ตัวอย่าง รายงานวิชาการ วรรณกรรม

รายงานเรื่องวรรณกรรมพื้นบ้านเชียงคำจัดทำขึ้นเพื่อ ( จุดประสงค์ในการทำรายงาน ) ประกอบด้วยเนื้อเรื่อง ๒ บทหลัก คือ ( บอกส่วนประกอบของรายงาน ) คณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณ ( ขอบคุณที่ปรึกษา ผู้ให้ข้อมูล ฯลฯ ที่ให้ความช่วยเหลือ ) และหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนในวิชาภาษาไทย หรือผู้ที่สนใจศึกษาเรื่องวรรณกรรมพื้นบ้านเชียงคำสืบต่อไป หากมีข้อผิดพลาดเรื่องข้อมูลประการใดผู้จัดทำต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย และหากมีข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงแก้ไข กรุณาแจ้งคณะผู้จัดทำจะขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่ง

Biomass briquette charcoal has been studied using a variety of agricultural waste materials. The outcome revealed that the charcoal bars are still inefficient in use because of their fragility, high moisture causing mold, difficulty setting up, short burning times, and smoky. The aims of this research are to build up a biomass charcoal briquette machine and to examine the raw material proportions. Durian peel and mangosteen peel charcoal were mixed with cassava starch. The mixing ratio by weight between Durian peel and mangosteen peel was 4 : 1, 2 : 1, 3 : 2, 1 : 1, 2 : 3, 1 : 2, and 1 : 4. The biomass charcoal briquette machine was evaluated for its forming ability, physical shape, and density while the properties of charcoal briquettes were analyzed based on American Society of Testing and Materials (ASTM). The results reveal that this machine is efficient to use considered by smooth surface, sturdiness, and density (604.94–612.12 kg/m3). The charcoal briquettes made from durian peel and mangosteen peel in the ratio of 1 : 4 can be achieved all criteria which have the highest calorific value of 5,572.78 kcal/kg, the lowest moisture content of 4.82%, the minimum volatile matter content of 7.26%, the minimum ash content of 9.47%, the maximum fixed carbon of 75.39%. Also, it has a bulk density of 606.32 kg/m3, a heat utilization efficiency of 22.79%, and a burning time of 99.47 minutes.

รายงานเชิงวิชาการ การอ่านและพจิ ารณาวรรณคดีเรื่อง อิเหนา ตอนศึกกะหมงั กุหนิง

จดั ทำโดย นางสาวลานนา ทองทวชั เลขที่ 24 นางสาวกญั ญรัตน์ บญุ ทรัพย์ เลขท่ี 29 นางสาวชฎาพร สงิ ห์ตะ๊ เลขท่ี 31 นางสาวนวลวรรณ แซพ่ ่าน เลขที่ 32 นางสาวมนสั วรรณ ทัพผดงุ เลขที่ 35 นางสาวอณัชฎา สจุ าแสน เลขที่ 39 นางสาวเปรมกมล ปญั จะเรอื ง เลขท่ี 40

เสนอ คุณครู ณัฐชยา รุณผาบ

รายงานน้ีเป็นส่วนหนง่ึ ของรายวิชา ภาษาไทย(ท33102) โรงเรยี นสนั ป่าตองวิทยาคม

ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565 สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต 34

เรือ่ ง อเิ หนา ตอนศึกกะหมงั กหุ นงิ

ผู้จดั ทำ นางสาวลานนา ทองทวชั นางสาวกัญญรัตน์ บุญทรพั ย์ นางสาวชฎาพร สงิ หต์ ๊ะ นางสาวนวลวรรณ แซ่พา่ น นางสาวมนัสวรรณ ทพั ผดุง นางสาวอณชั ฎา สจุ าแสน นางสาวเปรมกมล ปญั จะเรือง

ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปที ่ี 6/9

ครทู ่ปี รึกษา นางณัฐชยา รณุ ผาบ

บทคดั ยอ่ ปจั จบุ นั วรรณกรรมเเละวรรณคดีไทยมีหลายเรือ่ งที่เเพร่หลายในอดตี เเละตกทอดมาจนถงึ ปัจจุบนั เพ่อื ให้คนรุน่ หลังได้อ่านเเล้วเกิดความเพลดิ เพลนิ มีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับ วรรณคดี การทำรายงานครง้ั นี้ผู้จัดทำจึงมีวัตถุประสงค์เพอ่ื ศึกษาและทำความเขา้ ใจในเรื่องของ วรรณคดมี ากยิง่ ข้นึ ผู้จดั ทำสนใจทำรายงานเรื่อง อเิ หนา ตอนศึกกะหมงั กุหนิง เนือ่ งจาก ผู้จดั ทำเล็งเห็นปัญหาเกิดจากความไมเ่ ขา้ ใจบทเรียนเเละบทกลอนทำให้ผู้จัดทำได้ทำรายงาน เลม่ นีข้ ้นึ มา

ก กติ ติกรรมประกาศ

โครงงานเรือ่ งอเิ หนาตอนศึกกะหมงั กหุ นิงเลม่ นเี้ สรจ็ สมบูรณไ์ ด้นนั้ เพราะได้รับความ อนเุ คราะหแ์ ละการสนบั สนุนด้วยดีจาก ครณู ัฐชยา รุณพาบ ครผู ู้สอนในวชิ าภาษาไทย ท่ไี ด้ให้ คำปรกึ ษาและคำเสนอแนะ แนวคดิ ต่างๆในการทำโครงงานภาษาไทยให้ถกู ต้องตามหลกั การ

ขอกราบขอบพระคุณ คุณครู ท่ใี ห้คำปรกึ ษารายงานและช่วยแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งของ รายงานจนสำเรจ็ และขอบคณุ เพือ่ นๆในกลมุ่ ที่ช่วยกันทำรายงาน ขอ้ แนะนำดๆี เกย่ี วกบั รายงาน เรื่องนี้ จนสำเรจ็ ลุลว่ งไปดว้ ยดี

คณะผู้จัดทำ นางสาวลานนา ทองทวัช นางสาวกัญญรตั น์ บุญทรัพย์ นางสาวชฎาพร สงิ ห์ต๊ะ นางสาวนวลวรรณ แซ่พ่าน นางสาวมนสั วรรณ ทัพผดุง นางสาวอณัชฎา สจุ าแสน นางสาวเปรมกมล ปญั จะเรอื ง

คำนำ เรื่อง อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกหุ นงิ จัดทำข้นึ เพ่อื ใช้เปน็ เคร่ืองมือประกอบการนำเสนอ และประกอบการวิเคราะหว์ รรณคดี ในรายวิชาภาษาไทย ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๖ เพ่อื ความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาของวรรณคดี เรือ่ งอเิ หนา ตอน ศึกกะหมงั กุหนิง ในด้านประวัติ ความเปน็ มา รูปแบบคำประพนั ธ์ เนอื้ เรอ่ื ง ตวั ละคร คุณคา่ ด้านวรรณศิลปแ์ ละคณุ คา่ ของ วรรณคดใี นด้านอน่ื ๆ เพ่ือให้เกิด ความเข้าใจ ซาบซงึ้ ในเนอื้ หา และเห็นคุณคา่ ของวรรณคดีอนั เปน็ มรดกทางวฒั นธรรมท่สี ำคัญของชาตไิ ด้มีสว่ นร่วมในการอนรุ ักษ์ความเป็นไทย และนำ ความรู้ทีไ่ ด้จากการเรียนไปใช้เพือ่ พัฒนาความสามารถทางการใช้ภาษาของตนเองตอ่ ไป รายงานเลม่ นีเ้ ป็นการวิเคราะหเ์ พียงส่วนหน่งึ ของวรรณคดีเร่อื งอิเหนา หากมีข้อผิดพลาดหรอื ขอ้ บกพร่องประการใดทางผู้จัดทำขออภัยมา ณ ท่นี ้ีด้วย

คณะผู้จัดทำ นางสาวลานนา ทองทวัช นางสาวกัญญรตั น์ บญุ ทรพั ย์ นางสาวชฎาพร สงิ หต์ ะ๊ นางสาวนวลวรรณ แซพ่ ่าน นางสาวมนสั วรรณ ทัพผดุง นางสาวอณัชฎา สุจาแสน นางสาวเปรมกมล ปญั จะเรอื ง

สารบัญ ค

เรื่อง หน้า ก กิตตกิ รรมประกาศ ข ค คำนำ 1

สารบญั 6 8 บทที่ 1 บทนาํ 9

เรือ่ งยอ่ 10 1.1.ทม่ี า และความสาํ คัญ 1.2.ประวตั ผิ ู้แตง่ 11 1.3.วัตถปุ ระสงค์ 1.4.สมมตุ ฐิ าน 12 1.5.ปญั หา 13 1.6.ผลที่คาดว่าจะไดร้ บั 14 1.7.ขอบเขตการศึกษา

บทที่ 2 เอกสารท่เี กย่ี วข้อง

2.1.ความหมายของวรรณคดีไทย 2.2.ประวตั วิ รรณคดี ประวตั ิผู้แต่ง 2.3.ประวัตคิ วามเปน็ มาของเร่อื งอิเหนาในประเทศไทย 2.4.ลกั ษณะคำประพันธ์อเิ หนา 2.5.เกรด็ ความรู้เกย่ี วกบั อเิ หนา

เรื่อง ง 2.6.ขอ้ คดิ และการนำเอาไปใช้ในชวี ิตประจำวัน หนา้ 16 บทที่ 3 วิธีการดำเนินการศึกษา 18

3.1.ขนั้ เตรียมการ 19 3.2.ขน้ั ตอนดำเนินงาน 3.3.วิธีเกบ็ รวบรวมข้อมูล 21 3.4.การวิเคราะหข์ ้อมูล 22 บทที่ 4 ผลการศึกษา 25 26 4.1.เนอื้ เรื่องเกีย่ วกบั วรรณคดีไทย อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง 4.2.ตัวละครท่ปี รากฏในอเิ หนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง 27 4.3.ขอ้ คดิ จากอเิ หนา ตอน ศึกกะหมงั กหุ นงิ 28 29 บทที่ 5 สรปุ การดําเนินงานและข้อเสนอแนะ

5.1.สรปุ 5.2.อภิปรายผล 5.3.ขอ้ เสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก

ประวตั ผิ ู้จดั ทำ

1

บทที่ 1

บทนำ

เรื่องยอ่

ในดินแดนชวาแต่โบราณมีกษตั ริยร์ าชวงศ์หนึ่ง คอื วงศ์อสัญแดหวา หรือ วงศ์เทวา กล่าว กนั ว่า แตเ่ ดมิ กอ่ นจะมีการกอ่ ตงั้ ราชวงศน์ ้ี เมืองหมนั หยา ซึ่งได้ช่อื ว่าเป็นเมืองที่ยิง่ ใหญแ่ ละ รุง่ เรอื งมากเมืองหนึง่ เจา้ เมืองมีธิดาสี่องคซ์ ึ่งมีสิรโิ ฉมงดงามมาก พระองค์คิดจะแตง่ การ สยมุ พรให้กบั ธดิ าทง้ั สี่ แต่หากษัตริยท์ ค่ี ่คู วรไมไ่ ด้ ต่อมามีเหตเุ กดิ ขึ้นคอื มีพระขรรคช์ ัยกับธงผุด ข้นึ ท่หี น้าพระลาน ทาํ ให้เกิดข้าวยากหมากแพงชาวเมืองพากันเดอื ดร้อนโดยถ้วนท่วั เจ้าเมือง หมันหยาจึงป่าวประกาศให้กษตั ริยเ์ มืองตา่ งๆ มาถอนพระขรรคก์ ับธงออกเพ่ือแก้อาถรรพ์ ถ้า ผู้ใดทาํ ได้สําเรจ็ จะยกราชธิดาท้ังส่แี ละสมบตั ิให้ก่ึงหนง่ึ กษตั รยิ ์เมืองต่างๆ พากันมาอาสาท่จี ะ ถอนธงกับพระขรรค์แตก่ ็ไมม่ ีใครสามารถทําได้ องค์ปะตาระกาหลาเทวดาที่มาสถติ ณ เขา ไกรลาสไดม้ อบหมายให้โอรสท้ังส่ี คอื กเุ รปัน ดาหา กาหลงั และ สิงหดั ส่าหรี ไปช่วยถอนธง กบั พระขรรคไ์ ดส้ ําเรจ็ แต่เทวราชทั้งส่ไี มข่ อรบั ราชสมบัติจากท้าวหมันหยา หากขอเพยี งแคร่ าช ธดิ าไปเป็นคู่ครองและจะไปสรา้ งเมืองอย่เู องเทวาท้ังสพ่ี ระองค์พาราชธิดาของท้าวดาหาไป สรา้ งเมืองใหมใ่ นดินแดนท่ที รงพอพระทัย และได้ตงั้ ชือ่ เมืองตามพระนามของจ้าวผู้ครองนคร ทง้ั สี่ คือ กุเรปนั ดาหา กาหลงั และ สิงหดั สา่ หรี สเ่ี มืองนี้ จึงนบั เป็นเมืองที่ยิง่ ใหญ่ดว้ ย เกยี รติยศและศักดิ์ศรี และเรียกวงศ์ตระกูลของตนเองว่าวงศอ์ สญั แดหวา หรือ วงศเ์ ทวัญ เปน็ ทย่ี อมรับและยกย่องของหวั เมืองนอ้ ยใหญ่ และ เฉพาะสีเ่ มืองน้ีเทา่ น้ันทีส่ ามารถตั้งตาํ แหน่ง มเหสีได้ ๕ องค์ อันได้แก่ ประไหมสหุ รี มะเดหวี มะโต ลกิ ู และ เหมาหลาหงี ตามลาํ ดบั สว่ น ความเกี่ยวพันระหวา่ งวงศอ์ สัญแดหวา กบั เมืองหมนั หยานน้ั เรียกได้ว่าเก่ียวดองกันเพราะวงศ์ อสัญแดหวารนุ่ ต่อๆ มาลว้ นได้ธิดาเมืองหมนั หยามาเปน็ ประไหมสหุ รี ในสมยั ตอ่ มาท้าวหมนั ห ยามีพระธดิ าทท่ี รงพระสิริโฉมงดงามอีก ๓ พระองค์ คอื นิหลาอรตา

2

ดาหราวาตี และจนิ ดาส่าหรี ทา้ วกเุ รปันมาขอนางนหิ ลาอรตาไปเปน็ ประไหมสหุ รี ส่วนนางดา หราวาตกี ถ็ กู ท้าวดาหาขอไปเปน็ ประไหมสหุ รีเชน่ เดียวกัน

ทา้ วดาหาและท้าวกุเรปันจงึ สัญญากันว่า ถา้ หากฝ่ายหนึง่ มีพระโอรสและอกี ฝา่ ยมีพระราชธิดา กจ็ ะให้หมั้นกันทันที ส่วนนางจินดาสา่ หรีนั้นไดอ้ ภิเษกกบั โอรสท้าวมงั กนั และได้ครองเมือง หมนั หยาทา้ วกุเรปนั มีโอรสองค์แรกกับมเหสตี าํ แหนง่ ลิกูชอ่ื วา่ กะหรัดตะปาตี ตอ่ มามีโอรสกับ ประไหมสหุ รีเปน็ หนุ่มรูปงามและเก่งกล้าสามารถชือ่ อเิ หนาหรอื ระเด่นมนตรี มีพระธดิ าชื่อวิยะ ดา สว่ นท้าวดาหามีพระธดิ ากบั ประไหมสุหรีชอ่ื บุษบา และมีพระโอรสชือ่ สยี ะตรา ท้าวกเุ รปนั หม้ันหมายนางบษุ บาไว้ให้กับอิเหนา ส่วนทา้ วดาหา ก็หม้ันหมายวิยะดาไว้ให้กับสียะตรา

ฝา่ ยประไหมสุหรีเมืองหมันหยา ไดใ้ ห้กําเนดิ พระธดิ าช่อื จนิ ตะหราวาตี มีอายรุ นุ่ ราว คราวเดียวกนั กับอิเหนา ทางด้านประไหมสุหรีของเมืองสงิ หดั สา่ หรีไดใ้ ห้กาํ เนดิ พระโอรสช่อื สุ หรานากง และ เมืองกาหลังได้กําเนดิ ธดิ ากบั ประไหมสหุ รีชอ่ื สกาหนึง่ หรัด ไดห้ มั้นหมายไว้กบั สุ หรานากงและได้ให้กําเนิดพระธิดาอกี หนึง่ องค์กับมเหสีในตําแหนง่ ลกิ ชู ือ่ บษุ บารากา เป็นคู่ หมายของกะหรดั ตะปาตีเมื่ออเิ หนาเจริญวัยจนอายไุ ด้ ๑๕ ชนั ษา ก็มีความเชีย่ วชาญเก่งกล้า สมเป็นโอรสกษัตริย์ ตอ่ มาพระมารดาของประไหมสหุ รีเมืองหมันหยา ซงึ่ เปน็ พระอยั ยิกาของ อเิ หนา บุษบา และ จินตะหรา ทวิ งคตท้าวหมนั หยาจงึ มีราชสารแจ้งไปยงั เมืองกเุ รปนั และ เมืองดาหา ท้าวกเุ รปันจึงให้อิเหนานาํ เคร่อื งเคารพศพไปรว่ มงาน ครั้นอเิ หนาไปถึงเมือง หมันหยา ไดเ้ ข้าเฝ้าท้าวหมันหยา และพบกบั จินตะหรา ธดิ าเจ้าเมืองจึงนกึ รักคิดใครไ่ ดน้ าง เปน็ ชายา จนพิธีถวายพระเพลิงเสรจ็ แล้วก็ยังไมย่ อมกลบั เมืองกุเรปัน

3

บทชมโฉมนางจินตะหรา

“ งามงอนอ่อนระทวยนวยแนง่

ดําแดงนวลเน้อื สองสี

ผอ่ งพกั ตรผ์ ิวพรรณดังจนั ทร์

นางในธานีไม่เทียมทนั ”

(อเิ หนา : พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัย)

ทา้ วกุเรปันเหน็ ว่างานศพกเ็ สรจ็ สิน้ แลว้ จึงให้คนถอื หนงั สอื ไปตามตัวอิเหนากลับ โดย บอกเหตุผลว่า พระมารดาทรงครรภแ์ ก่ใกล้ประสูติ อิเหนาต้องจาํ ใจกลับวงั แตไ่ ด้เขยี นเพลง ยาวและฝากแหวนสองวง ขอแลกกบั สไบของนางจินตะหรา เมือ่ อเิ หนาถงึ เมืองกเุ รปัน กท็ ราบ ว่าประไหมสหุ รีให้กําเนิดธดิ า ชื่อวิยะดา และท้าวดาหาไดส้ ่ขู อตุนาหงันไวใ้ ห้กบั สยี ะตรา นอ้ งชายบษุ บา เมื่ออิเหนากลับมากุเรปันก็คร่ำครวญคิดถึงแตจ่ ินตะหรา ทา้ วกุเรปนั จึงมีราช สารเรง่ รดั ไปยงั ท้าวดาหาเพ่ือจะจดั การวิวาห์ระหวา่ งอิเหนากับบษุ บาให้เป็นทเ่ี รียบรอ้ ย

ฝ่ายอิเหนาเมือ่ ทราบวา่ จะต้องแต่งงานกับบษุ บา จึงออกอบุ ายขออนุญาตท้าวกเุ รปนั ออกประพาสป่าแล้วปลอมตัวเป็นนายโจรชือ่ มิสารปนั หยีให้พเ่ี ลีย้ งและไพร่พลปลอมเปน็ ชาวบา้ นป่าทั้งส้ินเดนิ ทางมุ่งหนา้ สู่ภูเขาปะราปีใกลเ้ มืองหมันหยา

กล่าวถงึ กษัตรยิ ์สามพีน่ อ้ งอีกวงศ์หนึ่ง องคแ์ รกครองเมืองปนั จะรากัน มีธดิ าชือ่ สกา ระวาตี องคร์ องครองเมืองปกั มาหงัน มีธดิ าชือ่ มาหยารศั มี มีโอรสชอ่ื สังคามาระตา องค์ท่ี สามครองเมืองบุศสิหนา เพ่งิ ไปส่ขู อนางดรสา ธิดาเมืองปะตาหรามาเป็นชายา ระหวา่ งเดนิ ทาง กลบั จากพิธวี ิวาห์ พีน่ อ้ งทง้ั สามเมืองก็แวะพกั นมัสการฤาษสี ังปะลิเหงะซึ่งบาํ เพ็ญพรตอยูเ่ ชงิ เขาปะราปี

4

ระหวา่ งทีไ่ พรพ่ ลของอิเหนาพักอยู่ที่เชงิ เขาปะราปี ประสันตาพีเ่ ล้ียงของอิเหนาได้ลว่ งล้ำ ไปมีเร่อื งวิวาทกับไพร่พลของท้าวบศุ สิหนา ทา้ วบุศสิหนายกทพั มารบกับอเิ หนาซึ่งใช้ช่อื ว่า มิ สารปันหยี ท้าวบศุ สิหนาถูกมิสารปนั หยีแทงตกมา้ ตาย ท้าวปันจะรากนั และทา้ วปกั มาหงนั ทราบจากฤาษสี ังปะลิเหงะว่า มิสารปันหยีคืออิเหนา จงึ ยอมออ่ นน้อมไม่สู้รบด้วย ท้ังยกสการะ วาตี มาหยารัศมี และ สังคามาระตาให้แกอ่ เิ หนาดว้ ยจากนน้ั อิเหนาก็เข้าเมืองหมันหยา ได้ ลกั ลอบเข้าหาจินตะหราได้นางเป็นชายา แล้วได้สองนางคอื มาหยารศั มีสะการะวาตีเป็นชายา และรับสังคามาระตาเป็นน้องชาย

ทา้ วกุเรปันส่งสารเรียกอิเหนากลับเมืองถึงสองครงั้ พร้อมท้ังนดั วันอภิเษกระหว่าง อเิ หนากบั บุษบาแตอ่ ิเหนาไม่ยอมกลบั และสัง่ ความตดั รอนนางบุษบา ท้าวกุเรปันและท้าวดาหา ทราบเร่อื งก็ขัดเคืองพระทยั ท้าวดาหาถึงกบั หลุดปากวา่ ถา้ ใครมาขอบษุ บากจ็ ะยกให้

จรกาเจ้าชายรปู ชวั่ ตัวดาํ ซึง่ เปน็ ระตูเมืองเล็กเมืองหนึ่งและเปน็ อนุชาของท้าวลา่ สําแต่ อยากไดช้ ายารปู งามจึงให้ชา่ งวาดรูปราชธิดาเมืองตา่ ง ๆ มาให้ ชา่ งวาดผู้หนง่ึ ได้เดนิ ทางไป เมืองดาหาและวาดรูปนางบษุ บามาได้สองรูป ระหว่างทางองค์ปะตาระกาหลาไม่พอพระทยั ท่ี อเิ หนาหนีการแตง่ งานจึงบนั ดาลให้รูปนางบษุ บาหายไปรูปหนง่ึ จรกาไดเ้ ห็นรูปของนางบุษบาก็ หลงใหลใฝฝ่ นั ถงึ จนถึงขนั้ สลบไปในทนั ทที ่ีเหน็ รูปภาพเมื่อฟ้ืนมาจึงขอให้ระตลู ่าสําเชษฐาไปสู่ ขอให้ ทา้ วดาหากําลงั โกรธอิเหนาอยูป่ ระกอบกบั ได้พลงั้ ปากไปแลว้ ว่าถา้ มีใครมาสูข่ อก็จะยก ให้ จึงจาํ ใจยกนางบษุ บาให้กบั จรกาและกาํ หนดการวิวาหภ์ ายในสามเดอื น

5

บทชมโฉมนางบุษบา “ พกั ตร์น้องละอองนวลเปล่งปลั่ง

ดังดวงจนั ทร์วนั เพ็งประไพศรี อรชรออ้ นแอ้นทงั้ อินทรยี ์ ดงั กินรีลงสรงคงคาลยั งามจริงพริง้ พร้องทงั้ สารพางค์ ไมข่ ัดขวางเสยี ทรงทีต่ รงไหน ”

(อเิ หนา : พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั )

กล่าวถงึ กษัตรยิ อ์ ีกวงศ์หนึง่ สามพี่นอ้ ง องค์พี่ครองเมืองกะหมังกหุ นงิ มีพระโอรสรูปงาม ชื่อวิหยาสะกาํ องค์รองครองเมืองปาหยังมีพระธิดา ๒ องค์ คอื นางรัตนาระตกิ า และ รัตนาวา ตี องคส์ ุดทอ้ งครองเมืองประหมนั สลดั มีพระโอรสชือ่ วิหรากะระตา มีพระธิดาชือ่ บุษบาวิลศิ อยูม่ าวหิ ยาสะก า โอรสทา้ วกะหมังกหุ นงิ เสด็จประพาสป่า ได้พบกบั ภาพวาดของนางบุษบาที่ องค์ปะตาระกาหลาบนั ดาลให้หายไปก็คล่ังไคลใ้ หลหลงจนถึงกับสลบไปเช่นเดยี วกนั กบั จรกา ทา้ วกะหมังกุหนงิ รกั และเห็นใจพระโอรสมากจึงให้คนไปสบื หาว่านางในภาพเปน็ ใคร เมือ่ ทราบ แล้วจงึ ส่งราชทตู ไปส่ขู อนางบุษบาจากท้าวดาหาแตท่ า้ วดาหาปฏิเสธเพราะได้ยกนางบษุ บา ให้กบั จรกาไปแล้ว จงึ ทําให้เกดิ ศึกชิงนางขนึ้ ศึกในตอนน้เี รียกวา่ ศึกกะหมังกหุ นงิ

6

1.1.ที่มา และความสาํ คัญ ประวัตผิ ู้แตง่

อเิ หนา เป็นบทละครพระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั เป็นบท ละครทีว่ รรณคดีสโมสรยกย่องให้เปน็ ยอดของบทละครรำ เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดพี ร้อมท้ัง เนอื้ หา ทงั้ ความไพเราะ ทง้ั กระบวนทจ่ี ะเลน่ ละครประกอบกัน และยงั เปน็ หนงั สือดใี นทางท่ี จะศึกษาประเพณีไทยสมยั โบราณ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัยทรงพระราช นพิ นธต์ รงตามตำราทุกอยา่ ง แม้บทละครเร่อื งอเิ หนาจะมีเค้าเรอ่ื งมาจากนิทานพ้นื เมือง ชวา แตท่ รงดัดแปลงแก้ไขให้เข้ากบั ธรรมเนียมของบา้ นเมือง อัธยาศยั และรสนยิ มของคนไทย

อเิ หนา เปน็ วรรณคดีที่มีมาแตเ่ มื่อคร้ังกรุงศรีอยุธยาเปน็ ราชธานี โดยมีทีม่ าจากนทิ าน ปนั หยีซึ่งเป็นคําสามญั ท่ีชาวชวาใชเ้ รียกวรรณคดีที่มีความสาํ คัญมากเร่อื งหนึง่ คอื อเิ หนาปัน หยีกรตั ปาตซี ึ่งชาวชวา ไดแ้ ต่งข้ึนเพ่อื เฉลิมพระเกียรติพระมหากษตั ริย์ชวาพระองคห์ น่งึ ซึ่งเป็น นักรบ นกั ปกครอง และทรงสรา้ งความเจริญให้แกช่ าวชวาเปน็ อยา่ งมาก ทรงมีพระนามว่า ไอร ลังคะ ครองราชย์อยู่ทเ่ี มืองดาฮา (ดาหา) เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๕๑๒ พระองค์ทรงมี พระราช ธดิ า ๑ พระองค์ และพระราชโอรส ๒ พระองค์ เมือ่ พระราชธดิ าของพระองค์ไดท้ รงเสด็จออก ผนวชเปน็ ชีจงึ ได้แบง่ ราชอาณาจักรเปน็ ๒ สว่ นคือกเุ รปนั และดาหา เมือ่ พระองคส์ ้ินพระชนม์ พระราชโอรสพระองคโ์ ตกค็ รองเมืองกุเรปัน สว่ นพระราชโอรสพระองคเ์ ล็กครองเมืองดาหา ต่อมาท้าวกุเรปันได้ทรงมีพระราชโอรสพระองค์หนึง่ และ ทา้ วดาหาทรงมีพระราชธิดาพระองค์ หนึ่ง ซึง่ ท้ังสองพระองคม์ ีพระนามวา่ อิเหนา และ บษุ บา ดังที่ปรากฏอย่ใู นวรรณคดี เมื่อทงั้ คู่ ทรงเจริญพระชันษาอดีตพระราชธิดาของกษตั รยิ ์ไอรลังคะทเ่ี สด็จออกผนวชเป็นชีจงึ มีพระด าริ ให้อิเหนา และ บุษบาอภิเษกกันเพอื่ ให้กเุ รปนั และ ดาหากลบั มารวมกันเป็นราชอาณาจักร เดียวกนั ดง่ั เดมิ อิเหนาเป็นกษัตริยท์ ี่ทรงอานภุ าพทรงปราบปรามหัวเมือง น้อยใหญใ่ ห้อยูใ่ นอ านาจจนไดช้ ือ่ วา่ เป็น มหาราชพระองค์หน่งึ ในพระราชพงศาวดารชวา อย่างไรกต็ าม ราชวงศ์ ของอิเหนา รงุ่ เรอื งอยู่เพียง ๒๐๐ ปี จนเมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๗๖๔ กเ็ สื่อม อาํ นาจเพราะถกู

7

กษัตริยอ์ ังรกะแยง่ ราชสมบตั แิ ละย้ายราชธานี ไปอยทู่ ีเ่ มืองสิงคัสซารี (สงิ หดั สา่ หรี) แตใ่ นสมยั ตอ่ มาได้ย้ายไป อยู่ทเ่ี มืองมัชปาหติ จนถึง พ.ศ. ๒๐๐๐ ชวาก็ตกอยใู่ นอาํ นาจของชาวอนิ เดียที่ นบั ถือศาสนาอิสลาม ภายหลังก็ตกมาเปน็ เมืองข้ึน ของโปรตุเกสและฮอลันดา ได้รบั เอกราช และสถาปนาเป็น ประเทศอนิ โดนเี ซียเมือ่ พ.ศ. ๒๔๙๒ ชาวชวาถอื ว่าอเิ หนาเป็นวรี บุรุษ เป็นผู้มี ฤทธ์ิ เรือ่ งที่เล่าสืบตอ่ กันมจนกลายเปน็ นิทานจึงเตม็ ไปดว้ ยอิทธิฤทธิ์ปาฏิหารยิ ์ เน่อื งจากนิทาน ปนั หยี หรอื อเิ หนาเป็นเรื่องราวท่ไี ด้รับความนิยมจากชาวชวาเปน็ อยา่ งมากเน้ือเร่อื งจึงปรากฏ เปน็ หลายสาํ นวนหลายฉบับ และเมือ่ เขา้ สู่ประเทศไทยฉบับท่ตี รงกับอิเหนาของเราน้ัน คือ ฉบับ มาลัต ใชภ้ าษากวีของชวาโบราณมาจากเกาะบาหลี

อเิ หนา เปน็ วรรณคดีที่มีมาแต่เมือ่ ครั้งกรงุ ศรีอยุธยาเป็นราชธานี มีทีม่ าจากนิทานปัน หยี ซึ่งเป็นคำสามัญท่ชี าวชวาใช้เรียกวรรณคดีทม่ี ีความสำคญั มากเร่อื งหนึง่ คอื เร่อื งอิหนา ปนั หยี กรตั ปาตี วรรณคดีเร่อื งน้ีมีเน้ือเร่อื งเปน็ พงศาวดารแตง่ ข้ึนเพอ่ื การเฉลิมพระเกียรติ กษัตริยช์ วาพระองคห์ น่งึ ซึง่ ทรงเป็นนักรบนักปกครอง และทรงสรา้ งความเจริญให้แกช่ วาเป็น อยา่ งมากชาวชวาถอื วา่ อหิ นาเป็นวรี บุรษุ เปน็ ผู้มีฤทธ์ิ เรือ่ งที่เลา่ สืบตอ่ กันมาจนกลายเป็น นทิ านจงึ เต็มไปดว้ ยอิทธิปาฏิหาริย์

ว่าพลางทางชมคณานก โผนผกจบั ไม้อึงมี่ เบญจวรรณจับวัลยช์ าลี เหมือนวนั พีไ่ กลสามสดุ ามา นางนวลจับนางนวลนอน เหมือนพ่แี นบนวลสมรจินตะหรา จากพรากจับจากจำนรรจา เหมือนจากนางสการะวาตี แขกเต้าจบั เตา่ ร้างรอ้ ง เหมือนร้างห้องมาหยารศั มี นกแก้วจับแก้วพาที เหมือนแก้วพี่ทงั้ สามสง่ั ความมา

8

ตระเวนไพรรอ่ นร้องตระเวนไพร เหมือนเวรใดให้นิราศเสน่หา

เค้าโมงจับโมงอยูเ่ อกา เหมือนพีน่ บั โมงมาเมื่อไกลนาง

คบั แคจบั แคสันโดษเด่ยี ว เหมือนเปล่าเปลย่ี วคบั ใจในไพรกว้าง

ชมวิหคนกไม้ไปตามทาง คะนงึ นางพลางรีบโยธี

1.2.ประวตั ผิ ู้แตง่

พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หล้านภาลัย ทรงเป็นกษัตริย์ไทยพระองคท์ ี่ 2 แห่งราชวงศ์ จักรีทรงประสูตรเมือ่ 24 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2310 ตรงกับวนั พธุ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 3 ปกี ุน มีพระ นามเดิมว่า “ฉิม” พระองค์ทรงเปน็ พระบรมราชโอรสองค์ท่ี 4 ในพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอด ฟ้าจุฬาโลกกับกรม สมเด็จพระอมรินทรามาตย์ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสตู ิ ณ บ้าน อัมพวา แขวงเมืองสมทุ รสงคราม ขณะน้ันพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้า จฬุ าโลกเป็นหลวง ยกพระบัตรเมืองราชบรุ ี

พ.ศ. 2325 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ทรงปราบดาภิเษกเป็นปฐม กษตั ริยแ์ หง่ พระราชวงศจ์ กั รี ขณะนนั้ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัยทรงมี พระชนมายุ 16 พรรษา พระราชบิดาจงึ โปรดสถาปนาให้ดำรงพระยศเป็น สมเดจ็ พระเจ้าลกู ยา เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศราสนุ ทร ครงั้ มีพ่ ระชนมายสุ มควรที่จะได้รับการอุปสมบท พระราช บดิ าได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้อุปสมบท ณ วดั พระศรีรัตนศาสดาราม แล้วเสดจ็ ไปจำพรรษา ณ วดั สมอราย

9 ตลอดรชั กาลท่ี 1 พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั ได้โดยเสด็จพระราชบิดาไปใน การสงครามทุกคร้ัง เมือ่ พระชนมายุได้ 41 พรรษา พระราชบิดาไดท้ รงสถาปนาให้ดำรงพระยศ เปน็ “พระมหาอปุ ราชกรมพระราชวังบวรสถานมงคล” ดำรงพระเกียรตยิ ศเป็น พระมหา อุปราช อยู่ 3 ปี ครงั้ ถึงปี พ.ศ. 2352 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเสด็จสวรรคต พระองค์จึงเสด็จข้นึ ครองราชย์ นับเป็นองค์ท่ี 2 แหง่ พระบรมราชจกั รีวงศ์ ทรงพระนาม่า “พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลัย” ทรงครองราชยอ์ ยู่ 15 ปี ครังถึงปี พ.ศ. 2367 ได้ เสดจ็ สวรรคต เมือ่ พระชนมายไุ ด้ 56 พรรษา กับ 5 เดอื น

1.3.วัตถุประสงค์

1.เพ่อื ศึกษาเน้อื เรื่องเกีย่ วกับวรรณคดไี ทยเรอ่ื งอิเหนาตอนศึกกะหมงั กุหนงิ 2.เพือ่ ศึกษาตวั ละครท่ปี รากฏในเร่อื งอิเหนาตอนศึกกะหมังกหุ นิง 3.เพอ่ื ศึกษาข้อคดิ ทไ่ี ด้จากเร่อื งอิเหนาตอนึกกะหมงั กุหนงิ

1.4.สมมุติฐาน

โครงงานเรื่องนี้เกิดจากการทผ่ี ู้จัดทำอยากศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมและวรรณคดไี ทย เรือ่ งอิเหนา เพ่อื นำความรู้ที่เคยเรยี นมามาสานต่อและเพ่มิ พูนความรู้ความสามารถในการ วิเคราะห์ตามความคิดเห็นของตนเองที่แตกต่างออกไปและทำให้ผู้อน่ื ได้รับประโยชน์สูงสดุ จาก โครงงานเรื่องนี้

10 1.5.ปัญหา

เพอ่ื แก้ไขปัญหาความไมเ่ ข้าใจบทเรียนและบทกลอนของผู้ที่อยากจะศึกษา ทางผู้จดั ทำจึง หาทางแก้ไขปญั หานี้ด้วยการจดั ทำโครงงานน้ีขึ้นเพอ่ื ประโยชน์สูงสดุ ของผู้อา่ น

1.6.ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทราบถึงลกั ษณะนิสยั ตัวละครทีป่ รากฏในเร่อื งอิเหนาตอนศึกกะหมงั กหุ นงิ 2.เขา้ ใจในเรอ่ื งอิเหนาตอนศึกกะหมังกุหนิง 3.ได้ข้อคดิ จากเรือ่ งอิเหนาตอนศึกกะหมงั กุหนิง

1.7.ขอบเขตการศึกษา

ขอบเขตดา้ นเนื้อหา 1.เนอื้ เร่อื งอิเหนาตอนศึกกะหมังกุหนงิ 2.ตวั ละครทป่ี รากฏในเรื่องอิเหนาตอนศึกกะหมังกหุ นงิ ขอบเขตด้านเวลา วันที่ 5 ตุลาคม 2565 ถึง วนั ท่ี 16 ตลุ าคม 2565 ขอบเขตดา้ นสถานที่ โรงเรยี นสันปา่ ตองวิทยาคมและบา้ นสมาชิกภายในกลุ่ม

11

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง

2.1.ความหมายของวรรณคดไี ทย

วรรณคดี หมายถงึ วรรณกรรมหรืองานเขียนท่ยี กย่องกนั วา่ ดี มีสาระ และมีคุณค่าทาง วรรณศิลป์ การใช้คำวา่ วรรณคดเี พอ่ื ประเมินคา่ ของวรรณกรรมเกดิ ขนึ้ ในพระราชกฤษฎีกาต้ัง วรรณคดสี โมสรในสมัยรัชกาลที่ 6 (พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยู่หัว)

วรรณคดเี ปน็ วรรณกรรมทีถ่ ูกยกย่องว่าเขยี นดี มีคณุ คา่ สามารถทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ สะเทือนใจ มีความคิดเป็นแบบแผน ใช้ภาษาท่ไี พเราะ เหมาะแกก่ ารให้ประชาชนไดร้ ับรู้ เพราะ สามารถยกระดบั จติ ใจให้สงู ข้นึ รู้วา่ สง่ิ ใดควรหรือไมค่ วร และทรงคุณค่า

2.2.ประวัตวิ รรณคดี ประวัตผิ ูแ้ ต่ง

พระบาทสมเด็จพระพุธเลศิ หล้านภาลัย ทรงนำมาจากบทพระนิพนธ์ของเจ้าฟ้าหญงิ มงกุฎ พระราชธิดาในพระเจ้าอยูห่ ัวบรมโกศ เพอ่ื ให้แสดงละครรำในพระราชฐานดังในตอนทา้ ย บทพระราชนพิ นธ์ ไดท้ รงอ้างถึงเรอ่ื งอิเหนาในสมัยกรุงศรีอยุธยาไวว้ ่า

“อันอเิ หนาเอามาทำเป็นคำร้อง สำหรับงานการฉลองกองกุศล

ครงั้ กรงุ เกา่ เจา้ สตรีเธอนพิ นธ์ แต่เร่ืองตน้ ตกหายพลดั พรายไป

หากพระองคท์ รงพภิ พปรารภเลน่ ให้รำเตน้ เล่นละครคิดกลอนใหม่

เติมแต้มต่อติดประดิษฐ์ไว้ บำรุงใจไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน”

12

2.3.ประวัตคิ วามเปน็ มาของเรือ่ งอเิ หนาในประเทศไทย

เร่อื งอเิ หนาเผยแพรเ่ ขา้ มาสปู่ ระเทศไทยในสมยั กรุงศรีอยธุ ยาตอนปลาย ในรชั สมยั ของพระ เจา้ อยหู่ วั บรมโกศมคี ากลา่ วสบื เน่อื งกนั มาวา่ พระราชิดาในสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศกบั เจา้ ฟา้ สงั วาล คอื เจา้ ฟา้ กณุ ฑลและเจา้ ฟา้ มงกฎุ ไดฟ้ ังนิทานอเิ หนา จากนางกานลั ชาวมลายทู ่ไี ดม้ า จากเมืองปัตตานี พระราชธิดาทง้ั สองพระองคท์ รงโปรดเร่ืองนมี้ ากจงึ มีพระราชนพิ นธน์ ิทานเรอื่ งนี้ ขนึ้ เจา้ ฟ้ากณุ ฑลทรงนิพนธบ์ ทละคร เร่อื งดา หลงั สว่ นเจา้ ฟา้ มงกฎุ ทรงนิพนธเ์ ป็นละคร เรอื่ ง อิเหนา แตค่ นท่วั ไปมกั เรียกบทพระราชนพิ นธข์ องทง้ั สอง พระองคน์ ี้ อิเหนาใหญ่ และอเิ หนาเล็ก นทิ านปันหยขี องไทยจงึ มี ๒ สานวนแต่นนั้ มา เม่อื แรกเรม่ิ สมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศโปรดเกลา้ ฯ ใหน้ ามาเลน่ เป็นละครในทง้ั สองเรอื่ ง แต่ เน่อื งจากอเิ หนาเลก็ มีเนอื้ เร่ืองไมส่ บั สนเหมอื นกบั อิเหนา ใหญ่อกี ทง้ั ช่อื ตวั ละครก็เรยี กไมย่ าก คนท่วั ไปจงึ นิยม อเิ หนาเล็กมากกว่า

เม่อื เสยี กรุงศรีอยธุ ยาครงั้ ท่ี ๒ ในปี พ.ศ. ๒๓๑๐ ตน้ ฉบบั วรรณคดี เร่ือง อเิ หนา ทงั้ ๒ เรื่อง สญู หายไป ในมยั ธนบรุ ีไดม้ กี ารรวบรวมวรรณคดเี กา่ ๆ ท่ยี งั หลงเหลอื อยมู่ าไวใ้ นราชส านกั และ ไดม้ ีการ แตง่ วรรณคดีเพิ่มเตมิ เพ่อื รกั ษาเนอื้ เรื่องไวม้ ิใหส้ ญู หาย เจา้ พระยาพระคลงั (หน) ครงั้ ด ารงตาแหน่งเป็น หลวงสรวิชิต (หน) ไดแ้ ตง่ เร่ืองอิเหนาค าฉนั ทข์ นึ้ แต่ไม่ไดแ้ ตง่ ทง้ั เรอื่ งตดั ตอนมา เฉพาะบางสว่ นเทา่ นนั้ โดย เร่มิ ตงั้ แต่ อิเหนาเผาเมืองดาหาในวนั อภิเษกของบษุ บากบั จรกา แลว้ ปลอมเป็นจรกาลกั พานางบษุ บาไปไว้ ในถา้ จนถึง ตอนกลบั ไปแกส้ งสยั ท่เี มืองดาหา ระหว่างทาง ไดพ้ บจรกาจงึ ทาทีคร่าครวญสงสารนางบษุ บาเพ่อื กลบเกลอ่ื นความผิด

สมยั รตั นโกสินทร์ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชกท็ รงพระราชนิพนธบ์ ท ละคร อเิ หนาขนึ้ โดยยงั คงเคา้ โครงเร่ืองเดมิ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ไดพ้ ระ ราชนิพนธข์ นึ้ มา ใหมท่ งั้ หมดโดยใชเ้ คา้ โครงเรอ่ื งของอิเหนาเล็ก เน่อื งจากทรงเลง็ เหน็ ว่า พระราช นิพนธบ์ ทละคร อเิ หนาใน พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชมีเนอื้ ความเขา้ กนั ไม่ สนทิ กบั บทเม่อื ครงั้ กรุงเก่าและนามาเลน่ ละครไดไ้ ม่เหมาะ จงึ ทรงพระราชนิพนธใ์ หมใ่ หส้ นั้ และ

13 สอดคลอ้ งกบั ทา่ ราโดยรกั ษากระบวนการเดมิ แลว้ พระราชทานใหส้ มเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ ฯ กรมหลวงพิทกั ษม์ นตรีซ่งึ เช่ยี วชาญในการละคร ไดน้ าไปประกอบทา่ ราและฝึกซอ้ มจน เหน็ สมควรว่าดแี ลว้ จงึ ราถวายใหท้ อดพระเนตรเพ่ือใหม้ พี ระบรมราช วนิ ิจฉยั อีกครงั้ กลอนบท ละครรา เร่ืองอเิ หนาจงึ ไดเ้ สรจ็ สมบรู ณแ์ ละไดร้ บั การยกย่องจากวรรณคดสี โมสรวา่ เป็นยอดของ กลอนบทละครรา

2.4.ลกั ษณะคำประพันธ์

กลอนบทละคร ซึง่ เปน็ กลอนประเภทกลอนขับร้องที่มีการบังคับคำนำเชน่ เดียวกบั กลอน เสภา กลอนสกั วา กลอนดอกสร้อย แตก่ ลอนบทละครบังคับคำนำทน่ี ับเปน็ 1 วรรคได้

คณะ วรรคหนี่งมี ๖ – ๘ คำ แบ่งเป็น ๔ วรรค และบงั คบั เสยี งวรรณยกุ ต์ในวรรคเพ่ือ ความไพเราะในการแตง่ และอ่านทำนองเสนาะดังนี้

วรรคสดบั นยิ มจบดว้ ยเสยี งวรรณยุกต์ใดกไ็ ด้

วรรครับ นยิ มจบดว้ ยเสยี งวรรณยกุ ต์ จตั วา / โท / เอก

วรรครอง นยิ มจบดว้ ยเสยี งวรรณยกุ ต์ สามญั /ตรี

วรรคสง่ นยิ มจบดว้ ยเสยี งวรรณยุกต์ สามญั /ตรี และถ้าเปน็ บทสุดทา้ ยตอ้ งจบดว้ ยเสยี ง วรรณยกุ ต์สามัญ

14

2.5.เกรด็ ความรเู้ ก่ยี วกบั อิเหนา

2.4.1.เกรด็ ความรู้บุษบาเสีย่ งเทยี น เพลงบษุ บาเส่ยี งเทียนเป็นเพลงที่มีเนือ้ หาเก่ยี วข้องกนั วรรณคดเี รื่องอิเหนา เพราะว่าเนอื้

เพลงบรรยายถึงความปราถนาของตัวละคร คือ บษุ บา ซึง่ ในเนื้อเพลงพรรณาว่า นางบุษบา ปรารถนาอยากไดอ้ เิ หนามาเปน็ คู่ครองจึงทำพธิ ีเส่ยี งทายโดยอาศัยเทียนเปน็ ตัวเสย่ี งทาย 2.4.2.ชื่อเต็มของอิเหนา

ชือ่ เต็มของอเิ หนาคือ หยงั หยังหนง่ึ หรัดอินดราอดุ ากันสาหรปี าตีอิเหนาเองหยงั ตาหลา เมาะตาริยะกดั ดาหยงั เองกะนะกะหรีกเุ รปัน มีความหมายว่า ขอให้เป็นเทพเจา้ ของปวงเทพ เเหง่ อทิ รพภิ พ เปน็ เชษฐบุรษุ ผู้ยิ่งใหญ่ดว้ ยเกียรติ เป็นยุวขัตติยราชเเหง่ เทพเจา้ ผู้สูงส่ง ให้มี ฤทธาเดชานุภาพดังสรุ ิยเทพ สามารถชนะขา้ ศึกศัตรขู องกรุงกุเรปัน 2.4.3.ตำเเหนง่ พี่เลีย้ งอเิ หนากบั บษุ บา

• ตำเเหน่งพี่เล้ียงของอิเหนา มี 4 ตำเเหน่ง คอื 1.ขะรเุ ดะ 2.ปนู ตา 3.กะระตาหลา 4.ประสันตา

• ตำเเหน่งพีเ่ ล้ียงบุษบามี 4 ตำเเหนง่ คอื 1.บาหยนั 2.สาเหง็ด 3.ประเสหรัน 4.ประลาหงนั

15 2.4.4.ตำแหน่งภรรยาอิเหนา มี 5 ตำแหน่ง ประไหมสุหรี มะเดหวี มะโต ลกิ ุ เหมาหลาหงี มีไดต้ ำแหน่งละ 2 คน กอ่ นศึกกะห มังกุหนิง อเิ หนามีภรรยา 3 คน หลังจากจบศึกก็ได้บุษบาเปน็ เมียเพม่ิ อีก 1 คน ดงั นั้นในตอนศึก กะหมังกหุ นงิ ตำแหนง่ เมยี ของอิเหนาจะมีดงั นี้ ประไหมสหุ รี – จินตะหราวาตี ( ฝ่ายขวา )

- บษุ บา ( ฝ่ายซ้าย )

มะเดหวี - สการะวาตี ( มะเดหวี ฝา่ ยขวา )

- มาหยารัศมี ( มะเดหวี ฝ่ายซ้าย )

2.4.5.การจัดทพั อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

ตำราพิชยั สงครามประกอบด้วยริว้ ขบวน ขนาม ขนาน ของเหล่าทหาร พร้อมด้วยระเบยี บ วินยั มียทุ ธานภุ าพเกรียงไกร มีเสบยี งอาหารอยา่ งพรอ้ มเพรยี ง

8 แบบตามตำราพิชัยสงคราม ดังน้ี

1. ครฑุ นาม เขา มีจอมปลวกและตน้ ไม้สูงใหญ่ 2. อชั นาม อยกุ่ ลางทงุ่ เปน็ ทางเดนิ ของฝงู เน้อื 3. สนุ ัขนาม ใกล้หมู่บ้าน ชดิ ทางเดนิ 4. นาคนาม ใกล้คลอง แมน่ ำ้ ลำห้วย 5. มสุ กิ นาม ดนิ โพรง มีจอมปลวก 6. คชนาม ตน้ หญา้ มีต้นไผ่ข้นึ ปนอยู่ 7. พยัคนาม ตงั้ อยู่ตามแนวปา่ ริมทางเดนิ 8. สหี นาม ตน้ ไม้ 3 ตน้ เรียงกนั ในป่ามีภเู ขาและมีจอมปลวกใหญ่มหึมา

16

2.6.ข้อคดิ และการนำเอาใชใ้ นชีวติ ประจำวัน

2.5.1. การเอาแต่ใจตนเอง จากเร่อื งอิเหนานั้น เราได้ขอ้ คดิ เก่ยี วกับการเอาแต่ใจตนเอง อยากไดอ้ ะไรเป็นต้องได้ ไมร่ ู้จกั ระงับความอยากของตน หรือพอใจในส่งิ ทีต่ นมีแล้ว ซึ่งการ กระทำเช่นน้ีทำให้เกิดปัญหามากมายตามมา และคนอ่ืนๆ ก็พลอยเดอื ดร้อนไปดว้ ย ดังเชน่ ใน ตอนที่อิเหนาได้เห็นนางบุษบาแลว้ เกิดหลงรัก อยากได้มาเป็นมเหสีของตน กระนนั้ แลว้ อเิ หนา จึงหาอบุ ายแยง่ ชิงนางบุษบา แม้ว่านางจะถกู ยกให้จรกาแลว้ กต็ าม โดยทีอ่ ิเหนาได้ปลอมเปน็ จร กาไปลกั พาตัวบุษบา ซึ่งการกระทำของอิเหนาน้ันเป็นการกระทำทีไ่ ม่ถกู ต้อง ทำให้ผู้คน เดือดรอ้ นไปทัว่

2.5.2.การใช้อารมณ์ เมือ่ ประสบพบกับเรื่องทท่ี ำให้เราโมโห หรอื ทำให้อารมณไ์ มด่ ี เรา ตอ้ งรู้จกั ควบคุมตนเอง เพราะเมื่อเวลาเราโมโห เราจะขาดสติยั้งคดิ เราอาจทำอะไรตามใจ ตัวเองซึง่ อาจผิดพลาด และพลอยทำให้เกดิ ปัญหาตามมาอีก ฉะน้ันเราจึงตอ้ งรู้จกั ควบคุม อารมณต์ นเอง และเมือ่ เรามีสตแิ ล้วจงึ จะมาคดิ หาวธิ แี ก้ปญั หา เห็นได้จากการทีท่ ้าวดาหาได้ ประกาศยกบุษบาให้ใครกต็ ามทีม่ าสขู่ อทันที เพราะว่าทรงกริว้ อิเหนาที่ไม่ยอมกลบั มาแต่งงาน กลับบษุ บาตามที่ไดห้ มั้นหมายกันไว้ การกระทำของท้าวดาหานไี้ ดก้ อ่ ให้เกิดปญั หาและความ วุ่นวายหลายอย่างตามมา และทา้ วดาหาน้ันยงั กระทำเช่นนีโ้ ดยมิไดส้ นใจวา่ บตุ รสาวของตนจะ รู้สึกเชน่ ไร หรอื จะได้รับความสขุ หรือความทุกข์หรือไม่

2.5.3. การใชก้ ำลังในการแก้ปญั หา เวลาทีเ่ รามีปญั หาเราควรจะใช้เหตผุ ลในการแก้การ ปญั หาน้ัน ไมใ่ ช้กำลัง ตวั อย่างเชน่ ท้าวกะหมงั กหุ นงิ ยกทพั จะมาตเี มืองดาหาเพือ่ แยง่ ชิงบษุ บา ซึ่งการกระทำทใ่ี ช้กำลงั เขา้ แก้ปัญหานีก้ ใ็ ห้เกดิ ผลเสยี หลายประการ ทง้ั ทหารท่ตี อ้ งมาตอ่ สแู้ ล้ว พากนั ลม้ ตายเป็นจำนวนมาก สญู เสียบตุ รชาย และในท้ายที่สุดตนก็มาเสียชีวติ เพียงเพราะ ตอ้ งการบษุ บามาให้บุตรของตน

2.5.4. การไมร่ ูจ้ กั ประมาณตนเอง ควรรู้จกั ประมาณตนเอง ใช้ชีวิตไปกับสิง่ ท่คี ู่ควรกับ ตนเอง พอใจในส่งิ ทีต่ นมี ซึง่ ถ้าเราไมร่ ู้จกั ประมาณตนเอง กอ็ าจทำให้เราไม่มีความสุข เพราะ ไมเ่ คยสมหวงั ในชวี ิต เชน่ กับ จรกาท่เี กดิ มารูปชวั่ ตวั ดำ อัปลกั ษณ์ จรกานั้นไม่รู้จักประมาณ

17

ตนเอง ใฝ่สงู อยากได้คู่ครองที่สวยโสภา ซึ่งกค็ อื บษุ บา เมือ่ จรกามาขอบษุ บา กไ็ มไ่ ด้มีใครที่ เห็นดดี ว้ ยเลย ในท้ายที่สุด จรกาก็ตอ้ งผิดหวัง เพราะอเิ หนาเป็นบุคคลทเ่ี หมาะสมกับบษุ บา ไม่ใชจ่ รกา

2.5.5. การทำอะไรโดยไม่ย้งั คิด หรือคำนึงถงึ ผลทีจ่ ะตามมา การจะทำอะไรลงไป เรา ควรจะคดิ ทบทวนหรือ ชั่งใจเสยี ก่อนวา่ เป็นการกระทำท่ถี กู ต้องหรือไม่ ทำแลว้ เกดิ ผลอะไรบ้าง แล้วผลทเ่ี กดิ ขึน้ นนั้ ก่อความเดอื ดรอ้ นให้ผู้อน่ื หรือไม่ ตวั อย่างเชน่ อเิ หนาได้พบกับจินตะหราวา ตี กห็ ลงรักมากจนเป็นทุกข์ ไมย่ อมกลบั บ้านเมืองของตน ไม่สนใจพระบิดาและพระมารดา ไม่ สนใจว่าตนนน้ั มีค่หู มั้นอยแู่ ลว้ ซึ่งมิไดค้ ำนงึ ถึงผลทจ่ี ะตามมาจากปญั หาที่ตนได้กอ่ ข้ึน จากการ กระทำของอิเหนาในครั้งน้ีกไ็ ดท้ ำให้เกดิ ปัญหาหลายอยา่ งตามมา

18

บทที่ 3 วิธีการดำเนินการศกึ ษา

การศึกษาโครงงานเร่อื ง อิเนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง มีวิธกี ารดำเนนิ การดังต่อไปนี้

3.1.ข้นั เตรียมการ

1. เลือกหัวข้อท่ตี ้องการศึกษา 2. จดั ทำโครงร่างรายงาน 3. จัดทำตารางเวลาในการทำงาน 4. แบ่งหนา้ ทีร่ ับผิดชอบในการศึกษาโครงงาน

3.2.ขน้ั ตอนดำเนินงาน

ดำเนินงานดงั ต่อไปนี้ 3.2.1.ผู้ศึกษานำเสนอหัวขอ้ โครงงานต่ออาจารย์ทีป่ รึกษาเพ่อื ขอคำแนะนำและกำหนดขอบเขต ในการทำรายงาน 3.2.2.ผู้ศึกษารว่ มกันประชุมวางแผนวเิ คราะห์ตามหัวขอ้ วัตถุประสงคข์ องโครงงาน 3.2.3.ผู้ศึกษาร่วมกันศึกษาคน้ คว้า เน้ือหาต่างๆทเ่ี กย่ี วข้องกับเร่อื งทีจ่ ะทำ เพ่ือเขยี นเเบบรา่ ง รายงานกอ่ นจะวิเคราะห์และสรปุ เนื้อหาเพือ่ ทำรายลานตอ่ ไป

19 3.2.4.ศึกษาและเกบ็ รวบรวมข้อมลู เปน็ ข้ันตอนของการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ท่เี กย่ี วข้องกบั รายงานเพ่อื มาวิเคราะห์และสรปุ เนื้อหาทส่ี ำคญั ทจ่ี ะนำมาจัดทำรายงาน 3.2.5.นำเสนอหนา้ ชนั้ เรียนตอ่ อาจารยท์ ี่ปรึกษาเเละเพอ่ื นๆในห้อง เพอ่ื รายงานผลการ ดำเนินงาน

3.3.วิธีเก็บรวบรวมขอ้ มูล

การศึกษารายงานเร่อื ง อิเหนา ตอนศึกกะหมังกหุ นิง ผู้จดั ทำได้คิดหัวข้อรายงานเร่อื งที่จะ ศึกษา ใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลจากตำราบางส่วน เเละจากอนิ เทอร์เน็ตเป็นส่วนใหญ่ เเลว้ นำมา ศึกษาวิเคราะห์ เรียบเรียงเพ่อื เป็นความรู้ ซึง่ เปน็ เเนวทางในการดำเนนิ การศึกษา เเละนำมาใช้ ในการวิเคราะห์รายงานต่อไป

3.4.การวิเคราะห์ข้อมลู

การวเิ คราะห์ข้อมูลของการจดั ทำรายงานครั้งนเี้ ปน็ การวิเคราะหข์ ้อมูลเชิงคุณภาพ ซึ่งมี ลกั ษณะเปน็ คําบรรยาย โดยนาํ ขอ้ มลู จากตำราบางส่วนเเละอเิ ทอรเ์ นต็ เป็นสว่ นใหญ่ ดังนั้น การวเิ คราะหข์ ้อมูลของการจัดทำรายงานครั้งนี้จึงเป็นการวเิ คราะห์โดยใช้การวิเคราะหเ์ นือ้ หา กลอน บทความต่างๆ เป็นต้น

การทำรายงานวิเคราะห์วรรณกรรมเเละวรรณคดีไทย เรอื่ ง อิเหนา ซึ่งมีอยูห่ ลายตอน นน้ั เเต่ผู้จัดทำได้นำตอน ศึกกะหมงั กหุ นิง มาจดั ทำรายงาน ถือเปน็ วรรณคดีเก่าแก่เรอ่ื งหนึ่ง ของไทย เป็นท่รี ู้จกั กันมานาน การศึกษาทำให้ทราบท่มี าของเร่ืองอิเหนาท่ีเชอ่ื กนั ว่าเปน็ นยิ าย

20

องิ ประวตั ิศาสตร์ของชวา มีทม่ี าจากนิทานอิงพงศาวดารชวา ซึ่งแพร่หลายเข้ามาตงั้ แต่สมัย อยธุ ยาตอนปลาย การจัดทำรายงานครั้งน้สี ่งเสริมให้ผศู้ ึกษา ไดค้ วามรู้คิด วเิ คราะห์ ไดค้ วามรู้ หลายด้านที่จะช่วยเสริมสติปญั ญาแก่ผู้อา่ น ไดค้ ุณค่าทางด้านอารมณ์ วรรณคดชี ว่ ยสะทอ้ น สภาพชีวติ สงั คมและวัฒนธรรมในสมยั ของกวี ช่วยขัดเกลาจติ ใจและยกระดบั จติ ใจของผู้อา่ น ให้สงู ข้ึน ทำให้รู้ถงึ สภาพสังคมในสมยั ทแ่ี ต่ง ซึ่งไดแ้ ก่ วัฒนธรรม สภาพสังคม และเหตกุ ารณ์ ของบ้านเมือง เป็นต้น

21

บทที่ 4

ผลการศกึ ษา

จากการศึกษาวรรณคดีเรอ่ื งอิเหนา ตอน ศึกกะหมงั กุหนงิ เพ่อื จัดทำโครงงานและ หลงั จากศึกษาแล้วผู้จดั ทำได้รับความรู้ทีเ่ ป็นไปตามวัตถุประสงค์ หลังจากการศึกษาแล้วไดผ้ ล ดงั น้ี

4.1.เนือ้ เรื่องเก่ยี วกบั วรรณคดีไทยเรื่องอิเหนา ตอน ศึกกะหมังกหุ นิง

ทา้ วกะหมงั กหุ นงิ สง่ ทตู ไปสขู่ อบุษบา แต่ได้รับการปฏิเสธจากทา้ วดาหาจึงเตรียมจดั ยกทัพ ไปตีเมืองดาหาโดยให้พระอนชุ า ยกทพั มาชว่ ย ทา้ วกะหมังกุหนงิ ให้วหิ ยาสะกำเป็นทัพหน้า พระ อนชุ าทงั้ สองเป็นทัพหลงั

ฝ่ายท้าวดาหาได้ขอความชว่ ยเหลอื ไปยังท้าวกเุ รปัน และท้าวกาหลัง และทา้ วสิงหาส่าหรี ทา้ วกเุ รปนั ส่งราชสารฉบับหนึง่ สง่ ให้อิเหนายกทัพมาช่วยทา้ ดาหาทำศึก อกี ฉบบั ส่งไปให้ระตู หมนั หยาโดยตำหนินางจินตหราว่าเปน็ ตน้ เหตุทท่ี ำให้เกิดศึกครั้งน้ี ระตหู มันหยารู้สึกผิดจงึ เร่ง ให้อิเหนายกทัพไปเมืองดาหา ส่วนท้าวกาหลงั ให้ตำมะหงงกบั ดะหมังคุมทัพมาช่วย ท้าวสงิ หัด สา่ หรีส่งสุหรานากงผู้เป็นโอรสมาชว่ ยรบเมื่อทะทีช่ ่วยเมืองดาหารบมาครบกนั แล้ว อเิ หนามี บญั ชาให้จกั ทัพรบกบั ทา้ วกะหมังกุหนงิ

ครนั้ ทั้งสองฝ่ายเผชิญหน้ากัน สงั คามาระตาเปน็ ค่ตู ่อสกู้ บั วิหยาสะกำและสังหารวิหยาสะ กำได้ ทา้ กะหมังกุหนงิ เห็นโอรสถกู สงั หารตกจากม้าก็โกรธ ขบั ม้าไล่ลา่ สงั คามาระตา อเิ หนาจงึ เข้าสกดั และต่อสู้ ทงั้ สองฝา่ ยฝมี ือเท่าเทียมกัน จนในท่สี ดุ อิเหนาจงึ ใช้กรชิ สังหารทา้ วกะหมงั กุห นงิ ได้ ทพั ฝา่ ยท้าวกะหมังกหุ นงิ จึงเปน็ ฝ่ายพา่ ยแพ้

22

4.2.ตัวละครทีป่ รากฏในอิเหนา ตอน ศกึ กะหมงั กหุ นิง

4.2.1 ทา้ วกเุ รปัน เป็นกษตั ริย์วงศเ์ ทวาผู้ยิง่ ใหญ่ มีอนุชา ๓ องค์ ครองเมืองดาหา กาหลัง สงิ หดั สา่ หรี มีโอรสและธิดากับประไหมสุหรี คือ อเิ หนากับวิยะดา และมีโอรสกับลิกูหนง่ึ องค์ คอื กะหรดั ตะปาตี ทา้ วกุเรปันมีลกั ษณะนสิ ยั ดงั น้ี

(1) เปน็ คนถอื ยศศักดิ์ ไม่ไว้หนา้ ใคร ไมเ่ กรงใจใครเช่น ในราชสาส์นถึงระตหู มันหยา กล่าว ตะหนิติเตียนระตูหมันหยาอยา่ งไม่ไว้หนา้ วา่ เป็นใจให้จอนตะหราแยง่ ค่หู มั้นบษุ บา สอนลูกให้ ยวั่ ยวนอิเหนาจนเป็นต้นเหยตใุ ห้บษุ บาร้างค่ตู ุนาหงนั แม้อันที่จรงิ ท้าวกเุ รปันนา่ จะคำนึงถึง จิตใจของท้าวหมันหยาบ้าง เพราะอย่างไรจินตะหรากเ็ ป็นหลานของประไหมสหุ รีและผู้ทีผ่ ิด ควรจะเป็นอิเหนามากกวา่

(2)เปน็ คนเข้มแข็งและเดด็ ขาดดังพระราชสาส์นสัง่ การให้อิเหนายกทพั ไปชว่ ยเทา้ ดาหา ถ้าไมไ่ ปกจ็ ะตัดพ่อตัดลกู กับอเิ หนา

(3)เป็นคนรักเกยี รติรกั วงศ์ตระกลู โดยการสัง่ ให้กะหรัดตะปาตีโอรสองค์แรกกับลกิ ู และ อเิ หนา ไปช่วยเมืองดาหารบ เพราะเหน็ ว่า ถา้ เสียเมืองดาหายอ่ มหมายถงึ กษัตรยิ ์วงศ์เทวาพ่าย แพ้ดว้ ย ซึง่ ถือวา่ เป็นเรื่องนา่ อายอย่างยิง่

4.2.2 ทา้ วดาหา เป็นอนุชาองคร์ องของท้าวกเุ รปัน มีราชธิดากับประไหมสุหรีชอ่ื บุษบา ซึ่ง เปน็ ตุนาหงนั ของอิเหนา และมีโอราองค์เลก็ ชือ่ สียะตรา เป็นค่ตู ุนาหงนั ของวิยะดา ขนษิ ฐาของ อเิ หนา ท่าวดาหามีลักษณะนสิ ัย ดงั นี้

(1)เปน็ ผู้รกั ษาวาจาเมือ่ พลง้ั ปากพดู วา่ จะยกบางบษุ บาให้ใครกไ็ ด้ที่มาสขู่ อ ครุ้นจรกามาสู่ ขอกร็ ักษาวาจาสัตย์ ยกบุษบาให้จรกา แม้ท้าวกะหมงั กุหนิงจะสง่ ทตู มาขอนางบุษบาให้วหิ ยา สะกำ ก็ทรงปฏิเสธจนเป็นเหตุให้ทา้ วกะหมังกุหนงิ ยกทพั มาทำสงคราม

23

(2)เป็นผุ้มีขัตติยมานะ เข้มแขง็ เด็ดเด่ยี ว เมื่อขอความช่วยเหลือในการศึกสงครามไปยงั พี่ นอ้ ง หากไม่มีใครมาช่วยก็จะขอสรู้ บเพยี งลำพงั

(3)เปน็ ผู้มีความรอบคอบในการศึก เมือ่ รวู้ ่าจะต้องเกิดศึกสงครามแนก่ ว็ างแผนส่งั การให้ แจ้งขา่ วไปยงั เมืองพี่นอ้ งทั้งสามเมือง และระตูจรกาให้มาช่วย ท้ังยงั ได้สั่งให้มีการตกแต่งค่ายคู หอนบ และเตรียมกำลังทัพรบั ศึก

4.2.3 อเิ หนา เปน็ โอรสท้าวกุเรปันกบั ประไหมสุหรี มีขนษิ ฐาชอ่ื วยิ ะดา อเิ หนาเปน็ เจา้ ชาย หนมุ่ รูปงาม เขม้ แข็ง เด็ดขาด เอาแตใ่ จตวั เจา้ ชู้ มีมเหสหี ลายพระองค์ คอื นางจินตะหรา นาง สการะวาตี นางมาหยารัศมี และนางบษุ บา ลกั ษณะนสิ ยั ดังนี้

(1)เปน็ คนรอบคอบ มองการณ์ไกล ไมป่ ระมาท เชน่ ตอนทส่ี ังคามาระตารบกับวหิ ยาสะกำ อเิ หนาได้เตอื นสงั คามาระตาว่า ไมช่ ำนาญกระบ่ี อยา่ ลงจากหลังม้า เพราะเพลงทวนนน้ั ชำนาญอยแู่ ลว้ จะเอาชนะได้ง่ายกวา่

(2) เป็นคนด้ือดงึ เอาแตใ่ จตนเอง เช่น เมื่อไดร้ ับพระราชสาส์นจากท้าวกุเรปนั ถึงสองฉบบั ก็ ด้ือดงึ ไมย่ อมกลบั เมืองกเุ รปันและไมย่ อมอภิเษกกับบษุ บา ถึงกบั บอกว่าใครมาขอก็ให้เขาไป เถดิ

(3) เป็นคนที่มีความรบั ผิดชอบ รักชือ่ เสียงวงศ์ตระกูล เมื่อเกิดศึกกะหมงั กหุ นงิ แม้จะเคย ด้ือดงึ เอาแตใ่ จตนเอง แตเ่ มือ่ ทราบข่าวศึกจึงตอ้ งรีบไปช่วย ดงั ทก่ี ลา่ วถงึ เหตุผลสำคญั ท่จี ะต้อง ไปช่วยป้องกนั เมืองดาหา

(4) เปน็ คนรู้สำนกึ ผิด เมื่อยกทพั มากรงุ ดาหา ไม่กล้าเข้าเฝ้าท้าวดาหาทนั ที จงึ ขอพักพล นอกเมือง และทำการรบแก้ตวั ก่อน

24

(5) เป็นคนเคารพยำเกรงบิดา คอื ทา้ วกุเรปัน แม้จะด้ือดงึ เป็นบางคร้ัง แช่นตอนที่อิเหนาจะ หนีออกจากเมืองไปอยู่กับนางจินตะหราทีเ่ มืองหมันหยา แตท่ า้ วกุเรปนั มีพระราชสาส์นสงั่ ให้นำ ทพั ไปช่วยท้าวดาหา แม้อิเหนาไม่อยากจากนางจินตะหรา แต่ดว้ ยความยำเกรงบิดาจึงยอมยก ทัพไป

(6) เป็นคนทีม่ ีอารมณ์ละเอียดออ่ น เขา้ ใจ และหว่ งความรู้สึกของผู้อื่น เช่น เมื่อรวู้ า่ จะต้อง จากนางจินตะหรา ก็พดู ปลอบโยนให้นางคลายเศร้าโศก ท้ังยงั มอบสรอ้ ยสังวาลไวเ้ ป็นเครือ่ ง รำลกึ ถึง

4.2.4 จินตะหรา ราชธิดาของระตหู มันหยากับประไหมสหุ รี ซึง่ เปน็ ญาติทางฝ่ายประไหมสุ หรีเมืองกเุ รปัน และประไหมสหุ รีเมืองดาหา เป็นคนสวย แสนงอน มีจรติ กิรยิ า มีลักษณะนสิ ัย ดงั น้ี

(1)เปน็ คนแสนงอนใจนอ้ ย ชา่ งพดู จาตัดพอ้ ต่อว่า ประชดประชนั ตามประสาหญิง มีคารม คมคาย สามารถใช้คำพูดได้ลกึ ซึ้งกินใจ

(2) เป็นคนมีเหตุผล ไมด่ ้ือดงึ ไม่งอนจนเกนิ งาม เช่น เมื่อทราบว่าอิเหนาจำต้องไปทำศึกท่ี เมืองดาหาเพราะได้รบั คำสงั่ จากทา้ วกุเรปนั และเพอ่ื ปอ้ งกนั วงศ์อสญั หยา นางก็คลายความ ทุกข์โศก ความน้อยใจ และความหวาดระแวงลงยอมให้อิเหนายกทัพไปแต่โดยดี

(3) เป็นคนที่มีความรู้สึกไว รบั รู้ไว แน่ใจว่าอิเหนาไปแล้วคงไมก่ ลับมาเพราะการท่มี ีคนมา แยง่ ชิงบษุ บา กห็ มายความว่าบุษบาเป็นสวย เชอ่ื ม่นั วา่ อเิ หนาพบบษุ บาแลว้ คงลมื ตนแน่ จงึ รำพนั ด้วยความน้อยใจ

4.2.5 ทา้ วกะหมงั กหุ นงิ เปน็ กษตั ริยเ์ มืองกะหมังกุหนงิ มีอนชุ าสององค์ คือ ระตูปาหยัง กับระตูประหมัน โอรสคือวหิ ยาสะกำ มีลกั ษณะนสิ ัย ดังนี้

(1)เป็นคนรักลกู ยิ่งชีวิต ยอมทำทกุ อยา่ งเพ่อื ลกู แม้ตนจะตอ้ งตายก็ยอม

25

(2) เป็นคนตัดสินใจเดด็ ขาด เดด็ เดี่ยว กล้าหาญในการรบ

(3) เป็นคนประมาท คาดการณ์ผิด ไม่รู้จกั วเิ คราะห์ฝา่ ยข้าศึก คือคาดวา่ อเิ หนาอยใู่ น หมนั หยา กำลงั เคอื งกันอยกู่ ับทา้ วกุเรปนั คงไม่ยกทัพมาช่วยรบ แตผ่ ิดคาด เน่อื งจากอิเหนายก ทพั มารบกบั ทา้ วกะหมังกหุ นงิ จนมีชัยชนะและฆ่าวิหยาสะกำตายในที่สุด

4.2.6 วิหยาสะกำ เป็นหนมุ่ นอ้ ยรูปงาม โอรสองคเ์ ดยี วของท้าวกะหมงั กุหนิง เปน็ ทีร่ กั ของพอ่ แม่ มีลกั ษณะนิสัย ดงั นี้

(1)เอาแต่ใจตนเอง จะเอาอะไรตอ้ งได้

(2)เปน็ คนออ่ นไหว ขาดสติ แค่เห็นภาพวาดของบุษบาก็หลงใหล ถึงกับครองสติไม่ได้และ สลบไป

(3)เป็นคนที่รกั ศักดิ์ศรี มีความละอายแกใ่ จที่ทำให้พอ่ แมเ่ ดือดรอ้ น เชน่ ตอนที่อเิ หนากล่าว จาบจ้วงทา้ วกะหมังกุหนงิ

4.3 ได้ข้อคิด จากเรื่องอิเหนา ตอน ศกึ กะหมงั กหุ นิง

4.3.1.ความกลา้ หาญ ไมห่ วาดหวน่ั พรัน่ พรึงต่อขา้ ศึกศัตรู

4.3.2.ความรักในศกั ดิ์ศรี

4.3.3.รกั ษาคำสตั ย์

4.3.4.การรจู้ กั ให้อภยั

4.3.5.ควรรู้จกั แยกแยะให้ออกระหว่างความรักกับความหลงใหล

26

บทที่ 5

สรปุ การดําเนินงานและข้อเสนอแนะ

5.1.สรุป

จากการทผ่ี ู้จัดทำได้ศึกษารายงานการวิเคราะหเ์ ร่ือง อิเหนา ตอนศึกกะหมงั กุ หนิง สรปุ ไดว้ า่ ผู้จัดทำไดป้ ระโยชน์จากการจดั ทำรายงานคร้ังนี้ จากการคน้ คว้าและศึกษา คดิ วิเคราะหใ์ นเรื่องของเนือ้ หาและบทกลอน วฒั นธรรม สภาพสังคม เหตุการณ์ ลักษณะของ ภาษา ระดบั ท่ใี ช้ ตัวละคร และลกั ษณะนสิ ยั ของตัวละคร ได้รับรถู้ ึงประวัตคิ วามเปน็ มาอยง่ เจาะลึก สามารถนำขอ้ คิดต่างๆมา ปรับใช้ในชวี ิต นำมาเป็นบทเรียนในชวี ิตได้

5.2 อภิปรายผล

จากการศึกษาโครงงานวิชาภาษาไทยเร่อื งวรรณคดไี ทย เรอ่ื งอิเหนาตอนศึกกะหมังกุหนิง ได้รบั ความรู้จากศึกษาและสามารถเขา้ ใจวรรณคดีไทยเร่ืองอิเหนาได้งา่ ยกวา่ เดมิ มีความรู้ เกย่ี วกับวรรณคดีไทยเรือ่ งอิเหนาตอนศึกกะหมังกหุ นงิ มากยิ่งข้ึนและยังสามารถนำความรู้และ แง่คดิ ไปปรับใช้ในโอกาสต่างๆและในชวี ิตประจำวันอย่างเหมาะสม

5.3 ขอ้ เสนอแนะ

- อา่ นทำความเข้าใจและสามารถนำแนวคดิ มาปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้

- นำไปศึกษาประกอบเรียนรู้วรรณกรรมและวรรณคดี เพราะ มีความสอดคลอ้ งกัน สามารถ นำมาศึกษาควบคูก่ ันได้

- สามารถให้ผู้ทีส่ นใจเก่ียวกับวรรณคดีมาศึกษาประกอบเป็นความรู้เพิม่ เตมิ

27

บรรณานุกรม

: Thaigoodview.com. (๒๕๕๓). จินตะหราวาตี.[online] เข้าถึงได้จาก : //www.thaigoodview.com/node/68976. [๘ ธนั วาคม ๒๕๕๘]

: //www.sriyapai.ac.th/2014/wp-content/uploads/2019/03.pdf อเิ หนาตอนศึกกะหมงั กหุ นงิ

: หทยั รตั น์ สนั ตยาคม.(๒๕๕๖). วรรณคดี เร่อื ง อิเหนา ตอน ศึกกะหมงั กุหนิง. [online] เข้าถึง ได้จาก : //santayakom.blogspot.com. [๘ ธันวาคม ๒๕๕๘ ]

: Pluemroy. พระราชพระวตั ิรชั กาลท่ี ๒. [online] เข้าถึงได้จาก : //site.google.com/site/Pluemroy32./phra-rach-prawati-rachkal-thi-2 [๘ ธนั วาคม ๒๕๕๘]

28

ภาคผนวก

29

ประวัตผิ จู้ ัดทำ

1.นางสาวลานนา ทองธวัช วนั /เดือน/ปี 8 เมษายน 2548 อายุ 17 ที่อยู่ 159 หมู่11 ต.ทุ่งปี้ อ.แมว่ าง จ.เชียงใหม่

2.นางสาวกัญญรัตน์ บุญทรัพย์ วัน/เดือน/ปี 27 ธนั วาคม 2547 อายุ 17 ที่อยู่ 371 หมู่3 บ.ทงุ่ เสยี้ ว ต.บา้ นกลาง อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่

3.นางสาวชฎาพร สงิ หต์ ๊ะ วนั /เดือน/ปี 31 ตลุ าคม 2547 อายุ 17 ทีอ่ ยู่ 53 หมู่7 บา้ นดงก่ำ ตำบลทงุ่ สะโตก อำเภอสนั ป่าตอง จังหวดั เชียงใหม่ 50120

30

4.นางสาวนวลวรรณ แซ่พ่าน วัน/เดือน/ปี 03 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2547 อายุ 17 ทีอ่ ยู่ 348/9 หมู่3 บ.ทุง่ เสยี้ ว จ.เชียงใหม่ อ.สนั ปา่ ตอง ต.บ้านกลาง 50120

5.นางสาวมนัสวรรณ ทัพผดุง วัน/เดือน/ปี 28 สงิ หาคม 2547 อายุ 18 ทีอ่ ยู่ 57 บ้านดงก๋ำ หมู่7 ต.ทุ่งสะโตก อ.สนั ป่าตอง จ.เชยี งใหม่ 50120

6.นางสาวอณัชฎา สจุ าแสน วนั /เดือน/ปี 4 มิถุนายน. 2547 อายุ 18 ที่อยู่ 1 หมู่7 บ้านร่องนำ้ ต.มะขามหลวง อ.สนั ปา่ ตอง จ.เชียงใหม่

7.นางสาวเปรมกมล ปญั จะเรือง วัน/เดือน/ปี 22 กรกฎาคม 2547 อายุ 18 ที่อยู่ 111 หมู่ท่ี 8 ต.บา้ นแม อ.สนั ป่าตอง จ.เชยี งใหม่

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf