปี 2538 คา่ เงินบาทอยทู่ ่ี 27 บาท/เหรยี ญสหรฐั ปี 2540 คา่ เงนิ บาทอยทู่ ่ี 42 บาท/เหรยี ญสหรัฐ แสดงวา่ คา่ เงินบาทถกู ลงหรอื อ่อนค่าลง เงินส�ำ รองระหว่างประเทศ International Reserves, Reserves Assets สินทรัพย์ต่างประเทศที่ถือครองหรือควบคุมโดยธนาคารกลาง และสามารถ น�ำ มาใช้ประโยชน์ทนั ทที ่จี ำ�เปน็ เงินสำ�รองระหวา่ งประเทศ ประกอบดว้ ย ทองคำ� สทิ ธิ พิเศษ ถอนเงิน (Special Drawing Rights: SDR) สินทรัพย์ส่งสมทบกองทุนการเงิน ระหว่างประเทศ และสินทรัพย์ในรูปเงนิ ตราต่างประเทศ ตว๋ั เงนิ คลงั Treasury Bill หมายถงึ ตราสารหนีร้ ะยะสน้ั ที่มีอายไุ มเ่ กิน 1 ปี ท่รี ัฐบาลโดยกระทรวงการคลงั เปน็ ผอู้ อกจ�ำ หนา่ ยโดยวธิ ปี ระมลู และช�ำ ระเงนิ ในราคาสว่ นลด (Discount) เมอื่ ครบก�ำ หนด ผู้ถือกรรมสิทธิ์จะได้รับเงินเต็มจำ�นวนตามราคาหน้าตั๋ว ซ่ึงปัจจุบันรัฐบาลไทยได้ออกต๋ัว เงินคลงั ที่มีอายุ 28 วัน 91 วนั และ 182 วนั เพ่ือบริหารเงนิ สดในบัญชเี งนิ คงคลัง นโยบายการเงนิ Money Policy การใช้เครื่องมือทางการเงินของธนาคารกลาง เพ่ือควบคุมระดับปริมาณเงินใน ระบบเศรษฐกิจนโยบายกึ่งการคลัง กิจกรรมที่ดำ�เนินการตามนโยบายของรัฐบาลผ่าน สถาบันการเงินภาครัฐ ซ่ึงกิจกรรมดังกล่าวจะไม่ถูกบันทึกในรายการงบประมาณ (Off-Balance Sheet)

โครงการสือ่ การเรียนรู้ “อาเซียน กรู ”ู (Learning Package) 61 พันธบตั ร Bond ตราสารหนี้ระยะยาวท่ีออกโดยรัฐบาล รัฐวิสาหกิจที่เป็นองค์การของรัฐ และ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย ซงึ่ ผอู้ อกมขี อ้ ผกู พนั ตามกฎหมายทจ่ี ะช�ำ ระดอกเบยี้ และเงนิ ตน้ แกผ่ ้ซู ื้อตามเวลาทีก่ ำ�หนด พันธบตั รหรอื ห้นุ ก้สู กุลเงนิ บาท Baht Bond พนั ธบตั รหรอื หนุ้ กสู้ กลุ เงนิ บาททอี่ อกโดยสถาบนั การเงนิ ระหวา่ งประเทศ รฐั บาล หรอื สถาบนั การเงนิ ของรฐั บาลตา่ งประเทศเสนอขายในประเทศไทย ถอื เปน็ สว่ นหนงึ่ ของ ตลาดตราสารหนใ้ี นประเทศ พันธบัตรออมทรพั ย์ Saving Bond พันธบัตรรัฐบาลประเภทออมทรัพย์ ที่ประชาชนโดยท่ัวไปสามารถลงทุนได้ใน ตลาดแรก และมกั มขี ้อกำ�หนดเวลาโอนเปล่ียนมือเอาไว้ พนั ธบตั รเอเชยี Asian Bond พันธบัตรท่ีออกในภูมิภาคเอเชียโดยรัฐบาลหรือภาคเอกชน ซ่ึงส่วนใหญ่เป็น หนว่ ยงานหรอื บรษิ ทั ทมี่ รี ากฐานอยใู่ นภมู ภิ าค มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื การระดมเงนิ ทนุ ส�ำ หรบั ใชใ้ นการลงทุนหรือด�ำ เนนิ งานขององคก์ าร ภาคการเงนิ Financial Sector ระบบการจดั สรรเงนิ ทนุ อนั ประกอบดว้ ยธนาคารและสถาบนั การเงนิ และตลาด ตราสารทุนและตราสารหน้ี ท่ีทำ�ให้เกิดการหมุนเวียนแลกเปล่ียนในเงินทุนระหว่างผู้ท่ีมี ความต้องการเงินทุนกบั ผูท้ ี่มเี งนิ ทุนพร้อมใหก้ ูย้ มื ระบบสัญญาณเตือนภยั ทางดา้ นการคลัง Fiscal Early Warning System: FEWS เคร่ืองมือท่ีช่วยให้ทราบถึงสถานภาพด้านการคลังของรัฐบาลว่า ขณะนี้มีความ แข็งแกรง่ หรือมแี นวโน้มความออ่ นแอด้านการคลงั หรือไม่ อยา่ งไร และมีความนา่ จะเปน็ ในการเกิดวิกฤตการณด์ ้านการคลงั (Fiscal Crisis) มากนอ้ ยเพยี งใด

62 ค�ำ ศัพทไ์ ทย-องั กฤษ สำ�หรบั ติดต่อราชการและการประชุมระหว่างประเทศ ระบบอัตราแลกเปลีย่ นแบบลอยตวั Managed Float ระบบอัตราแลกเปลี่ยนท่ีถูกกำ�หนดโดยกลไกตลาดส่วนหนึ่งและทางการกำ�กับ อกี ส่วนหนึ่ง ระยะเวลาปลอดการช�ำ ระหน้เี งนิ ต้น Grace Period ระยะเวลาท่ีเจ้าหน้ีกำ�หนดไว้เป็นเง่ือนไขให้แก่ลูกหนี้ยังไม่ต้องจ่ายคืนเงินต้น (Principal Repayment) ให้แก่เจ้าหน้ี อย่างไรก็ดี ลูกหน้ียังคงมีภาระจ่ายคืนดอกเบี้ย ทีเ่ กิดจากเงินกนู้ น้ั ให้แกเ่ จา้ หนี้ตามปกติ รายไดจ้ ัดเก็บของรฐั บาล Gross Revenue รายไดห้ ลกั ของรัฐบาลไทย ประกอบด้วย 3 แหลง่ ส�ำ คญั คือ (1) รายได้จากการจัดเก็บภาษีของ 3 กรมในสังกัดกระทรวงการคลัง ได้แก่ กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร (2) รายไดจ้ ากสว่ นราชการอ่นื เช่น คา่ ใบอนุญาตค่าธรรมเนียม คา่ เช่า คา่ ปรบั รายไดเ้ บ็ดเตล็ด เป็นต้น (3) รายไดจ้ ากรฐั วสิ าหกจิ ประกอบดว้ ย จดั สรรรายไดจ้ ากก�ำ ไรสทุ ธิ รายไดจ้ าก เงนิ ปนั ผล และรายไดจ้ ากการแปรรปู รัฐวิสาหกิจ สภาพคลอ่ ง Liquidity ระดับความยากในการแปลงสินทรัพยเ์ ป็นเงนิ เพื่อนำ�มาใชป้ ระโยชน์ โดยเงนิ สด เปน็ สินทรัพยท์ ่มี ีสภาพคลอ่ งสูงสุด เพราะสามารถน�ำ มาใช้จ่ายไดท้ นั ทีในขณะทีส่ นิ ทรพั ย์ อน่ื ๆ เช่น พนั ธบัตร หรือท่ีดิน มสี ภาพคล่องตา่ํ กวา่ อัตราเงินเฟ้อ Inflation อัตราการเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาผู้บริโภคในระยะเวลาหน่ึงเปรียบเทียบกับ อีกระยะเวลาหน่ึง

โครงการสอื่ การเรียนรู้ “อาเซยี น กรู ู” (Learning Package) 63 อัตราเงินเฟ้อพน้ื ฐาน Core Inflation อตั ราการเปลยี่ นแปลงของดชั นรี าคาผบู้ รโิ ภคทไี่ มร่ วมราคาสนิ คา้ หมวดพลงั งาน และอาหารสด ซง่ึ มีการเปล่ียนแปลงสงู หรือทเี่ รยี กวา่ ดัชนีราคาผู้บริโภคพ้ืนฐานในระยะ เวลาหนงึ่ เปรยี บเทยี บกบั อกี ระยะเวลาหนงึ่ ซง่ึ เงนิ เฟอ้ พน้ื ฐานในปจั จบุ นั ถกู ใชเ้ ปน็ เปา้ หมาย การด�ำ เนินนโยบายการเงินของไทย 2.2.2 คำ�ศพั ทเ์ กี่ยวกับระบบบญั ชแี ละภาษี การขาดดุล Deficit การทเี่ งนิ ไหลออกมากกวา่ ไหลเขา้ หรอื รายจา่ ยมากกวา่ รายได้ ซง่ึ มกั จะอยใู่ นรปู ของการขาดดลุ บญั ชเี ดนิ สะพดั การขาดดลุ การคา้ และการขาดดลุ งบประมาณของรฐั บาล การชดเชยคา่ ภาษีอากร Tax Compensation มาตรการที่ช่วยเหลอื ผ้สู ง่ ออก โดยลดภาระค่าภาษีอากรท่แี ฝงอย่ใู นวตั ถดุ บิ ท่ใี ช้ ในการผลติ สนิ คา้ สง่ ออก สนิ คา้ ทอี่ ยใู่ นขา่ ยจะไดร้ บั เงนิ ชดเชยเปน็ ไปตามระเบยี บทก่ี �ำ หนด ไว้ ตามพระราชบญั ญตั ชิ ดเชยคา่ ภาษอี ากรสนิ คา้ สง่ ออกทผ่ี ลติ ในราชอาณาจกั ร พ.ศ. 2544 การช�ำ ระคืนหนกี้ ่อนครบก�ำ หนด Prepayment โดยการนำ�งบประมาณของรัฐบาลหรือรายได้รัฐวิสาหกิจมาชำ�ระคืน เพื่อลด ยอดหนี้สาธารณะและลดภาระดอกเบี้ยในอนาคต การเชา่ ซื้อ Hire-Purchase การซื้อทรัพย์สินโดยการทยอยจ่ายค่าทรัพย์สินรวมดอกเบ้ียเป็นรายงวด โดย ผู้เช่าซ้ือมีสิทธิใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินน้ัน และเมื่อจ่ายครบจำ�นวนเงินและระยะเวลา ตามสัญญาเชา่ ซือ้ ผเู้ ช่าซ้ือจะได้เป็นเจ้าของทรพั ย์สินน้ัน

64 ค�ำ ศัพทไ์ ทย-องั กฤษ สำ�หรบั ติดต่อราชการและการประชุมระหวา่ งประเทศ การปรับโครงสร้างหน้ี Debt Restructuring การดำ�เนินการจัดการโครงสร้างหนี้สาธารณะ โดยใช้เคร่ืองมือทางการเงินและ โอกาสทต่ี ลาดการเงนิ เอือ้ อ�ำ นวยในการท�ำ Prepayment Roll over Refinancing และ Swap Arrangement มีวัตถุประสงค์เพื่อลดต้นทุนการกู้เงินภายใต้กรอบความเสี่ยงท่ี เหมาะสม การแปลงสินทรพั ยเ์ ปน็ ทุน Securitization การบริหารจัดการทรัพย์สินของภาครัฐท่ีมีการอนุญาต ยินยอม หรือมอบให้ ประชาชนครอบครองใช้ประโยชน์อยู่ และทรัพย์สินของภาคเอกชน บางประเภทให้ สามารถนำ�ทรัพยส์ ินน้ันๆ มาขอกเู้ งนิ สด เพือ่ ให้ประชาชนได้เข้าถึงแหล่งเงินทนุ ในระบบ การหลบเล่ยี งภาษี Tax Avoidance การใชช้ อ่ งโหวข่ องกฎหมายภาษี เพอ่ื เลย่ี งภาษหี รอื เสยี ภาษใี หน้ อ้ ยลง โดยอาศยั การตีความกฎหมายภาษีให้เป็นประโยชน์ต่อผู้เสียภาษี ท้ังท่ีอาจขัดกับเจตนารมณ์ของ กฎหมายภาษนี น้ั ๆ การกดี กนั การคา้ ทีไ่ ม่ใช่ภาษี Non-Tariff Barriers: NTBs การกีดกนั การคา้ โดยใช้มาตรการอ่นื ซ่ึงไม่ใชอ่ ากรขาเขา้ เชน่ การกำ�หนดโควตา นำ�เข้า การกำ�หนดมาตรฐานสุขอนามัย การอุดหนุนการส่งออก การทุ่มตลาด และ การขอใบอนญุ าตสิทธิการน�ำ เข้า เปน็ ต้น การใหส้ ิทธปิ ระโยชน์ทางดา้ นภาษีศลุ กากรในกรอบของอาเซยี น ASEAN Integration System of Preferences: AISP โครงการทส่ี มาชกิ อาเซยี นเดมิ ไดแ้ ก่ ประเทศบรไู น อนิ โดนเี ซยี มาเลเซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ไทย สิงคโปร์ ให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีท่ีให้กับสมาชิกอาเซียนใหม่คือ ประเทศกัมพูชา ลาว พมา่ และเวยี ดนาม ซง่ึ อัตราภาษีอยู่ในระหวา่ ง ร้อยละ 0 - 5 ระยะเวลาการให้สทิ ธิ ประโยชนเ์ ริม่ ตัง้ แต่วนั ท่ี 1 มกราคม 2545 ถงึ 31 ธันวาคม 2552

โครงการส่อื การเรยี นรู้ “อาเซยี น กูรู” (Learning Package) 65 เขตปลอดอากร Customs Free Zone: CFZ มาตรการภายใต้กฎหมายของกรมศุลกากร ซึ่งกำ�หนดให้รัฐวิสาหกิจหรือ บริษัทมหาชนยื่นคำ�ขอจัดตั้งเขตพ้ืนท่ีสำ�หรับการประกอบอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือกิจการอื่นท่ีเป็นประโยชน์แก่การเศรษฐกิจของประเทศ โดยต้องไม่เป็นการจัดตั้ง เพ่ือประโยชน์ของผู้ประกอบกิจการในเขตปลอดอากรเพียงรายเดียวหรือรายใดรายหนึ่ง โดยเฉพาะ คลงั สินค้าทัณฑบ์ น Bonded Warehouse สถานที่ที่กรมศุลกากรกำ�หนดให้เป็นเขตพ้ืนที่เฉพาะให้ผู้ประกอบการสามารถ น�ำ วัตถดุ บิ จากตา่ งประเทศเข้ามาผลิต ผสม ประกอบภายในเขตดงั กลา่ ว เพือ่ เป็นสินค้า สำ�เรจ็ รูปสง่ ออกต่อไป โดยไดร้ ับงดเวน้ การเกบ็ อากรขาเขา้ และอากรขาออก คา่ ธรรมเนยี ม Fee เงนิ ทเี่ สยี เพอ่ื แลกกบั การไดร้ บั สทิ ธเ์ิ ฉพาะตวั ในการใชบ้ รกิ ารจากรฐั เชน่ การเกบ็ ค่าผ่านทาง ค่าสมั ปทาน เป็นตน้ ค่าลดหยอ่ น Tax Allowance รายการตา่ งๆ ทก่ี ฎหมายก�ำ หนดใหห้ กั เพม่ิ ขนึ้ ไดภ้ ายหลงั จากไดห้ กั คา่ ใชจ้ า่ ยตา่ งๆ แล้ว เพ่ือเป็นการบรรเทาภาระภาษีให้แก่ผู้เสียภาษี ก่อนนำ�เงินได้ท่ีเหลือซึ่งเรียกว่าเงิน ได้สุทธิไปคำ�นวณภาษตี ามบญั ชีอตั ราภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา เชน่ หักคา่ ลดหย่อนบตุ ร หกั คา่ ลดหย่อนเบ้ยี ประกนั ภยั หักค่าลดหย่อนเงนิ บริจาค เปน็ ต้น เงินไดพ้ งึ ประเมิน Taxable Income เงนิ ไดข้ องบคุ คลใดๆ หรอื หนว่ ยภาษใี ดทเ่ี กดิ ขนึ้ ระหวา่ งปภี าษ ี (1 มกราคม - 31 ธันวาคม) ภายหลังจากทไ่ี ด้ทำ�การหักคา่ ใชจ้ ่ายและคา่ ลดหย่อนท่ีจำ�เปน็ แลว้

66 ค�ำ ศพั ทไ์ ทย-อังกฤษ ส�ำ หรับตดิ ต่อราชการและการประชุมระหวา่ งประเทศ เงินปนั ผล Dividend ส่วนของกำ�ไรท่ีบริษัท (หรือกองทุนรวม) แบ่งจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญและ หุ้นบุริมสิทธิ (หรือผู้ถือหน่วยลงทุน) ตามสิทธิของแต่ละหุ้นปันผลแก่ หุ้นบุริมสิทธิ มกั ก�ำ หนดไว้ตายตัวเป็นร้อยละของราคาตราไว้ พกิ ดั อัตราศลุ กากร Customs Tariff Heading เลขรหัสสนิ ค้าท่ใี ช้อ้างอิงในการจัดเกบ็ ภาษีศุลกากร โดยปจั จบุ ันประเทศไทยใช้ เลขรหสั สินคา้ ตามหลกั สากลทเี่ รยี กว่า รหัสฮารโ์ มไนซ์ (Harmonized Code) ดัชนีคา่ เงินบาท Nominal Effective Exchange Rate ค่าเฉล่ียของค่าเงินบาทเทียบกับสกุลเงินของประเทศคู่ค้า โดยถ่วงน้ําหนักตาม ความส�ำ คญั ทางการค้า ภาระภาษี Tax Burden ภาระภาษปี ระกอบดว้ ย 2 สว่ น ไดแ้ ก่ (1) ภาระตกต้องเบอ้ื งต้นของภาษอี ากร (Impact) หรือภาระภาษีตามกฎหมาย คอื จำ�นวนเงนิ ทบ่ี คุ คลตอ้ งจ่ายเปน็ คา่ ภาษีให้แก่ รัฐตามกฎหมาย (2) ภาระภาษีท่แี ทจ้ รงิ (Incidence) คือ ผลสดุ ทา้ ยหลังจากมีการผลกั หรือกระจายภาระภาษีให้กบั บคุ คลหรอื กลุม่ ต่างๆ ภาษเี งินได้นิติบุคคล Corporate Income Tax: CIT ภาษที เี่ รยี กเกบ็ จากการประกอบการในรปู นติ บิ คุ คล โดยปกตใิ ชก้ �ำ ไรสทุ ธทิ ไี่ ดร้ บั จากการประกอบการในรอบระยะเวลา 1 ปีปฏิทินเป็นฐานในการจัดเก็บภาษีอัตราภาษี เงนิ ได้นิติบุคคลของไทย โดยทวั่ ไปเทา่ กบั รอ้ ยละ 30 ภาษีเงินไดบ้ คุ คลธรรมดา Personal Income Tax: PIT ภาษีจัดเก็บจากบุคคลทั่วไป ตามหลักแหล่งเงินได้ (Source Rule) กำ�หนดให้ ชำ�ระภาษีตามปีปฏิทิน โดยแสดงรายการภาษีและชำ�ระภาษีภายในเดือนมีนาคมของ ปีถัดไป

โครงการสอ่ื การเรยี นรู้ “อาเซยี น กูร”ู (Learning Package) 67 ภาษฐี านการค้าระหวา่ งประเทศ International Trade-based Tax รายไดข้ องรฐั บาลทม่ี าจากการจดั เกบ็ จากฐานภาษที างออ้ ม ทจ่ี ดั เกบ็ จากการคา้ ระหวา่ งประเทศ เชน่ ภาษอี ากรศลุ กากรน�ำ เขา้ และสง่ ออก ซง่ึ จะสามารถใชป้ ระเมนิ ภาวะ ธุรกรรมการคา้ ระหว่างประเทศของภาคประชาชนและธุรกจิ ภาษีฐานการบรโิ ภค Consumption-based Tax รายได้ของรัฐบาลท่ีมาจากการจัดเก็บจากฐานภาษีทางอ้อม ที่จัดเก็บจาก การบรโิ ภคต่างๆ เชน่ ภาษีมลู ค่าเพ่ิม ภาษีสรรพสามติ เปน็ ตน้ ซงึ่ จะสามารถใช้ประเมิน ภาวะการบรโิ ภคของภาคประชาชนและธุรกจิ ภาษีฐานรายได้ Income-based Tax รายได้ของรัฐบาลที่มาจากการจัดเก็บจากฐานภาษีทางตรง ได้แก่ ภาษีเงินได้ บคุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล และภาษีเงินไดป้ ิโตรเลยี ม ซง่ึ จะสามารถใชป้ ระกอบ การประเมนิ ภาวะรายได้ของภาคประชาชนและภาคธุรกจิ ภาษีตอบโต้การทมุ่ ตลาด Anti-Dumping Duty: AD ภาษีที่เรียกเก็บจากผู้นำ�เข้าสินค้าจากต่างประเทศ เนื่องจากผู้ส่งออกใน ตา่ งประเทศไดส้ ง่ สนิ คา้ นนั้ เขา้ มาเพอ่ื ประโยชนใ์ นทางพาณชิ ยใ์ นราคาทตี่ าํ่ กวา่ ราคาจ�ำ หนา่ ย ในประเทศของตนหรอื ในราคาท่ตี ํ่ากว่าต้นทุนการผลิต ภาษที างตรง Direct Tax ภาษีที่ผู้จ่ายผลักภาระให้ผู้อื่นรับแทนไม่ได้ หรือผลักภาระได้แต่เพียงส่วนน้อย เช่น ภาษเี งินไดบ้ คุ คลธรรมดา ภาษเี งินไดน้ ติ ิบคุ คล ภาษีทรัพยส์ นิ ภาษีมรดก เปน็ ตน้ ภาษที างออ้ ม Indirect Tax ภาษีท่ีผูจ้ า่ ยสามารถผลักภาระใหผ้ อู้ น่ื ได้ เชน่ ภาษมี ลู คา่ เพ่มิ ภาษีธรุ กิจเฉพาะ ภาษนี �ำ เข้า ภาษสี ่งออก ภาษีสรรพสามิต เป็นตน้

68 ค�ำ ศัพทไ์ ทย-อังกฤษ ส�ำ หรบั ตดิ ตอ่ ราชการและการประชุมระหวา่ งประเทศ ภาษีมลู ค่าเพมิ่ Value Added Tax: VAT ภาษีการขายทั่วไป (General Sales Tax) ประเภทหน่ึงจัดเก็บจากมูลค่าของ สินค้าหรือบริการส่วนท่ีเพ่ิมขึ้นในแต่ละขั้นตอน ท้ังท่ีผลิตภายในประเทศและนำ�เข้า (ภาษมี ลู คา่ เพิ่ม = ภาษซี อ้ื - ภาษีขาย ปจั จบุ ันอตั ราภาษีมลู คา่ เพ่ิมส�ำ หรบั การขายสนิ ค้า และบริการทั่วไปเท่ากับร้อยละ 10 แต่ได้มีการตรา พระราชกฤษฎีกาลดหย่อนอัตรา โดยจัดเก็บจริงรอ้ ยละ 7 ภาษีศลุ กากร Customs Tariff ภาษีสำ�หรับสินค้าผ่านแดนเก็บจากผู้นำ�เข้า (อากรขาเข้า) และผู้ส่งออก (อากรขาออก) ภาษสี รรพสามติ Excise Tax ภาษีการขายเฉพาะอย่าง (Specific Sales Tax) ประเภทหนึ่งจัดเก็บจาก สินค้าและบริการท่ีใช้หรือมีการบริโภคภายในประเทศในอัตราตามมูลค่าหรือตามสภาพ หรืออัตราตามมูลค่าและตามสภาพ แล้วแต่อัตราใดจะสูงกว่า และยกเว้นหรือให้คืน ภาษสี รรพสามติ แกส่ ว่ นท่สี ง่ ออก ภาษหี กั ณ ทจ่ี า่ ย Withholding Tax ภาษีท่ีจัดเกบ็ เพือ่ อำ�นวยความสะดวกแกผ่ เู้ สียภาษบี รรเทาภาระจากการจา่ ยค่า ภาษีคร้ังเดียวท้ังจำ�นวน รวมทั้งช่วยให้รัฐสามารถจัดเก็บภาษีได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย โดย กำ�หนดให้แหล่งเงินได้เป็นผู้หักเงินภาษีตามอัตราท่ีกำ�หนดในกฎหมาย และนำ�เงินที่หัก ไว้แลว้ ส่งแกร่ ฐั แทน ระบบการใหส้ ิทธิพเิ ศษทางภาษีศลุ กากร Generalized System of Preference: GSP ประเทศพัฒนาแล้วให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรแก่สินค้าที่มีแหล่งกำ�เนิดใน ประเทศทกี่ �ำ ลงั พฒั นา โดยลดหยอ่ นหรอื ยกเวน้ อากรขาเขา้ แกส่ นิ คา้ ทอี่ ยใู่ นขา่ ยไดร้ บั สทิ ธิ พเิ ศษทางการคา้ ทง้ั นี้ ประเทศผใู้ หส้ ทิ ธพิ เิ ศษฯ จะเปน็ ผใู้ หแ้ ตฝ่ า่ ยเดยี วไมห่ วงั ผลตอบแทน ใดๆ ท้งั สน้ิ ประเทศผ้ใู ห้ GSP ปจั จุบนั มีอยู่ 28 ประเทศ เช่น สหภาพยุโรป สหรฐั อเมริกา และญ่ปี ุ่น เป็นต้น

โครงการสือ่ การเรยี นรู้ “อาเซียน กรู ู” (Learning Package) 69 อัตราภาษกี า้ วหน้า Progressive Tax Rate การจดั เกบ็ ภาษหี ลายอตั รา ฐานภาษยี งิ่ สงู ยง่ิ ตอ้ งเสยี ภาษใี นอตั ราทสี่ งู เชน่ ภาษี เงนิ ได้บคุ คลธรรมดา มอี ตั ราภาษรี อ้ ยละ 5 – 37 เงินได้พงึ ประเมิน ยิง่ สงู ยิง่ ตอ้ งเสยี ภาษี ในอตั ราสงู อตั ราภาษีถดถอย Regressive Tax Rate การจัดเก็บภาษีหลายอัตรา ฐานภาษียิ่งสูงยิ่งเสียภาษีในอัตราตํ่า เช่น ภาษบี ำ�รุงท้องท่ี อัตราภาษที แ่ี ทจ้ รงิ Effective Tax Rate อัตราภาษีจริงที่ผู้เสียภาษีเผชิญ โดยคิดคำ�นวณจากจำ�นวนภาษีทั้งหมดท่ีจ่าย หารด้วยรายไดท้ ้ังหมดที่เป็นฐานในการเสียภาษี อากร Duty เงนิ ทร่ี ฐั บาลออกกฎหมายบงั คบั จดั เกบ็ จากผไู้ ดร้ บั ประโยชนจ์ ากบรกิ ารสาธารณะ แต่ภาระค่าอากรกับประโยชน์ที่ผู้น้ันได้รับไม่มีความสัมพันธ์โดยตรงต่อกัน เช่น อากรแสตมป์ อากรศลุ กากร อากรขาเขา้ Import Tariff ภาษีศุลกากรจดั เก็บจากการนำ�เขา้ สินค้ามาในราชอาณาจักร อากรขาออก Export Tariff ภาษศี ลุ กากรจดั เก็บจากการส่งออกสนิ คา้ ไปนอกราชอาณาจกั ร

70 คำ�ศพั ท์ไทย-อังกฤษ สำ�หรับติดตอ่ ราชการและการประชมุ ระหวา่ งประเทศ 2.3 ค�ำ ศัพท์ทีเ่ ก่ียวกับระบบเศรษฐกิจ กองทนุ รวมตราสารแหง่ หนี้ General Fixed Income Fund กองทุนรวมที่นำ�เงินไปลงทุนในตราสารแห่งหนี้ เช่น พันธบัตร ตั๋วเงินคลัง บตั รเงนิ ฝาก ตวั๋ สญั ญาใชเ้ งนิ ตวั๋ แลกเงนิ หนุ้ กู้ เปน็ ตน้ โดยจะไมล่ งทนุ ในหนุ้ หรอื ใบส�ำ คญั แสดงสทิ ธิที่จะซื้อหุ้น กองทนุ รวมผสม Balanced Fund กองทนุ รวมที่มีวัตถุประสงค์ทจี่ ะดำ�รงอัตราสว่ นการลงทุนในหรอื มไี ว้ซึง่ ตราสาร แหง่ ทนุ ในขณะใดขณะหนง่ึ ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 65 และไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 35 ของมลู คา่ ทรพั ยส์ นิ สุทธิของกองทุนรวม ดังน้ันกองทุนรวมผสมจะลงทุนทั้งในตราสารแห่งทุนและตราสาร แห่งหน้ี กองทุนรวมเพือ่ การเล้ียงชีพ Retirement Mutual Fund: RMF กองทุนรวมท่ีจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการออมระยะยาวเพ่ือ การการเลยี้ งชพี ของผถู้ อื หนว่ ยลงทนุ โดยผถู้ อื หนว่ ยลงทนุ สามารถน�ำ เงนิ ทจี่ า่ ยเขา้ กองทนุ รวมไปหกั คา่ ลดหย่อนในการคำ�นวณภาษเี งินไดต้ ามจ�ำ นวนท่ีกรมสรรพากรกำ�หนด การควบกิจการ Merger การท่ีบริษัทต้ังแต่ 2 บริษัทขึ้นไป รวมกิจการเข้าด้วยกัน โดยผลของการรวม อาจเกดิ เปน็ บริษทั ใหม่ หรือคงเหลอื เปน็ บรษิ ทั ใดบริษทั หนึ่งเพียงบรษิ ทั เดยี วกไ็ ด้ การจดั อนั ดับความนา่ เชอื่ ถือ Credit Rating การประเมนิ คุณภาพและความเสย่ี งของตราสารทางการเงนิ และความสามารถ ของผู้ออกตราสารในการช�ำ ระคืนเงนิ ตน้ และดอกเบ้ียตามเงอ่ื นไขและเวลาท่ีกำ�หนด เปน็ ข้อมลู ที่ผลู้ งทนุ ใช้ประกอบการตดั สนิ ใจในการลงทุน

โครงการสื่อการเรยี นรู้ “อาเซียน กรู ”ู (Learning Package) 71 การประมูลในตลาดตราสารหนี้ภาครฐั Bidding การประมลู โดยใชอ้ ตั ราดอกเบยี้ หรอื อตั ราผลตอบแทนเปน็ เกณฑต์ ดั สนิ ผลประมลู เช่น การประมูลพันธบัตรรัฐบาล ผู้ที่เสนออัตราผลตอบแทนต่ําที่สุดจะได้รับการจัดสรร พันธบัตร การประมูลในตลาดตราสารหนี้ภาครัฐผ่านระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ E-Bidding การประมูลตราสารหนี้รัฐบาลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ภายใต้ระบบที่ ตัวแทนจำ�หน่ายก�ำ หนดขึ้น โดยไดร้ บั ความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง การปนั่ หุ้น Securities Manipulation การซอ้ื ขายหลกั ทรพั ยใ์ ดๆ โดยบคุ คลหรอื กลมุ่ บคุ คล เพอื่ สรา้ งสภาพการซอื้ ขาย ให้ผิดไปจากภาวะท่ีเป็นจริงโดยเจตนาให้ผู้อื่นซ้ือหรือขายหลักทรัพย์ด้วยความเข้าใจผิด การกระท�ำ ดงั กลา่ วนถ้ี อื เปน็ ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั หิ ลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลกั ทรพั ย์ พ.ศ. 2535 ซ่ึงมบี ทก�ำ หนดโทษไวด้ ว้ ย การแปรรปู รฐั วสิ าหกจิ Privatization การเพ่ิมบทบาทของเอกชนในการบริหารรัฐวิสาหกิจ โดยรูปแบบการแปรรูป รฐั วิสาหกจิ มีอย่อู ยา่ งน้อย 7 รปู แบบ ได้แก่ (1) การท�ำ สัญญาจ้างเอกชนให้บรหิ ารงาน (Contract-out) (2) การทำ�สัญญาให้เอกชนเชา่ ด�ำ เนนิ การ (Lease Contract) (3) การใหส้ ัมปทานภาคเอกชน (Concession) (4) การกระจายหนุ้ ในตลาดหลักทรัพย์ (5) การรว่ มลงทนุ กับภาคเอกชน (Joint-Venture) (6) การใหเ้ อกชนลงทนุ ดำ�เนนิ การแต่รัฐรับซ้ือผลผลิต และ (7) การจำ�หน่ายจา่ ยโอนและยบุ เลกิ กิจการ (Trade Sale and Liquidation)

72 ค�ำ ศัพท์ไทย-อังกฤษ ส�ำ หรับติดต่อราชการและการประชุมระหว่างประเทศ การแปลงหน้ี Swap สามารถด�ำ เนนิ การได้ 2 วธิ ี คือ (1) การแปลงสกุลเงินหนึ่งไปอีกสกุลหน่ึง (Cross Currency Swap) เช่น การแปลงหนีจ้ ากสกุลเงนิ เยนเปน็ บาท (2) การแปลงอตั ราดอกเบย้ี (Interest Rate Swap) เชน่ การแปลงอตั ราดอกเบยี้ แบบคงทีเ่ ป็นอตั ราดอกเบีย้ แบบลอยตวั การรวมกล่มุ ทางเศรษฐกจิ Economic Integration การที่รัฐบาลประเทศต้ังแต่ 2 ประเทศข้ึนไป ตกลงนำ�ระบบเศรษฐกิจของตน มาเช่ือมกันเพอ่ื เสริมสร้างและรกั ษาประโยชนท์ างเศรษฐกิจ โดยการยกเลิกการเรียกเกบ็ ภาษีศุลกากร และมาตรการอน่ื ๆ ที่เป็นอปุ สรรคทางการคา้ ให้แกก่ ันและกนั การลงทนุ Investment การใชจ้ า่ ยเพอื่ ท�ำ ใหเ้ กดิ การผลติ สนิ คา้ และบรกิ ารในอนาคตเพมิ่ ขนึ้ ทง้ั นร้ี ายจา่ ย ในการลงทนุ ประกอบดว้ ย รายจา่ ยในการกอ่ สรา้ ง รายจา่ ยในการซอ้ื เครอื่ งมอื เครอ่ื งจกั ร ใหม่ และส่วนเปลี่ยนแปลงมลู ค่าสินคา้ คงเหลือ การว่าจา้ งแบบเหมาเบด็ เสรจ็ Turnkey การที่รัฐบาลว่าจ้างให้เอกชนดำ�เนินการก่อสร้าง จัดหาเงินลงทุนเพ่ือ การดำ�เนินงาน และเมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จรัฐบาลจะรับมอบทรัพย์สินและชำ�ระคืนเงิน ในการดำ�เนนิ โครงการดงั กล่าว การอุดหนุน Subsidy มาตรการที่รัฐบาลให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ผลิตหรือผู้ส่งออก เพื่อช่วยเพิ่มความ สามารถในการแขง่ ขันของสนิ ค้าหรอื บริการ

โครงการส่ือการเรยี นรู้ “อาเซยี น กรู ”ู (Learning Package) 73 ข้อตกลงว่าด้วยมาตรการการลงทนุ เก่ียวข้องกับการคา้ Trade-Related Investment Measures: TRIMs ข้อตกลง TRIMs อยู่ภายใต้ข้อตกลงระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิกองค์การ การค้าโลก (World Trade Organization - WTO) ประเทศสมาชิกมีพันธกรณีที่ต้อง ลดหรือยกเลิกพิกัดอัตราภาษีศุลกากร และมาตรการท่ีไม่ใช่ภาษี เพ่ือนำ�ไปสู่เป้าหมาย การแข่งขนั เสรีและเปน็ ธรรม ขอ้ ตกลงวา่ ด้วยมาตรการอดุ หนุนและการตอบโตก้ ารอุดหนุน Subsidies and Countervailing Measures: SCM ข้อตกลง SCM อยู่ภายใต้ข้อตกลงระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิก องค์การการค้าโลก (World Trade Organization - WTO) มีหลักเกณฑ์สำ�คัญท่ีเป็น ขอ้ หา้ มส�ำ คญั คอื หา้ มใชม้ าตรการใดๆ ทก่ี อ่ เกดิ การอดุ หนนุ เปน็ การเฉพาะ มผี ลตอ่ ความ สามารถในการสง่ ออก (Export Performance) หรอื มผี ลตอ่ การเลอื กใชส้ นิ คา้ ในประเทศ มากกว่าจะใช้สนิ ค้านำ�เข้า เขตอุตสาหกรรมสง่ ออก Export Processing Zone: EPZ มาตรการภายใต้กฎหมายของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยจัด เขตพ้ืนที่เฉพาะเพ่ืออำ�นวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการส่งออก โดยให้นักลงทุน ตั้งโรงงานผลิต ผสม ประกอบสินค้าเพ่ือการส่งออก มีลักษณะเป็นเสมือนเขต นอกราชอาณาจกั รไทย คอื ปลอดจากภาระภาษมี ลู คา่ เพมิ่ ภาษสี รรพสามติ และภาษอี นื่ ใด คณะกรรมการกำ�กบั หลกั ทรพั ย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) The Securities and Exchange Commission: SEC สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์จัดต้ังข้ึนตาม มาตรา 17 ของ พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 เพ่ือปฏิบัติการ ใดๆ ให้เป็นไปตามมติของคณะกรรมการ ก.ล.ต. และปฏิบัติงานอื่นตามบทบัญญัติแห่ง พ.ร.บ. หลักทรัพย์ มีหน้าที่วางนโยบายส่งเสริมและพัฒนา ตลอดจนกำ�กับดูแลธุรกิจ หลักทรัพย์ทั้งในตลาดแรกและตลาดรอง รวมถึงการป้องกันการกระทำ�อันไม่เป็นธรรม เกี่ยวกับการซ้อื ขายหลักทรัพย์

74 ค�ำ ศัพทไ์ ทย-องั กฤษ ส�ำ หรบั ติดตอ่ ราชการและการประชมุ ระหว่างประเทศ ความตกลงด้านทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา Trade-Related Aspects of Intellectual Property Rights: TRIPs ความตกลงภายใตอ้ งค์การการค้าโลก ซ่งึ มผี ลบงั คับใช้ในวันท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) ที่กำ�หนดมาตรฐานขั้นตํ่าของการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาที่ เกย่ี วกบั การคา้ (เชน่ ลขิ สทิ ธิ์ สทิ ธบิ ตั ร เครอ่ื งหมายการคา้ การออกแบบทางอตุ สาหกรรม แบบผังภูมขิ องวงจรรวม ความลบั ทางการคา้ สิง่ บง่ ช้ที างภมู ศิ าสตร)์ ความตกลงทวิภาคี Bilateral Agreement ความตกลงระหว่างรัฐบาลสองประเทศ เพ่ือให้สิทธิประโยชน์เป็นพิเศษ ระหว่างกนั ตามทร่ี ะบใุ นความตกลงนน้ั ความตกลงทางการค้า Trade Agreement มีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันท์มิตรและสร้างพ้ืนฐานทางการค้า ระหว่างประเทศทั้งสอง โดยภาคีคู่สัญญาท้ังสองจะพยายามพัฒนาความสัมพันธ์ ทางการค้า สนบั สนุน และอำ�นวยความสะดวกแกก่ ารสง่ เสรมิ และการท�ำ สญั ญาระหว่าง องคก์ ารและบรษิ ทั ท่เี กยี่ วข้อง ความร่วมมอื ระหว่างภาครัฐและเอกชน Public-Private Partnership: PPP การให้เอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการลงทุนโครงสร้างพ้ืนฐาน ซ่ึงเปล่ียนแปลง จากเดมิ ท่ีรัฐบาลเปน็ ผูก้ กู้ อ่ สร้างและบริหารโครงการเองทัง้ หมด เครอื ข่ายวสิ าหกจิ Cluster การเรียกกลุ่มธุรกิจที่มีลักษณะธุรกิจเช่นเดียวกันและรวมกันเป็นกลุ่ม ในเชงิ ภูมศิ าสตร์ เชน่ กลุ่มอุตสาหกรรมเซรามิค จงั หวัดล�ำ ปาง

โครงการสื่อการเรยี นรู้ “อาเซยี น กูรู” (Learning Package) 75 ดชั นีความเชอื่ มั่นทางธรุ กจิ Business Confidence Index ดชั นชี ภ้ี าวะเศรษฐกจิ ซงึ่ สรา้ งจากขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากผลการส�ำ รวจ โดยการออกแบบ สอบถามความคดิ เหน็ ผู้ประกอบการเกีย่ วกบั ภาวะเศรษฐกจิ ดชั นีความเชอื่ มน่ั ผบู้ ริโภค Consumer Confidence Index ดชั นชี ภ้ี าวะเศรษฐกจิ ซงึ่ สรา้ งจากขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากผลการส�ำ รวจ โดยการออกแบบ สอบถามความคิดเหน็ ประชาชนเก่ียวกับภาวะเศรษฐกิจ ดชั นรี าคาผู้บริโภคพืน้ ฐาน Core Consumer Price Index ตัวช้ีวัดการเปล่ียนแปลงราคาสินค้าและบริการท่ีไม่รวมราคาในหมวด พลังงานและอาหารสด ซ่ึงผู้บริโภคซื้อเป็นประจำ�ในระยะเวลาหนึ่งเปรียบเทียบกับ อีกระยะเวลาหนงึ่ ทีก่ ำ�หนดไวเ้ ปน็ ปฐี าน ดุลการค้า Trade Balance ผลตา่ งสุทธริ ะหวา่ งมลู คา่ สินค้าออกกับมูลคา่ สนิ คา้ เข้า ตราสารหนี้ Debt Instrument เอกสารทางการเงินท่ีลูกหน้ีออกให้กับเจ้าหนี้ เพื่อแสดงสิทธิที่เจ้าหนี้จะได้รับ ผลตอบแทนตามทกี่ �ำ หนดไวใ้ นเอกสารน้นั ๆ มที ้งั ตราสารหนรี้ ะยะส้ัน (อายไุ ม่เกิน 1 ปี) ระยะปานกลาง (อายุ 1 - 5 ปี) และระยะยาว (5 ปขี น้ึ ไป) ตราสารอนพุ ันธ์ Derivative ตราสารทางการเงนิ ซงึ่ ซอ้ื ขายกนั ได้ ประกอบดว้ ย สญั ญาใหส้ ทิ ธห์ิ รอื สญั ญาแลก เปลยี่ น เปน็ ตน้ อนพุ นั ธจ์ ะมกี ารซอ้ื ขายในตลาดลว่ งหนา้ และธรุ กจิ โดยทว่ั ไปจะใชต้ ราสาร หน้ีในการป้องกันความเสี่ยงเก่ียวกับการข้ึนลงของหุ้น เงินตรา หรือราคาสินค้าโคโมลิตี้ หรือพอ่ ค้าจะใชเ้ ปน็ เครื่องเกง็ กำ�ไร

76 คำ�ศัพทไ์ ทย-องั กฤษ สำ�หรบั ตดิ ต่อราชการและการประชุมระหว่างประเทศ ทรัพยส์ ินรอการขาย Non-Performing Asset: NPA สนิ ทรพั ยท์ ส่ี ถาบนั การเงนิ ไดร้ บั จากการตโี อนช�ำ ระหนี้ หรอื การบงั คบั หลกั ประกนั ของลูกหนส้ี นิ เชอ่ื ทไี่ มก่ อ่ ใหเ้ กดิ รายได้ (Non-Performing Loan: NPL) ทุนส�ำ รองระหว่างประเทศ Foreign Reserve สินทรัพย์ต่างประเทศท่ีถือครองโดยธนาคารกลางสำ�หรับประเทศไทย คือ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย และสามารถน�ำ มาใชป้ ระโยชนไ์ ดท้ นั ที ซง่ึ ประกอบดว้ ยสนิ ทรพั ย์ เงนิ สกลุ ตา่ งประเทศในรปู เงนิ ฝากและหลกั ทรพั ยต์ า่ งประเทศ ทองค�ำ สทิ ธพิ เิ ศษถอนเงนิ และสนิ ทรพั ยส์ ่งสมทบกองทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศ ธนาคารกลาง Central Bank หน่วยงานที่มีหน้าท่ีกำ�กับดูแลและปกป้องระบบการเงินของประเทศ โดยทำ� หนา้ ทห่ี ลกั ไดแ้ ก่ การก�ำ หนดอตั ราดอกเบยี้ ระยะสน้ั การเปน็ ผผู้ ลติ ธนบตั รและดแู ลปรมิ าณ เงินในระบบเศรษฐกิจ และในบางประเทศยังเป็นหน่วยงานท่ีกำ�กับดูแลสถาบันการเงิน อกี ด้วย ธนาคารการลงทุน Investment Bank/Investment Banker สถาบันการเงินที่ทำ�หน้าท่ีเป็นผู้จัดจำ�หน่ายหลักทรัพย์ (Underwriter) หรือ ตวั แทนจดั จ�ำ หนา่ ยหลกั ทรพั ย์ (Agent) โดยเปน็ คนกลางระหวา่ งบรษิ ทั ผอู้ อกหลกั ทรพั ย์ กับประชาชนผตู้ อ้ งการลงทุน บริษัทข้อมลู เครดติ Credit Bureau บริษัทซ่ึงทำ�หน้าที่เก็บรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับเครดิตหรือสินเช่ือจากสมาชิก และดำ�เนินการประมวลผลข้อมูลเครดิตที่ได้รับมาจากสมาชิก เพ่ือให้สมาชิกเรียกใช้เพ่ือ ประโยชนใ์ นการพจิ ารณาวเิ คราะห์การให้สนิ เชอื่ บรษิ ัทบรหิ ารสนิ ทรพั ย์ Asset Management Company: AMC บรษิ ทั ทไี่ ดร้ บั อนญุ าตจากธนาคารแหง่ ประเทศไทยใหด้ �ำ เนนิ ธรุ กจิ ซอื้ หนท้ี ไี่ มก่ อ่ ให้เกิดรายได้ และสนิ ทรพั ยร์ อการขายจากสถาบันการเงนิ เพือ่ มาบรหิ ารจดั การ

โครงการสอ่ื การเรยี นรู้ “อาเซียน กรู ”ู (Learning Package) 77 มาตรการริเร่ิมพัฒนาตลาดพนั ธบตั รเอเชีย Asian Bond Markets Initiative: ABMI มาตรการรเิ ร่มิ ภายใต้กรอบอาเซียน+3 ตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2546 เพื่อศกึ ษาแนวทาง การพัฒนาคุณภาพของตราสารโครงสร้างพ้ืนฐานของกฎหมายและการกำ�กับดูแล ตลอดจนเสรมิ สรา้ งสภาพคลอ่ งของพันธบัตรท่หี มนุ เวียนในภมู ภิ าคเอเชยี ศนู ย์ขอ้ มลู อสงั หาริมทรัพย์ Real Estate Information Center: REIC ศนู ย์กลางจดั เกบ็ และรวบรวมข้อมูลดา้ นอสังหาริมทรัพย์ของประเทศ สภาท่ปี รกึ ษาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ National Economic and Social Advisory Council องค์การที่ตั้งขึ้นตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 หมวด 5 ว่าด้วย แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 89 โดยมีหน้าท่ีให้คำ�ปรึกษาและ ข้อเสนอแนะ ตอ่ คณะรฐั มนตรใี นปญั หาตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วกบั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมตามทก่ี ฎหมาย บัญญตั กิ อ่ นจะพจิ ารณาประกาศใช้ สิทธปิ ระโยชน์ทางภาษี Tax Privilege / Tax Incentive การให้ส่ิงจูงใจซ่ึงจะช่วยลดภาระภาษีให้แก่ผู้ประกอบการหรือประชาชนทั่วไป เพื่อวัตถุประสงค์บางประการ เช่น เพื่อส่งเสริมการลงทุน ส่งเสริม การออม ส่งเสริม การศกึ ษา ส่งเสริมการวจิ ัยและพฒั นา เป็นต้น สนิ คา้ อปุ โภคบริโภค Consumption Goods สนิ คา้ และบรกิ ารทสี่ ามารถน�ำ มาบ�ำ บดั ความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคไดโ้ ดยตรง แบง่ ออกเป็น 2 ชนดิ คือ 1) สนิ ค้าคงทน (Durable Goods) คือ สินค้าทีม่ ีอายุการใชง้ านนาน เช่น บา้ น รถยนต์ ตเู้ ย็น เปน็ ต้น และ 2) สนิ คา้ เสยี งา่ ย (Perishable Goods) คือ สนิ คา้ ทมี่ ีอายุการใช้งานส้นั มาก หรือเน่าเสยี งา่ ย เช่น อาหาร เสื้อผ้า เปน็ ต้น

78 คำ�ศัพท์ไทย-อังกฤษ สำ�หรับตดิ ตอ่ ราชการและการประชุมระหวา่ งประเทศ สินเชอ่ื Loan ปรมิ าณเงนิ ทผี่ ทู้ ม่ี ีเงินทุน (สถาบนั การเงิน) ใหก้ ยู้ มื กบั ผทู้ ี่ต้องการเงนิ ทนุ สินทรพั ย์ Asset เงินหรือส่ิงของที่มีมูลค่าเป็นตัวเงิน ที่กิจการหรือบุคคลเป็นเจ้าของ อาจจะมี ตัวตนหรือไม่มีตัวตนกไ็ ด้ (1) สินทรัพยท์ มี่ ตี วั ตน ได้แก่ สนิ ทรัพยท์ ่มี องเห็น สัมผัสได้ มคี า่ เป็นตวั เงิน เชน่ เงนิ สด บ้าน ทด่ี นิ (2) สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน ได้แก่ สินทรัพย์ที่มองไม่เห็น สัมผัสไม่ได้ มีค่าเป็น ตัวเงนิ เชน่ คา่ ความนยิ ม ลขิ สิทธ์ิ สัญญาเช่า หนงั สือชชี้ วน Prospectus เอกสารท่ีบริษัทผู้เสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนท่ัวไปต้องจัดทำ�เพ่ือเปิดเผย ข้อมูลแสดงรายละเอยี ดเกีย่ วกับบรษิ ทั และรายละเอียดของการเสนอขายหลกั ทรัพย์ หน้ีต่างประเทศ External Debt ยอดคงค้างหนี้สินส่วนท่ีไม่ใช่ทุนเรือนหุ้นของผู้มีถ่ินฐานในประเทศก่อข้ึนกับ ผู้มถี น่ิ ฐานในตา่ งประเทศ ท้งั หนีส้ ินทม่ี ดี อกเบ้ยี หรือไม่มดี อกเบ้ีย โดยมภี าระผกู พนั ท่จี ะ ตอ้ งช�ำ ระคืนเงนิ ตน้ โดยรวมหนสี้ ินทกุ สกุลเงนิ และทุกประเภทของการก้ยู มื หนี้ที่ไมก่ ่อให้เกิดรายได้ Non-Performing Loan: NPL หน้ที ี่ลกู หนผี้ ิดนัดช�ำ ระหนเี้ ปน็ ระยะเวลานานเกินกว่า 3 เดอื น หน้ีภาคเอกชน Private Sector Debt ภาคเอกชนเป็นผู้ก่อขึ้นกับผู้มีถิ่นฐานทั้งในและต่างประเทศ ประกอบด้วยหนี้ ของภาคธุรกิจธนาคาร และภาคธุรกิจท่มี ิใชธ่ นาคาร เชน่ บริษัทเงินทนุ บรษิ ทั หลักทรพั ย์ นติ บิ คุ คลท่ปี ระกอบการค้า การผลิต และบุคคลธรรมดา

โครงการส่อื การเรียนรู้ “อาเซยี น กูร”ู (Learning Package) 79 หนี้ระยะยาว Long Term Debt หนี้ทั้งในประเทศและต่างประเทศของประเทศไทย ที่มีระยะเวลาครบกำ�หนด ชำ�ระคืนมากกวา่ 1 ปี หน้ีระยะสัน้ Short Term Debt หนี้ทั้งในประเทศและต่างประเทศของประเทศไทย ที่มีระยะเวลาครบกำ�หนด ชำ�ระคืนน้อยกว่าหรือเทา่ กบั 1 ปี 2.4 คำ�ศัพท์เก่ียวกบั กฎหมายและระเบยี บว่าด้วยการจดั ทำ�งบประมาณ 2.4.1 ค�ำ ศพั ท์เกย่ี วกับกฎหมายเศรษฐกิจและการค้า 2.4.2 ค�ำ ศพั ทเ์ ก่ียวกับกฎ ระเบียบการเงนิ การคลัง 2.4.1 ค�ำ ศัพท์เกยี่ วกบั กฎหมาย เศรษฐกจิ การคา้ การให้สตั ยาบนั Giving word of honor การแจ้งสิทธกิ ารอทุ ธรณ ์ Informing appeal’s right การอุทธรณ์ค�ำ ส่ังนายทะเบยี น Appeal registrar’s order การแสดงรายการอันเป็นเท็จ Demonstrating false transactions การฉอ้ โกงประชาชน Deceitful action การแก้ไขรายการทางทะเบียน Modification of registered transaction ขอ้ ความอันเป็นเท็จ False statement ขาดอายคุ วาม Prescription in law expires คำ�ส่ังศาล Court’s order นติ บิ ุคคล Juristic person แบบค�ำ ขอจดทะเบียนหา้ งหุ้นส่วน Form for requesting the partnership’s registration แบบค�ำ ขอจดทะเบยี นบริษัทจำ�กดั Form for requesting the company limited’s registration

80 ค�ำ ศพั ท์ไทย-อังกฤษ สำ�หรบั ตดิ ตอ่ ราชการและการประชมุ ระหวา่ งประเทศ แบบรายการจดทะเบยี นจดั ตงั้ Form regarding the transaction for registering the establishment แบบรายการจดทะเบียนแก้ไขเพ่มิ เติม Form for additional registered transaction แบบคำ�ขอจดทะเบียนเลกิ Form for requesting th liquidation แบบค�ำ ขอจดทะเบียนเสรจ็ ช�ำ ระบญั ช ี Form for requesting the completeness of liquidation แบบรายการจดทะเบียนเลิก Form for the liquidation แบบรายการจดทะเบยี นเสร็จการ Form for the completeness ช�ำ ระบัญชี of liquidation แบบรบั รองลายมอื ชือ่ Form for certifying the signature แบบแสดงรายการเก่ียวกบั การ Form for the company / ประกอบธุรกจิ ของห้างห้นุ สว่ นบรษิ ทั partnership’s business operations แบบคำ�ขอตรวจเอกสาร Form for requesting the document audit แบบจองชื่อนิติบุคคล Form for reserving juristic person’s name แบบค�ำ ขอหนังสือรบั รอง Form for requesting the certificate หา้ งหนุ้ สว่ นสามัญนติ ิบคุ คล Juristic ordinary partnership หนังสือแจ้งเจา้ หน้ ี Letter to inform creditors หนงั สอื มอบอ�ำ นาจ Letter of power of attorney หนงั สือคดั ค้านการจดทะเบยี น Letter to object the registration หนังสอื ชแ้ี จงการจดทะเบียน Letter to explain the registration รายงานการช�ำ ระบญั ช ี Liquidation report หนงั สอื บริคณหส์ นธิ Memorandum of association หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ Note to financial statement

โครงการสื่อการเรียนรู้ “อาเซียน กรู ”ู (Learning Package) 81 หลกั ฐานใบแจ้งความ Police report ข้อบงั คับฉบับตพี ิมพ ์ Published regulation การจดทะเบียนแปรสภาพ Registering for transformation ลงลายมอื ชอ่ื Sign / signature หมายบังคบั คดีของศาล Summons 2.4.2 ค�ำ ศพั ท์เกยี่ วกบั กฎระเบยี บ การเงนิ การคลัง การผอ่ นชำ�ระหน ้ี Amortization การประนอมหน้ี Composition การประเมนิ ราคา Appraisement การพน้ จากความผกู พันตามสัญญา Bilateral discharge การประนอมหนใ้ี นคดีล้มละลาย Composition in bankruptcy การบังคับคดี Compulsory execution, execution การบงั คับช�ำ ระหน ี้ Compulsory performance การผดิ นัด Default การพ้นจากความรบั ผิด Exoneration การลงมติพเิ ศษ Extraordinary resolution การประชมุ วิสามญั Extraordinary meeting การเชา่ ซ้อื Hire - purchase การผ่อนชำ�ระ Installment การบงั คับตามคำ�พพิ ากษา Judgement การเขา้ รับช่วงสิทธติ ามกฎหมาย Legal subrogation การช�ำ ระบญั ช ี Liquidation การผ่อนเวลาชำ�ระหน้ี Moratorium การผูกขาด Monopoly การประชมุ ใหญ ่ Ordinary meeting การเบกิ เงินเกนิ บญั ชี Overdraft

82 คำ�ศพั ทไ์ ทย-อังกฤษ ส�ำ หรบั ติดตอ่ ราชการและการประชมุ ระหวา่ งประเทศ การประมูลแบบเปิด Open bid การขายทอดตลาด Public auction การช�ำ ระเงินบางสว่ น Partial payment กระบวนการพิจารณา Proceeding การเพมิ่ หลกั ประกัน Remargining การหักกลบลบหน ้ี Recoupment, stoppage การประเมินภาษ ี Tax assessment การกระทำ�เกินอำ�นาจ Ultra vires ข้อกล่าวหา Allegation ข้อตกลง Agreement ขอ้ ตกลงเปน็ หนงั สอื Covenant ข้อโต้แย้ง Argument ข้อบงั คับ Article, regulation, rule ข้อยกเว้นโดยกฎหมาย Statutory exception ข้อความในสญั ญา Term of contract ขอ้ สันนิษฐาน Hypothesis, presumption 3. หมวดการเขียนหนังสอื ราชการ (15) 3.1 คำ�ศัพทเ์ กย่ี วกับประเภทและแบบฟอรม์ ของหนังสือราชการ 3.1.1 ประเภทของหนังสือราชการ 3.1.2 รูปแบบของหนังสือราชการ 3.2 ค�ำ ศัพท์เก่ียวกบั ขนั้ ตอนการเขียนหนงั สือราชการภาษาอังกฤษ 3.3 ศัพท์และสำ�นวนท่ใี ชก้ ับหนังสือราชการภาษาอังกฤษ 3.4 ค�ำ ศพั ทท์ ม่ี กั จะใช้ในพธิ กี ารต่างๆ ทางราชการ

โครงการส่อื การเรยี นรู้ “อาเซียน กรู ”ู (Learning Package) 83 3.1 ค�ำ ศัพทเ์ ก่ยี วกับประเภทและแบบฟอรม์ ของหนงั สือราชการ (Types and Forms of Official Correspondence) 3.1.1 ประเภทของหนงั สอื ราชการ (15) หนงั สือราชการท่เี ปน็ แบบพิธี First Person Formal Note หนังสือท่ีเขียนโดยใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 และต้องลงช่ือ โดยปกติหัวหน้า สว่ นราชการจะเปน็ ผลู้ งชอ่ื เอง ใชใ้ นเรอ่ื งราชการส�ำ คญั เชน่ เรอ่ื งทเี่ กย่ี วกบั นโยบายสาคญั ของรัฐบาล เรื่องท่ีเป็นการแสดงอัธยาศัยไมตรี เรื่องที่ขอความช่วยเหลือ หรือขอความ สะดวกเปน็ พเิ ศษ เป็นต้น หนงั สอื ราชการทเ่ี ปน็ แบบพิธี มี 2 แบบ คือ (1) แบบที่ใช้ติดต่อทางการทูตระหว่างส่วนราชการไทยกับส่วนราชการ ต่างประเทศ (2) แบบท่ีใชต้ ดิ ต่อระหวา่ งส่วนราชการไทยกับหน่วยงานทัว่ ไป หนังสอื ราชการท่ไี มเ่ ปน็ แบบพิธี First Person Informal Note มแี บบเดยี ว แต่ใชไ้ ดใ้ น 2 กรณี คอื (1) สว่ นราชการไทยมไี ปถงึ สว่ นราชการตา่ งประเทศหรอื องคก์ ารระหวา่ งประเทศ (2) สว่ นราชการไทยมีไปถงึ หน่วยงานเอกชน เป็นหนังสือที่เขียนโดยใช้สรรพนามบุรุษท่ี 1 และต้องลงช่ือ ใช้สำ�หรับเรื่องท่ีมี ความสำ�คญั ลดหลั่นมาจากหนังสอื ราชการที่เป็นแบบพิธี (First Person Formal Note) เช่น การสืบถามข้อความ หรือขอทราบข้อเท็จจริงบางประการ ซ่ึงยังไม่ถึงข้ันท่ีจะต้อง ท�ำ เป็นหนังสือราชการทีเ่ ป็นแบบพิธี หรือการทาบทามขอความเห็นอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ หรอื การร้องขอความช่วยเหลือในเรือ่ งราชการ เปน็ ต้น หนงั สือกลาง Third Person Note หรือ Note Verbal (15) หนังสือราชการที่ใช้สรรพนามบุรุษท่ี 3 และประทับตราชื่อส่วนราชการโดย หวั หนา้ สว่ นราชการระดบั กองหรอื ผทู้ หี่ วั หนา้ สว่ นราชการระดบั กรมขนึ้ ไปมอบหมายเปน็ ผู้

84 ค�ำ ศพั ทไ์ ทย-องั กฤษ สำ�หรับตดิ ตอ่ ราชการและการประชุมระหวา่ งประเทศ รับผดิ ชอบลงชอื่ ย่อก�ำ กับตรา โดยปกตหิ นงั สือประเภทน้ี ถ้าเปน็ เรือ่ งสำ�คญั ควรจะได้รับ ความเห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมข้ึนไปหรือผู้ที่มอบหมายก่อนลงช่ือย่อ กำ�กบั ตรา หนังสอื นีจ้ ะใช้ส�ำ หรบั เรอื่ งที่มลี กั ษณะเปน็ เรอ่ื งประจ�ำ วนั (Routine) แตจ่ ะมี ผลผูกพันเช่นเดียวกันกับหนังสือราชการที่เป็นแบบพิธี (First Person Formal Note) และหนงั สอื ราชการที่ไมเ่ ปน็ แบบพิธี (First Person Informal Note) หนังสอื ประเภทน้ี เป็นหนังสือที่ส่วนราชการไทยใช้ติดต่อกับส่วนราชการต่างประเทศหรือองค์การระหว่าง ประเทศ โดยทว่ั ไปใหเ้ ขยี นจากหนว่ ยงานถงึ หนว่ ยงาน แตใ่ นบางกรณอี าจเขยี นจากต�ำ แหนง่ ถงึ ตำ�แหน่งกไ็ ด้ ในหลักการให้ถอื เป็นแนวปฏบิ ัตวิ า่ หนังสือที่มีมาถงึ เป็นประเภทใดก็พึง ตอบเป็นประเภทนั้น หนงั สือทีต่ ้องปฏบิ ัติให้เร็วกวา่ ปกตดิ ว่ นทส่ี ดุ (Urgent) หนังสอื ทใ่ี หเ้ จา้ หน้าทีป่ ฏบิ ัติในทนั ทีทไี่ ด้รบั หนังสือนน้ั หนังสือที่ตอ้ งปฏิบตั ดิ ่วนมาก (Immediate) หนงั สือทใ่ี ห้เจา้ หนา้ ทป่ี ฏิบัตโิ ดยเรว็ ท่สี ดุ หนังสอื ทตี่ ้องปฏบิ ัติด่วน (Priority) หนงั สือท่ีให้เจา้ หน้าท่ีปฏบิ ัติโดยเรว็ บันทึกช่วยจ�ำ Aide-Memoire ใช้สำ�หรับยืนยันข้อความในเรื่องที่ได้สนทนา เช่น ช้ีแจงข้อเท็จจริง ขอร้อง เร่อื งต่างๆ หรอื ประท้วงดว้ ยวาจา หรอื แสดงท่าทใี หอ้ ีกฝ่ายหนง่ึ ทราบ โดยปกติใช้ยน่ื ให้ แกอ่ ีกฝา่ ยหนึง่ หรืออาจสง่ ไปโดยมีหนังสอื น�ำ ส่งกไ็ ด้ บันทึก Memorandum หนงั สอื ทใี่ ชส้ �ำ หรบั แถลงรายละเอยี ดหรอื แสดงขอ้ เทจ็ จรงิ เพอ่ื ใหค้ วามเหน็ หรอื โตแ้ ย้ง หรือแสดงทา่ ที โดยปกติใช้ยน่ื ให้แก่อีกฝา่ ยหน่ึง หรืออาจสง่ ไปโดยมหี นังสอื นำ�ส่ง ก็ได้

โครงการส่ือการเรยี นรู้ “อาเซยี น กรู ู” (Learning Package) 85 3.1.2 รปู แบบการเขยี นหนงั สอื ราชการทีด่ ี (15) รูปแบบการเขียนหนังสือราชการที่ดี นอกจากจะยึดถือรูปแบบตามที่กำ�หนดไว้ ในระเบยี บสำ�นกั นายกรัฐมนตรวี ่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2548 แลว้ นนั้ ยงั มหี ลกั การเขยี นทดี่ แี ละเปน็ ทนี่ ยิ ม อนั ประกอบดว้ ยหลกั ส�ำ คญั 8 ประการ ไดแ้ ก่ 1) ความสมบูรณ์ Completeness หนงั สอื ราชการที่ดีควรนำ�เสนอสาระอยา่ งครบถว้ น ครอบคลุมประเดน็ และราย ละเอียดเน้ือหาที่ต้องการสื่อความตามวัตถุประสงค์ของการเขียน เป็นปัจจัยหนึ่งท่ีทำ�ให้ หนงั สือราชการภาษาองั กฤษมีความสมบรู ณ์ 2) ความถกู ตอ้ ง Correctness 2.1 ความถกู ตอ้ งดา้ นรปู แบบ หมายถงึ การเขยี นหนงั สอื ราชการภาษาองั กฤษ ใหถ้ กู ตอ้ งตามรปู แบบทก่ี �ำ หนดไวใ้ นระเบยี บส�ำ นกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ย งานสารบรรณฯ 2.2 ความถกู ตอ้ งดา้ นเนอื้ หา หมายถงึ เนอ้ื หาของหนงั สือมีความถูกต้อง และความเชอ่ื ถอื ได้ เปน็ เนอ้ื หาซง่ึ ไดม้ าจากการคน้ หาและรวบรวมขอ้ มลู และขอ้ เทจ็ จรงิ จากแหลง่ ข้อมลู ตา่ งๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ งและน่าเช่ือถอื 2.3 ความถูกต้องด้านหลักภาษา หมายถึง การเขียนให้ถูกต้อง ตามความหมาย กฎไวยากรณ์ และหลกั ภาษา 3) ความชัดเจน Clarity การกำ�หนดจุดประสงค์ การแบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วนต่างๆ รวมถึงการเลือกใช้ ถ้อยคำ�ภาษาที่เฉพาะเจาะจง 4) ความสั้น ความกระชับ ความกะทัดรดั Conciseness การเขียนในลักษณะสรุปความนำ�เสนอเฉพาะส่วนที่เป็นสาระสำ�คัญและข้อมูล ทจ่ี �ำ เปน็ ใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจได้ ใชค้ �ำ ศพั ทแ์ ละโครงสรา้ งประโยคทส่ี นั้ และงา่ ย ตดั วลหี รอื ประโยค ทีไ่ ม่จำ�เปน็ ออก ไมเ่ ขียนขยายความโดยไมจ่ ำ�เป็น 5) ความมสี ัมพนั ธภาพ Coherence การเขยี นอยา่ งมสี มั พนั ธภาพ หมายถงึ การเขยี นขอ้ ความหรอื น�ำ เสนอเนอื้ หาสาระ ในลกั ษณะทีม่ ีความสมั พันธ์สอดคลอ้ งกนั อยา่ งเปน็ เหตุเป็นผล หรือได้เรื่องได้ราวชัดเจน

86 ค�ำ ศัพทไ์ ทย-อังกฤษ ส�ำ หรบั ตดิ ต่อราชการและการประชมุ ระหวา่ งประเทศ 6) ความเป็นทางการ Formality การไม่ใช้ภาษาพูด ภาษาสแลง (Slang) สำ�นวนจำ�เจ (Cliché) และรูปย่อ (Abbreviation) ส่วนการใช้คำ�ยอ่ หรอื ตวั อักษรยอ่ (Acronym) น้ัน หากเปน็ คำ�ย่อหรือ ตัวอักษรยอ่ ซ่งึ ไมเ่ ป็นท่ีรูจ้ กั หรือใชก้ นั แพรห่ ลาย ก็ควรหลกี เลี่ยง 7) ความสภุ าพ จริงใจ ให้เกียรติและเป็นมติ ร Courtesy การเขยี นหนงั สอื ราชการภาษาองั กฤษ ไมว่ า่ จะเปน็ การเขยี นเพอ่ื วตั ถปุ ระสงคใ์ ด ข้อความที่เขยี นควรแสดงถงึ ความสภุ าพและไมตรีจิตท่ีเสริมสรา้ งความรู้สกึ เชิงบวก 8) ความสามารถในการเขยี นใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปน็ ผลดี Effectiveness การเขยี นหนงั สอื ราชการภาษาองั กฤษควรเขยี นใหผ้ รู้ บั หนงั สอื เขา้ ใจชดั เจนวา่ ผมู้ ี หนงั สอื ไปตอ้ งการอะไร จะใหผ้ รู้ บั หนงั สอื ปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร และโนม้ นา้ วจงู ใจใหผ้ รู้ บั หนงั สอื ปฏบิ ัติตามนน้ั โดยหวงั ผลใหบ้ งั เกดิ ตามทีต่ อ้ งการ 3.2 ค�ำ ศัพทเ์ ก่ยี วกบั ข้นั ตอนการเขยี นหนังสือราชการภาษาองั กฤษ (10) หนังสือราชการภาษาอังกฤษประกอบดว้ ยสว่ นส�ำ คญั 3 สว่ น คือ 1) ส่วนหัวเรื่อง ประกอบด้วย หวั จดหมาย Heading เลขทีข่ องหนังสือ Correspondence number ท่อี ยขู่ องสว่ นราชการออกหนังสื Address วัน เดอื น ปีท่อี อกหนังสือ Date ค�ำ ข้นึ ต้น Salutation ชอ่ื เรอื่ ง Subject สง่ิ ทส่ี ่งมาด้วย Enclosed/attachment หวั จดหมาย Heading ทอี่ ยขู่ องผเู้ ขยี นจดหมายและวนั ทท่ี เี่ ขยี นจดหมาย ซงึ่ นยิ มเขยี นไวบ้ นมมุ ดา้ นขวา หรือซ้ายของจดหมายกไ็ ด้ สำ�หรับรปู แบบของหัวจดหมายทีน่ ยิ มกันน้ันมี 2 แบบ คือ

โครงการสื่อการเรยี นรู้ “อาเซียน กรู ”ู (Learning Package) 87 หวั จดหมายแบบขน้ั บันได (Step) เป็นแบบการเขียนที่มีการย่อหน้าลดหลั่นกันลงไปทีละบรรทัด โดยให้อักษร ตวั แรกของบรรทดั ถัดไปตรงกบั อกั ษรตัวท่ีห้าของบรรทัดก่อน เช่น ตัวอย่าง 67/214 Soi Prachasukkhee Petkasem Road, Bhasricharoen Bangkok.10160,Thailand June 2, 2014 หวั จดหมาย แบบบล็อก (Block) เป็นการเขียนให้ตัวแรกของทกุ บรรทัดตรงกันหมด ตวั อยา่ ง ……………………………….. 235/21 Soi Samsen 54 ……………………………….. Samsen Road, Dusit ……………………………….. Bangkok.10300 Thailand ……………………………….. June 2014 ชอื่ ที่อยูข่ องผูร้ ับจดหมาย Inside Address ชอ่ื ทอี่ ยขู่ องผรู้ บั จดหมาย ซง่ึ เขยี นหรอื พมิ พไ์ วท้ างดา้ นซา้ ยบนถดั จากหวั จดหมาย ลงมา (จะปรากฏเฉพาะในจดหมายธรุ กจิ เท่านนั้ ) คำ�ข้นึ ตน้ จดหมาย Salutation ค�ำ ขน้ึ ตน้ จดหมายมหี ลายประเภท ขนึ้ อยกู่ บั บคุ คลหรอื สว่ นราชการทต่ี ดิ ตอ่ ดว้ ย ว่าเป็นบุคคลที่มีตำ�แหน่งหรือความสำ�คัญในระดับไหน ดังนั้นระดับความเป็นทางการ ในการใช้ภาษาขึ้นต้นจดหมายก็จะแตกต่างกนั ไป (ดูรายละเอยี ดจากตารางท่ี 1) 2) ตัวจดหมาย Body of letter ขอ้ ความของจดหมายซึง่ เป็นสว่ นทสี่ ำ�คัญทส่ี ุดของจดหมาย เพราะเป็นการสอื่ ความประสงค์ โดยข้อความในจดหมายปกตแิ ล้วจะแบ่งเป็น 3 ตอน

88 คำ�ศพั ท์ไทย-อังกฤษ ส�ำ หรบั ตดิ ตอ่ ราชการและการประชุมระหวา่ งประเทศ คำ�น�ำ แนะน�ำ ตวั หรือบอกสาเหต ุ (Introduction) สาระสำ�คญั หรอื จุดประสงค์ บอกวตั ถปุ ระสงค ์ (Body) สรปุ เร่ืองหรอื ความมุ่งหวงั ในอนาคต (Conclusion) 3) สว่ นท้ายเร่อื ง ประกอบดว้ ย คำ�ลงท้าย Complimentary close ลงช่อื และตำ�แหนง่ Signature and position ช่อื ตำ�แหน่ง และทอ่ี ยู่ของผู้รับ Address ค�ำ ลงทา้ ย Complimentary Close จดหมายราชการมีการลงท้ายหลายรปู แบบ (ดไู ด้จากตารางที่ 1) การลงนาม Signature เพอื่ แสดงใหร้ วู้ า่ ใครเปน็ ผเู้ ขยี นจดหมายนนั้ ถา้ เปน็ จดหมายสว่ นตวั อาจเขยี นชอื่ หรอื ทง้ั ชอ่ื และนามสกลุ ในลกั ษณะหวดั หรอื หวดั แกมบรรจง หรอื อาจเปน็ ลายเซน็ (ส�ำ หรบั บุคคลที่คุ้นเคยมากๆ) แต่สำ�หรับจดหมาย หนังสือราชการน้ัน ถัดจากคำ�ลงท้ายจะเป็น ลายเซ็น ถัดลงมาจะเป็นช่อื นามสกลุ ตัวบรรจง ถดั จากชอ่ื อาจเป็นต�ำ แหนง่ หมายเหตุ: ในจดหมายราชการ การรักษาราชการแทน ปฏบิ ัติราชการแทน รักษาการใน ต�ำ แหน่ง (Acting) การจ่าหน้าซอง Outside address การเขยี นที่อยู่ของผรู้ ับ (Outside Address) ซงึ่ อาจเขียนได้ 2 แบบ คอื แบบ ขั้นบันได (Step) ซ่ึงย่อเขา้ มาทลี ะบรรทดั กับแบบบล็อก (Block) แบบขัน้ บันได Step ……………Mr. Bancha Piyamanee ………………………231 Petkasem Soi 43 ………………………………..Bangkok, Thailand 10160

โครงการสือ่ การเรยี นรู้ “อาเซียน กูรู” (Learning Package) 99 3.3.15 สำ�นวนประโยคท่ใี ชส้ �ำ หรับการตอบจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-mail) Situations Language Use ตอบรบั email Thank you for your email/message. บอกวัตถุประสงค์ I am writing to…. แจ้งข่าว Please, Could you/Can you....? สง่ เอกสารแนบ I would appreciate if you could......? เสนอใหข้ อ้ มูล I am sending you…. ขอบคณุ ก่อนจบ Here the document you asked me to send. ลงทา้ ยกอ่ นจบ If you need more information, please let R.S.V.P. me know. โปรดตอบด้วย Thank you. Thanks again for your help. I look forward to seeing you/hearing from you soon. Repondez s’il vous pla t. (Please reply)

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf