ต.ชะโนดน อย อ.ดงหลวง จ.ม กดาหาร รห สไปรษณ ย

มุกดาหาร ฝนตกหนักน้ำท่วมถนนสายดงหลวง-เขาวง ต้องปิดถนนชั่วคราว รถเล็กห้ามสัญจรผ่าน

จากอิทธิพลร่องมรสุมกำลังแรงพาดผ่านภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลางตอนบน และภาคตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงนี้ เกิดฝนตกในพื้นที่จังหวัดมุกดาหารอย่างต่อเนื่อง โดยในวันนี้(15 ก.ย 66) ฝนที่ตกสะสมมาหลายวัน เกิดน้ำท่วมฉับพลันและน้ำป่าไหลหลากในพื้นที่ลาดเชิงเขาเขตอำเภอดงหลวง ลำห้วยบางทรายและห้วยชะโนดมีปริมาณน้ำท่วมเพิ่มสูงขึ้น และเอ่อล้นไหลเข้าท่วมพื้นที่ไร่นา และถนนสายหลักรอการระบาย เส้นทางสัญจร สายดงหลวง- เขาวง จำนวน 5 จุด ดังนี้

1.จุดบ้านนาหลัก ต.พังแดงระดับน้ำท่วมสูงประมาณ 0.80 ม. ระยะทางประมาณ 200 เมตร รถไม่สามารถสัญจรผ่านไปมาได้

2.จุดสะพานห้วยมะนนท์ บ้านมะนาว ตำบลพังแดง ข้ามไปบ้านเกษตรสมบูรณ์ ตำบลกกตูม ระดับน้ำสูงประมาณ 50 -60 เซนติเมตร รถจักรยานยนต์และรถยนต์ไม่สามารถผ่านได้

3.จุดโค้งบ้านติ้ว ตำบลพังแดง อำเภอดงหลวง ระดับน้ำปริ่มที่ระดับหลังถนน รถยนต์ ยังสามารถสัญจรผ่านไปมาได้

4.จุดห้วยหวายดิน บ้านนาหลัก ไปบ้านติ้ว ตำบลพังแดง น้ำเรื่มเพื่มระดับสูงขึ้น 30-50 ซม. รถสัญจรลำบาก

5.จุดข้ามสะพานห้วยไร่บ้านโพนไฮ ต.หนองแคน ไปบ้านโพนสว่าง ต.พังแดง น้ำมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นสูง งดการสัญจรทางรถยนต์และรถจักรยานยนต์

โดยบ้านเรือนราษฏรที่อาศัยอยู่ใกล้ริมห้วยชะโนด บ้านย้อมพัฒนา ต.ชะโนดน้อย อ.ดงหลวง 10 ครัวเรือน ได้ขนย้ายสิ่งของขึ้นที่สูงเรียบร้อย และไม่มีผู้ได้รับบาดเจ็บ หรือ ผู้เจ็บป่วย ซึ่งปัจจุบันระดับน้ำเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องแนวโน้มคาดว่าหากไม่มีฝนตกเพิ่มระดับน้ำจะเริ่มลดลง

ด้านการให้ความช่วยเหลือในเบื้องต้น นายนราวิชญ์ มณีฤทธิ์ นายอำเภอดงหลวง ได้สั่งการให้นายกอบต.พังแดง อ.ดงหลวง จัดเรือท้องแบนสำหรับ ประชาชนสัญจร ในแต่ละจุดแล้ว อบต.พังแดง ตั้งกองอำนวยการ ณ จุดเกิดเหตุ หมวดการทางดงหลวง ปิดกั้นเส้นทาง ติดป้าเตือน สภ.ดงหลวง และสภ.กกตูม ได้ปิดกั้นการจราจรเส้นทางดังกล่าว

พร้อมประสาน ฝ่ายส่งเสริมฯ สำนักงาน ปภ.จังหวัดมุกดาหาร และสั่งการให้ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ประชาสัมพันธ์ ราษฏรได้ทราบสถานการณ์และหลีกเลี่ยงการเดินทางในเส้นทางที่น้ำขังถนนและแจ้งรพ.ดงหลวง และ รพ.สต.ในพื้นที่ เตรียมแผนช่วยเหลือ กรณีมีผู้ป่วยในพื้นที่ ต้องการรับการรักษาสามารถเข้าช่วยเหลือได้ทันที

พ้ืนทีร่ ับผิดชอบในเขตจงั หวัดมกุ ดาหาร 2 อำเภอ พ้นื ท่ี 723,566 ไร่ เป็นทก่ี ารเกษตร 275,000 ไร่ และเป็น

พื้นที่ชลประทาน 21,250 ไร่หรือร้อยละ 7.72 ของพื้นที่การเกษตร ซึ่งต้องพัฒนาทั้งแหล่งน้ำและระบบ

ชลประทานอีกมาก

1. ข้อมูลทวั่ ไปของฝา่ ยส่งน้ำ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 โครงการชลประทานมุกดาหาร ตั้งอยู่เลขที่ 106 หมู่ที่ 2 บ้าน

หนองหนาว ตำบลหนองบัว อำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ห่างจากตัวจังหวัดมุกดาหาร ประมาณ 50 กิโลเมตร ปัจจุบนั มี นายศรติ วรรธน์ ดาวสุวรรณสริ ิ เปน็ หวั หนา้ ฝ่ายฯ มบี คุ ลากรท่ีปฏิบัติงาน จำนวน 4 คน แบ่งเป็น

- ขา้ ราชการ จำนวน 1 คน - ลูกจ้างประจำ จำนวน 2 คน - พนักงานราชการ จำนวน 1 คน

 ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 โครงการชลประทานมุกดาหาร มีพ้นื ท่ีชลประทาน 21,250 ไร่

 มีแหล่งน้ำในความรับผิดชอบประกอบด้วย โครงการชลประทานขนาดกลาง และโครงการอนั

เน่ืองมาจากพระราชดำริ 5 แหง่ ได้แก่

1.อ่างเก็บนำ้ ห้วยชะโนด พืน้ ทช่ี ลประทาน 16,000 ไร่

2.อ่างเกบ็ นำ้ ห้วยไร่ พื้นทช่ี ลประทาน 1,500 ไร่

3.อา่ งเก็บนำ้ หว้ ยหนิ ลบั พน้ื ทช่ี ลประทาน 1,700 ไร่

4.อ่างเก็บน้ำห้วยแคน พืน้ ทชี่ ลประทาน 750 ไร่

5.อ่างเก็บน้ำห้วยขาหน้า พื้นทช่ี ลประทาน 1,300 ไร่

ผลงานที่มีความโดดเด่นของฝ่ายส่งนำ้ และบำรงุ รักษาที่ 2 โครงการชลประทานมุกดาหาร และปัจจัยแห่ง

ความสำเร็จ

1. การบรู ณาการในเชิงรุก ในการเปน็ ผนู้ ำในด้านการบรหิ ารจัดการน้ำทางอำเภอต่างๆ โดยได้

นำหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับอำเภอ เข้าร่วมประชุมในแต่ละอำเภอ เพื่อจัดทำสมดุลน้ำในระดับอำเภอ

เพื่อจัดทำเป็นแผนพัฒนาในด้านแหล่งน้ำของอำเภอนนั้ ๆ โดยในระดบั อำเภอจะประกอบดว้ ย เจ้าหน้าที่ของ

ท้องถิ่นและผู้รับผิดด้านแผนงานของอำเภอ ด้านป้องกันและบรรเทาภัย ซึ่งจะได้ประชาสัมพันธ์และสื่อสาร

ข้อมูลข่าวสารอื่นๆ เช่น จุดเฝ้าระวังภยั จุดเสี่ยงเกิดภัย เพื่อเป็นการเตรียมการป้องกันให้เกิดความเสียหาย

น้อยที่สุด โดยแต่ละอำเภอได้กำหนดกลุ่มไลน์ ติดตามน้ำของอำเภอนั้นๆ สำหรับใช้เป็นช่องทางในการ

3

ประสานงานและการส่ือสารประชาสัมพันธ์ในด้านต่างๆ ทำให้ปัญหาข้อรอ้ งเรียนในพืน้ ที่ลดน้อยลง และการ ชว่ ยเหลือแก้ไขปญั หาต่างๆได้รับการบรู ณาการจากหน่วยงานในการแก้ไขได้รวดเรว็ ข้ึน และได้มาซึ่งแผนการ พฒั นาลมุ่ น้ำห้วยชะโนดและลุ่มนำ้ หว้ ยบางทรายทงั้ ลุ่มนำ้

2. การจา้ งเหมากลุ่มผูใ้ ช้นำ้ ชลประทาน เน่อื งจากปัจจุบันอัตรากำลงั ของเจา้ หน้าที่ชลประทาน ลดลงอย่างต่อเนื่องการประสานงานกับกลุ่มผู้ใช้นำ้ บางแหง่ งต้องใช้ลูกจ้างชั่วคราวช่วยในการดำเนินงานการ ประสานงานและการสื่อสารจึงไมเ่ ปน็ ไปอย่างต่อเนื่อง ฝ่ายฯจึงไดก้ ระตุ้นและให้ความสำคัญในเร่ืองของกลุ่ม ผูใ้ ชน้ ้ำชลประทานเพ่ือให้เกิดความเข้มแข็ง โดยได้ประชมุ รวมทกุ กลุ่ม จำนวน 6 กล่มุ ผู้ใช้น้ำท่ีกระจายอยู่ใน แต่ละอำเภอ ปีละ 2 ครั้ง คือ ช่วงก่อนฤดูนาปี และช่วงก่อนฤดูแล้ง เพื่อให้เป็นเวทีนำเสนอปัญหาและ ข้อเสนอแนะของกลุ่มตนเอง แต่ทัง้ น้สี ง่ิ ที่สำคญั และเปน็ ที่ใหก้ ารยอมรับจากกลมุ่ ผู้ใช้น้ำมากท่ีสุด คือการจ้าง เหมากลุ่มผู้ใช้น้ำ ตามแผนงาน 1 โครงการ 1 ล้านบาท แม้จะไม่ได้ทุกกลุม่ ในแต่ละปี แต่ก็ได้รับการตอบรับ เป็นอย่างดีจากกลุ่มผู้ใช้น้ำ ที่จะนำไปพัฒนากลุ่มฯให้มีความเข้มแข็งและสามารถบริหารจัดการกลุ่มของ ตนเองได้ โดยมีเจ้าหนา้ ที่ชลประทานคอยเปน็ พี่เลย้ี ง และสามารถดแู ลไดท้ ว่ั ถงึ นอกจากน้นั บางกลมุ่ ฯสามารถ พฒั นาด้วยต่อยอดเขา้ ถึงแหลง่ เงนิ ทนุ เป็นตัวอย่างในการทำการเกษตรในพื้นท่ี ส่งผลให้เกษตรกรซ่ึงอยู่นอก เขตชลประทานมีความสนใจต้องการที่จะให้มีงานพัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทานในพื้นที่เพ่ิมมากขึ้น เนอื่ งจากเลง็ เหน็ ถงึ ความสำคัญของพื้นที่ในเขตชลประทาน และความม่ันคงดา้ นการผลติ

สรปุ ขอ้ มูลองคก์ ร

5

1. อัตรากำลัง

แผนภูมโิ ครงสรา้ งองค์กร ฝ่ายสง่ น้ำและบำรงุ รักษาที่ 2 โครงการชลประทานมุกดาหาร

รูปที่ ก-2 แผนภูมโิ ครงสร้างองคก์ รฝา่ ยส่งน้ำและบำรุงรกั ษาท่ี 2

6

2. รายละเอยี ดแหล่งน้ำในเขตรบั ผดิ ชอบ ตารางที่ ก-1 ตารางแสดงอา่ งเก็บน้ำขนาดกลาง และโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ

3. พื้นท่ีฝ่ายสง่ น้ำและบำรุงรักษา พน้ื ที่รับผดิ ชอบ

ฝา่ ยสง่ น้ำและบำรงุ รักษาท่ี 2

รูปที่ ก-3 แผนที่ฝา่ ยส่งนำ้ และบำรงุ รกั ษาที่ 2 คป.มุกดาหาร

7

4. ปรมิ าณน้ำตน้ ทนุ 29.00 ลา้ น ลบ.ม. 5. ปรมิ าณน้ำผ่านสูงสุดของฝา่ ยส่งนำ้ และบำรงุ รกั ษา 255.86 ลบ.ม./วินาที 6. พืน้ ทีโ่ ครงการฯ 22,795 ไร่ และพ้ืนท่ชี ลประทาน 21,250 ไร่ 7. คลองสง่ นำ้ ความยาวรวม 79.987 กม. และอาคารประกอบ 519 แหง่ 8. ระบบคันคนู ำ้ 97 สาย ความยาว 49.85 กม. 9. สถานีวัดน้ำฝน 2 แห่ง ปรมิ าณฝนเฉลีย่ 1,614 มม./ปี 10. การปลกู พืชและผลผลิตของเกษตรกร (แยกตามชนิดพชื หลัก เช่น ขา้ ว ขา้ วโพด อ้อย ฯลฯ)

ตารางท่ี ก-2 ตารางแสดงการปลกู พืชและผลผลิตของเกษตรกร

โครงการฯ/ฝา่ ยสง่ นำ้ ฯ ชนดิ พชื พ้นื ที่ ปรมิ าณ ผลผลิต มูลคา่ หมาย เพาะปลูก นำ้ ทใ่ี ช้ รวม (ตน้ ) (ลา้ น เหตุ (ล้าน บาท) (ไร่) ลบ.ม.) 11,133 - 167.01 ฝา่ ยส่งนำ้ และบำรุงรกั ษาท่ี 2 ขา้ ว 11,342 9.91 - - (ฤดูฝน) พืชไร่ 300 2.29 - - พืชผกั 0 0 - - (ฤดูแล้ง) อ้อย 0 0 - - ไมผ้ ล 8 0.65 - - ไม้ยืนต้น 1,789 0.89 - - บ่อปลา 280 1.02 - - อ่นื ๆ(มนั สำปะหลงั ,ถวั่ ) 0 0 - - ข้าว 0 0 - - พืชไร่ 107 2.56 65 - พชื ผัก 28 5.56 - 1 ออ้ ย 117 3.02 - - ไมผ้ ล 8 1.36 - - ไม้ยืนต้น 1,789 2.65 - - บ่อปลา 280 2.37 - อืน่ ๆ(มันสำปะหลงั ,ถั่ว) 0 0

8

11. ปริมาณน้ำทใี่ ชใ้ นการเพาะปลูกพืชฤดูฝน 18.10 ลา้ น ลบ.ม. ฤดแู ล้ง 19.02 ล้าน ลบ.ม. รวม 37.12 ล้าน ลบ.ม. 12. กจิ กรรมการใชน้ ำ้

(1) เพ่อื การอุปโภคบริโภค 0.13 ล้าน ลบ.ม./ปี (2) เพื่อการเกษตรกรรมหรอื การเลย้ี งสัตว์ 37.12 ล้าน ลบ.ม./ปี (3) เพื่อการรักษาระบบนิเวศ 0.91 13. ประสิทธภิ าพการชลประทาน ฤดฝู น 34.83 % ฤดแู ลง้ 56.73% 14. จำนวนองคก์ รผ้ใู ช้นำ้ ปัจจุบัน มดี ังน้ี  กลมุ่ บริหารฯ 6 กลุ่ม มพี ืน้ ท่ี 21,250 ไร่  กลุ่มพ้นื ฐาน 212 กลุ่ม มพี ้นื ท่ี 21,250 ไร่ 15. จำนวนครัวเรอื นในพน้ื ที่ 1,757 ครัวเรอื น พน้ื ที่ถอื ครองเฉล่ีย 12 ไร่/ครวั เรอื น และรายไดเ้ ฉลีย่ 95,600 บาท/ครัวเรือน 16. ปญั หาและขอ้ เสนอแนะ ฝ่ายส่งนำ้ และบำรุงรักษาท่ี 2 โครงการชลประทานมกุ ดาหาร ปญั หาและขอ้ เสนอแนะดงั นี้ 1. การสูญเสียพน้ื ท่ีปา่ ทำให้เกิดปัญหาความแห้งแล้งและน้ำหลากอย่างรวดเรว็ 2. การบุกรุกลำน้ำและที่สาธารณะ การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรทำให้ความต้องการใช้น้ำ และใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มมากขึ้นปัญหาต่างๆดังกล่าวต้องได้รับการประสานแก้ไขด้วยความร่วมมืออย่าง แท้จริง 3. เพ่ิมปรมิ าณน้ำต้นทุนแหล่งน้ำขนาดเล็กให้กบั ชมุ ชนพร้อมกับการพัฒนาแหลง่ น้ำขนาดกลาง ที่มีอยู่ควบคู่กันไปเพ่ือเก็บกักน้ำไว้ใช้ในช่วงฤดูแล้งและสามารณบรรเทาอุทกภัยได้ในฤดูน้ำหลาก โดยเน้น วางแผนให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งและจริงจงั เน้นการมสี ่วนร่วมของภาคประชาชนเปน็ สำคญั 4.กอ่ สร้างประตูระบายน้ำ ปากลำห้วยหลัก พรอ้ มสถานสี บู นำ้ ขนาดใหญ่ เพอ่ื นำน้ำมาใช้ในการ อปุ โภค - บริโภค และเพอื่ การเกษตร อยา่ งเตม็ ประสทิ ธภิ าพ 5. พัฒนาแหล่งน้ำ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก สถานีสูบน้ำ แก้มลิง คันพนังกั้นน้ำ ขุดลอกแหล่งน้ำ โดยพัฒนาให้เกิดระบบชลประทานและระบบแพร่กระจายน้ำให้กับพืน้ ที่ให้มากที่สุดรองรบั การขยายตัวของ ชุมชนทัง้ ในปัจจบุ นั และอนาคตเพื่อบรรเทาปัญหาภัยแลง้ และอทุ กภยั 6. แหล่งเกบ็ กักนำ้ ตน้ ทนุ สำหรบั ฤดแู ล้งมีไมเ่ พียงพอกบั ปริมาณความตอ้ งการใชน้ ้ำ 7. การเจริญเติบโตของชุมชนเมืองและการขยายตัวของเมือง รวมทั้งการขยายตัวของการทำ เกษตรกรรมฤดูแล้งทำใหค้ วามต้องการใชน้ ้ำฤดแู ล้งมีเพม่ิ มากขึ้นจึงสง่ ผลกระทบต่อการใช้น้ำภาคเกษตรและ การใช้น้ำภาคต่างๆ 8. แหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น หนอง คลอง บึง ยังขาดการเอาใจใส่อย่างถูกต้อง ถูกละเลยและถกู บุกรกุ แหล่งน้ำจงึ ขาดความอดุ มสมบูรณ์ ใชป้ ระโยชนไ์ ด้ไมเ่ ต็มท่ี

9

หมวดที่ 1 การนำองคก์ ร

10

หมวดที่ 1 การนำองคก์ ร ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรกั ษาที่ 2 ไดน้ ้อมนำศาสตรพ์ ระราชา เรอื่ ง “เขา้ ใจ”มาปรับใชด้ งั น้ี

1. ข้อมลู ทมี่ อี ย่แู ล้ว ฝา่ ยส่งน้ำและบำรุงรกั ษาท่ี 2 ได้นำข้อมลู ทไ่ี ดม้ ีการจดั เก็บโดยเจ้าหน้าทที่ ี่รับผิดชอบในส่วนงาน

ต่างๆ มาวางแผน การขับเคลือ่ นงานด้านบรหิ ารจัดการน้ำ ของจังหวัดมุกดาหาร รวมถึงได้มีการจัดเกบ็ ขอ้ มูล อย่างตอ่ เนอ่ื ง เพือ่ ใช้เป็นข้อมลู ในการวางแผนการพฒั นาในอนาคต

2. การใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 มีการใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ ในการดำเนินการวางแผนบริหาร

จดั การน้ำ เช่น ข้อมูลสถิติน้ำฝน-น้ำทา่ ตา่ งๆ ทีม่ ีการจัดเก็บเป็นรายวัน-รายชัว่ โมง รวมถงึ ขอ้ มูลเกษตรกร และ แปลงเพาะปลูกในเขตชลประทาน ซึง่ ได้มีการลงสำรวจทำให้ขอ้ มลู มีความถูกต้องและแม่นยำตรงตามความเป็น จริง

3. การวิเคราะหแ์ ละวจิ ยั ฝ่ายส่งนำ้ และบำรุงรักษาท่ี 2 ได้นำผลการวิเคราะห์และวิจัยรวมถงึ องค์ความรู้ในเรื่องการใช้น้ำ

ในแปลงนาแบบประหยัดในรูปแบบต่างๆ ซึ่งดำเนินการโดยกรมชลประทานมายึดเปน็ แนวทางในการเผยแพร่ และส่งเสริมใหเ้ กษตรกรไปใช้ในพื้นที่ เชน่ “หลักการปลูกขา้ วแบบเปียกสลับแห้ง”เป็นต้น

4. การทดลองจนไดผ้ ลจริง ฝ่ายส่งน้ำและบำรงุ รักษาที่ 2 ได้วางแผนบรหิ ารจัดการน้ำท้งั ลุ่มน้ำ โดยปัจจุบันราษฎรและส่วน

ทอ้ งถ่นิ ต่างนำเร่ืองเสนอขอความช่วยเหลือลดความเดอื ดร้อนเขา้ มา ซงึ่ ตรงกับแผนท่ีฝา่ ยฯ มีทำใหด้ ำเนินการ ได้รวดเรว็ และเป็นปจั จยั ข้อมลู ในการพัฒนาพ้นื ทีต่ ่อไป

จากการทดลองทำนาแบบเปียกสลับแห้ง พบข้อจำกัด ในการทำคือพื้นที่ที่มสี ภาพเป็นดนิ ทราย น้ำซึมหายอย่างรวดเร็ว ภายในเวลาไม่ถึง 7 วัน สภาพพื้นที่ไม่ราบเรียบเสมอกัน ควบคุมการให้น้ำลำบาก ชาวบ้านต้องทำงานหนักขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประหยัดน้ำตามนโยบายของกรม ทำให้เกษตรกรขาด แรงจงู ใจ

ฝ่ายฯ ได้รับผลการตอบรับท่ีดี โดยกลุ่มเกษตรกร กระตือรือร้น ขอไปร่วมฟัง ร่วมดูงานและ เรียนรู้จริง ในส่วนต่างๆ ซึ่งแตกต่างจากเมื่อ 3-4 ปีก่อนหน้า ซึ่งฝ่ายฯ ได้ขยายความสำคัญถึงสภาวะการณ์ ภูมิอากาศแปรปรวน โลกร้อน ให้เกษตรกรได้ตระหนักถึงความจริง ที่ฝ่ายฯ ต้องเรียนรู้เพื่อพร้อมจะ เปลย่ี นแปลง

จากการชักชวนแกมบังคับในการใหท้ ดลองทำเปียกสลับแหง้ แกล้งข้าว ฝา่ ยฯ ไดป้ รบั เปล่ยี น โดย ใชศ้ าสตรพ์ ระราชาคือให้เกษตรกร มคี วามต้องการมาจากขา้ งใน ฝ่ายฯ จงึ ได้นำความรู้ท่มี ีหลากหลายด้าน ท้ัง การทำนาแบบระบบสปรงิ เกอร์ แบบระบบน้ำหยด โดยการปรับพน้ื ท่ี การทำนาแบบผสมผสาน การเลี้ยงแหน แดง การเล้ยี งเปด็ ไล่ทุ่ง ลดตน้ ทนุ ในการทำนาแตไ่ ดผ้ ลผลติ เพม่ิ จากการปรบั ปรุงคุณภาพดนิ พฒั นาทดี่ ิน และ การเข้าฝึกทกั ษะกับโรงเรยี นขา้ วและชาวนา ผลตอบรับจากการตระหนักรแู้ ละอยากเรยี นรูด้ ว้ ยตัวเองมากข้นึ

11

หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 ความเขา้ ใจนโยบายในระดับตา่ งๆรวมถึงการแปลงนโยบายสู่ผู้ปฏิบตั ิงาน ⚫ ฝา่ ยส่งนำ้ และบำรุงรกั ษาท่ี 2 โครงการชลประทานมุกดาหาร มวี ิธีการถ่ายทอดหรือแปลง

นโยบายของโครงการชลประทานมุกดาหาร และสำนักงานชลประทานที่ 7 ให้ผู้ปฏบิ ัติงานภายในฝ่ายฯ ได้รับ ทราบนโยบายผ่านช่องทางการรบั ร้ใู นรูปแบบตา่ งๆ ไดแ้ ก่

- การมอบนโยบายของฝ่ายฯ สั่งการผู้รับผิดชอบเป็นลายลักษณ์อักษร เน้นให้ผู้รับผิดชอบ ศึกษาและสรา้ งความเข้าใจดว้ ยตนเอง โดยสอบถามจากผูร้ บั ผิดชอบของโครงการฯ และสำนกั งานชลประทาน ที่ 7 หรอื เจา้ ของเรื่องโดยตรงจากหน่วยมอบนโยบายน้ันๆ

รปู ท่ี 1-1 หนงั สือแจง้ ผู้รับผดิ ชอบเป็นลายลักษณ์อักษร

12

- การประชุมประจำสปั ดาห/์ ประจำเดือน หรอื การประชุมเพือ่ มอบนโยบายเรง่ ด่วน/ สำคญั เพอ่ื ตดิ ตามผลการดำเนินงาน สรา้ งความร้คู วามเข้าใจและแกป้ ญั หาไดอ้ ย่างถกู ต้องและรวดเรว็

รูปที่ 1-2 การประชมุ ประจำเดอื น

13

- ฝา่ ยสง่ น้ำและบำรุงรักษาท่ี 2 ไดด้ ำเนินงานขบั เคลอ่ื นตามนโยบายสำคัญของกระ- ทรวงเกษตรและสหกรณ์ เชน่ ศนู ยเ์ รยี นร้กู ารเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพสินคา้ เกษตร (ศพก.) เกษตรแปลงใหญ่ เกษตร ทฤษฎใี หม่ Zoning by Agri-Map เป็นต้น ซ่ึงทางฝ่ายฯไดม้ ีการดำเนินการสนบั สนนุ นและให้ความร่วมมือกับ เกษตรกรและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เพื่อใหก้ ารดำเนนิ งานสามารถสำเรจ็ ลุล่วงตามวตั ถปุ ระสงค์

รูปที่ 1-3 งานตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

14

- การนำเสนอนโยบายผ่านส่อื Online ตา่ งๆ เชน่ Website, Facebook, Line

รปู ที่ 1-4 การนำเสนอนโยบายผา่ นส่อื Online ต่างๆ เชน่ Website, Facebook, Line

1.2 การจัดทำและจัดเก็บขอ้ มูลตาม sheet ขอ้ มลู ⚫ ฝ่ายส่งนำ้ และบำรงุ รักษาที่ 2 ได้มีการรวบรวมและจดั ทำขอ้ มูลเพื่อใช้ในการดำเนินงาน

และบริหารจัดการน้ำของฝ่ายฯ ในรูปแบบของ Digital file และมีการสำเนาเก็บเพื่อสำรองข้อมูล (Hard copy) ไวเ้ ปน็ ข้อมูลอีกทาง โดยมรี ปู แบบของการจดั เกบ็ ประกอบดว้ ย

- Excel file ซึ่งเป็นฐานข้อมูลด้านแหล่งน้ำที่พัฒนาแล้วจากอดีตถึงปัจจุบัน (Existing) , ข้อมูลแผนพัฒนาแหล่งน้ำในอนาคต (Planning) รวมถึงข้อมูลสถานการณ์น้ำรายวัน, รายสัปดาห์, รายเดือน รายปี ของอา่ งเก็บน้ำขนาดใหญ่ อา่ งเก็บน้ำขนาดกลาง ฝายยางงานกปร. และปชด. ในเขตพ้นื ที่ทรี่ ับผดิ ชอบ มี การ Update ข้อมูลตามประเภทของขอ้ มลู

15

- รปู ท่ี 1-5 ฐานขอ้ มูลด้านแผนงานพฒั นาแหล่งน้ำงานซอ่ มแซม ปรบั ปรุง

16

ข้อมลู สารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS) ซึ่งเปน็ ฐานข้อมูลทีม่ กี ารเกบ็ รวบรวมโดยมี ชั้นข้อมูล ตา่ งๆ ครอบคลุมตามทก่ี รมชลประทานกำหนด

รูปที่ 1-6 แผนทแี่ สดงแหล่งนำ้ อำเภอหว้านใหญ่

รปู ที่ 1-7 แผนที่แสดงแหลง่ นำ้ อำเภอดงหลวง

17

18

1.3 วธิ กี าร/กระบวนการจดั ทำแผนงานโครงการ ⚫ ฝา่ ยสง่ นำ้ และบำรุงรกั ษาที่ 2 ได้จัดทำแผนงานกระบวนการ โดยมขี ้อควรพิจารณา ดงั นี้ ก. การจัดทำแผน 5 ปี ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 วางแผนในการจัดทำแผน 5 ปี ให้สอดรับกับประเด็น

ยุทธศาสตร์ของกรมชลประทาน ในด้านการบริหารจัดการน้ำ และการป้องกันภัยอันเกิดจากน้ำพร้อมทั้งต้อง สอดรบั กบั ความต้องการของผรู้ บั บรกิ าร และผู้มีสว่ นได้ส่วนเสียของโครงการและนำขอ้ มลู มาจดั การแผนงานใน ด้านตา่ งๆต่อไป

ฝ่ายส่งน้ำฯ ร่วมกับ กลุ่มพิจารณาโครงการสำนักงานชลประทานที่ 7 ได้ร่วมจัดทำ

แผนพัฒนาลุ่มน้ำ ห้วยชะโนดและลุ่มน้ำห้วยบางทราย โดยจัดทำเป็นเล่มพิจารณาโครงการทั้งลุ่มน้ำ สำรวจ

ความต้องการและศกั ยภาพลุ่มน้ำตามความจำเปน็ ความต้องการใชน้ ำ้ ของแต่ละพน้ื ท่ีเพือ่ ใชเ้ ป็นแนวทางในการ

พัฒนาลุม่ น้ำ รายละเอียดบางส่วนอยูใ่ นภาคผนวกด้านทา้ ยเลม่ ซึ่งสรปุ รายละเอยี ดสำคัญดังตัวอย่างตารางที่

1-1 – 1-6

ตารางท่ี 1-1 ตารางแสดงโครงการพฒั นาแหลง่ นำ้ ท่ีมีอยู่ในปัจจบุ นั ในลุ่มนำ้ ห้วยชะโนด

ลำดับ ประเภทโครงการ อำเภอ จังหวดั จำนวน ความจุ พน้ื ท่ีชลประทาน หมายเหตุ โครงการ (ล้าน ลบ.ม.) (ไร่)

1 โครงการชลประทาน ดงหลวง มกุ ดาหาร 1 18.400 8,443 กอ่ สรา้ งปี 2522-2527 ขนาดกลาง

โครงการชลประทาน เมอื ง มุกดาหาร 2 0.414 802 ขนาดเลก็ 3 0.484 1,030 2 หว้านใหญ่ มุกดาหาร 0.402 1 80 ดงหลวง มกุ ดาหาร 1 19.700 550 4 1,955 3 โครงการสูบน้ำด้วย เมือง มุกดาหาร 6 2,319 ไฟฟ้า หว้านใหญ่ มุกดาหาร 7 1,313 22 7,146 เมือง มกุ ดาหาร 2 401 7 743 4 ฝาย หว้านใหญ่ มกุ ดาหาร 1 0

ดงหลวง มุกดาหาร 13 1,925

5 งานทอ่ ลอดต่าง ๆ หว้านใหญ่ มกุ ดาหาร 70 26,707.00 ดงหลวง มุกดาหาร

หว้านใหญ่ มุกดาหาร 6 Box Culvert ดงหลวง มกุ ดาหาร

รวม

19

ตารางที่ 1-2 แสดงความตอ้ งการใช้น้ำเพือ่ การอุปโภคบริโภคของลมุ่ นำ้ หว้ ยชะโนด ในปจั จุบนั และอนาคตของอำเภอในเขตลมุ่ น้ำหว้ ยชะโนด

อำเภอ จำนวนประชากร จำนวน จำนวนคน การใช้นำ้ เพอ่ื การอุปโภค ดงหลวง ปี 2557 ประชากร บรโิ ภค (ลา้ น ลบ.ม./ป)ี 41,031 41,837 หว้านใหญ่ ปีที่ n 42,659 3.76 19,043 5 44352 3.84 เมอื ง 10 46,111 4.00 139,390 20 19,418 4.15 30 19,799 1.75 5 20,584 1.78 10 21,401 1.85 20 142,128 1.93 30 144,920 12.80 150,700 13.04 5 156,645 13.56 14.10 10

20

30

20

ตารางที่ 1-3 แสดงพ้ืนท่ชี ลประทานและพื้นท่รี บั ประโยชนใ์ นลำนำ้ สาขาย่อย (ก่อนดำเนนิ การ)

ลำดบั ลุ่มน้ำสาขา พ้ืนทชี่ ลประทาน พน้ื ทร่ี ับประโยชน์ (ไร่) (ไร่) 1 หว้ ยชะโนดตอนบน - 1,202 2 ห้วยระฮัง - 695 3 ห้วยนาโสก - 1,050 4 ห้วยไม่มีชื่อ (1) - 450 5 ห้วยทราย - 2,965 6 ห้วยขี้หมู - 595 7 ห้วยเขางู - 1,835 8 ห้วยไม่มีชื่อ (2) - 1,580 9 ห้วยไมม่ ีช่อื (3) - 1,110 10 ห้วยประสงค์ - 805 11 หว้ ยไม่มชี อ่ื (4) - - 12 หว้ ยหลอกกอก - 1,930 13 หว้ ยมะนาว - 550 14 หว้ ยหมากยาง - 2,010 15 ห้วยไม่มชี ื่อ (5) - 1,065 16 ห้วยอ่างหนองเมก็ - 720 17 ห้วยศาลา - 3,500 18 หว้ ยคำใหญ่ - 1,755 19 ห้วยหินลับ - 335 20 หว้ ยนาดี - 1,245 21 ห้วยแทด - 3,430 22 ห้วยชะโนด 2,185 14,710 23 อา่ งเกบ็ นำ้ ห้วยชะโนด 8,443 - 10,628 43,537 รวมท้งั สนิ้

รปู ที่ 1-8 แผนที่แสดงอาคารและพื้นท่ชี ลประทานในเขตลุ่มนำ้ หว้ ยชะโนด (กอ่ นดำเนนิ การ)

21

รปู ที่ 5-22 แสดงแผนผงั การวิเคราะหส์ ถานการณ์ปจั จุบันของลำน้ำยอ่ ยลำหว้ ยชะโนด รปู ที่ 5-22 แสดงแผนผังการวิเคราะหส์ ถานการณ์ปัจจบุ นั ของลำนำ้ ยอ่ ยลำห้วยชะโนด

รปู ท่ี 1-9 แสดงแผนผังการวเิ คราะห์สถานการณป์ จั จบุ นั ของลำนำ้ ย่อยลำหว้ ยชะโนด

22

23

รูปที่ 1-10 แผนผงั ระบบระบายน้ำลุ่มน้ำหว้ ยชะโนด (ทขี่ าดน้ำ) พรนิ้ A3ในไฟลถ์ งึ จะชดั เจน 23

24

ตารางที่ 1-4 แสดงพ้นื ท่ีชลประทานและพ้ืนทร่ี บั ประโยชนใ์ นลำนำ้ สาขายอ่ ย (หลังดำเนนิ การ)

ลำดบั ล่มุ นำ้ สาขา พน้ื ที่ชลประทาน พืน้ ท่รี ับประโยชน์ (ไร)่ (ไร่) 1 หว้ ยชะโนดตอนบน - 175.60 2 ห้วยระฮัง - 42.00 3 ห้วยนาโสก - 58.00 4 หว้ ยไมม่ ีช่ือ (1) 62.00 73.00 5 ห้วยทราย 105.00 193.00 6 ห้วยขหี้ มู - 70.00 7 หว้ ยเขางู - 155.00 8 หว้ ยไมม่ ีชอ่ื (2) - 470.00 9 หว้ ยไมม่ ีช่ือ (3) 240.00 - 10 ห้วยประสงค์ 103.00 - 11 หว้ ยไมม่ ชี ื่อ (4) - - 12 หว้ ยหลอกกอก 590.00 290.00 13 หว้ ยมะนาว - - 14 หว้ ยหมากยาง 140.00 60.00 15 ห้วยไม่มชี ื่อ (5) 480.00 - 16 หว้ ยอา่ งหนองเมก็ 240.00 - 17 หว้ ยศาลา 230.00 477.00 18 ห้วยคำใหญ่ 650.00 140.00 19 ห้วยหนิ ลบั 110.00 110.00 20 หว้ ยนาดี 80.00 80.00 21 ห้วยแทด 460.00 900.00 22 ห้วยชะโนด 960.00 700.00

รวมทั้งสิน้ 4,470.00 3,997.60

รปู ที่ 1-11 แผนที่แสดงอาคารและพื้นท่ชี ลประทานในเขตลุ่มนำ้ หว้ ยชะโนด (หลงั ดำเนินการ)

25

26

ตารางท่ี 1-5 แสดงความตอ้ งการใชน้ ้ำเพ่ือการอุปโภคบริโภคของล่มุ น้ำหว้ ยบางทราย ในปัจจุบนั และ

อนาคตของอำเภอในเขตลมุ่ นำ้ หว้ ยบางทราย

อำเภอ จำนวนประชากร จำนวนประชากร จำนวนคน การใช้นำ้ เพอื่ การอุปโภคบรโิ ภค

ปี 2557 ปีท่ี n (ล้าน ลบ.ม./ป)ี

ดงหลวง 41,031 5 41,837 3.76

10 42,659 3.84

20 44352 4.00

30 46,111 4.15

หว้านใหญ่ 19,043 5 19,418 1.75

10 19,799 1.78

20 20,584 1.85

30 21,401 1.93

เมือง 139,390 5 142,128 12.80

10 144,920 13.04

20 150,700 13.56

30 156,645 14.10

รปู ที่ 1-12 แผนที่แสดงอาคารและพื้นท่ชี ลประทานในเขตลุ่มนำ้ ห้วยบางทราย (กอ่ นดำเนินการ)

27

28

รปู ท่ี 1-13 แผนผงั ระบบระบายนำ้ ลุ่มนำ้ ห้วยบางทราย (ที่ขาดนำ้ )

29

รปู ที่ 1-14 แผนผงั ระบบระบายน้ำลมุ่ นำ้ หว้ ยบางทราย (ที่ขาดน้ำ ตอ่ )

30

รปู ที่ 1-15 แผนผงั ระบบระบายน้ำลมุ่ นำ้ หว้ ยบางทราย (ที่ขาดน้ำ ตอ่ )

31

ตารางที่ 1-6 แสดงพืน้ ที่ชลประทานและพื้นทร่ี ับประโยชน์ในลำนำ้ สาขาย่อย (หลังดำเนินการ)

ลำดบั ลุม่ น้ำสาขา พืน้ ทชี่ ลประทาน พ้นื ทร่ี ับประโยชน์ (ไร่) (ไร่) 1 ลำห้วยไผ่ - 375 2 ลำห้วยทา 300 - 3 ลำหว้ ยกระพุง - 1,118 4 ลำหว้ ยบางทรายน้อย 94 845 5 ลำหว้ ยเบือก - 1,570 6 ลำหว้ ยลดั แตน - - 7 ลำห้วยโป่ง - - 8 ลำห้วยตาเปอะ 730 - 9 ลำห้วยเลา - - 10 ลำห้วยขาหน้า - 715 11 ลำห้วยอีเลดิ - - 12 ลำห้วยผีป่าช้า 106 - 13 ลำหว้ ยหลัก - - 14 ลำห้วยหวายดนิ 80 - 15 ลำห้วยไร่ - 100 16 ลำห้วยแคน - 1,285 17 ลำห้วยหนิ ลบั - 1,578 18 ลำห้วยไร่ 2 - 685 19 ลำหว้ ยปลาเคิง - 450 20 ลำห้วยเขากวาง - 80 21 ลำหว้ ยเสียว 300 - 22 ลำหว้ ยป่ง 75 180

32

ตารางท่ี 1-6 แสดงพน้ื ที่ชลประทานและพืน้ ท่ีรับประโยชนใ์ นลำนำ้ สาขาย่อย (หลังดำเนนิ การ ตอ่ )

ลำดบั ลุ่มน้ำสาขา พนื้ ท่ีชลประทาน พ้ืนท่ีรับประโยชน์ (ไร่) (ไร่) 23 ลำหว้ ยดนิ สอ - 1,310 24 ลำหว้ ยคำใหญ่ 380 150 25 ลำหว้ ยมะไฟ - - 26 ลำหว้ ยสะเอิง 660 830 27 ลำหว้ ยหมากไฟ 300 100 28 ลำห้วยดานสะเอิง 440 180 29 ลำห้วยแก้ง - 585 30 ลำหว้ ยสามขา - 1,720 31 ลำหว้ ยบ้านดอนม่วย 340 749.42 32 ลำห้วยนอ้ ย - 800 3,805 10,398 รวมท้งั สิ้น

รปู ที่ 1-16 แผนที่แสดงอาคารและพื้นท่ชี ลประทานในเขตลุ่มนำ้ ห้วยบางทราย (หลงั ดำเนินการ) 33

34

ตารางท่ี 1-7 แผนปฏิบตั ิการ 5 ปี ตามยุทธศาสตร์ของโครงการในแตล่ ะด้าน

ข. วธิ กี ารในการจัดลำดบั ความสำคัญในการแกไ้ ขปญั หา และการจัดสรรงบประมาณ ฝา่ ยส่งนำ้ และบำรุงรกั ษาที่ 2 มีวธิ ีจดั การความสำคัญของปัญหาในพน้ื ท่ี เพือ่ จัดทำเป็น

แผนรวมของฝา่ ยฯโดยจะพิจารณาถงึ หลกั เกณฑก์ ารพิจารณาความจำเป็น และตอบโจทยก์ ารแก้ไขปัญหาใน พื้นที่เพ่อื ผลสัมฤทธ์ติ อ่ ภารกิจของฝ่ายฯใหเ้ ป็นไปตามวสิ ยั ทศั น์ เปา้ ประสงค์ และพันธกิจของโครงการฯ

ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 ได้มีการประชุมวางแผนการจัดลำดับความสำคัญของงาน ต่างๆ ให้สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ และความต้องการของผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีการจัด

35

แผนงานโครงการจัดทำเป็น 3 ระยะ ได้แก่แผนงานระยะสั้น แผนงานระยะกลาง และแผนงานระยะยาว เพ่ือให้สอดคลอ้ งกบั ประเดน็ ยทุ ธศาสตรข์ องกรมชลประทาน ซงึ่ มีรายละเอียด ดังน้ี

⚫ แผนงานระยะสน้ั ได้แก่ แผนงานทีด่ ำเนินการในปี พ.ศ.2564 โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้ - พ.ศ. 2564 คือ โครงการที่เสนอใหด้ ำเนินการในปี พ.ศ.2564 ได้แก่ โครงการที่มีการ

แก้ไขปัญหาในพื้นที่ความพร้อมที่จะดำเนินการได้ทันที โดยมีหลักเกณฑ์ที่สำคัญ คือ มีการออกแบบ รายละเอยี ดแล้วเสร็จ

⚫ แผนงานระยะกลาง ได้แก่ แผนงานที่เสนอให้ดำเนินการในปี พ.ศ.2565 ถึง พ.ศ.2568 โดยมีรายละเอยี ดดังนี้

- พ.ศ. 2565 ไดแ้ ก่ โครงการท่มี คี วามพรอ้ มด้านการก่อสร้าง โครงการทีม่ ีการออกแบบ รายละเอยี ดแล้วเสร็จแต่ยังมีปัจจยั อ่ืน ๆ ทยี่ ังไม่สามารถดำเนนิ โครงการได้ เช่น ปญั หาราษฎรคัดค้านการขอ ใช้พื้นที่ป่าไม้ และโครงการที่มีผลการศึกษาความเหมาะสมหรือความเหมาะสมเบื้องต้นแล้ว และจะต้อง ดำเนินการศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมตอ่ ไป

- พ.ศ. 2566 ได้แก่ โครงการที่มีความพร้อมด้านการก่อสร้าง เหลือเพียงขั้นตอนที่ต้อง ดำเนินการออกแบบเพียงอย่างเดียว หรือทบทวนการศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดลอ้ มอย่างใดอยา่ งหนึง่ ใช้ เวลาภายใน 2 ปี

- พ.ศ. 2567 ได้แก่ โครงการท่มี ีความพร้อมด้านการก่อสรา้ งทเ่ี หลือต้องดำเนินการศึกษา ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และออกแบบโดยใชเ้ วลาภายใน 3 ปี

- พ.ศ. 2568 ได้แก่ โครงการท่ีมคี วามพรอ้ มด้านการกอ่ สร้างทเี่ หลอื ต้องดำเนินการศึกษา ผลกระทบดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม และออกแบบโดยใชเ้ วลาภายใน 4 ปี

⚫ แผนงานระยะยาว แผนงานที่ดำเนนิ การในปี พ.ศ. 2569 เป็นตน้ ไป ได้แก่ โครงการที่มี ศักยภาพในการดำเนินการ หรือโครงการทอี่ ยู่ในแผนหลกั ต่างๆ ทีจ่ ะตอ้ งศึกษาเพม่ิ เตมิ ถึงความเป็นไปได้และ รายละเอยี ดตอ่ ไป

ค. วิธกี ารวิเคราะห์การจัดทำแผนควบคมุ ภายในและแผนบรหิ ารความเสย่ี งตามแนวทางท่ีกรมฯ กำหนด ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 มกี ารจดั ทำแผนบรหิ ารความเส่ียง และแผนควบคุมภายในตามท่ีกรมฯ กำหนด ปค.4, ปค.5 และนำมาใช้ควบคุมกับการดำเนินงาน เพื่อให้ลดความเสีย่ งที่จะเกิดขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ สามารถดำเนินงานไดบ้ รรลเุ ป้าหมายตามท่ีต้ังไว้

ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 ได้มีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง และนำมาใช้ในการ บรหิ ารฝ่ายฯ เพ่อื ลดความเสี่ยงที่จะเกิดข้นึ ประจำปีอยแู่ ล้วโดยการจดั ทำรายการควบคมุ ภายในโดยรวบรวม ข้อมูลมาเป็นภาพรวมของโครงการฯ และติดตามความก้าวหน้าทุกเดือน ซึ่งจะส่งผลให้แผนงานของฝ่ายฯ สามารถดำเนนิ งานได้บรรลุเปา้ หมาย

36

ตารางที่ 1-8 แผนการควบคุมภายในและแผนบริหารความเส่ยี งตามแนวทางทกี่ รมฯกำหนด

แผนการควบคุมภายในและแผน

บริหารความเสีย่ งตามแนวทางท่กี รมฯ ด้านการบริหารจัดการนำ้

กำหนด

วธิ ีการ ศึกษา วางแผน ติดตาม ตรวจสอบ กำกับดูแล การบริหารจัดการน้ำใน

ระดับลุ่มน้ำ ระดับโครงการฯ ตลอดปี พร้อมเสนอแนะแนวทางแก้ไข

พัฒนาปรับปรุงเกณฑ์การบริหารจัดการน้ำของแหล่งเก็บกักน้ำพร้อม

บรหิ ารจัดการนำ้ ท่ีทั่วถึง

วัตถุประสงค์ - เพื่อควบคุมการส่งน้ำ/ระบายน้ำในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ได้อย่างทั่วถึง

เป็นธรรม และไดป้ ระโยชน์สงู สุด

- เพื่อควบคุมการเก็บกักน้ำ/ระบายน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งด้าน

ปริมาณและตามระยะเวลาที่ต้องการ ให้มีประสทิ ธิภาพ

- ใช้เทคโนโลยที ่ที นั สมัยมาใช้ในการบรหิ ารจดั การน้ำ (ระบบโทรมาตร)

จุดอ่อนของการควบคุมหรือความเสีย่ งที่ - จากความแปรปรวนของสภาวะอากาศที่ทำให้เกิดภัยธรรมชาติส่ง

ยงั มอี ยู่ ผลกระทบตอ่ การบรหิ ารจดั การน้ำ

- ข้อจำกัดของระบบชลประทานทีไ่ ม่เหมาะสมในการระบายนำ้ หลาก

- ประชาชนต่อต้าน ไมใ่ ห้มีการระบายนำ้ ในพน้ื ที่แกม้ ลิง

- ไม่มีอำนาจในการตัดสินใจขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐและไม่ได้รับความ

รว่ มมือทกุ ภาคส่วน ทำให้ไมส่ ามารถบริหารจัดการน้ำได้ตามแผนที่วาง

ไว้

การปรบั ปรุง - ปรับเกณฑ์การบริหารจัดการน้ำในแต่ละพื้นทีใ่ ห้สอดคล้องกับสภาพที่

เกิดขึ้นจริงในปัจจุบัน และกำหนดแนวทางการบริหารจัดการในกรณี

ต่างๆเพ่อื ลดผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ จากภาวะขาดแคลนน้ำและอทุ กภยั

- ติดตามควบคุมการใช้น้ำให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ แจ้งเตือน

หน่วยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งรวมท้งั เกษตรกร ใหไ้ ดร้ ับทราบขอ้ มูลทช่ี ัดเจน

กำหนดผู้รบั ผิดชอบ ผคป., จน.คป., สบ.คป.

สรปุ ผลการประเมิน/ข้อคิดเหน็ - ปรับแผนการส่งน้ำของอ่างเก็บน้ำขนาดกลางในเขตโครงการฯให้

สอดคล้องกับปรมิ าณนำ้ ตน้ ทุนและพนื้ ท่ีเพาะปลูก

-ติดตามและควบคุมการรับน้ำในเขตลุ่มน้ำโขงตามมาตรการที่กำหนด

และประชาสมั พนั ธใ์ หเ้ กษตรกรไดร้ ับทราบ ข้อมูลนำ้ ตน้ ทุน รวมทั้งการ

รณรงคง์ ดทำนาปรงั

วิธีการ ศกึ ษา วางแผน ติดตาม ตรวจสอบ กำกบั ดแู ล การพฒั นาแหล่งน้ำรวมกับ

ประชาชนผู้รบั บรกิ ารและผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสีย

วัตถปุ ระสงค์ เพื่อการพัฒนาแหล่งน้ำให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป็นไปตามความ

ต้องการของผู้รบั บรกิ ารและผ้มู สี ่วนได้สว่ นเสีย

37

ตารางที่ 1-8 แผนการควบคุมภายในและแผนบริหารความเสย่ี งตามแนวทางท่กี รมฯกำหนด(ตอ่ )

แผนการควบคมุ ภายในและแผนบรหิ าร

ความเสีย่ งตามแนวทางทก่ี รมฯกำหนด ด้านการบริหารจัดการน้ำ

จดุ ออ่ นของการควบคมุ หรือความเสี่ยงที่ - การขออนุญาตใชพ้ นื้ ท่อี ุทยาน/เขตรักษาพันธส์ ัตว์ป่าเพื่อทำ

อําเภอดงหลวง มีกี่หมู่บ้าน

อำเภอดงหลวงแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 6 ตำบล 60 หมู่บ้าน ได้แก่

ตําบล กก ตูม มี กี่ หมู่บ้าน

ตำบลกกตูม ประกอบด้วยหมู่บ้ำน จ ำนวน 16 หมู่บ้ำน ดังนี้ หมู่ที่ หมู่บ้าน พื้นที่ทั้งหมด (ไร่) ก านัน/ผู้ใหญ่บ้าน

ตำบลหนองแคนมีกี่หมู่บ้าน

มีพื้นที่ 83.26 ตร.กม. 51,975 ไร่ แบ่งการปกครองออกเป็น 7 หมู่บ้าน ได้แก่

มุกดาหาร มี กี่ อํา เภ อ กี่ ตําบล

จังหวัดมุกดาหารแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 อำเภอ 52 ตำบล 475 หมู่บ้าน ดังนี้ 1. อำาเภอเมืองมุกดาหาร อำเภอคำชะอี อ่าเภอดอนตาล 12 ตำบล 128 หมาน บ

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf