255 2 ม.5 ซ.โพธ 2 ถ.ส ขาภ บาล4 พระประแดง

แนวทางการดำเนินงานป‡องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพภายใตŒแผนพัฒนาดŒานการป‡องกันควบคุมโรคและสุขภาพของประเทศ ระยะ 20 ป‚พ.ศ. 2561 - 2580ประจำป‚งบประมาณ พ.ศ. 2564

ISBN978-616-11-4474-6พิมพ์ครั้งที่ 1กันยายน 2563จ�ำนวน47 เล่มจัดท�ำโดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขพิมพ์ที่ส�านักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์แนวทำงกำรด�ำเนินงำนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภำพประจ�ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564ภำยใต้แผนพัฒนำด้ำนกำรป้องกันควบคุมโรคและสุขภำพของประเทศ ระยะ 20 ปีพ.ศ. 2561-2580

IIIค�ำน�ำกรมควบคุมโรค ได้จัดท�ำแนวทำงกำรด�ำเนินงำนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภำพ ประจ�ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ภำยใต้แผนพัฒนำด้ำนกำรป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภำพของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ส�ำหรับเป็น กรอบแนวทำงขบเคล่อนงำนป้องกันควบคุมโรคและภยสุขภำพของประเทศ เพอให้ประชำชนได้รับกำรป้องกันควบคุมโรคัืัื ่และภัยสุขภำพระดับมำตรฐำนสำกล และสนับสนุนเป้ำหมำยของยุทธศำสตร์ชำต ด้ำนสำธำรณสุขท่ต้องกำรให้คนไทยมิีีสุขภำพดี โดยมีอำยุคำดเฉลี่ยมีสุขภำพดี 75 ปี และมีอำยุคำดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด 85 ปี ภำยในปี 2580กำรขับเคล่อนงำนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภำพ ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 กรมควบคุมโรค ยังคงให้ ืควำมส�ำคัญกับกำรเร่งรัด ก�ำจัด กวำดล้ำงจำกโรคและภัยสุขภำพ และลดปัจจัยเส่ยงท่มีผลต่อสุขภำพ รวมท้งระบบกำรีีัจัดกำรปัญหำด้ำนสุขภำพ รวมทั้งระบบกำรจัดกำรปัญหำด้ำนสุขภำพ ด้วยแผนงำนโรคและภัยสุขภำพที่ส�ำคัญ รวมทั้งกำรมีระบบควบคุมโรคท่เป็นเอกภำพ เข้มแข็ง ได้มำตรฐำนสำกล โดยแนวทำงกำรด�ำเนินงำนฯ ปี 2564 จะประกอบด้วย ีแผนงำน/โครงกำรตำมพระรำชด�ำริฯ โครงกำรเฉลิมพระเกียรติฯ โครงกำรส�ำคัญ แผนงำนโรคและภัยสุขภำพ แผนพัฒนำระบบ ซงในแตละแผนงำนไดระบถงสถำนกำรณ เป้ำหมำยกำรลดโรคและภัยสุขภำพ พ้นท่เส่ยง กลุ่มเส่ยง และมำตรกำรส�ำคัญึ ุ่่้ึ์ืีีีในกำรขับเคล่อนงำน ซ่งแนวทำงกำรด�ำเนินงำน ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภำพน เป็นผลจำกกำรท�ำงำนร่วมกันของืึี ้บุคลำกรกรมควบคุมโรคที่ตั้งใจและต้องกำรขับเคลื่อนงำนที่มุ่งเน้นให้เกิดผลสัมฤทธิ์ของกำรลดโรคและภัยสุขภำพกรมควบคุมโรคหวังเป็นอย่ำงย่งว่ำ แนวทำงกำรด�ำเนินงำนฯ เล่มน้จะเป็นอีกเคร่องมือส�ำคัญในกำรขับเคล่อน ิีืืกำรด�ำเนินงำนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภำพในระดับพ้นท่ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ประสิทธิผล เพ่อคุณภำพชีวิต ืีืของประชำชน กรมควบคุมโรคตุลำคม 2563

IVสำรบัญ1. กลุ่มแผนงำนพระรำชด�ำริ และแผนงำนส�ำคัญที่ต้องเร่งรัดด�ำเนินกำรแผนงำนควบคุมโรคหนอนพยำธิตำมโครงกำรพระรำชด�ำริฯแผนงำนป้องกันควบคุมโรคพยำธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน�้ำดีแผนงำนเร่งรัดก�ำจัดโรคไข้มำลำเรียแผนงำนโรคพิษสุนัขบ้ำแผนงำนป้องกันควบคุมโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน2. กลุ่มแผนงำนโรคติดต่อ (CD)แผนงำนป้องกันควบคุมโรคเรื้อนแผนงำนควบคุมโรคติดต่อทำงอำหำรและน�้ำแผนงำนโรคเลปโตสไปโรสิสแผนงำนป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่และโรคติดต่ออันตรำยแผนงำนป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่แผนงำนป้องกันควบคุมโรคติดต่อในเด็กแผนงำนเฝ้ำระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อน�ำโดยยุงลำยแผนงำนป้องกันควบคุมโรคติดต่อน�ำโดยแมลงอื่นๆ (สครับไทฟัสและลิชมำเนีย)แผนงำนป้องกันควบคุมโรคเท้ำช้ำงแผนงำนป้องกันควบคุมวัณโรคแผนงำนกำรบริหำรจัดกำรกำรดื้อยำต้ำนจุลชีพ (AMR)แผนงำนด้ำนกำรป้องกัน ควบคุมเอชไอวี/เอดส์ (จุดเน้นเอดส์)แผนงำนด้ำนกำรป้องกัน ควบคุมโรคไวรัสตับอักเสบ บี และ ซีแผนงำนด้ำนกำรป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อทำงเพศสัมพันธ์กำรขับเคลื่อนกำรด�ำเนินงำนตำมพระรำชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 หน้ำ1316345376159161194203214224232243275285292312320323326329

V3. กลุ่มแผนงำนโรคไม่ติดต่อ (NCD)แผนงำนโรคไม่ติดต่อ (DM/HT)แผนงำนควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แผนงำนป้องกันควบคุมกำรบริโภคยำสูบ4. กลุ่มแผนงำนโรคจำกกำรบำดเจ็บ (Injury)แผนงำนป้องกันกำรบำดเจ็บจำกกำรจรำจรทำงถนนแผนงำนป้องกันกำรจมน�้ำแผนงำนกำรป้องกันบำดเจ็บจำกกำรพลัดตกหกล้มในผู้สูงอำยุ5. กลุ่มแผนงำนโรคจำกกำรประกอบอำชีพและสิ่งแวดล้อม (Env-Occ)แผนงำนกำรขับเคลื่อนมำตรกำรเฝ้ำระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคจำกกำรประกอบอำชีพและโรคจำกสิ่งแวดล้อม ภำยใต้พระรำชบัญญัติควบคุมโรคจำกกำรประกอบอำชีพและโรคจำกสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562แผนงำนพัฒนำระบบเฝ้ำระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคจำกกำรประกอบอำชีพแผนงำนพัฒนำระบบเฝ้ำระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคจำกสิ่งแวดล้อมหน้ำ337339373392429431445461469471483510

VI6. กลุ่มแผนงำนเชิงระบบ (Syetem Development)แผนงำนป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยำบำลแผนพัฒนำระบบกำรจัดกำรภำวะฉุกเฉินทำงสำธำรณสุขอย่ำงครบวงจรและบูรณำกำรแผนงำนสื่อสำรควำมเสี่ยงโรคและภัยสุขภำพ (Health Risk Communication)แผนพัฒนำศักยภำพและประสำนควำมร่วมมือดำนกำรป้องกนควบคุมโรคและภัยสขภำพ้ัุกับภำคีเครือข่ำยระดับพื้นที่แผนงำนพัฒนำศักยภำพและกลไกกำรด�ำเนินงำนเฝ้ำระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภำพ ตำมกรอบควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศเพื่อควำมมั่นคงทำงสุขภำพโลกแผนงำนยกระดับระบบงำนระบำดวิทยำให้ได้มำตรฐำนตำมกรอบของกฎอนำมัย ระหว่ำงประเทศแผนพัฒนำช่องทำงเข้ำออกประเทศตำมกฎอนำมัยระหว่ำงประเทศ พ.ศ. 2548 และพระรำชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558แผนงำนขับเคลื่อนกำรป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภำพด้วยกลไกกำรพัฒนำคุณภำพชีวิต ระดับพื้นที่ (พชอ./พชข.)แผนพัฒนำระบบกลไก กำรป้องกันควบคุมโรคเขตเมืองแผนงำนระบบเฝ้ำระวังและระบบข้อมูลสำรสนเทศ แผนพัฒนำระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ (Digital Transformation)แผนงำนส่งเสริมกำรพัฒนำนวัตกรรมและวิจัย กรมควบคุมโรคแผนงำนพัฒนำเครือข่ำยห้องปฏิบัติกำรสำธำรณสุขด้ำนป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภำพแผนบริหำรและพัฒนำก�ำลังคนด้ำนกำรป้องกันควบคุมโรคกำรพัฒนำก�ำลังคนด้ำนเวชศำสตร์ป้องกันและควบคุมโรคแผนงำนพัฒนำระบบกำรติดตำมและประเมินผลหน้ำ541543551570583593599617628639662670677705715739749สำรบัญ (ต่อ)

กลุ่มแผนงานพระราชดำาริ และแผนงานสำาคัญที่ต้องเร่งรัดดำาเนินการ1

31. สถานการณ โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในนักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ถิ่นทุรกันดารและพื้นที่ในแผนภูฟาพัฒนาตามพระราชดำริฯ เปนหนึ่งโครงการในแผนการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (กพด.) ปจจุบันขับเคลื่อนสูแผน กพด.ฉบับที่ 5 ซึ่งเปนแผนระยะยาว 10 ป (2560 - 2569) มีเปาหมายสูงสุดของการพัฒนาเด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ถิ่นทุรกันดาร และพื้นที ่ภูฟาพัฒนาใหมีโอกาสที่ดีขึ้น มีสุขภาพแข็งแรงสามารถดูแลตนเองไดอยางสมดุลทั้งรางกายและจิตใจ โดยกองโรคติดตอทั่วไป กรมควบคุมโรค รับผิดชอบในกรอบการดำเนินงานใหเกิดกิจกรรมการตรวจและรักษาโรคหนอนพยาธ ตามมาตรฐาน ิทางวิชาการ เพื่อลดความชุก ความรุนแรงของปญหา และการปองกันโรคที่พบ ในทองถิ่น สนับสนุนใหมีการจัดกระบวนการเพื่อใหเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อปองกันตนเองจากการติดเชื้อหนอนพยาธ ิจากผลการดำเนินงาน โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิตามพระราชดำริฯ ในป พ.ศ. 2562 อัตราการติดเชอื ้หนอนพยาธิในนักเรียนเทากับ รอยละ 5.82 (5,493 คน) ความครอบคลุมการตรวจอุจจาระในนักเรียน รอยละ 77.59 (94,346 คน) ชนิดพันธุของหนอนพยาธิที่พบวามีการติดเชื้อสูงสุด คือ พยาธิไสเดือน รอยละ 3.97 (3,748 คน) และพยาธิแสมา รอยละ 1.54 (1,454 คน) ในสถานศึกษาพบวา นักเรียนในสังกัดสำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีการติดเชื้อสูงสุด รอยละ 27.21 (1,866 คน) รองลงมา คือ นักเรียนในสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น รอยละ 5.72 (111 คน) และสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน รอยละ 5.32 (1,769 คน) ซึ่งจำแนกขอมูลตามสังกัด ดังน ี้1. นักเรียนในสังกัดกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) มีความครอบคลุมการตรวจอุจจาระในนักเรียน รอยละ 90.36 (22,474 คน) พบอัตราการติดเชื้อรอยละ 4.71 (1,058 คน) ชนิดพันธุของหนอนพยาธิที่พบวามีการติดเชอื ้สูงสุด คือ พยาธไสเดอน รอยละ 3.44 (774 คน) และพยาธแสมา รอยละ 0.73 (163 คน) ิืิ2. นักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) มีความครอบคลุมการตรวจอุจจาระในนักเรียน รอยละ 70.41 (33,248 คน) พบอัตราการติดเชื้อ รอยละ 5.32 (1,769 คน) ชนิดพันธุของหนอนพยาธิที่พบวามีการตดเชอสูงสุด คือ พยาธไสเดอน รอยละ 3.40 (1,131 คน) และพยาธแสมา รอยละ 1.23 (410 คน) ิื ้ิืิ3. นักเรียนในสังกัดสำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) ศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา“แมฟาหลวง”(ศศช.) และศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยมอแกน อุทยานแหงชาติหมูเกาะสุรินทร มีความครอบคลุมการตรวจอุจจาระในนักเรียน รอยละ 87.37 (6,858 คน) พบอัตราการติดเชื้อ รอยละ 27.21 (1,866 คน) ชนิดพันธุของหนอนพยาธิที่พบวามีการติดเชื้อสูงสุด คือ พยาธิไสเดือน รอยละ 22.00 (1,509 คน) และพยาธิแสมา รอยละ 9.04 (620 คน) แผนงานควบคุมโรคหนอนพยาธตามโครงการพระราชดำริฯ ิ

44. สามเณรในสังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ (โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา) มีความครอบคลุมการตรวจอุจจาระในนักเรียน รอยละ 81.76 (4,118 คน) พบอัตราการติดเชื้อรอยละ 1.04 (43 คน) ชนิดพันธุของหนอนพยาธิที่พบวามีการติดเชื้อสูงสุด คือ พยาธิปากขอ รอยละ 0.32 (13 คน) และพยาธิไสเดือน รอยละ 0.29 (12 คน) 5. นักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน (โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สถาบันปอเนาะ และโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา) มีความครอบคลุมการตรวจอุจจาระในนักเรียน รอยละ 62.87 (7,445 คน) พบอัตราการติดเชื้อ รอยละ 2.10 (156 คน) ชนิดพันธุของหนอนพยาธิที่พบวามีการติดเชือสูงสุด คือ ้พยาธไสเดอน รอยละ 1.18 (88 คน) และพยาธแสมา รอยละ 0.97 (72 คน) ิืิ6. นักเรียนในสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น (โรงเรียนและศูนยสงเสริมและพัฒนาเด็กวัยเตาะแตะ) มีความครอบคลุมการตรวจอุจจาระในนักเรียน รอยละ 95.10 (1,942 คน) พบอัตราการติดเชื้อ รอยละ 5.72 (111 คน) ชนิดพันธุของหนอนพยาธทีพบวามีการตดเชอสูงสุด คือ พยาธไสเดอน รอยละ 3.14 (61 คน) และพยาธแสมา รอยละ 1.91 (37 คน) ิ่ิื ้ิืิ7. นักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) (โรงเรียนราชประชานุเคราะห) มีความครอบคลุมการตรวจอุจจาระในนักเรียน รอยละ 80.30 (18,261 คน) พบอัตราการติดเชื้อ รอยละ 2.68 (490 คน) ชนิดพันธุ ของหนอนพยาธที่พบวามีการตดเชอสูงสุด คือ พยาธไสเดอน รอยละ 0.95 (173 คน) และพยาธแสมา รอยละ 0.83 (152 คน) ิิื ้ิืิ8. นักเรียนในสังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร ไมไดดำเนินการตรวจอุจจาระในนักเรียน เนื่องจากในป พ.ศ. 2559 มีผลการดำเนนงานตรวจอจจาระนกเรียนทุกคน พบอตราการตดเชอหนอนพยาธ รอยละ 0.00 ป พ.ศ. 2560 ดำเนนการิุััิื ้ิิตรวจอุจจาระในนักเรียนโครงการตามพระราชดำริฯ เฉพาะนักเรียนกลุมเสี่ยงรายที่มีภาวะโภชนาการ ผอม คอนขางผอม หรือมีภาวะซีด พบอตราการตดเชอหนอนพยาธ รอยละ 0.43 (6 คน) และในป พ.ศ. 2561 พบอตราการตดเชอหนอนพยาธ รอยละ ัิื ้ิัิื ้ิ0.25 (2 คน) ทั้งนี้ ป 2562 สำนักอนามัยกรุงเทพมหานคร ไดสนับสนุนสื่อความรูและจัดกิจกรรมสรางความรอบรูดานสุขภาพในโรงเรียน เพื่อสงเสริมใหเกิดการสรางกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤตกรรมสุขภาพของนักเรียน และดำเนินการตรวจเยยมเสริมิี่พลัง เพอรบฟงปญหาและขอเสนอแนะจากหนวยงานเครอขาย ในการดำเนนงานควบคุมโรคอยางตอเนอง ื ่ัืิื ่สำหรับประชาชนในพื้นที่ภูฟาพัฒนา จังหวัดนาน มีความครอบคลุมการตรวจอุจจาระในประชาชน รอยละ 57.85 (9,169 คน) พบอัตราการติดเชื้อหนอนพยาธิเทากับ รอยละ 13.11 (1,202 คน) ชนิดพันธุของหนอนพยาธิทีพบวามีการติดเชอ่ื ้สูงสุด คือ พยาธใบไมตบ รอยละ 6.54 (600 คน) รองลงมา คือ พยาธไสเดอน รอยละ 3.21 (294 คน) ิัิื

5จำแนกตามสังกัด ป 2558 - 2562สถานการณโรคหนอนพยาธในเด็กนักเรียนและเยาวชน ป 2545 – 2562 ิ

6และหากพิจารณาผลการดำเนินงานป 2562 รายจังหวัด พบวา จังหวัดที่มีอัตราการติดเชื้อมากกวา รอยละ 10 ไดแก จังหวัดตาก (รอยละ 19.18) และ จังหวัดเชียงใหม (รอยละ 14.51) จากขอมูลการติดเชื้อโรคหนอนพยาธิของนักเรียน ทำใหทราบวา นักเรียนสวนใหญ ติดเชื้อพยาธิไสเดือน และพยาธิแสมา ซึ่งพบมากที่สุดในนักเรียนสังกัด กศน. ซึ่งสวนใหญเปนนักเรียนกลุมชาติพันธุบนพื้นที่สูงทางภาคเหนือ ไดแก จังหวัดเชียงใหมและจังหวดตาก สาเหตุหลักของการติดเชอเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพและสุขนิสัย เชน การไมลางมือกอนัื้รับประทานอาหาร หรือการลางผักที่มีการปนเปอนไขหนอนพยาธิที่ไมสะอาดกอนรับประทาน การขับถายนอกสวม และพบวานักเรียนมีแนวโนมติดเชื้อพยาธตืดและพยาธิใบไมตบเพิ่มมากขึ้น พบมากในจังหวัดยโสธร มหาสารคาม และจังหวดิัันาน ซึ่งเกิดจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารประเภทเนื้อหมู เนื้อวัวและปลาน้ำจืดเกล็ดขาว แบบสุก ๆ ดิบ ๆ และปจจัยดานสิ่งแวดลอม เปนอีกหนึ่งปจจัยที่เอื้อตอการแพรระบาดของโรคหนอนพยาธิในกลุมโรคหนอนพยาธิผานดน ิซึ่งการมีและใชสวมในพนที่ยังคงเปนปญหากอใหเกิดการแพรระบาดและการปนเปอนไขหนอนพยาธิในสิ่งแวดลอม ดงนนื้ัั้จึงจำเปนตองมีการแกไขปญหาอยางตอเนื่อง ดวยความรวมมือของหนวยงานภาคีหลายภาคสวนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติของนักเรียนและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ปงบประมาณ 2562 กรมควบคุมโรคไดดำเนินกิจกรรมเพื่อแกไขปญหาการติดเชื้อโรคหนอนพยาธิในนักเรียนและเยาวชน ตามบทบาทและภารกิจ ไดแก จัดทำแนวทางการดำเนินงานรวมกับภาคีเครือขาย และการรายงานผล ในรูปแบบระบบฐานขอมูลออนไลน ปรับปรุงคูมือแนวทางการปฏิบติงานโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในโครงการตามัพระราชดำริฯ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข และคูมือหลักสูตรพนักงานจุลทัศนกรผูอบรมใหม ถอดบทเรียนกระบวนการดำเนินงานและจัดทำแผนการดำเนินงานแบบสรางสรร ผลิตสื่อความรูอิเล็กทรอนิกส เรื่อง การปองกันโรคหนอนพยาธ ิรวมทั้งประสานงานในการสนับสนุนงบประมาณ วัสดุวิทยาศาสตร สื่อความรู และเวชภัณฑเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามโครงการฯ ครอบคลุมทุกโรงเรียนในโครงการฯ เพื่อการสรางความรอบรูในนักเรียนและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร 0.64.721.930.130.210.160.030.020.74ปากขอไส้เดือนแส้ม้าใบไม้ตับเข็มหมุดตืดใบไม้ลําไส้สตรองจิลอยพบมากกว่า 1 ชนิดจำแนกตามชนิดของหนอนพยาธิ ป 2562

7อีกทั้งการนำเสนอผลงานวิชาการในงานการประชุมวิชาการการพัฒนาสุขภาพเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารสูโรงเรียนรอบรดานสุขภาพ ป 2562 ู 2. พื้นที่เสี่ยง/กลุมเสี่ยง 2.1 พื้นที่แผนการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร เรียกโดยยอวา แผน กพด. มีพื้นที่ดำเนินการ 55 จังหวัด ทั่วประเทศ จำนวน 914 โรงเรียน 2.2 พื้นที่ในแผนภูฟาพัฒนา จังหวัดนาน 61 ชุมชน อัตราชุก รอย> ละ 10 อัตราชกรอยละ 5-10 ุอัตราชก < รอยละ 5 ุไมสงรายงาน ไมใชพื้นที่ดำเนินการ ป 2562ป 2560ป 2561

83. เปาหมาย 3.1 กรณีเปาหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ป ในระยะ 10 ป 15 ป และ 20 ป (ถามี) 3.2 เปาหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ป 3.2.1 พื้นที่แผนการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร เรียกโดยยอวา แผน กพด. มีพื้นที่ดำเนินการ 55 จังหวัด ทั่วประเทศ จำนวน 914 โรงเรียน 3.2.2 พื้นที่ในแผนภูฟาพัฒนา จังหวัดนาน 61 ชุมชน4. ตัวชี้วัดตามเปาหมาย4.1 โรงเรียนและชุมชนในโครงการตามพระราชดำริฯ มีการดำเนินกิจกรรมควบคุมปองกันโรคหนอนพยาธ ิรอยละ 80 4.2 อตราการตดเชอหนอนพยาธในนกเรียนและเยาวชนในภาพรวมทังประเทศใหตำกวารอยละ 5 ภายในป 2565 ัิื ้ิั้่5. กลไกการบริหารจัดการแผนเพื่อใหแผนบรรลุผลตามวัตถุประสงค/เปาหมายกรมควบคุมโรคไดดำเนินกิจกรรมเพื่อแกไขปญหาการติดเชื้อโรคหนอนพยาธิในนักเรียนและเยาวชน ตามบทบาทและภารกจโดยดำเนนการตามมาตรการ ดงน ิิัี ้มาตรการที่ 1 สงเสริมการมีสวนรวมของชุมชนและหนวยงานใหมีการบูรณาการงานรวมกัน เพื่อ แกไขปญหาอยางเปนระบบ มาตรการที่ 2 พัฒนาความรอบรูดานสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และจัดทำสื่อใหสอดคลองกบับริบทพื้นที่ มาตรการที่ 3 ขับเคลื่อนการพัฒนาสิ่งแวดลอมและสิ่งปฏิกูลในชมชนใหไดมาตรฐาน ุมาตรการที่ 4 การตรวจคัดกรองและรักษาหนอนพยาธิในทุกโรงเรียนและนักเรียนทุกคนอยางนอย 1 ครั้งตอปการศึกษา และใหการรักษา มาตรการที 5 สรางและพฒนางานวจยและนวตกรรมการเฝาระวง ปองกน ควบคุมโรคหนอนพยาธ ่ัิััััิตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 โรงเรียนและชุมชนในโครงการตามพระราชดำริฯ มีการดำเนินกิจกรรมควบคุมปองกันโรคหนอนพยาธ ิรอยละ 80 ตัวชี้วัดที่ 2 อัตราการติดเชื้อหนอนพยาธิในนักเรียนและเยาวชนในภาพรวมทั้งประเทศใหต่ำกวารอยละ 5 ภายในป 2565

96. การตดตามและประเมนผล ิิ6.1 อัตราการติดเชอโรคหนอนพยาธิในนกเรียน เยาวชนตามแผน กพด. และประชาชนตามแผนภูฟาพัฒนา จ.ื ้ันาน ประเมินผลและวิเคราะหขอมูลจากรายงานผลการปฏิบัติงานประจำป กพด. 3 หรือ พย. 3 6.2 การนิเทศตดตามผลการดำเนินงาน และสนับสนุนกระบวนการดำเนินงาน/และการเฝารบเสดจ ิั็7. วงเงินงบประมาณพรอมแหลงทีมาของงบประมาณ ่งบประมาณจากกรมควบคุมโรค โครงการพัฒนาและสนับสนุนการดำเนินงานเฝาระวังปองกันควบคุมโรคและพัฒนาทักษะชีวิตในกลุมวัยเรียน จำนวน 39 ลานบาท (ป 63 – 65 จำนวนปละ 13 ลานบาท) 

108. มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ป กรอบระยะเวลา ผูรับผิดชอบ วงเงิน เ2561 2562 2563 2564 2565 (ลานบแหลงเงิน 12341234123412341234โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในนักเรียนและเยาวชน ตามโครงการพระราชดำริฯ โดยมีมาตรการและกิจกรรม มาตรการที 1 สงเสริมการมีสวนรวมของชุมชนและหนวยงานให่มีการบูรณาการงานรวมกัน เพื่อ แกไขปญหาอยางเปนระบบ มาตรการที่ 2 พัฒนาความรอบรูดานสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และจัดทำสื่อใหสอดคลองกับบริบทพื้นที่ มาตรการที่ 3 ขับเคลื่อนการพัฒนาสิ่งแวดลอมและสิ่งปฏิกูลในชมาตรการที 4 การตรวจคัดกรองและรักษาหนอนพยาธิในทุก่โรงเรียนและนักเรียนทุกคนอยางนอย 1 ครั้งตอปการศึกษา และใหการรกษา ัมาตรการที 5 สรางและพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมการเฝา่ระวัง ปองกัน ควบคุมโรคหนอนพยาธินางอรนาถ วัฒนวงษ ตำแหนง นักวิชาการสชำนาญการพิเศษ39 ลานบาท (ป 6จำนวนปละ 13 ลานบาท)กรมคโรค1) พืนทีแผนการ้่พัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร เรียกโดยยอวา แผน กพด. มีพื้นที่ดำเนินการ 55 จังหวัดทั่วประเทศ จโรงเรียน 2) พืนทีในแผนภู้่ฟาพัฒนา จังหวัดนาน 61 ชุมชน

119 9. แผนติดตามประเมนผล ระยะ 5 ปิตัวชี้วด ัขอมูลพื้นฐาน เปาหมาย หมายเหต ุป 2561 2562 2563 2564 2565 2566 ตัวชี้วดผลกระทบ (Impact Indicator) ั1. อัตราการติดเชื้อหนอนพยาธิในนักเรียนและเยาวชนในภาพรวมทั้งประเทศใหต่ำกวารอยละ 5 ภายในป 2565 รอยละ 7.2 รอยละ 8 รอยละ 7 รอยละ 6 รอยละ 5 รอยละ 5 ตัวชี้วดผลลัพธ (outcome Indicator) ั1. มีการพัฒนาสนับสนุน และประสานความรวมมือเครือขายในการดำเนินงานปองกันควบคุมโรคหนอนพยาธิ ในพื้นท ี่850 โรงเรยน ี51 จังหวัด 906 โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 2. รอยละของโรงเรยนและชุมชนในีโครงการตามพระราชดำริฯ มีการดำเนินกิจกรรมควบคุมปองกันโรคหนอนพยาธิ รอยละ 78.12 รอยละ 100 รอยละ 100 รอยละ 80 รอยละ 80 รอยละ 80 ตัวชีวดผลผลิต (output Indicator) ้ั1. สงเสริมการมสวนรวมของชุมชนและีหนวยงานใหมีการบูรณาการงานรวมกัน เพื่อ แกไขปญหาอยางเปนระบบ 850 โรงเรยน ี51 จังหวัด 906 โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 2. พัฒนาความรอบรูดานสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤตกรรมสุขภาพ และิจัดทำสื่อใหสอดคลองกับบริบทพื้นที่ 850 โรงเรยน ี51 จังหวัด 906 โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 3. ขับเคลื่อนการพัฒนาสิ่งแวดลอมและสิ่งปฏิกูลในชุมชนใหไดมาตรฐาน 850 โรงเรยน ี51 จังหวัด 906 โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 4. การตรวจคัดกรองและรักษาหนอนพยาธิในทกโรงเรียนและนักเรียนุทุกคนอยางนอย 1 ครั้งตอปการศึกษา และใหการรักษา 150,000 ราย 150,000 100,000 90,000 ราย ราย ราย 90,000 ราย 90,000 ราย

12ตัวชี้วด ัขอมูลพื้นฐาน เปาหมาย หมายเหต ุป 2561 2562 2563 2564 2565 2566 5. สรางและพฒนางานวจัยและัินวัตกรรมการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคหนอนพยาธ ิ850 โรงเรยน ี51 จังหวัด 906 โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด 914 55 จังหวัด หมายเหตุ : ในแตละป จำนวนโรงเรียนและจำนวนนักเรียน อาจมีเพิ่มขึ้นหรือลดลง ดังที่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชวินิจฉัย

1311 10. ผูรับผิดชอบแผนงาน 1. นายแพทยโสภณ เอี่ยมศิริถาวรเบอรโทรศัพท 0 2590 3160ผูอำนวยการกองโรคติดตอทั่วไป กรมควบคุมโรคE-mail: [email protected]. นางอรนาถ วัฒนวงษเบอรโทรศัพท 0 2590 3180หัวหนากลุมโครงการตามพระราชดำริฯE-mail: [email protected]. นางสาวณิชาภทร คูกิติรัตนัเบอรโทรศัพท 02 590 3180นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการE-mail: [email protected]

1411. เอกสารแนบ วิเคราะห Value Chain ของแผนงานลดโรค/ภัย Service Provider โดย สำนักในฐานะ National Program Service Provider แผนโรค/มาตรการ สำนักวิชาการ เขต Pชุมชน ผลลัพธลดโรค สวนกลาง สคร. โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในนักเรียนและเยาวชน ตามโครงการพระราชดำริฯ ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2561 - 2565) 1. สงเสริมการมีสวนรวมของชุมชนและหนวยงานใหมีการบูรณาการงานรวมกันเพื่อแกไขปญหาอยางเปนระบบ สงเสริมการมีสวนรวมของชุมชนและหนวยงานใหมีการบูรณาการงานรวมกันเพื่อแกไขปญหาอยางเปนรสงเสริมการมีสวนรวมของชุมชนและหนวยงานใหมีการบูรณาการงานรวมกันเพื่อแกไขปญหาอยางเปนรสงเสริมการมีสวนรวมของชุมชนและหนวยงานใหมีการบูรณาการงานรวมกันเพื่อแกไขปญหาอยางเปนรดำเนินงานโดยบูรณาการรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่ รวม/สนับสนุนกิจกรรมการดำเนินงานแกไขปญหา อัตราการติดเชื้อหนอนพยาธิในนักเรียนและเยาวชนในภาพรวมทั้งประเทศใหต่ำกวารอยละ 5 ภายในป 22. พัฒนาความรอบรูดานสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และจัดทำสื่อใหสอดคลองกับบริบทพื้นที่ พัฒนาความรอบรูดานสุขภาพปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และจัดทำสื่อใหสอดคลองกับบริบทพื้นที่ พัฒนาความรอบรูดานสุขภาพปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และจัดทำสื่อใหสอดคลองกับบริบทพื้นที่ พัฒนาความรอบรูดานสุขภาพปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และจัดทำสื่อใหสอดคลองกับบริบทพื้นที่ -จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรอบรูดานสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ -จัดกิจกรรมรณรงคใหสอดคลองกับบริบทพื้นที่ -เขารวมกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรอบรูดานสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ –รวมกิจกรรมรณรงคใหสอดคลองกับบริบทพื้นที่ 3. ขับเคลื่อนการพัฒนาสิ่งแวดลอมและสิ่งปฏิกูลในชพัฒนาสิ่งแวดลอมและสิง่ปฏิกูลในชุมชนใหไดมาตรฐาน พัฒนาสิ่งแวดลอมและสิง่ปฏิกูลในชุมชนใหไดมาตรฐาน พัฒนาสิ่งแวดลอมและสิง่ปฏิกูลในชุมชนใหไดมาตรฐาน จัดกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดลอมในชุมชน ใหไดมาตรฐาน รวมพัฒนาสิ่งแวดลอมในครัวเรือน ชุมชน ใหไดมาตรฐาน 4. การตรวจคัดกรองและรักษาหนอนพยาธิในทุกโรงเรียนและนักเรียนทุกคนสนับสนุนการตรวจคัดกรองและรักษาโรคสนับสนุนการตรวจคัดกรองและรักษาโรคสนับสนุนการตรวจคัดกรองและรักษาโรคตรวจคัดกรองและรักษาโรคหนอนพยาธิในทุกใหความรวมมือในการเก็บ/สงสิ่งสงตรวจเพื่อคนหาหนอนพยาธิ

1513 Service Provider แผนโรค/มาตรการ สำนักวิชาการ เขต Pชุมชน ผลลัพธลดโรค สวนกลาง สคร. อยางนอย 1 ครงตอปั ้การศึกษา และใหการรักษา หนอนพยาธิในทุกโรงเรียนและนักเรียนทุกคน หนอนพยาธิในทุกโรงเรียนและนักเรียนทุกคน หนอนพยาธิในทุกโรงเรียนและนักเรียนทุกคน โรงเรียนและนักเรียนทุกคน 5. สรางและพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม การเฝาระวัง ปองกันควบคุมโรคหนอนพยาธิ สรางและพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมการเฝาระวัง ปองกันควบคุมโรคหนอนพยาธิ สรางและพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม การเฝาระวัง ปองกันควบคุมโรคหนอนพยาธิ สรางและพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม การเฝาระวัง ปองกันควบคุมโรคหนอนพยาธิ จัดกิจกรรมพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมในพื้นที่ รวมกิจกรรมพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมในพื้นที่ หมายเหตุ: มาตรการอาจไมลงถึงทุกระดับ

161. สถานการณ โรคพยาธิใบไมตับเปนปญหาสำคัญพบวาในป 2539 2552 2557 พบอัตราความชุกทั่วประเทศเฉลี่ยรอยละ 11.8 รอยละ 8.7 และรอยละ 5.1 ตามลำดับ เมื่อพิจารณาในระดับหมูบานในป 2552 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอัตราความชุกของโรคสูงที่สุดถึงรอยละ 85.2 ในระดับหมูบานภาคเหนือสูงสุด 45.6 จากการประมาณการพบวาคนภาคตะวันออกเฉียงเหนือกวา 20 ลานคนติดโรคหรือเคยติดโรคพยาธิใบไมตับกวา 6 ลานคน หรือนับเปนหนึ่งในสามของประชากรในภูมิภาคสอดคลองกับสถิติการเสียชีวิตของโรคมะเร็งทอน้ำดีสูงสุดในป 2548 เมื่อ 10 ป ที่ผานมาประมาณ 25,000 ราย คิดเปนอัตราการเสียชีวิตวันละ 70 ราย หรือเฉลี่ยชั่วโมงละ 3 ราย ในป 2554 พบคนไทยเสียชีวิตจากโรคมะเร็งทอน้ำดีและตับ จำนวน 14,314 ราย ประมาณครึ่งหนึ่งเปนคนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือประมาณ 7,539 ราย รองลงมาคือภาคเหนือ จำนวน 2,638 ราย และจากสถิติโรงพยาบาลศรีนครินทร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ป 2556 พบผูปวยมะเร็งตับและมะเร็งทอน้ำดีรายใหมมากกวา 1,765 ราย ซึ่งมีแนวโนมสูงขึน้เรื่อย ๆ ทุกป โดยเปนมะเร็งทอน้ำดี รอยละ 63 (1,108 ราย) มะเร็งตับรอยละ 18 (320 ราย) โดยประมาณรอยละ 55 เกิดขึ้นกับประชากรวัยทำงานที่เปนหัวหนาครอบครัว อายุระหวาง 40 -60 ป คาใชจายในการรักษา (เฉพาะผาตัดมะเร็งทอน้ำดี ICC) 80,000 บาท ตอราย หรือประมาณ 1,960 ลาน/ป ซึ่งถือวาเปนโรคที่รุนแรงและกอใหเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจสังคม คุณภาพชีวิตของคนในสังคมเปนอยางมาก กระทรวงสาธารณสุขไดมีการขับเคลื่อนยุทธศาสตรกำจัดปญหาพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำด ระยะเริมตน ป (2559-2561) ขับเคลื่อนผานโครงการรณรงคการกำจัดปญหาโรคี่พยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีถวายเปนพระราชกุศลแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเสด็จขึ้นครองราชยครบ 70 ป ในปพุทธศักราช 2559 พรอมทังสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ จะทรงเจริญพระชนมพรรษา 84 พรรษา ตลอดจน้ในปพุทธศักราช 2560 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จะทรงเจริญพระชนมพรรษา 90 พรรษา กระทรวงสาธารณสุขไดมีการขับเคลื่อนยุทธศาสตรกำจัดปญหาพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดี ระยะเริ่มตน ป (2559-2561) ขับเคลื่อนผานโครงการรณรงคการกำจัดปญหาโรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีถวายเปนพระราชกุศลแดพระบาทสมเดจพระเจาอยูหัวเสด็จขึ้นครองราชยครบ 70 ป ในปพุทธศักราช 2559 พรอมทั้งสมเดจพระนางเจาฯ ็็พระบรมราชินีนาถ จะทรงเจริญพระชนมพรรษา 84 พรรษา ซึ่งพบวามีผลการดำเนินงานการติดพยาธิใบไมตับ ดังน ี้แผนงานปองกันควบคุมโรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดี

172. พื้นที่เสี่ยง/กลุมเสี่ยง 2.1 พื้นที่เปาหมาย 29 จังหวัด 2.1.1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 จังหวัด เลย หนองบัวลำภู หนองคาย บึงกาฬ อุดรธานี สกลนคร นครพนม มุกดาหาร กาฬสินธ มหาสารคาม ขอนแกน ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษ รอยเอ็ด ยโสธร ุ อำนาจเจริญ อุบลราชธานี 2.1.2 ภาคเหนือตอนบน 8 จังหวัดเชียงใหม เชียงราย แมฮองสอน นาน ลำปาง ลำพูน แพร พะเยา 2.1.3 ภาคตะวนออก 1 จังหวัด สระแกว ั2.2 กลุมเปาหมาย 2.2.1 ประชาชน อายุ 15 ปขึ้นไป ไมมีประวัติเสี่ยงในการติดพยาธิใบไมตับไดรับการคัดกรองพยาธิใบไมตับ 2.2.2 ประชาชนอายุ 40 ปขึ้นไป มีประวัติเคยกินปลาดบ เคยรักษาพยาธิใบไมตับ มีญาติสายตรงเปนมะเร็งิทอน้ำดี ไดรับการสงตอเพื่อคัดกรองมะเร็งทอน้ำดีดวยอลตราซาวด ั3. เปาหมาย3.1 ระดบประเทศ ัเปาหมาย ปงบประมาณ 2561 2562 2563 2564 2565 1. การคัดกรองพยาธิใบไมตับดวยวิธีตรวจอุจจาระ 366,525 ราย 548,430 ราย 405 ตำบล 606 ตำบล 93,200 ราย 932 ตำบล 94,100 ราย 941 ตำบล 42,000 ราย 420 ตำบล

18เปาหมาย ปงบประมาณ 2561 2562 2563 2564 2565 2. การคัดกรองมะเร็งทอน้ำดี ดวยการตรวจอัลตราซาวน (Ultrasound) 203,360 ราย 309,106 ราย 58,000 ราย 58,000 ราย 58,000 ราย หมายเหต ขอ 1 ในป 2563 ดำเนนการสำรวจหาปญหาโดยคัดกรองกลุมเสียงจำนวน 100 คน/ตำบล หากพบวาอตราการตดเชอุิ่ัิื้รอยละ 5 ลงมา จะทำคัดกรองเพียง 100 คนเทานัน แตหากพบอัตราการติดเชื้อสูงกวารอยละ 5 ใหดำเนินการคัดกรองตอไป้จนครบจำนวนตามเปาหมายเดมจำนวน 905 ราย/ตำบล ิ3.2 ระดับเขต/จังหวัด เขตจังหวัดเปาหมาย เปาหมาย ตำบลป 2564ตำบลป 2565เปาหมายคัดกรองพยาธิใบไมตบัเปาหมาย อัลตราซาวดเปาหมายรักษาผูปวยมะเร็งทอน้ำดีดวยการผาตัด1เชียงราย27262,700 (24,435)2,0001,500 ราย 1เชียงใหม57255,700 (51,585)2,0001นาน31133,100 (28,055)2,0001พะเยา2192,100 (19,005)2,0001แพร25112,500 (22,625)2,0001แมฮองสอน1461,400 (12,670)2,0001ลำปาง31143,100 (28,055)2,0001ลำพูน1671,600 (14,480)2,0006สระแกว---2,0007กาฬสินธุ40174,000 (36,200)2,0007ขอนแกน60266,000 (54,300)2,0007มหาสารคาม30213,000 (27,150)2,0007รอยเอ็ด51225,100 (46,155)2,0008บึงกาฬ1261,200 (10,860)2,0008เลย23102,300 (20,815)2,0008หนองคาย10-1,000 (9,050)2,0008หนองบัวลำภู14141,400 (12,670)2,0008อุดรธานี45194,500 (40,725)2,0008นครพนม22102,200 (19,910)2,0008สกลนคร28122,800 (25,340)2,0009ชัยภูมิ15-1,500 (13,575)2,0009นครราชสีมา83368,300 (75,115)2,0009บุรีรัมย59305,900 (53,395)2,0009สุรินทร45204,500 (40,725)2,00010มุกดาหาร1051,000 (9,050)2,00010ยโสธร1991,900(17,195)2,000

19เขตจังหวัดเปาหมาย เปาหมาย ตำบลป 2564ตำบลป 2565เปาหมายคัดกรองพยาธิใบไมตบัเปาหมาย อัลตราซาวดเปาหมายรักษาผูปวยมะเร็งทอน้ำดีดวยการผาตัด10ศรีสะเกษ62406,200 (56,110)2,00010อุบลราชธานี57255,700 (51,585)2,00010อำนาจเจรญิ1151,100 (9,955)2,000รวม94142094,100 (851,5605)58,0001,5004. ตัวชี้วัดตามเปาหมายตามยุทธศาสตรทศวรรษกำจัดปญหาพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอนำดป 2559 - 2568 คือ ้ี4.1 อัตราความชุกของโรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีในคนและในปลาไมเกินรอยละ 1 ในป 2568 การคัดกรองพยาธใบไมตับดวยวธีตรวจอุจจาระ ิิ4.2 อัตราการเสียชีวิตดวยมะเร็งทอน้ำดีลดลงสองในสามในป 2578 5. กลไกการบริหารจัดการแผนเพื่อใหแผนบรรลุผลตามวตถประสงค/เปาหมาย ัุมาตรการ จังหวัด อำเภอ 1. จัดระบบสุขาภิบาล บริหารจัดการสิ่งปฏิกูลเพื่อตัดวงจรพยาธิ โดยจัดใหมีบอบำบัดสิ่งปฏิกูล ในทุกพื้นที่ผานเทศบาล/อบต. - วิเคราะหการจัดการสิ่งปฏิกูล ความจำเปนในการจัดหาบอบำบัดสิ่งปฏิกูลในจังหวัด - ประชุมคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด - จัดทำแผนปฏบัติการในการบริหาร(คสจ.)เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการในการบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลในระดับจังหวัดและ แหลงเงินทนสนับสนุนการจัดหาบอบำบัดหาแหลงเงินทุนเพื่อจัดหาบอบำบัดสิ่งปฏิกูลในพื้นท ี่- วิเคราะหการจัดการสิ่งปฏิกูลความจำเปนในการจัดหาบอบำบัดสิ่งปฏิกูลในระดับอำเภอ ิจัดการสิ่งปฏิกูลในระดับอำเภอและหาุสิ่งปฏิกูล - ประสานการดำเนินงานจัดระบบสุขาภิบาล บริหารจัดการสิ่งปฏิกูลจัดหาบอบำบัดสิ่งปฏิกูลเพื่อตัดวงจรพยาธิในพื้นที่ผานเทศบาล/อบต. 2. จัดการเรียนการสอนในโรงเรียน และสรางความรอบรูดานสุขภาพ (Health Literacy) โรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอ - นิเทศงานติดตามการจัดการเรียนการน้ำดีในเด็กและเยาวชน ประชาชน - ประสานการจัดการเรียนการสอนผานสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) สอนรวมกับสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) - สนับสนุนใหมีการสรางความรอบรูดานสุขภาพ (Health Literacy) โรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีเปนนโยบายของจังหวัด - ประสานการจัดการเรียนการสอนผานสำนักงานการศึกษา - รวมนิเทศงานติดตามการจัดการเรียนการสอนรวมกับสำนักงานการศึกษาประถมศึกษา - จัดกิจกรรมรวมกับภาคีเครือขายในการสรางความรอบรูดานสุขภาพ (Health Literacy) โรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีในเด็กและเยาวชน ประชาชน 3. คัดกรองพยาธิใบไมตับในประชาชนอายุ - จัดทำแผนการบริหารจัดการและ15 ปขึ้นไป เมอพบผูติดพยาธิใหการรักษาื่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและ สนับสนุน การคัดกรองพยาธิใบไมตับทั้งใน เกี่ยวของคัดกรองในประชาชนอายุ 15 ปคนและสัตว รังโรค - สนับสนุนและรวมกับหนวยงานที ่

20มาตรการ จังหวัด อำเภอ ตองทำการตรวจมูลสัตวเลี้ยงในบาน สุนัข/แมว หากตรวจพบไขพยาธิใบไมตบตองใหัการรักษาโดยสัตวแพทยในพื้นท ี่ขึ้นไปใหการรักษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในผูติดเชื้อ - สนับสนุนใหหนวยงานที่เกี่ยวของรณรงคใหประชาชนที่มสัตวเลี้ยงในบานเชน สุนัข/ีแมว สงมูลสัตวตรวจ หากตรวจพบไขพยาธิใบไมตับตองใหการรักษาโดยสัตวแพทยในพื้นที่โดยอาจจะจัดกิจกรรมในชวงรณรงคฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในสัตว 4. คัดกรองมะเร็งทอน้ำดีในประชาชนอายุ - จัดทำแผนการบริหารจัดการและ40 ปขึ้นไปดวยเครื่องอัลตราซาวด สนับสนุนการคัดกรองมะเร็งทอน้ำดีในประชาชนอายุ 40 ปขึ้นไปดวยเครื่องอัลตราซาวด - สนับสนุนและรวมจัดกิจกรรมคัดกรองมะเรงทอน้ำดในประชาชนอาย 40 ปขนไป็ีุึ ้ดวยเครื่องอัลตราซาวด 5. บริหารจัดการสงตอผูสงสัยมะเร็งทอน้ำดีเขาสูกระบวนการวินิจฉัยรักษาอยางเปนระบบ - จัดระบบการสงตอผูสงสัยมะเร็งทอน้ำดีเขาสูกระบวนการวินิจฉัยรักษาอยางเปนระบบ - สนับสนุนการดำเนินการตามระบบการสงตอรวมกับรพสต.และอปท.หนวยงานที่เกี่ยวของ 6. รณรงคอาหารปลอดภย ปลาปลอดัพยาธิอยางตอเนื่องในพื้นที่ผานทกชองุทางการสื่อสารตามบริบทพื้นท ี่- ประสาน สนับสนุนรณรงคอาหารปลอดภัย ปลาปลอดพยาธิ - รวมกับภาคีเครือขายจัดกิจกรรมรณรงคอาหารปลอดภัย ปลาปลอดพยาธิอยางตอเนื่องในพื้นทผานทุกชองทางการสื่อสารี่ตามบริบทพื้นที ่7. มีระบบการรับ-สงตอ ผูปวยจากโรงพยาบาลสูชุมชนมีหมอครอบครัวเขาไป ผูปวยมะเร็งทอน้ำดีจากโรงพยาบาลสูดูแลประคับประคองดวยการแพทยผสมผสาน ทงแพทยแผนปจจุบัน และั ้แพทยทางเลือก - ประสานสนับสนุนใหมระบบรบ-สงตอ ีัชุมชน - ดำเนินการตามระบบการรับ-สงตอ ผูปวยจากโรงพยาบาลสูชุมชนมหมอครอบครวีัเขาไปดูแลประคับประคองดวยการแพทยผสมผสานทงแพทยแผนปจจุบัน และั ้แพทยทางเลือก 8. รายงานการดำเนินงานผานฐานขอมูล ตามระบบงานเฝาระวังทางระบาดวิทยา รง.506 - พัฒนาบุคลากรและบริหารจัดการระบบฐานขอมูล ตามระบบงานเฝาระวงทางัระบาดวิทยา รง.506 - สนับสนุนกระตุนใหหนวยงานที่รับผิดชอบการดำเนินงานรายงานผานฐานขอมูล ตามระบบงานเฝาระวงทางัระบาดวิทยา รง.506 9. พัฒนานวัตกรรม อาทิการตรวจพยาธิใบไมตับดวยวิธีการใหม พัฒนาระบบการสงตอผูปวย ตำบลจัดการสุขภาพ ฯลฯ พัฒนาบุคลาการทางการแพทยในการคัดกรองพยาธิ คัดกรอง รักษามะเร็งทอน้ำดี เพื่อนำไปใชในการปรับปรุงการแกไขปญหาพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีตอไป - จัดทำแผนในการพัฒนานวัตกรรมและแผนพัฒนาบุคลาการทางการแพทย ในการดำเนินงานในการปรับปรุงการแกไขปญหาพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีระดับจังหวัด - ประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของในการดำเนินงานพัฒนาบุคลากร ความรูตามแผนจังหวัด พัฒนานวัตกรรมตามแผนที่วางไว - จัดทำแผนในการพัฒนานวัตกรรมและแผนพัฒนาบุคลาการทางการแพทย ในการดำเนินงานในการปรับปรุงการแกไขปญหาพยาธิใบไมตบและมะเรงทอน้ำดั็ีระดับอำเภอ - สงบุคลากรเขารวมอบรมพัฒนา องค

216. การตดตามและประเมนผล ิิมาตรการ จังหวัด อำเภอ มาตรการที่ 1 การสรางเสริมสุขภาพ (กรมอนามัย, สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) องคกรปกครองสวนทองถิ่น, กระทรวงศึกษาธิการ, มหาวิทยาลัยขอนแกน) ตวชี้วัดที่ 1 รอยละของโรงเรียน สุขภาพ (Health Literacy) โรคพยาธิใบไมตับ - จัดกิจกรรมรวมกับภาคีเครือขายในการัในพื้นที่ดำเนินการมีจัดการเรียนการสอนและการเสริมสรางความรอบรูดานสุขภาพ (Health Literacy) ประเด็นโรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดี - ประสานการจัดการเรียนการสอนผาน- นิเทศงานติดตามการจัดการเรียนการสอนรวมกับสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) - สนับสนุนใหมีการสรางความรอบรูดานและมะเร็งทอน้ำดีเปนนโยบายของจังหวัด - ประสานการจัดการเรียนการสอนผานสำนักงานการศึกษา - รวมนิเทศงานติดตามการจัดการเรียนการสอนรวมกับสำนักงานการศึกษาประถมศึกษา สรางความรอบรูดานสุขภาพ (Health Literacy) โรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีในเด็กและเยาวชน ประชาชน มาตรการท 2 ี ่การควบคุมปองกัน คัดกรองพยาธิใบไมตบั (กรมควบคุมโรค) ตวชี้วัดที่ 1 รอยละของตำบลัเปาหมายทีประชาชนอาย 15 ปขนไป พฤติกรรมในกลุมเปาหมาย ประชาชนอาย 15 - สนับสนุนใหหนวยงานทเกี่ยวของรณรงคุ่ึ ้ไดรับการคัดกรองโดยการตรวจอุจจาระ รักษาและไดรับการปรับเปลี่ยนพฤตกรรม ิ- จัดทำแผนการบริหารจัดการและสนับสนุน การคัดกรองพยาธิใบไมตับ - จัดทำแผนดำเนินงาน คัดกรองโดยการตรวจ ขึ้นไปใหการรักษาและปรับเปลี่ยนอุจจาระ รักษาและไดรับการปรับเปลียนุ่ปขึ้นไป - สนับสนุนและรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของคัดกรองในประชาชนอายุ 15 ปพฤติกรรมสุขภาพในผูติดเชื้อ ี ่ใหประชาชนทุกกลุวัยตระหนักถึงความสำคัญของการโรคพยาธิใบไมตบและัมะเรงทอน้ำด และเหนความสำคัญของ็ี็การคัดกรอง มาตรการที่ 3 การคัดกรองมะเร็งทอน้ำดี (กรมการแพทย)  ตัวชี้วัดท 1 รอยละของประชาชน - จัดทำแผนการดำเนินงานคัดกรองมะเรงทอี่อายุ 40 ปขึ้นไปในพื้นที่ดำเนินการไดรับการคัดกรองโดยการตรวจดวยวิธีอัลตราซาวด - จัดทำแผนการบริหารจัดการและสนับสนุนการคัดกรองมะเร็งทอน้ำดีในประชาชนอายุ 40 ปขึ้นไปดวยเครื่องอัลตราซาวด ็น้ำดี โดยการตรวจดวยวิธีอัลตราซาวดในกลุมเปาหมายอายุ 40 ป ขึ้นไปอยางครอบคลุมในพื้นท ี่- สนับสนุนและรวมจัดกิจกรรมคัดกรองมะเรงทอน้ำดในประชาชนอายุ 40 ปขึ้นไป็ีดวยเครื่องอัลตราซาวด 

227. มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ป กรอบระยะเวลา ผูรับผิดชอบ วงเงิน เตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 (ลานบแหลงเงิน 123412341234123412341. จัดระบบสุขาภิบาล บริหารจัดการสิ่งปฏิกูลเพื่อตัดวงจรพยาธิ โดยจัดใหมีบอบำบัดสิ่งปฏิกูล ในทุกพื้นที่ผานเ- สนับสนุนการพัฒนากระบวนการดำเนินการจัดการสิ่งปฏิกูล ใหเปนรูปธรรมในพื้นที่ -ทั่วไป สสสจ. - กรมอนามัย - กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น-9ลานบาท -3ลานบาท รวม 226 ลานบาท -กรมควบคุมโรค - กรมอนามัย - สป. - กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นในพื้นที่ 29 จังหวัด -ป 62 625 ตำบล - ป 63 932 ตำบล - ป 64 941 ตำบล - ป 65 420 ต- ตำบลที่มีการออกขอบัญญัติในการจัดการสิ่งปฏิกูลและบังคับใรูปธรรม - จำนวนระบบบำบัดสิ่งปฏิกูลในพื้นที่ดำเนินการ2. จัดการเรียนการสอนในโรงเรียน และสรางความรอบรูดานสุขภาพ (Health Literacy) โรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีในเด็กและเยาวชน ประชาชน - สนับสนุนจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน และสรางความรอบรูดานสุขภาพ (Health Literacy) โรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีในเด็กและเยาวชน ประชาชนกองโรคติดตอทั่วไป สคร. 1, 6, 7-10 สสจ. กระทรวง ศึกษาธิการ กรมป-ลานบาท -4ลานบาท -1ลานบาท รวม 113 ลานบาท - กรมควบคุมโรค - สป. กระทรวง ศึกษาธิการ กรมประชาสัมพันธในพื้นที่ 29 จังหวัด - ป 62 625 ตำบล - ป 63 932 ตำบล - ป 64 941 ตำบล - ป 65 420 ต- ตำบลที่มีการจัดการเรียนการสีและสรางความรอบรูดานสุขภาพ (Health Literacy) โรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีใน

23กรอบระยะเวลา ผูรับผิดชอบ วงเงิน เตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 (ลานบแหลงเงิน 12341234123412341234เด็กและเยาวชน ประชาชน3.คัดกรองพยาธิใบไมตับในประชาชนอายุ 15 ปขึนไป เมื่อพบผูติดพยาธิให้การรักษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และตองทำการตรวจมูลสัตวเลี้ยงในบานสุนัข/แมว หากตรวจพบะพยาธิใบไมตับตองใหการรักษาโดยสัตวแพทยในพืนที้่กองโรคติดตอทั่วไป สคร. 1, 6, 7-10 สสจ. -8ลานบาท - ป 64 8ลานบาท - ป 65 3ลานบาท รวม 204.53 ลานบาท - กรมควบคุมโรค - สป. ในพื้นที่ 29 จังหวัด - ป 62 625 ตำบล - ป 63 932 ตำบล - ป 64 941 ตำบล - ป 65 420 ตรอยละของเปาหมายที่ไดรับการคัดกรองพยาธิใบไมตับฯ ในป 2563 ดำเนินการสำรวจหาปญหาโดยคัดกรองกลุมเสียงจำนวน 100 ่คน/ตำบล หากพบวาอัตราการติดเชือรอยละ 5 ลง้มาจะทำคัดกรองเพียง 100 คนเทานั้น แตหากพบอัตราการติดเชื้อสูงกวารอยละ 5 ใหดำเนินการคัดกรองตอไปจนครบ

24กรอบระยะเวลา ผูรับผิดชอบ วงเงิน เตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 (ลานบแหลงเงิน 12341234123412341234จำนวนตามเปาหมายเดิมจำนวน 905 ราย/ตำบล4. คัดกรองมะเร็งทอน้ำดีในประชาชนอายุ 40 ปขึ้นไปดวยเครื่องอัลตราซาวดกรมการแพทย สป. กรมควบคุมโรค-ลานบาท - ป 64 29 ล- ป 65 29 ลานบาท รวม 87 ลานบาท กรมการแพทย สป. ในพื้นที่ 29 จังหวัด - ป 62 625 ตำบล - ป 63 932 ตำบล - ป 64 941 ตำบล - ป 65 420 ตรอยละของการคัดกรองมะเร็งทอน้ำดี ในประชาชนอายุ 40 ปขึ้นไปดวยเครื่อง อัลตราซาวด ทีมี่ประวัติเสี่ยง5. บริหารจัดการสงตอผูสงสัยมะเร็งทอน้ำดีเขาสูกระบวนการวินิจฉัยรักษาอยางเปนระบบกรมการแพทย สป. กรมควบคุมโรค- ป 63 29 ลานบาท - ป 64 29 ล- ป 65 29 ลานบาท กรมการแพทย สป. ในพื้นที่ 29 จังหวัด - ป 62 625 ตำบล - ป 63 932 ตำบล - ป 64 941 ตำบล จำนวนตำบลที่มีการบริหารจัดการสงตอผูสงสัยมะเร็งทอน้ำดีเขาสูกระบวนการ

25กรอบระยะเวลา ผูรับผิดชอบ วงเงิน เตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 (ลานบแหลงเงิน 12341234123412341234รวม 87 ลานบาท - ป 65 420 ตำบลวินิจฉัยรักษาอยางเ6. รณรงคอาหารปลอดภัย ปลาปลอดพยาธิอยางตอเนื่องในพื้นที่ผานทุกชองทางการสื่อสารตามบริบทพื้นที่กองโรคติดตอทั่วไป สคร. 1, 6, 7-10 สสจ. สป. กรมอนามัย-ลานบาท - ป 64 29 ล- ป 65 29 ลานบาท รวม 87 ลานบาท - กรมควบคุมโรค - กรมอนามัย - สป. ในพื้นที่ 29 จังหวัด - ป 62 625 ตำบล - ป 63 932 ตำบล - ป 64 941 ตำบล - ป 65 420 ตจำนวนตำบลที่มีการรณรงคอาหารปลอดภัย ปลาปลอดพยาธิอยางตอเนื่องในพื้นที่ผานทุกชองทางการสื่อสารตามบริบทพื้นที่7. มีระบบการรับ-สงตอ ผูปวยจากโรงพยาบาลสูชุมชนมีหมอครอบครัวเขาไปดูแลประคับประคองดวยการแพทยผสมผสานทังแพทยแผนปจจุบัน และ้แพทยทางเลือกกรมการแพทย สป. กรมพัฒนาการแพทยแผนไ-ลานบาท - ป 64 29 ล- ป 65 29 ลานบาท รวม 87 ลานบาท กรมการแพทย สป. กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยฯในพื้นที่ 29 จังหวัด - ป 62 625 ตำบล - ป 63 932 ตำบล - ป 64 941 ตำบล - ป 65 420 ตจำนวนตำบลที่มีระบบการรับ-สงตอ ผูปวยจากโรงพยาบาลสูชุมชนมีหมอครอบครัวเขาไปดูแลประคับประคองดวยการแพทย

26กรอบระยะเวลา ผูรับผิดชอบ วงเงิน เตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 (ลานบแหลงเงิน 12341234123412341234ผสมผสานทัง้แพทยแผนปจจุบัน และแพทยทางเลือก8. การดำเนินงานผานฐานขอมูล ตามระบบงานเฝาระวังทางระบาดวิทยา รง.506 (การพัฒนากระบวนการทำงาน/การบริหารจัดการขอมูล/การฝกอบรม)กองโรคติดตอทั่วไป สคร. 1, 6, 7-10 สสจ. สป. มหาวิทยาลัยขอนแกน- ป 63 29 ลานบาท - ป 64 29 ลานบาท - ป 65 29 ลานบาท รวม 87 ลานบาท กรมควบคุมโรค สป. มหาวิทยาลัยขอนแกนในพื้นที่ 29 จังหวัด - ป 62 625 ตำบล - ป 63 932 ตำบล - ป 64 941 ตำบล - ป 65 420 ตจำนวนตำบลที่มีการรายงานการดำเนินงานผานฐานขอมูล ตามระบบงานเฝาระวังทางระบาดวิทยา ร9. พัฒนานวัตกรรม อาทิการตรวจพยาธิใบไมตับดวยวิธีการใหม พัฒนาระบบการสงตอผูปวย ตำบลจัดการสุขภาพ ฯลฯ พัฒนาบุคลาการทางการแพทยในการคัดกรองพยาธิ คัดกรอง รักษามะเร็งทอน้ำดี เพื่อนำไปใชในการปรับปรุงการกองโรคติดตอทั่วไป สคร. 1, 6, 7-10 สสจ. สป. มนแกนกรมการแพทย - ป 63 29 ลานบาท - ป 64 29 ลานบาท - ป 65 29 ลานบาท กรมควบคุมโรค สป. มหาวิทยาลัย ขอนแกน กรมการแพทย ในพื้นที่ 29 จังหวัด - ป 62 625 ตำบล - ป 63 932 ตำบล - ป 64 941 ตำบล จำนวนตำบลที่มีการพัฒนานวัตกรรม อาทิการตรวจพยาธิใบไมตับดวยวิธีการใหม พัฒนา

27กรอบระยะเวลา ผูรับผิดชอบ วงเงิน เตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 (ลานบแหลงเงิน 12341234123412341234แกไขปญหาพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีตอไปกรมพัฒนาการแพทยแผนไกรมอนามัยรวม 87 ลานบาท กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยฯ กรมอนามัย- ป 65 420 ตำบลระบบการสงตอผูปวย ตำบลจัดการสุขภาพ ฯลฯ พัฒนาบุคลาการทางการแพทยในการคัดกรองพยาธิ คัดกรอง รักษามะเร็งทอน้ำดี เพื่อนำไปใชในการปรับปรุงการแกไขปญหาพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีตอไป

288. แผนการตดตามประเมนผล ระยะ 5 ปิิตัวชี้วด ัขอมูลพืนฐาน ้เปาหมาย หมายเหต ุป 2561 2562 2563 2564 2565 ตัวชี้วดผลกระทบ (Impact Indicator) ั1. อัตราความชุกของโรคพยาธิใบไมตบและมะเรงทอน้ำดในคนและในั็ีปลา ไมเกินรอยละ 1 ในป 2568 รอยละ 5.7 รอยละ 4.73 ลดลงรอยละ ลดลงรอยละ ลดลงรอยละ 5 5 5 2. อัตราการเสียชีวิตดวยมะเร็งทอน้ำดลดลงสองในสามในป 2578 ีตั้งเปาหมายป 2578 ตัวชีวดผลผลิต (output Indicator) ้ั1. การคัดกรองพยาธิใบไมตับดวยวิธีตรวจอุจจาระ 405 ตำบล 606 ตำบล 29 จังหวัด 29 จังหวด ั932 ตำบล 29 จังหวด ั941 ตำบล 420 ตำบล 29 จังหวัด 29 จังหวัด 2. การคัดกรองมะเร็งทอน้ำดี ดวยการตรวจอัลตราซาวน (Ultrasound) 29 จังหวัด 405 ตำบล 606 ตำบล 29 จังหวด ั932 ตำบล 29 จังหวด ั941 ตำบล 420 ตำบล 29 จังหวัด 29 จังหวัด 3. การรักษาผูปวยมะเร็งทอน้ำดี โดยการผาตัด 718 ราย 669 ราย 1,500 ราย 1,500 ราย 1,500 ราย 4. รอยละของตำบลเสี่ยงที่มีการดำเนินการปองกันและควบคุมโรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำด ีรอยละ 100 รอยละ 103.04 รอยละ 100 รอยละ 100 รอยละ 100 5. มีระบบการเฝาระวัง/ขอมูลการติดเชื้อพยาธิใบไมตบในคน/สิ่งแวดลอม ัและในโฮสตกึงกลาง (ปลา/หอย) ่29 จังหวด ั29 จังหวด ั29 จังหวด ั29 จังหวัด 29 จังหวัด 6. เปาหมายที่ไดรับการคัดกรองพยาธิใบไมตบในประชาชนอาย 15 ปขนไป ัุึ ้เมือพบผูติดพยาธิใหการรักษาและ่ปรับเปลี่ยนพฤตกรรมสุขภาพ ิ338,869 ราย 503,217 ราย 93,200 ราย 94,100 ราย 42,000 ราย (843,460 ราย) (851,605 ราย) (380,100 ราย) 7. การคัดกรองมะเร็งทอน้ำในประชาชนอาย 40 ปขึ้นไปดวยเครื่องุอัลตราซาวดและการบริหารจัดการสงตอผูสงสัยมะเร็งทอน้ำดีเขาสูกระบวนการวินิจฉัยรักษาอยางเปนระบบ 206,565 ราย 233,240 ราย 58,000 ราย 58,000 ราย 58,000 ราย

299. ผูรับผิดชอบแผนงาน 1. นายแพทยโสภณ เอี่ยมศิริถาวรเบอรโทรศัพท 0 2590 3160ผูอำนวยการกองโรคติดตอทั่วไป กรมควบคุมโรคE-mail: [email protected]. นางอรนาถ วัฒนวงษเบอรโทรศัพท 0 2590 3180หัวหนากลุมโครงการตามพระราชดำริฯE-mail: [email protected]

3010. เอกสารแนบ วิเคราะห Value Chain ของแผนงานลดโรค/ภัย Service Provider โดย สำนักในฐานะ National Program Service Provider แผนโรค/มาตรการ สำนักวิชาการ เขต Pชุมชน ผลลัพธลดโรค สวนกลาง สคร. แผนยุทธศาสตรกำจัดปญหาพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดี 1.จัดระบบสุขาภิบาล บริหารจัดการสิ่งปฏิกูลเพื่อตัดวงจรพยาธิ โดยจัดใหมีบอบำบัดสิ่งปฏิกูล ในทุกพื้นที่ผานเทศบาล/อบต. สนับสนุนและขับเคลื่อนการจัดระบบสุขาภิบาล บริหารจัดการสิ่งปฏิกูลเพื่อตัดวงจรพยาธิ โดยจัดใหมีบอบำบัดสิ่งปฏิกูล ในทุกพื้นที่ผานเทศบาล/อบต. สนับสนุนและขับเคลือน่การจัดระบบสุขาภิบาล บริหารจัดการสิ่งปฏิกูลเพื่อตัดวงจรพยาธิ โดยจัดใหมีบอบำบัดสิ่งปฏิกูล ในทุกพื้นที่ผานเทศบาล/อบต. สนับสนุนและขับเคลือน่การจัดระบบสุขาภิบาล บริหารจัดการสิ่งปฏิกูลเพื่อตัดวงจรพยาธิ โดยจัดใหมีบอบำบัดสิ่งปฏิกูล ในทุกพื้นที่ผานเทศบาล/อบต. จัดระบบสุขาภิบาล บริหารจัดการสิ่งปฏิกูลเพื่อตัดวงจรพยาธิ โดยจัดใหมีบอบำบัดสิ่งปฏิกูล ในทุกพื้นที่ผานเทศบาล/อบต. ผลลัพธลดโรค 1ของโรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีในคนและในปลาไมเกินรอยละ 1 ในป 2568 2. อัตราการเสียชีวิตดวยมะเร็งทอน้ำดีลดลงสองในสามในป 2578 2. จัดการเรียนการสอนในโรงเรียน และสรางความรอบรูดานสุขภาพ(Health Literacy) โรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีในเด็กและเยาวชนประชาชน สนับสนุนและขับเคลือน่การจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน และสรางความรอบรูดานสุขภาพ(Health Literacy) โรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งสนับสนุนและขับเคลือน่การจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน และสรางความรอบรูดานสุขภาพ(Health Literacy) โรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งสนับสนุนและขับเคลือน่การจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน และสรางความรอบรูดานสุขภาพ(Health Literacy) โรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน และสรางความรอบรูดานสุขภาพ(Health Literacy) โรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีในเด็กและเยาวชนประชาชน สรางความรอบรูดานสุขภาพ(Health Literacy) โรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีในเด็กและเยาวชนประชาชน

31Service Provider แผนโรค/มาตรการ สำนักวิชาการ เขต Pชุมชน ผลลัพธลดโรค สวนกลาง สคร. ทอน้ำดีในเด็กและเยาวชนประชาชน ทอน้ำดีในเด็กและเยาวชนประชาชน ทอน้ำดีในเด็กและเยาวชนประชาชน 3. คัดกรองพยาธิใบไมตับในประชาชนอายุ 15 ปขึ้นไป เมื่อพบผูติดพยาธิใหการรักษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และตองทำการตรวจมเลี้ยงในบาน สุนัข/แมว หากตรวจพบไขพยาธิใบไมตับตองใหการรักษาโดยสัตวแพทยในพื้นที่ สนับสนุนการคัดกรองพยาธิใบไมตับในประชาชนอายุ 15 ปขึ้นไป เมือพบผูติดพยาธิใหการ่รักษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และตองทำการตรวจมูลสัตว เลี้ยงในบาน สุนัข/แมว หากตรวจพบไขพยาธิใบไมตับตองใหการรักษาโดยสัตวแพทยในพื้นที่ สนับสนุนการคัดกรองพยาธิใบไมตับในประชาชนอายุ 15 ปขึ้นไป เมื่อพบผูติดพยาธิใหการรักษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และตองทำการตรวจมูลสัตว เลี้ยงในบาน สุนัข/แมว หากตรวจพบไขพยาธิใบไมตับตองใหการรักษาโดยสัตวแพทยในพื้นที่ สนับสนุนการคัดกรองพยาธิใบไมตับในประชาชนอายุ 15 ปขึ้นไป เมื่อพบผูติดพยาธิใหการรักษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และตองทำการตรวจมูลสัตวเลี้ยงในบาน สุนัข/แมว หากตรวจพบไขพยาธิใบไมตับตองใหการรักษาโดยสัตวแพทยในพื้นที่ คัดกรองพยาธิใบไมตับในประชาชนอายุ 15 ปขึ้นไป เมื่อพบผูติดพยาธิใหการรักษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และตองทำการตรวจมูลสัตว เลี้ยงในบาน สุนัข/แมว หากตรวจพบไขพยาธิใบไมตับตองใหการรักษาโดยสัตวแพทยในพื้นที่ 4. คัดกรองมะเร็งทอน้ำดีในประชาชนอายุ 40 ปขึ้นไป ดวยเครื่องอัลตราซาวด สนับสนุนการคัดกรองมะเร็งทอน้ำดีในประชาชนอายุ 40ขึ้นไป ดวยเครื่องอัลตราซาวด สนับสนุนการคัดกรองมะเร็งทอน้ำดีในประชาชนอายุ 40 ปขึ้นไป ดวยเครื่องอัลตราซาวด สนับสนุนการคัดกรองมะเร็งทอน้ำดีในประชาชนอายุ 40 ปขึ้นไป ดวยเครื่องอัลตราซาวด ดำเนินการคัดกรองมะเร็งทอน้ำดีใประชาชนอายุ 40 ปขึ้นไป ดวยเครื่อง อัลตราซาวด 5. บริหารจัดการสงตอผูสงสัยมะเร็งทอน้ำ ดีเขาสูกระบวนการวินิจฉัยรักษา บริหารจัดการสงตอผูสงสัยมะเรงทอน้ำ ดีเขาสู็กระบวนการวินิจฉัยรักษา บริหารจัดการสงตอผูสงสัยมะเรงทอน้ำ ดีเขาสู็บริหารจัดการสงตอผูสงสัยมะเรงทอน้ำ ดีเขาสู็กระบวนการวินิจฉัยรักษา บริหารจัดการสงตอผูสงสัยมะเรงทอน้ำ ดีเขาสู็

32Service Provider แผนโรค/มาตรการ สำนักวิชาการ เขต Pชุมชน ผลลัพธลดโรค สวนกลาง สคร. อยางเปนระบบ อยางเปนระบบ กระบวนการวินิจฉัยรักษาอยางเปนระบบ อยางเปนระบบ กระบวนการวินิจฉัยรักษาอยางเปนระบบ 6.รณรงคอาหารปลอดภัย ปลาปลอดพยาธิอยางตอเนื่องในพื้นที่ผานทุกชองทางการสื่อสารตามบริบทพื้นที่ รณรงคอาหารปลอดภัย ปลาปลอดพยาธิอยางตอเนื่องในพื้นที่ผานทุกชองทางการสือสารตาม่บริบทพื้นที่ รณรงคอาหารปลอดภัย ปลาปลอดพยาธิอยางตอเนื่องในพื้นที่ผานทุกชองทางการสื่อสารตามบริบทพื้นที่ 7. มีระบบการรับ-สงตอ ผูปวยจากโรงพยาบาลสูชุมชนมีหมอครอบครัวเขาไปดูแลประคับประคองดวยการแพทยผสมผสานทังแพทย้แผนปจจุบัน และแพทยทางเลือก มีระบบการรับ-สงตอ ผูปวยจากโรงพยาบาลสูชุมชนมีหมอครอบครัวเขาไปดูแลประคับประคองดวยการแพทยผสมผสานทั้งแพทยแผนปจจุบัน และแพทยทางเลือก มีระบบการรับ-สงตอ ผูปวยจาโรงพยาบาลสูชุมชนมีหมอครอบครัวเขาไปดูแลประคับประคองดวยการแพทยผสมผสานทังแพทยแผนปจจุบัน ้และแพทยทางเลือก 8. รายงานการดำเนินงานผานฐานขอมูล ตามระบบงานเฝาระวังทางระบาดวิทยา รง.506 ตรวจสอบและรวบรวมรายงานการดำเนินงานผานฐานขอมูล ตามระบบงานเฝาระวังทางระบาดวิทยา รง.506 รายงานการดำเนินงานผานฐานขอมูล ตามระบบงานเฝาระวังทางระบาดวิทยา รง.506

33Service Provider แผนโรค/มาตรการ สำนักวิชาการ เขต Pชุมชน ผลลัพธลดโรค สวนกลาง สคร. 9. พัฒนานวัตกรรม อาทิ การตรวจพยาธิใบไมตับดวยวิธีการใหม พัฒนาระบบการสงตอผูปวย ตำบลจัดการสุขภาพฯลฯ พัฒนา บุคลากรทางการแพทยในการคัดกรองพยาธิ คัดกรอง รักษามะเร็งทอน้ำดี เพือนำ ไปใชในการ่ปรับปรุงการแกไขปญหาพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีตอไป พัฒนานวัตกรรม อาทิ การตรวจพยาธิใบไมตับดวยวิธีการใหม พัฒนาระบบการสงตอผูปวย ตำบลจัดการสุขภาพฯลฯ พัฒนาบุคลากรทางการแพทยในการคัดกรองพยาธิ คัดกรอง รักษามะเร็งทอน้ำ ดี เพือนำ ไป่ใชในการปรับปรุงการแกไขปญหาพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีตอไป พัฒนานวัตกรรม อาทิการตรวจพยาธิใบไมตับดวยวิธีการใหม พัฒนาระบบการสงตอผูปวย ตำบลจัดการสุขภาพฯลฯ พัฒนาบุคลาการทางการแพทยในการคัดกรองพยาธิ คัดกรอง รักษามะเร็งทอน้ำดี เพือนำ ไปใชในการ่ปรับปรุงการแกไขปญหาพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ำดีตอไป หมายเหตุ ผูดำเนินการหลักคือ สาธาณรณสุขจังหวัด 29 จังหวัด โดยมีกรมควบคุมโรคเปนหนวยงานสนับสนุนในการดำเนินงานตามมาตรการและเร

341. สถานการณ โรคไขมาลาเรียเปนโรคติดตอที่ตองเฝาระวังตามพระราชบัญญัติโรคติดตอ พ.ศ. 2558 และเปนโรค ที่ตองเรงรัดกำจัดตามพันธะสัญญากับนานาชาติ โดยกำหนดเปาหมายใหประเทศไทยปลอดจากโรคไขมาลาเรียภายในป 2567 สถานการณโรคไขมาลาเรียปงบประมาณ 2563 (ขอมูลตั้งแต 1 ตุลาคม 2563 – 5 พฤษภาคม 2563) พบผูปวย 1,719 ราย คิดเปนอัตราปวย 0.02 ตอประชากรพันคน ซึ่งลดลงรอยละ 58 จากปที่ผานมา ณ ชวงเวลาเดียวกัน สวนใหญพบในเพศชาย รอยละ 67 เปนวัยทำงานและมีอาชีพทำสวนยาง เกษตรกร อาชีพที่เกี่ยวของกับปา เปนการติดเชื้อในพื้นที่ รอยละ 54 ชนิดเชื้อที่พบสวนใหญ คือ ไวแวกซ พบจำนวนผูปวยมาลาเรียสูงในชวงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายนและพฤศจิกายน-ธันวาคม ของทุกป เปนชวงปลายฝนตนหนาวของประเทศไทย จังหวัดที่พบผูปวยสูงสุด ไดแก ตาก ยะลา กาญจนบุรี แมฮองสอน และศรีสะเกษตามลำดับ (จำนวนผูปวยใน 3 จังหวัดคิดเปน รอยละ 67 ของผูปวยทั้งประเทศ) จากขอมูลสถิติป 2562 หมูบานที่มีการแพรเชื้อฯ ลดลงเหลือเพียง 1,382 กลุมบานใน 334 ตำบล 90 อำเภอใน 43 จังหวัด การกำจัดโรคไขมาลาเรีย เนนมาตรการเฝาระวังและการตอบโตแหลงแพรเชื้ออยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพโดยใชมาตรการ 1 -3- 7 ไดแก มาตรการ 1 การรายงานผูปวยภายใน 1 วัน รอยละ 82 มาตรการ 3 การสอบสวนผูปวยเฉพาะรายเพื่อระบุแหลงแพรเชื้อ รอยละ 84 และการตอบโตแหลงแพรเชื้อภายใน 7 วัน รอยละ 72 ถึงแมผลการดำเนินการภาพรวมสามารถทำไดตามเปาหมายที่กำหนด แตการดำเนินการบางกลุม เชน ผูปวยตางชาติ และผูปวยกลุมเคลื่อนยายตางถิ่น ประกอบกับพื้นที่ทุรกันดาร พื้นที่มีปญหาความไมสงบ และพื้นที่ชายแดน ยังไมสามารถดำเนนการไดิอยางมีประสิทธิภาพ การควบคุมยุงพาหะและการปองกนตนเอง โดยการชุบมุงดวยสารเคมีในบางพื้นที่มีความครอบคลุมัต่ำ ประมาณรอยละ 75 ของประชากรในพื้นที่แพรเชื้อ ประกอบกับพฤติกรรมการนอนในมุงชุบสารเคมีของประชาชนตำ ่รอยละ 24.9 เนื่องจากประชาชนมีพฤติกรรมการใชชีวิตประจำวันนอกบาน ดวยอาชีพที่เกี่ยวของกับปา สวน ไร นอกจากนี้ลักษณะภูมิประเทศที่เอื้อตอการเปนแหลงแพรเชื้อ การเคลื่อนยายประชากร การบุกรุกทำลายปายังเปนปจจัยสำคัญในการระบาดของโรค และมีการระบาดของเชื้อมาลาเรียชนิดฟลซิพารัมดื้อตอยาผสมอนุพันธุอารติมิซินิในภูมิภาคลุมแมน้ำโขงรวมทั้งประเทศไทย สวนเชื้อมาลาเรียชนิดอื่นๆ ยังไมพบหลักฐานการดื้อตอยารักษาขนานปจจุบัน ทั้งนี ้ประเทศไทยมีนโยบายในการติดตามผลการรักษาผูปวยทุกราย ผลการติดตามการรักษาต่ำ รอยละ 37 จากปญหาทีกลาว่มา ทุกหนวยงานที่เกี่ยวของจำเปนตองเรงรัดการดำเนินงานตามมาตรการที่กำหนด เพื่อกอใหเกิดประสิทธิภาพในการกำจัดโรคไขมาลาเรีย แผนงานเรงรัดกำจัดโรคไขมาลาเรีย

352. พื้นที่เสี่ยง/กลุมเสี่ยง พื้นที่แพรเชื้อมาลาเรียและพื้นที่เสี่ยงสวนใหญจะอยูตามบริเวณแนวชายแดน ปาเขา พื้นที่ทุรกันดารและพื้นที่ที่มีปญหาความไมสงบ โรคไขมาลาเรียมีรายงานพบทุกกลุมอายุทีอาศัยอยูในพื้นที่แพรเชื้อหรือผูที่เขาไปในแหลงแพรเชอ่ื ้มาลาเรีย อยางไรก็ตาม กลุมเสี่ยงสวนใหญเปนเพศชาย กลุมวัยแรงงานที่มีอาชีพเกี่ยวของกับการทำงานในปา สวนไร ในเวลากลางคืน เชน อาชีพกรีดยาง ทำสวนผลไม ทำไร หาของปา ทหาร และพบกลุมเสี่ยงเด็กนักเรียน มีแนวโนมสูงขึ้น จากการดำเนินการที่ผานมา ประเทศไทยประสบผลสำเร็จในการหยุดการแพรเชื้อในพื้นที่ 40 จังหวัด ไดแกกรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี อางทอง พระนครศรีอยุธยา สิงหบุรี นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงครามสมุทรปราการ ชัยนาท พิจิตร มหาสารคาม ภูเก็ต ปตตานี อุดรธานี ขอนแกน พะเยา เลย หนองคาย หนองบัวลำภ ูรอยเอ็ด อำนาจเจริญ สระบุรี ลพบุรี สุพรรณบุรี นครนายก ลำพูน สุโขทัย นครสวรรค นครพนม บึงกาฬ ชัยภูมิ ตรัง พัทลุง อุตรดิตถ พิษณุโลก แพร กำแพงเพชร และสตูล ซึ่งกรมควบคุมโรคใหการประกาศรับรองจังหวัดปลอดโรคไขมาลาเรียเปนที่เรียบรอยในงานวันมาลาเรียโลกตั้งแตป 2561 ที่ผานมา ปจจุบันมีหมูบานที่มีการแพรเชื้อ จำนวน 1,382 กลุมบานใน 334 ตำบล 142 อำเภอใน 43 จังหวัด โดยแบงพืนทีอำเภอเปนเฉดสี แดง เหลือง เขยว ดงนี ้่ีั้สีแดง หมายถึง อำเภอที่มีการแพรเชื้อตั้งแต 1 กลุมบานขึ้นไป มีจำนวน 90 อำเภอ สีเหลือง หมายถึง อำเภอที่หยุดการแพรเชื้อ 1-2 ป มีจำนวน 50 อำเภอ สีเขียว หมายถึง อำเภอที่หยุดการแพรเชื้อ 3 ปขึ้นไป มีจำนวน 788 อำเภอ 3. เปาหมายเรงรัดทุกอำเภอหยุดการแพรเชื้อโรคไขมาลาเรียใหเร็วขึ้น ภายในป 25644. ตัวชี้วัดตามเปาหมายตัวชี้วดเปาหมาย ัbaseline คาเปาหมาย ป พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 ตัวชี้วัดที่ 1 จำนวนอำเภอหยุดการแพรเชื้อโรคไขมาลาเรียอยางนอย 1 ป 767 876 909 928 928 ตัวชี้วัดที่ 2 จำนวนกลุมบานแพรเชื้อปปจจุบันโรคไขมาลาเรียลดลง (A1 - Active Foci) 801 701 300 (ลดลงรอยละ 50 ของป 62) 0 0

36ตัวชี้วดเปาหมาย ัbaseline คาเปาหมาย ป พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 ตัวชี้วัดที่ 3 •รอยละของการรายงานผูปวย ภายใน 1 วน ั•รอยละของการสอบสวนโรค ภายใน 3 วน ั•รอยละของการควบคุมโรค ภายใน 7 วน ั82 84 72 76.9 83.4 68.8 80 95 70 90 95 90 95 95 90 ตัวชี้วัดที่ 4 รอยละของผูปวยโรคไขมาลาเรียที่ไมมีภาวะแทรกซอนไดรับการติดตามผลการรักษาครบถวน (FU) 15 16 55 60 65

375. กลไกการบริหารจัดการแผนเพื่อใหแผนบรรลุตามวัตถุประสงค/เปาหมายมาตรการ/Service Provider สวนกลาง สคร. เขต สสจ. รPชุมชน/ตำบล (หนวยงานนอก สธ.) มาตรการที 1 : เพิ่มประสิทธิภาพ่การเฝาระวัง ตอบโต และปองกันการกลับมาแพรเชื้อใหม แบบบูรณการระดับชุมชนโดยใช mobile application 1. พัฒนาระบบเฝาระวังโรคและระบบบริหารเวชภัณฑใหเปนมาตรฐานเดียวกันสามารถตอบโตสถานการณไดอยางรวดเร็วมีประสิทธิภาพ 2. กำหนดแนวทางการดำเนินการเฝาระวังปองกันควบคุมและกำจัดโรคไขมาลาเรียฯ ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในกลุมเด็กและเยาวชน ประชาชนในบริเวณรอบสถานศึกษา 1เตือน-สอบสวนโรค-ตอบโต (มาตรการ1-3-7) และจัดทำทะเบียนแหลงแพรเชื้อมาลาเรีย 2. บริหารจัดการเวชภัณฑยาและไมใชยา เพือสนับสนุนการ่เรงรัดกำจัดโรคไขมาลาเรีย 3. ดำเนินการตามแนวทางการเฝาระวังปองกันควบคุมและกำจัดโรคไขมาลาเรียฯ ตามตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา1. ผลักดันการบูรณาการการกำจัดโรคมาลาเรียระหวางหนวยงานเครือขาย 1แจงเตือน-สอบสวนโรค-ตอบโต (มาตรการ1-3-7) และจัดทำทะเบียนแหลงแพรเชื้อมาลาเรีย 2. บริหารจัดการเวชภัณฑยาและไมใชยา เพื่อสนับสนุนการเรงรัดกำจัดโรคไขมาลาเรีย 3ขอมูลการรักษาและการติดตามการรักษาใหกับหนวยงานที่รับผิดชอบ 1แจงเตือนผูปวยและสอบสวนผูปวยตามมาตรฐาน 2ขอมูลการรักษาและการติดตามการรักษาใหกับหนวยงานที่รับผิดชอบ 3. ปรับปรุง/อัพเดตโปรแกรมใหสามารถรายงานโรคไขมาลาเรียไดตามมาตรฐาน 4. รวมดำเนินการตามแนวทางการ1. รายงานแจงเตือน-สอบสวนโรค-และรวมตอบโต (มาตรการ1-3-72ขอมูลการรักษาและการติดตามการรักษาใหกับหนวยงานที่รับผิดชอบ 3. ปรับปรุง/อัพเดตโปรแกรมใหสามารถรายงานโรคไขมาลาเรียไดตามมาตรฐาน 4. รวมดำเนินการตามแนวทางการ1. องคการปกครองสวนทองถิ่นรวมดำเนินการหรือสนับสนุนทรัพยากรสำหรับการควบคุมโรคในพื้นที่ 2สาธารณสุขประจำหมูบานรวมดำเนินการตอบโตและสื่อสารความเสี่ยง ประชาสัมพันธ เกี่ยวกับโรคไขมาลาเรีย 4. รวมดำเนินการตามแนวทางการ

38มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สคร. เขต สสจ. รPชุมชน/ตำบล (หนวยงานนอก สธ.) ฯ สยามบรมราชกุมารีในกลุมเด็กและเยาวชน ประชาชนในบริเวณรอบสถานศึกษา 4. ผลักดัน/สนับสนุนเครือขายตนแบบใหลงทุนและแบงปนการใชทรัพยากรรวมกันในการกำจัดมาลาเรียในพื้นที่ 4ตามแนวทางการเฝาระวังปองกันควบคุมและกำจัดโรคไขมาลาเรียฯ ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สกุมารี ในกลุมเด็กและเยาวชน ประชาชนในบริเวณรอบสถานศึกษา 5. ผลักดัน/สนับสนุนเครือขายตนแบบเฝาระวังปองกันควบคุมและกำจัดโรคไขมาลาเรียฯ ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สกุมารี ในกลุมเด็กและเยาวชน ประชาชนในบริเวณรอบสถานศึกษา เฝาระวังปองกันควบคุมและกำจัดโรคไขมาลาเรียฯ ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สกุมารี ในกลุมเด็กและเยาวชน ประชาชนในบริเวณรอบสถานศึกษา เฝาระวังปองกันควบคุมและกำจัดโรคไขมาลาเรียฯ ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สกุมารี ในกลุมเด็กและเยาวชน ประชาชนในบริเวณรอบสถานศึกษา

39มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สคร. เขต สสจ. รPชุมชน/ตำบล (หนวยงานนอก สธ.) ใหลงทุนและแบงปนการใชทรัพยากรรวมกันในการกำจัดมาลาเรียในพื้นที่ มาตรการที่ 2 : เรงรัดการคนหาผูติดเชื้อ เพื่อกำจัดแหลงแพรเชื้อ และเชื้อมาลาเรียดื้อยา 1. เพิ่มศักยภาพและความครอบคลุมของการใหบริการตรวจรักษา ควบคุมคุณภาพการตรวจวินิจฉัยในทุกระดับ 2. พัฒนา National and Reginal Reference Laboratory 1Reginal Reference Laboratory 2. ใหบริการตรวจวินิจฉัยดวยกลองจุลทรรศนและรักษาโรคไขมาลาเรียในมาลาเรียคลินิก 3. เรงรัดการดำเนินงานใหมีการรักษาหายขาดในผูปวยมาลาเรียทุกราย 4.พัฒนาศักยภาพ ตลอดจนการควบคุม1. ผลักดันนโยบายReginal Reference Laboratory 1. ดำเนินการตามนโยบาย Reginal Reference Laboratory 2. สนับสนุนการดำเนินงานคนหาผูปวยเชิงรุก 3ติดตามการดำเนินการติดตามรักษาผูปวยทุกรายตลอดจนการควบคุมคุณภาพการตรวจวินิจฉัย 1. ใหบริการตรวจวินิจฉัยรักษาตามแนวทางการวินิจฉัยและรักษามาลาเรียของประเทศ 2ควบคุมคุณภาพการตรวจวินิจฉัยตามมาตรฐาน 3. รายงาน สอบสวนโรคเฉพาะราย 4. สงตอขอมูลการรักษาและรวม1. ใหบริการตรวจวินิจฉัยรักษาตามแนวทางการวินิจฉัยและรักษามาลาเรียของประเทศ 2ควบคุมคุณภาพการตรวจวินิจฉัยตามมาตรฐาน 3. รายงาน สอบสวนโรคเฉพาะราย 4. สงตอขอมูลการรักษาและรวม1. องคการปกครองสวนทองถิ่นรวมดำเนินการหรือสนับสนุนทรัพยากรสำหรับการควบคุมโรคในพื้นที่เสี่ยง 2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบานติดตามการกินยาและติดตามผลการรักษาผูปวย

40มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สคร. เขต สสจ. รPชุมชน/ตำบล (หนวยงานนอก สธ.) คุณภาพการตรวจวินิจฉัย 5. เรงรัดการคนหาผูปวยที่แสดงอาการและไมแสดงอาการ ตลอดจนผูที่ตรวจไมพบเชือ ้6. รวมสอบสวนยอนหลัง เพื่อยืนยันเมือมีรายงาน่ผูเสียชีวิตดวยโรคไขมาลาเรีย 4. สอบสวนยอนหลัง เพื่อยืนยันเมื่อมีรายงานผูเสียชีวิตดวยโรคไขมาลาเรีย ติดตามผลการรักษาผูปวยทุกราย ติดตามผลการรักษาผูปวยทุกราย มาตรการที่ 3: เพิ่มการปองกันการแพรกระจายเชื้อมาลาเรีย โดยการเฝาระวัง ควบคุมยุงพาหะ และการปองกันตนเอง ในประชากรเปาหมาย 1มาตรฐาน และแนวทางการเฝาระวังและการควบคุมยุงพาหะ 2. พัฒนาศักยภาพหนวยงานเครือขายในการควบคุมยุงพาหะ 1. จัดหาวัสดุอุปกรณ สารเคมี สำหรับการควบคุมยุงพาหะ และการปองกันตนเอง 2. ดำเนินการเฝาระวังทางกีฎวิทยาและการควบคุมยุงพาหะใน1. ผลักดันนโยบายใหมีการบูรณาการควบคุมยุงพาหะในพืนที ้่1. รวมวิเคราะห และฐานขอมูลแหลงแพรเชื้อมาลาเรียเพือวาง่แผนการควบคุมยุงพาหะในพื้นที่ 2. กำกับ ติดตามประเมินผล การ1. สำรวจและจัดทำรายงานฐานขอมูลพื้นที่แพรเชือมาลาเรีย ้2. รวมควบคุมยุงพาหะในพืนที้่เปาหมาย และ1. องคการปกครองสวนทองถิ่นรวมดำเนินการหรือสนับสนุนทรัพยากรสำหรับการควบคุมโรคในพื้นที่

41มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สคร. เขต สสจ. รPชุมชน/ตำบล (หนวยงานนอก สธ.) 3. กำกับ ติดตามปยุงพาหะ 4. สำรองวัสดุอุปกรณ สารเคมี สำหรับการควบคุมพาหะนำโรคในกรณีฉุกเฉิน พื้นที่เปาหมายใหเพียงพอและ ค3. กำกับ ติดตามประเมินผล การควบคุมยุงพาหะในพื้นที่เปาหมาย 4. พัฒนาศักยภาพหนวยงานเครือขายในการควบคุมยุงพาหะ ควบคุมยุงพาหะในพื้นที่เปาหมายการปองกันตนเองใหเพียงพอและ ค2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบานรวมดำเนินการควบคุมยุงพาหะและตอบโต แหลงแพรเชื้อในพื้นที่ มาตรการที่ 4 เพิ่มประสิทธิภาพการ กำกับติดตาม และประเมินผล 1. จัดทำ ดำเนินการการ กำกับ ติดตามและประเมินผลตามมาตรการตาง ๆ 2. ศึกษาวิจัย กำหนดนโยบาย มาตรการ และรูปแบบ เพื่อใชเปนแนวทางดำเนินงานแตละพืนที ้่1. กำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินการในหนวยงานภายใตสังกัด 2 .ศึกษาวิจัย กำหนดนโยบาย มาตรการ และรูปแบบ เพือใช่เปนแนวทางดำเนินงานระดับพื้นที่ 1. นิเทศ ติดตามรวมกับหนวยงานเครือขายในระดับจังหวัดเพื่อติดตามความสำเร็จของโครงการ 1. นิเทศ ติดตามรวมกับหนวยงานเครือขายในระดับจังหวัดเพื่อติดตามความสำเร็จของโ

42มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สคร. เขต สสจ. รPชุมชน/ตำบล (หนวยงานนอก สธ.) 3. จัดเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู เทคโนโลยี นวัตกรรมในการกำจัดโรคไขมาลาเรีย 6. การติดตามและประเมินผล มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก วิธีการติดตามประเมินผล รมาตรการที 1 : เพิ่มประสิทธิภาพการเฝาระวัง ตอบโต และปองกันการกลับมาแพรเชื้อใหม แบบบูรณการระดับชุมชนโดยใช mobile application่ตัวชี้วัดที่ 1 รอยละของผูปวยโรคไขมาลาเรียไดรายงานเขาระบบมาลาเรียออนไลนภายใน 24 ชั่วโมง 1. ประเมินผลจากระบบขอมูลกำจัดโรคไขมาลาเรีย (www.malaria.ddc.moph.go.th/malariar10) 2. วิธีการคำนวณ จำนวนผูปวยโรคไขมาลาเรียไดรายงานเขาระบบมาลาเรียออนไลนภายใน 24 ชั่วโมง x 100/จำนวนผูปวยมาลาเรียทังหมด ้ทุกสิ้นเดือน ตัวชี้วัดที่ 2 รอยละของผูปวยโรคไขมาลาเรียไดรับการสอบประวัติภายใน 3 วัน 1. ประเมินผลจากระบบขอมูลกำจัดโรคไขมาลาเรีย (www.malaria.ddc.moph.go.th/malariar10) 2. วิธีการคำนวณ จำนวนผูปวยโรคไขมาลาเรียไดรับการสอบประวัติภายใน 3 วัน x 100/จำนวนผูปวยมาลาเรียทั้งหมด ทุกสิ้นเดือน ตัวชี้วัดที่ 3 รอยละของกลุมบานไดรับการตอบโตภายใน 7 วัน 1. ประเมินผลจากระบบขอมูลกำจัดโรคไขมาลาเรีย (www.malaria.ddc.moph.go.th/malariar10) 2. วิธีการคำนวณ จำนวนกลุมบานที่ไดรับการตอบโตภายใน 7 วัน *100 / จำนวนกลุมบานที่มีรายงานผูปวย ทุกสิ้นเดือน มาตรการที 2 : เรงรัดการคนหาผูติดเชื้อ เพื่อกำจัดแหลงแพรเชื้อ และเชื้อมาลาเรียดื้อยา่

43มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก วิธีการติดตามประเมินผล รตัวชี้วัดที่ 4 รอยละผูสงสัยเปนไขมาลาเรียไดรับการตรวจวินิจฉัยมาลาเรียทางหองปฏิบัติการ (กลองจุลทรรศนหรือชุดตรวจเชื้อมาลาเรียอยางรวดเร็ว) 1. ประเมินผลจากระบบขอมูลกำจัดโรคไขมาลาเรีย (www.malaria.ddc.moph.go.th/malariar10) 2. วิธีการคำนวณ จำนวนผูสงสัยเปนไขมาลาเรียไดรับการตรวจวินิจฉัยมาลาเรียทางหองปฏิบัติการ x 100/จำนวนผูมารับบริการทั้งหมด ทุกสิ้นเดือน ตัวชี้วัดที่ 5 รอยละผูปวยมาลาเรียไดรับยารักษา ตามนโยบายยารักษาแหงชาติ 1.ประเมินผลระบบขอมูลกำจัดโรคไขมาลาเรีย (www.malaria.ddc.moph.go.th/malariar10) 2. วิธีการคำนวณ จำนวนผูปวยโรคไขมาลาเรียไดรับยารักษาตามนโยบายยารักษาแหงชาติ x 100/จำนวนผูปวยมาลาเรียทังหมด ้ทุกสิ้นเดือน มาตรการที่ 3: เพิ่มการปองกันการแพรกระจายเชื้อมาลาเรีย โดยการเฝาระวัง ควบคุมยุงพาหะ และการปองกันตนเอง ในประชากรเปาหมายตัวชี้วัดที่ 6 รอยละของหลังคาเรือนในพื้นที่แพรเชื้อมาลาเรีย (A1 และ A2) มีมุงชุบสารเคมี/มุงชุบ สารเคมีชนิดออกฤทธิ์ยาวนาน ในอัตรามุง 1 หลังตอ 2 คนและ/หรือมีการพนเคมีชนิดมีฤทธิ์ตกคางในชวง 12 เดือนทีผานมา ่1.ประเมินระบบขอมูลกำจัดโรคไขมาลาเรีย (www.malaria.ddc.moph.go.th/malariar10) 2. วิธีการคำนวณ จำนวนหลังคาเรือนในพื้นที่แพรเชื้อมาลาเรีย (A1 และ A2) มีมุงชุบสารเคมี/มุงชุบ สารเคมีชนิดออกฤทธิ์ยาวนาน ในอัตรามุง 1 หลังตอ 2 คนและ/หรือมีการพนเคมีชนิดมีฤทธิ์ตกคางในชวง 12 เดือนที่ผานมา x 100 จำนวนหลังคาเรือนทั้งหมด ทุกไตรมาส มาตรการที 4 เพิ่มประสิทธิภาพการ กำกับติดตาม และประเมินผล่ตัวชี้วัดที่ 7 จำนวนกลุมบานที่มีการแพรเชื้อ 1.ประเมินระบบขอมูลกำจัดโรคไขมาลาเรีย (www.malaria.ddc.moph.go.th/malariar10) 2. วิธีการคำนวณ จำนวนกลุมบานที่มีการแพรเชื้อ ร7. มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ป

44มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิด ชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน มาตรการที 1 : เพิ่ม่ประสิทธิภาพการเฝาระวัง ตอบโต และปองกันการกลับมาแพรเชื้อใหม แบบบูรณการระดับชุมชนโดยใช mobile application ตัวชี้วัดที่ 1 ผูปวยโรคไขมาลาเรียไดรายงานเขาระบบมาลาเรียออนไลนภายใน 24 ชัวโมง ่ตัวชี้วัดที่ 2 ผูปวยโรคไขมาลาเรียไดรับการสอบประวัติภายใน 3 วัน ตัวชี้วัดที่ 3 กลุมบานไดรับการตอบโตภายใน 7 วัน กิจกรรมหลักที่ 1 ประยุกตใช mobile application เพือ่กำจัดแหลงแพรเชื้อมาลาเรียไดตามมาตรฐานสากล ////สสสจ. อปท. 112กรมคโรค/RAI3E กิจกรรมหลักที่ 2 กิจกรรมเรงรัดการกำจัดโรคไขมาลาเรียแบบบูรณาการระดับชุมชุน////สสสจ. อปท. 224กรมคโรค

45มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิด ชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน กิจกรรมหลักที่ 3 เฝาระวังปองกันควบคุมและกำจัดโรคไขมาลาเรียในพื้นที่แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ////สคร. 112กรมคโรค สถานศึกษาในโครงการจำนวน 8ตัวชี้วัด :.อัตราปวยดวยโรคไขมาลาเรียตอพันประชากร (ผูปวยรายใหม) API ต่ำกวา 0.20 ตอพันประชากร (ผลการดำเนินงานป 2562 อัตราปวยในเด็กนักเรียนภายใตโครงการ กพด เทากับ 0.44/พันประชากร) มาตรการที 2 : เรงรัดการ่คนหาผูติดเชื้อ เพื่อกำจัดแหลงแพรเชื้อ และเชื้อมาลาเรียดื้อยา ตัวชี้วัดที่ 4 รอยละผูสงสัยเปนไขมาลาเรียไดรับการตรวจวินิจฉัยมาลาเรียทางหองปฏิบัติการ (กลองจุลทรรศนหรือชุดตรวจเชื้อมาลาเรียอยางรวดเร็ว ตัวชี้วัดที่ 5 รอยละผูปวยมาลาเรียไดรับยารักษา

46มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิด ชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน ตามนโยบายยารักษาแหงชาติ กิจกรรมหลักที่ 3 พัฒนาศูนยความเปนเลิศทางหองปฏิบัติการดานมาลาเรียใหไดตามมาตรฐานสากล////ส112กรมคโรค กิจกรรมหลักที่ 4 เรงรัดการคนหาติดเชื้อ เพื่อกำจัดแหลงแพรเชื้อ////ส551กรมคโรค/RAI3E กิจกรรมหลักที่ 5 สรางระบบการกำจัดเชื้อมาลาเรียดื้อยา ////ส008RAI3E มาตรการที่ 3: เพิ่มการปองกันการแพรกระจายเชื้อมาลาเรีย โดยการเฝาระวัง ควบคุมยุงพาหะ และการปองกันตนเอง ในประชากรเปาหมาย ตัวชี้วัดที่ 6 หลังคาเรือนในพื้นที่แพรเชือมาลาเรีย (A1 และ ้A2) มีมุงชุบสารเคมี/มุงชุบ สารเคมีชนิดออกฤทธิ์ยาวนาน ในอัตรา 1 หลังตอ 2 คน และ/หรือมีการ

47มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิด ชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน พนเคมีชนิดมีฤทธิ์ตกคางในชวง 12 เดือนที่ผานมา กิจกรรมที่ 1 พัฒนาแนวทางการดำเนินงานควบคุมแมลงนำโรค////ส0- 0กรมคโรค กิจกรรมที่ 2 ควบคุมยุงพาหะในพื้นที่แพรเชื้อมาลาเรีย////ส131USAID/RAI3E กิจกรรมที่ 3 ปองกันตนเองในกลุมเสี่ยงติดเชื้อนอกบาน////สกิจกรรมที่ 4 เฝาระวังทางกีฏวิทยาและติดตามประเมินผลการควบคุมยุงพาหะนำโรค////ส0- 0กรมคโรค กิจกรรมที่ 5 พัฒนาศักยภาพบุคลากรดานการควบคุมพาหะนำโรคและเครือขาย////ส1-1กรมคโรค มาตรการที 4 เพิ่ม่ประสิทธิภาพการ กำกับติดตาม และประเมินผล ตัวชี้วัดที่ 7 จำนวนกลุมบานแพรเชื้อ

48มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิด ชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน กิจกรรมที่ 1 พัฒนาระบบ กำกับและประเมินผลและตัวชี้วัดการกำจัดโรคไขมาลาเรีย000กรมคโรค กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือขายในการติดตามประเมินผลทุกระดับ314RAI3E กิจกรรมที่ 3 ประเมินผลและรับรองพื้นที่ปลอดเชื้อมาลาเรีย113กรมคโรค กิจกรรมที่ 4 ประเมินผลการดำเนินงาน (Program review)113RAI3E กิจกรรมที่ 5 นิเทศ ติดตาม การดำเนินงานทุกระดับ541กรมคโรค/ RAI3E

498. แผนการติดตามประเมินผลระยะ 5 ปมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เปาหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ป พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการที 1 : เพิ่มประสิทธิภาพการเฝาระวัง ่ตอบโต และปองกันการกลับมาแพรเชื้อใหม แบบบูรณการระดับชุมชนโดยใช mobile application ตัวชี้วัดที่ 1 รอยละของผูปวยโรคไขมาลาเรียไดรายงานเขาระบบมาลาเรียออนไลนภายใน 24 ชั่วโมง 91. ประเมินผลจากระบบขอมูลกำจัดโรคไขมาลาเรีย (www.malaria.ddc.moph.go.th/malariar10) 2. วิธีการคำนวณ จำนวนผูปวยโรคไขมาลาเรียไดรายงานเขาระบบมาลาเรียออนไลนภายใน 24 ชั่วโมง x 100/จำนวนผูปวยมาลาเรียทังหมด ้ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน ตัวชี้วัดที่ 2 รอยละของผูปวยโรคไขมาลาเรียไดรับการสอบประวัติภายใน 3 วัน 91. ประเมินผลจากระบบขอมูลกำจัดโรคไขมาลาเรีย (www.malaria.ddc.moph.go.th/malariar10) 2. วิธีการคำนวณ จำนวนผูปวยโรคไขมาลาเรียไดรับการสอบประวัติภายใน 3 วัน x 100/จำนวนผูปวยมาลาเรียทั้งหมด ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน ตัวชี้วัดที่ 3 รอยละของกลุมบานไดรับการตอบโตภายใน 7 วัน 91. ประเมินผลจากระบบขอมูลกำจัดโรคไขมาลาเรีย (www.malaria.ddc.moph.go.th/malariar10) 2. วิธีการคำนวณ จำนวนกลุมบานที่ไดรับการตอบโตภายใน 7 วัน *100 / จำนวนกลุมบานที่มีรายงานผูปวย ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน มาตรการที 2 : เรงรัดการคนหาผูติดเชื้อ ่เพื่อกำจัดแหลงแพรเชื้อ และเชื้อมาลาเรียดื้อยา

50มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เปาหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ป พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 ตัวชี้วัดที่ 4 รอยละผูสงสัยเปนไขมาลาเรียไดรับการตรวจวินิจฉัยมาลาเรียทางหองปฏิบัติการ (กลองจุลทรรศนหรือชุดตรวจเชื้อมาลาเรียอยางรวดเร็ว) 11. ประเมินผลจากระบบขอมูลกำจัดโรคไขมาลาเรีย(www.malaria.ddc.moph.go.th/malariar10) 2. วิธีการคำนวณ จำนวนผูสงสัยเปนไขมาลาเรียไดรับการตรวจวินิจฉัยมาลาเรียทางหองปฏิบัติการ x 100/จำนวนผูมารับบริการทังหมด ้ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน ตัวชี้วัดที่ 5 รอยละผูปวยมาลาเรียไดรับยารักษา ตามนโยบายยารักษาแหงชาติ 91.ประเมินผลระบบขอมูลกำจัดโรคไขมาลาเรีย (www.malaria.ddc.moph.go.th/malariar10) 2. วิธีการคำนวณ จำนวนผูปวยโรคไขมาลาเรียไดรับยารักษาตามนโยบายยารักษาแหงชาติ x 100/จำนวนผูปวยมาลาเรียทั้งหมด ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน ทุกสิ้นเดือน มาตรการที่ 3: เพิ่มการปองกันการแพรกระจายเชื้อมาลาเรีย โดยการเฝาระวัง ควบคุมยุงพาหะ และการปองกันตนเอง ในประชากรเปาหมาย ตัวชี้วัดที่ 6 รอยละของหลังคาเรือนในพื้นที่แพรเชื้อมาลาเรีย (A1 และ A2) มีมุงชุบสารเคมี/มุงชุบ สารเคมีชนิดออกฤทธิ์ยาวนาน ในอัตรามุง 1 หลังตอ 2 คนและ/หรือมีการพนเคมีชนิดมีฤทธิ์ตกคางในชวง 12 เดือนทีผานมา ่91.ประเมินระบบขอมูลกำจัดโรคไขมาลาเรีย (www.malaria.ddc.moph.go.th/malariar10) 2. วิธีการคำนวณ จำนวนหลังคาเรือนในพื้นที่แพรเชื้อมาลาเรีย (A1 และ A2) มีมุงชุบสารเคมี/มุงชุบ สารเคมีชนิดออกฤทธิ์ยาวนาน ในอัตรามุง 1 หลังตอ 2 คนและ/หรือมีการพนเคมีชนิดมีฤทธิ์ตกคางในชวง 12 เดือนที่ผานมา x 100 จำนวนหลังคาเรือนทั้งหมด ทุกไตรมาส ทุกไตรมาส ทุกไตรมาส ทุกไตรมาส ทุกไตรมาส มาตรการที 4 เพิ่มประสิทธิภาพการ กำกับติดตาม ่แ

51มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เปาหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ป พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 ตัวชี้วัดที่ 7 จำนวนกลุมบานที่มีการแพรเชื้อ 01.ประเมินระบบขอมูลกำจัดโรคไขมาลาเรีย (www.malaria.ddc.moph.go.th/malariar10) 2. วิธีการคำนวณ จำนวนกลุมบานที่มีการแพรเชื้อ รรรรร

529. ผูรับผิดชอบแผนงาน 1. พญ.ดารินทร อารียโชคชัยเบอรโทรศัพท 0 2590 3121 Email : [email protected]. ดร.ประยุทธ สุดาทิพยเบอรโทรศัพท 0 2590 3106 Email: [email protected]. ดร.รุงระวี ทิพยมนตรี เบอรโทรศัพท 0 2590 3102 Email: [email protected] 4. ดร.คณัจฉรีย ฐานิสพงศ เบอรโทรศัพท 0 2590 3124 E-mail: [email protected] 5. ดร.อังคณา แซเจ็ง เบอรโทรศัพท 0 2590 3128 E-mail: [email protected] 6. นางสาวเจิดสุดา กาญจนสุวรรณ เบอรโทรศัพท 0 2590 3102 E-mail: [email protected] 7. นางสาวประภารัตน พรมเอี้ยง เบอรโทรศัพท 0 2590 3102 E-mail: [email protected] 8. นางสาวสุรวดี กิจการ เบอรโทรศัพท 0 2590 3106 E-mail: [email protected] 9. นางสาวธรรณิการ ทองอาด เบอรโทรศัพท 0 2590 3102 E-mail: [email protected] 10. นางสาวบุษราคัม สินาคม เบอรโทรศัพท 0 2590 3142 E-mail: [email protected] 11. นายอดุลย ฉายพงษ เบอรโทรศัพท 0 2590 3102 E-mail: [email protected]

531. สถานการณจากสถานการณที่ผานมา จำนวนผูเสียชวิตดวยโรคพษสุนขบาในประเทศไทยลดลงอยางตอเนอง จากจำนวนีิัื ่สูงสุด ในป พ.ศ. 2523 มีผูเสียชีวต 370 ราย และลดลงอยางตอเนองจนเหลือนอยกวา 10 รายตอป สำหรับป 2562 ิื ่พบมีผูเสียชวตดวยโรคพษสุนขบา จำนวน 3 ราย จาก 3 จงหวัด ไดแก สุรินทร นครศรีธรรมราช ีิิััและบรีรัมย ุ(ภาพที 1 ่และ 2) และในป 2563 ณ วนที่ 20 พฤษภาคม 2563 ยงไมพบผูเสียชีวิตดวยโรคพิษสุนขบา แตอยางไรก็ตาม สุนัขยังคงัััเปนสัตวนำโรคหลัก รอยละ 60 เกิดจากสัตวมีเจาของที่ไมไดรับวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในสัตว ผูเสียชีวต มากกวาิรอยละ 90 ไมไดไปพบแพทยเพื่อรับการรักษา และไมไดรับวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบา รอยละ 100 ระยะฟกตวของโรค ัโดยเฉลีย 2-3 เดอน บางราย 2 สัปดาห และบางรายนานถึง 9 เดอน นอกจากนผูเสียชวตสวนใหญเสียชวตจากการไมได่ืืี ้ีิีิเขารับการฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนขบา มากกวาครึ่งถูกสุนัขทีตนเองเลี้ยง กัด ขวน และคิดวาไมเปนอะไร ทำใหไมเขาั่รับการรกษา นอกจากน้ ได มีประมาณการถึงจำนวนผูสัมผัสโรคพษสุนัขบามากถึงหกแสนรายตอป และมีการใชวคซีนัีิัปองกนโรคพิษสุนัขบามากกวา 3,200,000 ขวด คิดเปนคาใชจายมากกวาแปดรอยลานบาทตอป ในป พ.ศ. 2560 ักรมควบคุมโรคไดมีการสำรวจความรูของประชาชนกวาหนงหมืนหนงพนคน พบวา ประชาชนสวนใหญ ยงมีความรู ึ ่่ึ ่ััทีไมถูกตองเก่ยวกับโรคพษสุนขบา และยังขาดความตระหนักถึงความรุนแรงของโรค จะเหนไดจากขาวสารตางๆ เชน ่ีิั็การเผาหลอก การรับประทานเนื้อสุนัขที่กัดดวยความเชื่อที่วาจะไมติดเชื้อโรคพิษสุนัขบา เปนตน สำหรับสถานการณโรคพิษสุนัขบาในสัตวยงคงเปนพ้นที่ที่เคยพบโรคในสัตวมากอน โดยเฉพาะอยางยงภาคัืิ ่ตะวนออกเฉียงเหนือ และภาคใตของไทย ทั้งน้มาจากพฤตกรรมการเลี้ยงสัตวของประชาชนที่เลี้ยงปลอย หรือกึ่งเลี้ยง ัีิกึ่งปลอย โดยที่ไมไดทำหมันควบคุมจำนวนประชากรสัตว สงผลใหจำนวนสัตวเพมขึน กลายเปนสัตวจรจัด และสัตวเหลานิ ่้ี ้ไมไดรับการฉีดวคซีนปองกันโรคพษสุนัขบาอยางตอเน่อง จากขอมูลกรมปศุสัตว พบวา ในป พ.ศ.2561 ประเทศไทย ัิืมีสุนขมากกวาสิบลานตว ประมาณรอยละ 20 เปน สุนขจรจัด ซึงกอใหเกดความยากลำบากในการฉีดวคซีนปองกนโรคััั่ิััใหกบสัตว ประกอบกบสัตวมีเจาของไมไดรับการฉีดวัคซีน ปองกันโรคพษสุนขบา สงผลใหความครอบคลุมของการฉีดััิัวคซีนปองกันโรคในสัตวไดนอยกวารอยละ 80 ตามทีกรมปศุสัตว แนะนำ และพบวากวารอยละ 40 ของผูเสียชวิต ั่ีเกิดจากสัตวที่ไมมีเจาของ ถึงแมวา จำนวนผูเสียชวตในปทีผานมาจะมีไมมาก แตเนองจากโรคพษสุนขบาซึงเปนโรคทีมีอนตรายรายแรง ีิ่ื ่ิั่่ัผูที่มีอาการแลวจะเสียชวิตทุกราย (อัตราปวยตาย 100%) สิ่งสำคัญอกประการหนง คือ ประเทศในแถบภมิภาคเอเชยีีึ ู่ีและเอเชยตะวนออกเฉียงใตมีขอตกลงระหวางประเทศ ในการกำจัดโรคพษสุนัขบาใหหมดไปภายในป 2573 (ค.ศ. 2030) ีัิสำหรับประเทศไทยดำเนนงานกำจัดโรคพษสุนขบา ภายใตโครงการสัตวปลอดโรค คนปลอดภย จากโรคพษสุนขบา ิิััิัตามพระปณธานของ ศาสตราจารย ดร.สมเดจเจาฟาฯ กรมพระศรีสวางควฒน วรขัตตยราชนารี โดยมีเปาหมายใหิ็ัิประเทศไทยปลอดจากโรคพษสุนัขบาภายในป 2563 ดังนน จึงเปนความจำเปนที่จะตองมีการดำเนนงานปองกัน ควบคุมิั้ิแผนงานโรคพิษสุนัขบา

54โรคพษสุนขบา ทั้งในคนและในสัตวอยางตอเนอง โดยกรมควบคุมโรค ภายใตยุทธศาสตรที่ 3 โครงการสัตวปลอดโรค ิัื ่คนปลอดภย จากโรคพษสุนัขบาฯ มีการดำเนินงานตามกลยทธ 6 กลยทธ เพ่อใหไมมีผูเสียชวตดวยโรคพษสุนัขบา เนนัิุุืีิิการใหประชาชนผูถูกสัมผัสสัตวสงสัย เขารับการฉีดวัคซีนปองกันโรคพษสุนขบาอยางครบชุด ลดการถูกสัตวกด ขวน ิััปองกันโรคพิษสุนัขบาในประชาชนกลุมเสี่ยง ภาพที่ 1 จำนวนผูเสียชวตดวยโรคพษสุนขบา จำนวนสัตวตรวจพบโรค และรอยละการตรวจพบโรคในสัตว ในประเทศไทย ีิิัป พ.ศ. 2553-2562ภาพที่ 2 พนทีที่พบผูเสียชวตดวยโรคพิษสุนัขบา (จุดสีแดง) และความหนาแนนของการตรวจพบโรคในสัตว (พนที่สีเขียว) ื ้่ีิื้ในประเทศไทย ป 2562ผูเสียชีวิตดวยโรคพิษสุนัขบาป 2562

552. พื้นที่เสี่ยง/กลุมเสี่ยง 3. เปาหมาย3.1 ระดบประเทศ ัเปาหมาย/ตัวชี้วัดเปาหมาย baseline คาเปาหมาย ป (พ.ศ.) 2561 2562 2563 2564 2565 1. จำนวนผูเสียชีวิตดวยโรคพิษสุนัขบา 16 ราย 4 ราย 0 ราย 0 ราย 0 ราย 2. รอยละของผูสัมผัสสัตวติดเชื้อยืนยันโรคพิษสุนัขบา ไดรับการฉีดวัคซนปองกันโรคตามแนวทางเวชปฏิบัต ีิ99.67 100 100 100 100 3. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ผานเกณฑมาตรฐานระบบลูกโซความเยน (Cold chain) ที่กำหนด ็13 อปท นำรอง อปท 77 อปท 120 แหง แหง 4. จำนวนอำเภอเสี่ยงที่ดำเนินการตามมาตรการเฝาระวังปองกันควบคุมโรคพิษสุนัขบาในคน 440 484 5. จำนวนอำเภอทีรับประเมินพืนทีปลอดโรคพิษสุนัขบา่้่ดานสาธารณสุข 1 อำเภอ/ 3 อำเภอ/1 เขต 1 เขต พนที่เสี่ยงการดำเนนงานปองกนควบคุมโรคพษสุนขบา แบงโดยอางอิงื้ิัิัจากสถานการณโรคพษสุนขบา ยอนหลัง 3 ป (ปพ.ศ.2561-2563) ิัดังน ี้พื้นที่เสี่ยงสูง (สีแดง) เปนพื้นที่ที่พบผูเสียชีวิตดวยโรคพิษสุนขบา หรือ ัพบสัตวพบเชอโรคพษสุนัขบา มีการกระจายตวมากกวารอยละ 50 ของื ้ิัจำนวนอำเภอทั้งหมด ในจังหวัดนั้นๆ พืนทเสียง (สีเหลือง) ้ี ่่เปนพืนทีในระดับอำเภอทีมีการพบเชอโรคพษ้่่ื้ิสุนัขบาในสัตว อยางนอย 1 ตัวอยาง พื้นที่เฝาระวัง (สีฟา) เปนพ้นทีในระดับอำเภอที่ไมพบผูเสียชีวิตดวยโรคื่พษสุนขบา และ ไมพบเชอโรคพษสุนัขบาในสัตว ิัื ้ิหมายเหต : ุรายชื่อพื้นที่เสี่ยงตามภาคผนวกที่ 1

563.2 ระดับเขต/จังหวัด เปาหมาย/ตัวชี้วัดเปาหมาย ปงบประมาณ พ.ศ.2564 เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 1. จำนวนผูเสียชีวิตดวยโรคพิษสุนัขบา 0 ราย 2. รอยละของผูสัมผัสสัตวติดเชื้อยืนยันโรคพิษสุนัขบาที่ไดรับวัคซีนปองกันโรคตามแนวทาง เวชปฏิบัติ รอยละ 100 3. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ผานเกณฑมาตรฐานระบบลูกโซความเยน (Cold chain) ็ที่กำหนด 1 อปท/จังหวัด 4. จำนวนของพนที่ที่พบื้โรคพิษสุนัขบาในสัตวมีการดำเนินการตามมาตรการการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคพิษสุนัขบาในคน 440 5. จำนวนอำเภอทีรับ่ประเมินพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบาดานสาธารณสุข 1 อำเภอ/1 เขต

574. กลไกการบริหารจัดการแผนเพื่อใหบรรลุผลตามวัตถุประสงค/เปาหมายมาตรการ/ Service Provider สวนกลาง สคร. เขต สสจ. รPชุมชน/ตำบล 1. มาตรการปองกันโรค 1.1 จัดทำแผนการปองกัน ควบคุมโรค เพื่อรับมือเมือมีโรค ่- ทบทวนผลการดำเนินงานที่ผานมา และนำมาปรับปรุงแผนงานโครงการ - กำหนดรายชื่อพื้นที่เสี่ยงสูง พื้นที่เสี่ยงและพื้นที่เฝาระวัง - รวมทบทวนผลการดำเนินงาน ทีผานมา และ่นำมาปรับปรุงแผนงานโครงการ - พื้นที่เสี่ยงสูง : กำกับติดตามใหมีการจัดทำแผนทุกอำเภอ - พื้นที่เสี่ยง : กำกับ ติดตามใหอำเภอที่พบโรคในสัตวมีการจัดทำแผนแบบบูรณาการ - พื้นที่เฝาระวัง: กำกับติดตาม ใหอำเภอทีไมพบโรคในสัตว จัดทำ่แผนเพื่อพัฒนาเปนพื้นที่ปลอดโรค - รวมจัดทำแพื้นที่ - คณะกรรมการคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) - พื้นที่เสี่ยงสูง : ทุกอำเภอมีการจัดทำแผนแบบบูรณาการเพื่อปองกันคนเสียชีวิต และการระบาดในสัตว - พื้นที่เสี่ยง : อำเภอเสียงจัดทำแผน่แบบบูรณาการเพื่อปองกันการระบาดตอเนื่อง - พืนทีเฝาระวัง : ทุกอำเภอจัดทำแผน้่เพื่อพัฒนาเปนพื้นที่ปลอดโรค - พื้นที่ทุกระดับความเสี่ยง มีการจัดทำแผนงาน/ กำหนดงบประมาณสนับสนุนโครงการสัตวปลอดโรค คนปลอดภัยฯ - รวมจัดทำแผนบูรณาการ 1.2 ติดตามสถานการณโรคในสัตวอยางใกลชิด - ติดตามสถานการณโรคพิษสุนัขบาในสัตว อยางตอเนื่อง จากเว็บกรมปศุสัตว/ thairabies.net - ติดตามสพิษสุนัขบาในสัตว อยางตอเนื่อง - ติดตามจาก thairabies.net หรือ ขอมูลจากหนวยงานที่เกี่ยวของ - ติดตามจำนวนการเบิกจายวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในคนของสถานบริการในพื้นที่- ใหบริการวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในพื้นที่ได - ติดตามจาก www.thairabies.net หรือ ขอมูลจากหนวยงานที่เกี่ยวของ - แจงเตือนใหแกหนวยงานตางๆ ทราบถึงสถานการณโรคในสัตว - จัดตั้งศูนยรวบรวมขอมูล โรคพิษ สุนัขบา (ขอมูลผูถูกกัด/ขวน/จำนวน-ปใหแกประชาชนใตำบล

58มาตรการ/ Service Provider สวนกลาง สคร. เขต สสจ. รPชุมชน/ตำบล รับผิดชอบ - วิเคราะหสถานการณเพื่อชี้เปาพื้นที่เสี่ยง และพื้นที่พรอมรับรองปลอดโรคพิษสุนัขบาสุนัขที่ไดรับวัคซีน/สุนัขที่พบเชื้อพิษสุนัขบา) เพื่อชี้เปาเตือนภัย 1.3 สนับสนุนวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบา แบบปองกันโรคลวงหนา (PrEP) ใหแกบุคลากรกลุมเสี่ยงในพื้นที่ - สนับสนุน กำกับ ติดตามการบริหารจัดการวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบา แบบปองกันโรคลวงหนา (- รวมสนับสนุนกำกับติดตาม การบริหารจัดการวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบา แบบปองกันโรคลวงหนา (PrEP) จังหวัดในพื้นที่ - กำกับ ติดตาม การใหวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาแบบปองกันโรคลวงหนา (PrEP) - ดำเนินการใหวัคซีนฯ ใหแกบุคลากรกลุมเสี่ยงในพื้นที่ - รายงานผลการใหบริการวัคซีน - ติดตามกลุมเสี่ยงใหมารับวัคซีนตามเกณฑที่กำหนด - ติดตามกลุมเสี่ยงใหมารับวัคซีนตามเ1.4 สรางความรอบรูใหแกประชาชน ดวยการสื่อสารการตลาดเพื่อสังคม (Social mโรคพิษสุนัขบา - พัฒนาประเด็นสื่อสารการตลาดเพื่อสังคม - พัฒนากระบวนการสรางความรอบรู เพื่อนำสูการปฏิบัติ -สนับสนุนกิจกรรมรณรงคปองกันโรคพิษสุนัขบา รวมกับ กรมปศุสัตว กรมสงเสริม- รวมพัฒนาประเด็นสื่อสารการตลาดเพื่อสังคม - รวมสงเสริมและปความรอบรูดานสุขภาพในการปองกันและ1. จัดทำสื่อภาษาทองถิ่นใหหนวยงาน สถานบริการ และ สถานศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบ โดยมีประเด็นสื่อสาร (Key massage) ทีเหมาะสมกับ่กลุมเปาหมาย เกี่ยวกับความรุนแรงของโรค / การปองกันการถูกกัด โดยใชหลัก 5 ย / การดูแลตนเองภายหลังถูกกัดโดย- สื่อสารปใหประชาชนรู เขาใจ ปฏิบัติตัวได การปองกันและควบคุมโรคพิษสุนัขบา - วางแผนสื่อสารประชาสัมพันธ และดำเนินการอยางตอเนื่อง โดยรวมกับหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม - สำรวจและจัดเก็บขอมูล ความรอบรูของประชาชนเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบา - สื่อสารปใหแกประชาชนใตำบล

59มาตรการ/ Service Provider สวนกลาง สคร. เขต สสจ. รPชุมชน/ตำบล การปกครองทองถิ่น และเครือขายอื่นๆ คสุนัขบา การ “ลางแผล ใสยา หาหมอ และฉีดวัคซีนตามนัดทุกครั้ง”/ มาพบแพทยโดยเร็วหลังถูกกัด,ขวน / ไมชำแหละ หรือนำเนื้อสัตวติดโรคมารับประทาน 2. รวมรณรงคกิจกรรมปองกันโรคพิษสุนัขบารวมกับทองถิ่นจังหวัด ปศุสัตวจังหวัด และเครือขายอื่น ๆ 2. มาตรการควบคุมโรค(มาตรการ 1-2-3) เมือพบผูเสียชีวิต 1 ราย่หรือ สัตวตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบา 1 ตัว มาตรการ 1-2-3 มีรายละเอียดดังนี้ 1 หมายถึง เริ่มดำเนินการเมื่อสัตวตรวจพบเชื้อ พิษสุนัขบา 1 ตัว หรือ มีผูเสียชีวิต 1 ราย 2 หมายถึง คนหาผู- ติดตามสถานการณอ- สนับสนุน/ชวยเหลือทรัพยากรที่จำเปน - กำกับ ติดตามพื้นที่ใหสามารถดำเนินการตามมาตรการที่กำหนด - สรุปและรายงานผล ใหผูบริหารทราบ - ประสานติดตามสในพื้นที่ - ใหการสนับสนุนชวยเหลือ - รายงานผลใหสวนกลาง - กำกับ ติดตาม ผลการดำเนินงาน - สสจ.ประสานงานหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน ปศุสัตวจังหวัด ปศข./ สคร. เทศบาล/ อบต. สอบสวนโรครวมกับหนวยงานในพื้นที่ 2. ประชุมและมีขอสั่งการเพื่อปองกันควบคุมโรค 3. สนับสนุน/ กำกับ/ ติดตามผลการรับวัคซีนของผูสัมผัสโรคทุกเหตุการณ 4. จัดทำรายงานผลการรับวัคซีนระดับจังหวัด (Rabies 2) เสนอหนวยงานที่เกี่ยวของทุกเดือน - ใหการดูแลรักษาผูสัมผัสโรคพิษสุนัขบา/ ผูเสียชีวิตตามแปฏิบัติฯ -สัมผัสโรค (ถูกกัด/ขวน/เลีย/ชำแหละสัตว) เพื่อรับวัคซีนเข็มแรกใหครบทุกคนภายใน 2 วัน - ทีมสอบสวนโรค (SRRT) หรือ รพ. ในพื้นที่จัดทำทะเบียนรายชื่อ เพื่อใหมีการติดตามผูสัมผัสโรครับวัคซีนตอเนื่องตามแนวทางเวชปฏิบัติ (แบบฟอรม Rabies 1) และสรุปผลการรับวัคซีนเสนอหนวยงานที่เกี่ยวของทุกเหตุการณ - ประสานปศุสัตวอำเภอ/ อปท. และหนวยงานที่เกี่ยวของ ฉีดวัคซีนรอบจุด- ประชาคมตำบล -ความรูแกประชาชน - คนหาติดตามผูสัมผัสโรคในชุมชนใหมารับวัคซีน

60มาตรการ/ Service Provider สวนกลาง สคร. เขต สสจ. รPชุมชน/ตำบล สรับผิดชอบและประสานเครือขาย สื่อสารประชาสัมพันธ ภายใน 2 วัน 3 หมายถึง ประสานหนวยงานที่เกี่ยวของใหวัคซีนรอบจุดเกิดโรคในรัศมีตาม กม. 5. ติดตาม และประเมินผล การบริการวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาของสถานบริการในพื้นที่รับผิดชอบ เกิดโรคในรัศมี 5 กิโลเมตร 2.2 เรงติดตามผูสัมผัส โดย อสม. - ประสานความรวมมือกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ในการพัฒนาศักยภาพ อสม. คนหาและติดตามผูสัมผัสโรคพิษสุนัขบา - รวมพัฒนาองคความรูกับสวนกลาง - ถายทอดองคความรูใหแกพื้นที่รับผิดชอบ - พื้นที่ที่ยังมีโรคพิษสุนัขบาในสัตว ให อสม. สำรวจทุกสัปดาห เชน รวมกับการสำรวจลูกน้ำยุงลาย - รวมถายทอดองคความรูในการคนหาติดตามผูสัมผัสโรค และ การรายงานผานรเทคโนโลยี ใหแกหนวยงานในพื้นที่รับผิดชอบ - รพสต./ อปท. กำหนดใหการคนหาติดตามผูสัมผัสโรค เปนกิจกรรมที่อสม.ตองรายงานตามแบบฟอรมของ รพสต. -ดำเนินการติดตาม ผูสัมผัสโรค และรายงานผลตามแบบฟอรม 2.3 สนับสนุนการกระตุนภูมิคุมกันในสัตวผานการ- สนับสนุน การพัฒนาระบบลูกโซความเย็นใน- รวมสนับสนุนกำกับติดตาม 1. สสจ.ประชุมชีแจง้วัตถุประสงค และวิธีการพัฒนา- รวมถายทอดองคความรูใน- รพสต./ อปท. บริหารจัดการวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในพื้นที่- รพสต./ อปท. บริหารจัดการ

61มาตรการ/ Service Provider สวนกลาง สคร. เขต สสจ. รPชุมชน/ตำบล พัฒนามาตรฐานระบบลูกโซความเย็น (Cold chain) ในองคกรปกครองสวนทองถิ่น จังหวัดที่รับผิดชอบ - รวมติดตาม รับรองมาตรฐาน - สนับสนุนการบริหารจัดการวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในสัตว ใหพื้นที่ดำเนินการได การบริหารจัดการวัคซีนปองกันโรค พิษสุนัขบาในสัตว พื้นที่ระดับจังหวัด มาตรฐานระบบลูกโซความเย็น 2. คัดเลือกเทศบาล/ อบต. ทีจะ่เขารวมพัฒนา 3. ประเมินสวนขาด และวางแผนพัฒนาตามเกณฑมาตรฐานใหแก เทศบาล/ อบต. เปาหมาย 4. ถายทอดความรูมาตรฐานระบบลูกโซความเย็นฯ ใหแกผูเกี่ยวของ เชน ปศุสัตวจังหวัด ปศุสัตวอำเภอ เทศบาล/ อบต. แ5. ใหคำแนะนำถึงวิธีที่ถูกตองเพื่อการปรับปรุง 6. ตรวจประเมิน รับรองมาตรฐาน การบริหารจัดการวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบา รวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น รับผิดชอบ วัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในพื้นที่รับผิดชอบ 2.4 รับรองพื้นที่ปลอดโรค -สนับสนุนขอมูล วิธีการเพื่อใหพื้นที่มีการดำเนินงานปดชองวาง แการสรางพื้นที่ปลอดโรค - แตงตั้งคณะกรรมการประเมินพืนที้่ระดับเขต - ประชุมหนวยงานที่เกี่ยวของ 1. สสจ.คัดเลือกอำเภอที่มีความพรอมตอการสรางพื้นที่ปลอดโรค 2. ประชุมชี้แจง ขั้นตอนการสรางพื้นที่ปลอดโรค 3. สรางขอตกลงรวมกันระหวางหนวยงานในพื้นที่ 4. วิเคราะหชองวาง การ

62มาตรการ/ Service Provider สวนกลาง สคร. เขต สสจ. รPชุมชน/ตำบล ดำเนินงานใหตรงเกณฑฯ 5. แตงตั้งคณะกรรมการสรางพืนทีปลอดโรค และคณะทำงาน้่รับรองพื้นที่ปลอดโรค 6. ประชุมคณะกรรมการ ตามขอ 5 เพื่อวางแผนปดชองวาง 7. ทุกหนวยงานดำเนินงานสรางพืนที่ปลอดโรคพิษสุนัขบาตาม้เ8้่สุนัขบาตามเกณฑ 9. เมื่อพื้นที่พรอมประกาศพื้นที่ปลอดโรค ใหดำเนินการตามขั้นตอนประกาศพื้นที่ปลอดโรค 10. ประกาศพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบา

635. การตดตามและประเมนผล ิิมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก วิธีการติดตามประเมนผล ิกรอบระยะเวลาของการตดตามิประเมนผล ป พ.ศ. ิ2561 2562 2563 2564 2565 1. มาตรการปองกนโรค ั- สนับสนุนวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบา แบบปองกันโรคลวงหนา (PrEP) ใหแกบุคลากรกลุมเสี่ยงรายงานการรับวัคซีนแบบปองกันโรคลวงหนา (PrEP) / / / / / 2. มาตรการควบคุมโรค - มาตรการควบคุมโรค (มาตรการ 1-2-3) รายงานตัวชี้วดผลผลิตตามัแบบฟอรม Rabies 3 ป 2564ในระบบรายงาน Estimate กรมควบคุม / / / - ผูสัมผัสสัตวยืนยันไดรับวัคซีนครบชุด รายงาน Rabies 3 / / / / / - การพัฒนามาตรฐานระบบลูกโซความ รายงานผลการประเมินรับรองเยน (Cold chain) วัคซีนปองกันโรค็พิษสุนัขบาในสัตวขององคกรปกครองสวนทองถิ่น มาตรฐานระบบลูกโซความเย็น / / / - การรับรองพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบาดานสาธารณสุข รายงานผลการรับรองพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบา / / /

646. มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ป มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน 1. มาตรการปองกันโรคพิษสุนัขบา 0 1.จำนวนวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาชนิดฉีดปองกันโรคลวงหนา (Pre-Exposure) ที่สนับสนุนใหแกบุคลากรกลุมเสี่ยง 2. จำนวนสื่อตนแบบในการปองกันควบคุมโรคพิษสุนัขบาใหแกประชาชน 3.จำนวนพื้นที่เสี่ยงที่ไดรับการสนับสนุนการดระวัง ปองกัน คสุนัขบา

65มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน 1.1 จัดทำแผนปองกันควบคุมโรคพิษสุนัขบา เพื่อเตรียมความพรอมรับมือเมื่อเกิดโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด/ งบปกติ งบปกติ งบปกติ 0งบปกติ -อำเภอเสียงสูง ่มีแผนแบบบูรณาการเพื่อปองกันคนเสียชีวิต และการระบาดในสัตว - อำเภอเสียงมีแผน่แบบบูรณาการเพื่อปองกันการระบาดตอเนื่อง - อำเภอเฝาระวังมีแผนพัฒนาเปนพื้นที่ปลอดโรค ทุกอำเภอมีแผนปองกันควบคุมโรคพิษสุนัขบา -ถายทอดโครงการสัตวปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบา ตามพระปณิธาน ศ.ดร.สมเด็จเจาฟาฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี และองคความรูดานการเฝาระวังปองกัน ควบคุมโรคพิษสุนัขบา ใหกับบุคลากร และหนวยงานที่เกี่ยวของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด/ สำนักงานปองกันควบคุมโรคเขต/สถาบันปองกันคกรุงเทพมหานคร /หนวยงานที่เกี่ยวของ งบปกติ งบปกติ งบปกติ 112งบปกติ สสจ.ทุกแหง สามารถเขาใจเปาหมาย ทิศทาง ใปองกันควบคุมโรคพิษสุนัขบาได 76 จังหวัด ไดรับการถายทอดนโยบาย ทิศทาง การดำเนินงานปองกันควบคุมโรคพิษสุนัขบา

66มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน -ขยายผลหลักสูตรเรื่องโรคพิษสุนัขบา สำหรับ สถานศึกษา สพฐ/ สคร/ กรต 000003งบประมาณปมีการขยายผลหลักสูตรในโรงเรียน อยางนอย 1 แหง ตอ สคร. โรงเรียน สามารถนำหลักสูตรการส่สุนัขบา ไปใชได อยางนอย 1 แหงตอ สคร. 1.2 ติดตามสถานการณโรคในสัตวอยางใกลชิด -พัฒนาระบบรายงานโรคพิษสุนัขบา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (กองโรคติดตอทั่วไป) 03004งบปกติ รสามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ รสามารถใชงานไดอยางตอเนื่องและมีประสิทธิภาพ -เพื่อพัฒนาศักยภาพผูใชระบบฐานขอมูลผูสัมผัสโรคพิษสุนัขบา (ร.36) กองโรคติดตอทั่วไปสำนักงานปองกันควบคุมโรคเขต/สถาบันปองกันควบคุมโรคเขตเมือง 000002งบปกติ ผูใชงานใหม ของระบบ ร 36 ไดรับการถายทอดความรู จำนวนผูใชงานใหม ไดรับความรู

67มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน -เฝาระวังโรคเชื้อกอโรคทางหองปฏิบัติการกลุมอาการทางสมองและระบบประสาท กองโรคติดตอทั่วไปสำนักงานปองกันคสถาบันปองกันคกองระบาด/กรมวิทย งบปกติ งบปกติ งบปกติ 001งบปกติ จำนวนผูปวยที่มีอาการทางสมองและระบบประสาทที่ไดรับการตรวจวินิจฉัยยืนยันเชื้อกอโรค รอยละของผูปวยที่มีอาการทางสมองและระบบประสาทที่ไดรับการตรวจหาเชื้อกอโรค 1.3 สนับสนุนวัคซีนโรคพิษสุนัขบาเพื่อปองกันโรคลวงหนา (PrEP) ใหแกบุคลากรกลุมเสี่ยงในพื้นที่ กรมควบคุมโรค 212143งบปกติ บุคลากรกลุมเสี่ยงไดรับวัคซีนปองกันโรคลวงหนา (PrEP) จำนวนบุคลากรกลุมเสี่ยงไดรับวัคซีนปองกันโรคลวงหนา (PrEP) -อบรมแนวทางเวชปฏิบัติ โรคพิษสุนัขบา สำหรับแพทยและบุคลากรสาธารณสุข กองโรคติดตอทั่วไปสำนักงานปองกันควบคุมโรคเขต/สถาบันปองกันค000003.2 งบปกติ บสาธารณสุขไดรับการอบรมแนวทางเวชปฏิบัติฯ จำนวนผูเขาอบรมแนวทางเวชปฏิบัติฯ 1.4 สรางความรอบรูใหแกประชาชน ดวยการสื่อสารการตลาดเพื่อสังคม (Social marketing) โรคพิษสุนัขบา ประชาชนกลุมเสี่ยงไดรับความรูในการปองกันโรคพิษสุนัขบา รอยละ 80 ของประชาชนกลุมเสียงมีพฤติกรรม่ปองกันโรคพิษสุนัขบาอยางถูกตอง

68มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน -จัดกิจกรรม “วันปองกันโรคพิษสุนัขบาโลก” และใหความรูประชาชนเกี่ยวกับ โรคพิษสุนัขบา เพื่อสนองโครงการสัตวปลอดโรค คนปลอดภัย ตามพระปณิธานฯ กองโรคติดตอทั่วไปสำนักงานปองกันคสถาบันปองกันควบคุมโรคเขตเมือง 000002งบปกติ มีกิจกรรมรณรงคปองกันโรคพิษสุนัขบาโลก และใหความรูประชาชน จำนวนกิจกรรมรณรงคปองกันโรคพิษสุนัขบา -จัดทำโปสเตอร - สื่ออินโฟกราฟฟคโรคพิษสุนัขบา กรมควบคุมโรค 000227งบปกติ มีโปสเตอร สือ่อินโฟกราฟฟกโรคพิษสุนัขบา จำนวนสื่อที่ไดรับการเผยแพร -กิจกรรม/เผยแพรโครงการฯ/รณรงคใหความรูฯ กรมควบคุมโรค/ 0112งบปกติ มีกิจกรรม เผยแพรโครงการรณรงคใหความรู จำนวนกิจกรรม -จัดทำและเผยแพร สปอตโทรทัศน กรมควบคุมโรค 2327สือสปอตโทรทัศน ่จำนวนสื่อที่ไดรับการเผยแพร -จัดทำและเผยแพรสารคดีทางโทรทัศน กรมควบคุมโรค 1.3 2.0 2.0 5.3 มีสารคดีทางโทรทัศน จำนวนสื่อที่ไดรับการเผยแพร -จัดทำและเผยแพรสื่อวิดีทัศน หรือสื่อเพื่อการศึกษา กรมควบคุมโรค 0002มีสื่อวิดิทัศน หรือสื่อเพื่อการศึกษา จำนวนสื่อที่ไดรับการเผยแพร

69มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน -จัดทำสารคดีวิทยุตนแบบสำหรับหอกระจายขาวและเผยแพร กรมควบคุมโรค / 0000มีการจัดทำสารคดีวิทยุตนแบบ จำนวนสื่อที่ไดรับการเผยแพร -จัดทำชุดนิทรรศการโรคพิษสุนัขบา กรมควบคุมโรค / 0000มีชุดนิทรรศการโรคพิษสุนัขบา จำนวนสื่อที่ไดรับการเผยแพร -จัดทำ/เผยแพรสื่อประชาสัมพันธ ใหความรูเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบา ใหแกประชาชนเพื่อสนองโครงการสัตวปลอดโรค คนปลอดภัย ตามพระปณิธานฯ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด/สำนักงานปองกันควบคุมโรคเขต/สถาบันปองกันควบคุมโรคเขตเมืองกรุงเทพมหานคร/ งบปกติ งบปกติ งบปกติ 224งบปกติ มีการจัดทำหรือเผยแพรสื่อปจำนวนสื่อที่ไดรับก

70มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน 2. มาตรการควบคุมโรค (มาตรการ 1-2-3) 1รอยละของผูสัมผัสสัตวติดเชื้อยืนยันโรคพิษสุนัขบา ไดรับการฉีดวัคซีนปองกันโรคตามแนวทางเวชปฏิบัติ 2จำนวนอำเภอเสียงที่่ดำเนินการตามมาตรการเฝาระวังปองกันคสุนัขบาในคน 3จำนวนอำเภอทีประเมิน่พื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบาดานส2.1 การควบคุมโรค เมื่อพบผูเสียชีวิต 1 ราย หรือ สัตวตรวจพบเชื้อดวยโรคพิษสุนัขบา 1 ตัว สามารถควบคุมโรคพิษสุนัขบาในพื้นที่ไไมมีผูเสียชีวิตรายทีสอง ่

71มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน -เปดระบบบัญชาเหตุการณ (ICS) ระดับจังหวัด โดยผูวาราชการเปนประธาน เมือพบ่ผูเสียชีวิต 1 ราย งบปกติ งบปกติ งบปกติ งบปกติ งบปกติ งบปกติจังหวัดสามารถเปดระบบบัญชาการเหตุการณ (ICS) ได -สอบสวนควบคุมโรครวมกับหนวยงานในพื้นที ่รวมทั้งสื่อสารความเสี่ยง งบปกติ งบปกติ งบปกติ งบปกติ งบปกติ งบปกติมีรายงานสอบสวนโรคพิษสุนัขบาอยางครบถวน จำนวนรายงานสอบสวนโรคพิษสุนัขบาที่มีคุณภาพ ตอ ผูถูกกัดขวน เพื่อรับการดูแลอยางถูกตองตามแนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบา งบปกติ งบปกติ งบปกติ งบปกติ งบปกติ งบปกติ สามารถคนหาผูสัมผัสโรคในพื้นที่ใหมารับวัคซีนไดอยางครบถวน จำนวนผูสัมผัสโรคในพื้นที่ไดรับวัคซีนครบตามแนวทางเวชฯ 2.2 เรงรัดติดตามผูสัมผัสโดย อสม.

72มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน -พัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) เพื่อสนับสนุนโครงการสัตวปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบา ตามพระปณิธาน ศ.ดร.สมเด็จเจาฟาฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ งบปกติ งบปกติ งบปกติ งบปกติ งบปกติ งบปกติ อสม สามารถคนหา ติดตามผูสัมผัสโรคพิษสุนัขบาในชุมชนได รอยละของผูสสัตวที่ตรวจพบเชื้อพิษสุนัขบาไดรับวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาตามแปฏิบัติ 2.3. ยกระดับมาตรฐานระบบลูกโซความเย็นวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในองคกรปกครองสวนทองถิ่น งบปกติ งบปกติ งบปกติ งบปกติ 2.3.1 การพัฒนามาตรฐานระบบลูกโซความเย็นวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในองคกรปกครองสวนทองถิ่น กองโรคติดตอทั่วไปสำนักงานปองกันควบคุมโรคเขต/สถาบันปองกันควบคุมโรคเขตเมือง งบปกติ งบปกติ งบปกติ งบปกติ อปท ผานมาตรฐานระบบลูกโซความเย็นอยางนอย 1 แหงตอ สคร จำนวน อปท ผานมาตรฐานระบบลูกโซความเย็นอยางนอย 1 แหงตอ สคร

73มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน -การประชุมเครือขายปองกันควบคุมโรคพิษสุนัขบา เพื่อคัดเลือก อปท เขารวมพัฒนาระบบลูกโซความเย็น กองโรคติดตอทั่วไปสำนักงานปองกันคสถาบันปองกันควบคุมโรคเขตเมือง 1114อปท เปาหมายที่จะยกมาตรฐานระบบลูกโซความเจำนวน อปท เปาหมายทีจะ่ยกระดับมาตรฐานระบบลูกโซความเย็น 2.4. สรางพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบา ควรเปนสวนหนึ่งของมาตรการควบคุมโรค 2.4.1 การรับรองพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบาตามมาตรฐาน OIE กรมควบคุมโรค งบปกติ งบปกติ 11เปาหมายพืนที้่ปลอดโรคพิษสุนัขบผลการรับรองพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบา -ผลักดันการดำเนินงานสรางพื้นที่ปลอดโรคผานกลไกคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัด/ คณะกรรมการโรคติดตอกรุงเทพมหานคร คณะกรรมการโรคติดตอจังหวัด/คณะกรรมการโรคติดตอกรุงเทพมหานคร งบปกติ งบปกติ งบปกติ งบปกติงบปกติงบปกติมีวาระการติดตามการสรางพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบผลการติดตามการรับรองพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ

74มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน -สงเสริมและควบคุมการเลี้ยงและการปลอยสัตว เพื่อปองกันและควบคุมโรคพิษสุนัขบาและเหตุรำคาญ กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น/อปท./กรมอนามัย/กรมปศุสัตว/กองโรคติดตอทั่วไปสำนักงานปองกันควบคุมโรคเขต/สถาบันปองกันควบคุมโรคเขตเมือง งบปกติ งบปกติ งบปกติ งบปกติ องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีขอบัญญัติทองถิ่น เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงหรือปลอยสุนัขและแมวเพิ่มขึ้น องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีขอบัญญัติทองถิ่น เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงหรือปลอยสุนัขและแมวเพิ่มขึ้น -นิเทศ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตรที่ 3 ภายใตโครงการสัตวปลอดโรค คนปลอดภัย ตามพระปณิธานฯ กรมควบคุมโรค, กรมปศุสัตว, กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น,สสอ., สสจ., สปศจ., ปศข., อปท., เทศบาล., อบต. 000003งบปกติ ปละ 2 ครัง ้รายงานผลการนิเทศ ติดตามประเมินผล -ประชุมคณะอนุกรรมการ และผูเชี่ยวชาญดานโรคพิษสุนัขบา กรมควบคุมโรค 000001.1 งบปกติ ปละ 2 ครัง ้รายงานผลการป

757. แผนการตดตามประเมนผล ระยะ 5 ปิิมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เปาหมาย/ตัวชี้วัดเปาหมาย วธีการติดตามิประเมนผล ิกรอบระยะเวลาของการตดตามิประเมนผล ป พ.ศ. ิ2561 2562 2563 2564 2565 1. มาตรการปองกันโรค - สนับสนุนวัคซนปองกันโรคพิษสุนัขีบา แบบปองกันโรคลวงหนา (PrEP) ใหแกบุคลากรกลุมเสี่ยง จำนวนวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัข รายงานการรับบาชนิดฉีดปองกันโรคลวงหนา (Pre-Exposure) ทีสนับสนุน่ใหแกบุคลากรกลุมเสี่ยง วัคซีนแบบปองกันโรคลวงหนา (PrEP) / / / / / 2. มาตรการควบคุมโรค -มาตรการควบคุมโรค (มาตรการ 1-2- จำนวนของพื้นที่ที่พบโรคพิษ3) สุนัขบาในสัตวมการดำเนินการีตามมาตรการการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคพิษสุนัขบา (มาตรการ 1-2-3) รายงานตัวชี้วัดผลผลิตตามแบบฟอรม Rabies 3 ป 2564ในระบบรายงาน Estimate กรมควบคุม / / / - ผูสัมผัสสัตวยืนยันไดรับวัคซีนครบชุด รอยละของผูสัมผัสสัตวติดเชื้อยืนยันโรคพษสุนัขบา ไดรับการิฉีดวัคซีนปองกันโรคตามแนวทางเวชปฏิบัต ิรายงาน Rabies 3 / / / / / - การพัฒนามาตรฐานระบบลูกโซความเยน (Cold chain) วัคซีนปองกัน ผานเกณฑมาตรฐานระบบลูกโซ ประเมินรับรอง็โรคพิษสุนัขบาในสัตวขององคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรปกครองสวนทองถิ่น ความเยน (Cold chain) วัคซีน็ปองกันโรคพิษสุนัขบาในสัตวที่กำหนด รายงานผลการมาตรฐานระบบลูกโซความเย็น / / / - การรับรองพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบา จำนวนอำเภอที่รับประเมินพื้นท รายงานผลการดานสาธารณสุข ี่ปลอดโรคพิษสุนัขบาดานสาธารณสุข รับรองพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบา / / / 8. ผูรับผิดชอบแผนงาน 1. นางรัตนา ธีระวัฒนเบอรโทรศัพท 0 2590 3177-8 สำนักโรคติดตอทั่วไป E-mail: [email protected] 2. สพ.ญ.อรพิรุฬห ยุรชัยเบอรโทรศัพท 0 2590 3177-8 นายสัตวแพทยชำนาญการ E-mail: [email protected]

761. สถานการณดวยสภาพการณปจจุบันภายหลังจากที่มีการปฏิรูประบบสาธารณสุข ทำใหมีการปรับเปลี่ยนโครงสรางขององคกรและหนวยงานทั้งในสวนกลางและภูมิภาค มีการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคหลายดาน ไดแก การบริหารจัดการงบประมาณ ระบบการกระจายวัคซีนดวยระบบใหม ระบบการนิเทศ ควบคุมกำกับประเมินผล ความหลากหลายการใหบริการมีมากขึ้น รวมทั้งมีการปรับเปลี่ยนบทบาทหนาที่ของบุคลากร การเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ดังกลาวลวนสงผลกระทบ ตอคุณภาพการใหบริการวัคซีนเปนอยางมาก ในปจจุบันยังพบปญหาความครอบคลุมการไดรับวัคซีนต่ำกวาเปาหมายที่กำหนดในบางพื้นที่ ซึ่งมักพบในกลุมชุมชนแออัด กลุมแรงงานเคลื่อนยาย กลุมที่อาศัยในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ถิ่นทุรกันดารหรือชายขอบ ซึ่งทำใหประเทศไทยยังมีความเสี่ยงที่จะเกิดการระบาดของโรคติดตอที่ปองกันไดดวยวัคซีนได เมื่อพิจารณาการปวยและการเสียชีวิตดวยโรคติดตอที่ปองกันไดดวยวัคซีน จากขอมูลสถานการณโรคติดตอที่ปองกันไดดวยวัคซีน เมื่อพิจารณาการปวยและการเสียชีวิตดวยโรคติดตอ ที่ปองกันไดดวยวัคซีน จากรายงานการเฝาระวังโรคของกองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ในระยะเวลา 3 ปที่ผานมา (พ.ศ.2559-2561) และในป 2562 ลาสุดขอมูล ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2562 พบวา จำนวนผูปวย มีแนวโนมลดลงเกือบทุกโรค ดงน ัี ้1. โรคบาดทะยักในทารกแรกเกิด ไมพบผูปวยบาดทะยักในทารกแรกเกิดในชวงป 2559-2561 สำหรับป 2562 พบจำนวน 1 ราย เปนเพศชาย สัญชาติไทยที่ จ.เพชรบูรณ 2. โรคคอตีบในป 2559-2561 พบผูปวยยืนยันจำนวน 9 ราย 4 ราย และ 14 ราย ตามลำดับ สำหรับในป 2562 มีรายงานผูปวยยนยัน จำนวน 9 ราย อัตราปวย 0.014 ตอประชากรแสนคน มีผูเสียชีวิต 2 ราย คิดเปน อัตราตาย ื0.003 ตอประชากรแสนคน อัตราปวยตายรอยละ 22 เพศหญิงตอเพศชาย 1: 1.67 พบผูปวยในอายต่ำกวา 15 ป จำนวน ุ6 ราย (รอยละ 75) และอายมากกวา 15 ป จำนวน 2 ราย (รอยละ 25) เปนสัญชาติไทยรอยละ 100 มีประวัตการไดรับุิวัคซีนครบตามเกณฑ 1 ราย และไมไดรับวัคซีนครบตามเกณฑ 7 ราย 3. โรคไอกรนป 2562 พบผูปวยสงสัยโรคไอกรนจำนวน 83 ราย มีรายงานผูปวยไอกรนยืนยันจำนวน 33 ราย คิดเปนอัตราปวย 0.05 ตอประชากรแสนคน มีผูเสียชีวิต 1 ราย คิดเปนอัตราตาย 0.002 ตอประชากรแสนคน อตราปวยัตายรอยละ 3 เพศหญิงตอเพศชาย 1: 0.8 โดยพบผูปวยในกลุมอายต่ำกวา 15 ปทั้งหมด จำแนกเปนกลุมอายุนอยกวา ุ2 เดือน จำนวน 13 ราย (รอยละ 39.4) อายุ 2 เดือน - 1 ปจำนวน 15 ราย (รอยละ 45.5) อายุ 1 ป - 5 ป จำนวน 3 ราย (รอยละ 9.1) และอายุ 5 ป - 15 ปจำนวน 2 ราย (รอยละ 6.1) เปนสัญชาติไทยจำนวน 31 ราย (รอยละ 93.9) และสัญชาติเมียนมาจำนวน 2 ราย (รอยละ 6.1) โดยเปนผูปวยที่อายุไมถึงเกณฑรับวัคซีนที่มีสวนประกอบของไอกรน (DTP-HB/DTP-HB-HIB : อายุนอยกวา 2 เดือน) จำนวน 13 ราย (รอยละ 39.4) ไมไดรับวัคซีน จำนวน 11 ราย (รอยละ 33.3) ไดรับแตไมครบถวนจำนวน 1 ราย (รอยละ 3) ไดรับครบตามเกณฑอายุจำนวน 5 ราย (รอยละ 13.2) และไมทราบแผนงานปองกันควบคุมโรคที่ปองกันไดดวยวัคซนี

77ประวัติ/ไมระบจำนวน 3 ราย (รอยละ 9.1) โดยในป 2559-2561 พบผูปวยยืนยันจำนวน 66-78 ราย มีผูเสียชีวิต 1 รายุในป 2560 และผูเสียชีวิต 3 รายในป 2561 4. โรคไขสมองอักเสบเจอี สำหรับในป 2562 พบผูปวย 8 ราย (อัตราปวย 0.01 ตอประชากรแสนคน) โดยในป 2559-2561 พบจำนวน 10-14 ราย มีผูเสียชีวิตในป 2559 และป 2560 ปละ 1 ราย 5. โรคคางทูมในป 2562 มีผูปวย 2,256 ราย (อัตราปวย 3.4 ตอประชากรแสนคน) จากเดิมมีผูปวยปละ 2,061-2,623 ราย ไมมีรายงานผูเสียชีวิต สวนใหญรอยละ 50.5 ของผูปวยอายุนอยกวา 15 ป โดยพบในเด็กอายุ 5-9 ป รองลงมาเปนอายุ 10-14 ป และอายุต่ำกวา 5 ป ตามลำดับ 6. โรคหัดเยอรมันในป 2562 มีผูปวย 372 ราย (อัตราปวย 0.56 ตอประชากรแสนคน) จากเดิมมีผูปวยปละ 168-338 ราย ไมมีรายงานผูเสียชีวิต 7. โรคหัดในป 2562 พบผูปวย 5,823 ราย (อัตราปวย 8.78 ตอประชากรแสนคน) ในป 2561 พบการระบาดใน 3 จังหวัดชายแดนใต ซึ่งจำนวนผูปวยภาพรวมเทากับ 6,556 ราย (อัตราปวย 9.92 ตอประชากรแสนคน) เสียชีวิต 23 ราย (อัตราตาย 0.35 ตอประชากรแสนคน) ผูปวยสวนใหญอายุนอยกวา 15 ป (รอยละ 61.1) ไดแก อายุต่ำกวา 5 ป (รอยละ 40.6) อายุ 5-9 ป (รอยละ 12.9) และอาย 10-14 ป (รอยละ 7.6) ตามลำดบ ุั8. โรคไขหวัดใหญมีแนวโนมการระบาดเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในป 2559-2560 จำนวนผูปวยสะสมในป 2559 เทากบ ั169,362 ราย (อัตราปวย 258.86 ตอประชากรแสนคน) เสียชีวิต 44 ราย (อัตราตาย 0.03 ตอประชากรแสนคน) จำนวนผูปวยสะสมในป 2560 เทากับ 200,882 ราย (อัตราปวย 304.09 ตอประชากรแสนคน) เสียชีวิต 58 ราย (อัตราตาย 0.03 ตอประชากรแสนคน) จำนวนผูปวยสะสมป 2561 เทากับ 183,363 ราย (อัตราปวย 277.57 ตอประชากรแสนคน) เสียชีวิต 32 ราย (อัตราตาย 0.02 ตอประชากรแสนคน) สำหรับจำนวนผูปวยสะสมป 2562 เทากับ 349,162 ราย (อัตราปวย 526.63 ตอประชากรแสนคน) เสียชีวิต 24 ราย (อัตราตาย 0.01 ตอประชากรแสนคน) ผลการวิเคราะหขอมูลการสำรวจความครอบคลุมของการไดรับวัคซีนป 2561 แบบครบถวน (ประเมินเฉพาะจำนวนครั้งของวัคซีนที่ไดรับ) ที่ดำเนินการสำรวจ ใน 12 จังหวัด ไดแก จังหวัดแพร กระบี่ สระบุรี ฉะเชิงเทรา หนองคาย บุรีรัมย ปตตานี กำแพงเพชร อำนาจเจริญ มหาสารคาม เพชรบุรี และกรุงเทพมหานคร พบวา การไดรับวัคซีนในเด็กกลุมอายุ 1-2 ป มีดังนี้ ไดรับวัคซีน BCG รอยละ 99.8 ไดรับวัคซีน HB รอยละ 99.6 ไดรับวัคซีน DTP-HB3/OPV3 รอยละ 96.5 ไดรับวัคซีน MMR1 รอยละ 96.1 ไดรับวัคซีน IPV รอยละ 88.4 ในเด็กกลุมอายุ 2-3 ป มีดังนี้ : ไดรับวัคซีน DTP4/OPV4 รอยละ 95.3 ไดรับวัคซีนปองกันโรคไขสมองอักเสบเจอี (JE1-2/LAJE1) รอยละ 96.9 ในเด็กกลุมอายุ 3-4 ป ไดรับวัคซีน MMR2/MR รอยละ 86.6 ไดรับวัคซีนปองกันโรคไขสมองอักเสบเจอี (JE1-3/LAJE1-2) รอยละ 95.1 ในเดก็กลุมอายุ 5-6 ป ไดรับวัคซีน DTP5/OPV5 รอยละ 87.2 ซึ่งในภาพรวมความครอบคลุมการไดรับวัคซีนทุกชนิด ทั้งในเด็กกอนวัยเรียนและวัยเรียนมีระดับสูงเกินกวารอยละ 90 แตยังพบเด็กกลุมเปาหมายไมไดรับวัคซีน สาเหตุสวนใหญ คือ ผูปกครองจำวันนัดรับวัคซีนไมได เมื่อพนกำหนดแลว จึงไมไดพาเด็กไป ผูปกครองไมวาง ไมมีเวลาพาไป และในชวงวนนดััรับวัคซีนเด็กไมสบายจึงไมพาไปรับวัคซีน รวมถึงผูปกครองยายที่อยู จึงทำใหเด็กพลาดการไดรับวัคซีนตามกำหนด สำหรับการควบคุมกำกับและติดตามรายงานผลความครอบคลุมการไดรับวัคซีนผานระบบฐานขอมูลมาตรฐาน 43 แฟม 

78กองโรคปองกันดวยวัคซีนไดเขารวมประชุมติดตามและนำเสนอผลการใหบริการวัคซีนรวมกับสำนักนโยบายและยุทธศาสตรและศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผานระบบ VDO Conference ตั้งแตเดือนตุลาคม 2559 เปนตนมา สำหรับในปงบประมาณ 2562 อัตราความครอบคลุมของการไดรับวัคซีนทุกชนิดที่ตองไดรับ ณ วันที่ 13 มกราคม 2563 พบวา ในชวงอายุ 1-2 ปแรกมีอัตราเฉลี่ยความครอบคลุมการไดรับวัคซีน BCG รอยละ 97.40 วัคซีน DTP-HB3/OPV3 รอยละ 92.51/ 92.65 วคซีน IPV รอยละ 91.76 และ วคซีน MMR1 รอยละ 91.93 ขณะที่อัตราเฉลี่ยความััครอบคลุมการไดรับวัคซีน DTP4/OPV4 และวัคซีน JE1-2/LAJE1 ของเด็กอาย 2-3 ป เทากบรอยละ 89.97/89.93 และ ุั89.80 ตามลำดับ อัตราเฉลี่ยความครอบคลุมการไดรับวัคซีน JE1-3/LAJE1-2 และวัคซีน MMR2 ในเด็กอายุ 3-4 ป เทากับรอยละ 82.77 และ 90.08 และอัตราความครอบคลุมของการไดรับวัคซีน DTP5/OPV5 ในเด็กอายุ 5-6 ปเทากับรอยละ 85.88/ 85.79 ตามลำดับ จำเปนตองมีการวางแผนเรงรัดและรักษาระดับความครอบคลุมการไดรับวัคซีนตามแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ในการพัฒนาระบบขอมูล พัฒนาคุณภาพการบันทึกขอมูล จัดทำแนวทางการสำรวจความครอบคลุมการไดรับวัคซีน และใหวัคซีนเกบตกแกกลุมเปาหมายที่ไดรับไมครบถวนตามเกณฑอยางครอบคลุม ็การขับเคลื่อนงานปองกันควบคุมโรคที่ปองกันดวยวัคซีน จำเปนตองอาศัยทรัพยากรบุคคลของกระทรวงสาธารณสุขเปนสำคัญ ในการสรางเครือขายพัฒนาและนิเทศติดตามการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในระดับพื้นที่ เพื่อคงรักษาระดบมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค และบุคลากรในระดับพื้นที่สามารถปฏบตงานไดอยางัิัิมีประสิทธิภาพ ตั้งแตป 2562 ที่ผานมา กองโรคปองกันดวยวัคซีน กรมควบคุมโรคไดวางแผนการพัฒนาศักยภาพเครือขายในการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค โดยจัดระบบการพัฒนาศักยภาพเครือขายและจัดตั้งทีมนิเทศการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคแบบบูรณาการ ซึ่งไดนำรองจำนวน 2 จังหวัด ไดแก จังหวัดเชียงราย และจังหวัดสตูล และป 2563 ขยายการดำเนนงานเพ่มเติมในเขตบริการสุขภาพที่ 13 กรุงเทพฯ ทำใหเกิดเครือขายในการนิเทศติดตามในิิระดับพื้นที่ ซึ่งในเขตกรุงเทพมหานครนั้น มีความหลากหลายในระบบบริการวัคซีน ทั้งหนวยงานในสังกัดภาครัฐและเอกชน ตามบริบทของความเปนเขตเมืองซึ่งการดำเนินการใหบริการวัคซีนควรที่จะมีคุณภาพและมาตรฐานในการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคเดียวกันทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อใหมีคุณภาพและมาตรฐานการปฏิบัติงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคเดียวกัน และวางแผนในการพัฒนาศักยภาพผูนิเทศงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคใหครอบคลุมทุกจังหวดัภายในป 2566 เพื่อใหเกิดเครือขายในการพัฒนาและนเทศตดตามการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในระดบพนที่ในิิัื้ระดบอำเภอและจังหวด สามารถนิเทศ ควบคุมกำกับ เปนที่ปรึกษาในการปฏิบตงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของบคลากร ัััิุในพื้นที่ไดอยางมีประสิทธภาพ ซึ่งการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคที่สำคัญ ไดแก การดำเนินงานตามมาตรฐานงานิสรางเสริมภูมิคุมกันโรค มาตรการกำจัดกวาดลางโรคตามพันธสัญญานานาชาต การควบคุมโรคติดตอที่ปองกันไดดวยิวัคซีน อาการภายหลังไดรับการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค การพัฒนาระบบขอมูลความครอบคลุมการไดรับวัคซีน การใหบริการวัคซีนปองกันโรคไขหวัดใหญตามฤดูกาล การพัฒนางานวัคซีนใหม และการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในผูใหญ รวมถึงการจัดระบบการติดตามประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ใหเกิดเครือขายผูประเมินมาตรฐานระดับเขต ระดับจังหวัด และวิทยากรพี่เลี้ยงในพื้นที่ พัฒนาระบบรายงานผลการประเมินมาตรฐานการ

79ดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค การพัฒนาองคความรูและจัดทำแนวทางการควบคุมโรคที่ปองกันไดดวยวัคซีน และติดตามสถานการณและตอบโตโรคที่ปองกันไดดวยวัคซีนและกลุมอาการภายหลังการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค เปนการควบคุม ปองกันโรคติดตอทีปองกันดวยวัคซีนไมใหเกิดการระบาดในวงกวางจนเปนปญหาที่สำคัญทางสาธารณสุขของ่ประเทศ สำหรับการดำเนินงานกำจัดและกวาดลางโรคตามพันธสัญญานานาชาติของประเทศไทย ไดดำเนินการกวาดลางโรคโปลิโอและกำจัดโรคหดตามพันธสัญญานานาชาต พรอมกบประเทศสมาชกในภมิภาคเอเชยใตและตะวนออก โดยัิัิูีัโครงการกวาดลางโรคโปลิโอของภูมิภาคไดรับการรับรองการปลอดโรคโปลิโอ ณ กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดียเมื่อเดือนมีนาคม 2557 สำหรับประเทศไทยไมพบผูปวยโรคโปลิโอมากกวา 23 ปแลว โดยพบผูปวยรายสุดทายในป 2540 ถึงแมจะไมมีผูปวยโปลิโอจากเชื้อกอโรคตามธรรมชาติ (Wild poliovirus) และผูปวยจากสายพันธุวัคซีนกลายพันธุ (Vaccine derive poliovirus : VDPV) ติดตอกันมาเปนเวลานานแลวก็ตาม แตปจจุบันมีรายงานการพบผูปวยโปลิโอจากเชอกอโรคื้ตามธรรมชาติใน 2 ประเทศ ไดแกประเทศปากีสถานและประเทศอัฟกานิสถาน และมีการรายงานการพบผูปวยโปลิโอจากสายพันธุวัคซีนกลายพันธุในประเทศเพื่อนบานเปนระยะ ๆ ประเทศไทยจึงมีความเสี่ยงตอการรับเชื้อโปลิโอเขามาระบาดได จากการคมนาคมและเดินทางระหวางประเทศที่มีความสะดวกและรวดเร็วขึ้น ตลอดจนปญหาความครอบคลุมการไดรับวัคซีนในกลุมเสี่ยงบางกลุมในบางพื้นที่ยังต่ำกวาเกณฑ ดังนั้นการเพื่อการรักษาสถานการณการปลอดโรคโปลิโอของประเทศไทย จึงยังตองดำเนินตามมาตรการการกวาดลางโรคโปลิโอตอไปอยางเขมแข็งและจำเปนอยางยิ่งในการเตรียมความพรอมอยูเสมอ สวนโครงการกำจัดโรคหัดและหัดเยอรมันตามพันธสัญญานานาชาตนั้น ประเทศไทยไดเริ่มดำเนินการตั้งแตป ิพ.ศ. 2554 เปนตนมา แตยังพบผูปวยและมีการระบาดของโรคหัดและหัดเยอรมัน เนื่องจากยังมีชองวางทางภูมิคุมกันในประชากรบางกลุม โดยมีรายงานการระบาดเกิดขึ้นในหลายพื้นที่ของประเทศไทย ซึ่งมีความแตกตางกันตามพื้นที่ เชน จังหวัดชายแดนภาคใต และพื้นที่ทุรกันดารตามแนวชายแดน สวนใหญเปนผูปวยกลุมเด็กกอนวัยเรียนและเด็กวัยเรียน สวนพื้นที่อื่น ๆ พบวาผูปวยสวนใหญเปนวัยทำงาน และการระบาดเปนกลุมกอน มักเกิดในสถานที่ที่มีคนอยูรวมกันเปนจำนวนมาก เชน เรือนจำ คายทหาร โรงงาน สถานประกอบการ แหลงทองเที่ยว เปนตน รวมทั้งมีการแพรกระจายเชอในื้โรงพยาบาลซึ่งสะทอนใหเห็นวา การใหวัคซีนปองกันโรคหัดยังมีปญหาอยู ขณะเดียวกันโรคหัดเยอรมันยังพบมีการระบาดอยูเปนระยะ แมวาโรคหัดเยอรมันจะมีอาการไมรุนแรง แตเมื่อเกิดการติดเชื้อในหญิงตั้งครรภสามารถทำใหเกดิการติดเชื้อหัดเยอรมันแตกำเนิด เกิดความพิการรุนแรงในทารกได จึงจำเปนอยางยิ่งที่จะตองเรงรัดดำเนินงานตามมาตรการตางๆ ตามโครงการกำจดโรคหัดและหดเยอรมันตามพันธสัญญานานาชาต ััิการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคดวยวัคซีน เปนองคประกอบสำคัญของการปองกันควบคุมโรค และเปนที่ยอมรับโดยทั่วกันถึงประสิทธิภาพและความคุมคาในการปองกันควบคุมโรค มีจุดมุงหมายเพื่อลดโอกาสการเกิดโรค อัตราปวย และอัตราปวยตายของประชากร เพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดี ดังนั้น ภารกิจที่สำคัญภารกิจหนึ่งของแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกนัโรคของประเทศ คือ การนำวัคซีนที่มีความปลอดภัย มีประสิทธิภาพ และเหมาะสมตอบริบทของประเทศ มาบรรจุในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค เพื่อใหบริการแกประชาชนกลุมเปาหมายไดอยางทั่วถึงและเทาเทียมกัน

80การนำวัคซีนใหมบรรจุในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของกองโรคปองกันดวยวัคซีน กรมควบคุมโรค ไดดำเนินการภายใตคำแนะนำทางวิชาการของคณะอนุกรรมการวัคซีนแหงชาติ และเสนอวัคซีนเขาสูบัญชียาหลักแหงชาติ ตามกลไกการนำวัคซีนเขาสูแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ในการเสนอวัคซีนเขาสูแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค กองโรคปองกันดวยวัคซีนจะเสนอตามลำดับความสำคัญของวัคซีนที่คณะอนุกรรมการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคพิจารณาเห็นชอบ โดยคณะอนุกรรมการฯ พิจารณาประเด็นที่เกี่ยวของรอบดาน ไดแก ความสามารถในการปองกันการติดเชื้อ ภาระโรค ความรุนแรงของโรค ผลกระทบเชิงงบประมาณ นโยบายการกำจัดกวาดลางโรคตามพันธะสัญญานานาชาต ความสามารถในการผลิตวัคซีนในประเทศ ความปลอดภัยของวัคซีน ความคุมคาทางเศรษฐศาสตร มาตรการิปองกันโรคอื่น ๆ การยอมรับวัคซีนของประชาชน ความแตกตางในทางปฏบัติ และความเปนธรรม ประเด็นทางสังคมและิจริยธรรม ประเด็นดังกลาวจะมีทั้งสวนที่สามารถนำมาจัดเปนเกณฑใหคะแนนได และสวนที่ไมสามารถจัดเปนเกณฑใหคะแนนได แตนำมาใชประกอบการพิจารณารวมดวย อยางไรก็ดี เมื่อมีการนำรองการใหบริการ การนำวัคซีนใหมมาใชในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค การจัดใหบริการรูปแบบใหม และการเพิ่มกลุมเปาหมายในการใหวัคซีนในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค กองโรคปองกันดวยวัคซีนไดกำหนดใหมีการนิเทศติดตาม การประเมินผลการดำเนินงานที่หนวยบริการและคลังวัคซีน เพื่อรับทราบปญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น ความสามารถในการบูรณาการงานใหมรวมเขากับงานประจำ และความสามารถในการดำเนินงานไดตามมาตรฐานงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 2. พื้นที่เสี่ยง/กลุมเสี่ยง 2.1 กลุมเปาหมายดำเนินงานตามแผนงานควบคุมโรคหัดและหัดเยอรมัน 2.1.1 ผูใหญอายุ 20-40 ป ประกอบดวย กลุมผูตองขัง กลุมทหารเกณฑ กลุมบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข ทั่วประเทศ และกลุมผูใชแรงงานในจังหวัดที่เสี่ยงสูง 2.1.2 เด็กกอนวัยเรียนและเด็กวัยเรียน ภายใตระบบงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคปกต ิ2.2 กลุมเปาหมายดำเนินงานตามแผนงานควบคุมโรคโปลิโอ คือ ประชากรอายุต่ำกวา 15 ปทัวประเทศ ่2.3 กลุมเปาหมายดำเนินงานตามแผนงานควบคุมโรคคอตีบ คือ ประชาชนทุกกลุมวัย

813. เปาหมาย 3.1 เปาหมายการกวาดลาง/กำจัด/ควบคุมโรคที่ปองกันไดดวยวัคซีน เขอมูลพื้นฐาน คาเปาหมาย ปงบประมาณ พ.ศ. 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 *เปาหมายที่ 1 : กวาดลางโรคโปลิโอตัวชี้วัดที่ 1.1 : รักษาสถานะของการเปนประเทศปลอดโรคโปลิโอ (ไมมีผูปวยโรคโปลิโอ)000000000*เปาหมายที่ 2 : กำจัดโรคหัดและหัดเยอรมันตัวชี้วัดที่ 2.1 : ลดอุบัติการณของผูปวยยืนยันโรคหัด1ตอประชากร หนึ่งลานคน 2ตอประชากร หนึ่งลานคน 8ตอประชากร หนึ่งลานคน (เสียชีวิต 23 ราย) 6ตอประชากร หนึ่งลานคน (เสียชีวิต 25 ราย) 1ตอประชากร หนึ่งลานคน ผูติดเชื้อภายในประเทศ 0ผูติดเชื้อภายในประเทศ 0ผูติดเชื้อภายในประเทศ 0ผูติดเชื้อภายในประเทศ 0ตัวชี้วัดที่ 2.2 : ลดอุบัติการณของผูปวยยืนยันโรคหัดเยอรมัน0ตอประชากร หนึ่งลานคน 0ตอประชากร หนึ่งลานคน 1ตอประชากร หนึ่งลานคน 2ตอประชากร หนึ่งลานคน 1ตอประชากร หนึ่งลานคน ผูติดเชื้อภายในประเทศ 0ผูติดเชื้อภายในประเทศ 0ผูติดเชื้อภายในประเทศ 0ผูติดเชื้อภายในประเทศ 0เปาหมายที่ 3 : ควบคุมโรคที่ปองกันไดดวยวัคซีน ตัวชี้วัดที่ 3.1 : อัตราปวยโรคคอตีบ (ผูปวยยืนยัน) 0ตอประชากร หนึงแสนคน ่(9 ราย) 0ตอประชากร หนึงแสนคน ่(4 ราย) 0ตอประชากร หนึงแสนคน ่(14 ราย) 0ตอประชากร หนึงแสนคน ่(9 ราย) 0ตอประชากร หนึงแสนคน ่(10 ราย) 0ตอประชากร หนึงแสนคน ่(10 ราย) 0ตอประชากร หนึงแสนคน ่(10 ราย) 0ตอประชากร หนึงแสนคน ่(10 ราย) 0ตอประชากร หนึงแสนคน ่(10 ราย) **ตัวชี้วัดที่ 3.2 : อัตราปวยโรคไอกรน (Proxy Indicator)0.101 ตอประชากร 0.118 ตอประชากร 0.073 ตอประชากร 0ตอประชากร 0ต0ตอประชากร 0ตอประชากร 0ตอประชากร 0ตอประชากร

82เขอมูลพื้นฐาน คาเปาหมาย ปงบประมาณ พ.ศ. 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 หนึงแสนคน ่(หนึงแสนคน ่(78 ราย) หนึงแสนคน ่(68 ราย) หนึงแสนคน ่(33 ราย) หนึงแสนคน ่(50 ราย) หนึงแสนคน ่(50 ราย) หนึงแสนคน ่(50 ราย) หนึงแสนคน ่(50 ราย) หนึงแสนคน ่(50 ราย) * เปาหมายตามพันธสัญญานานาชาติ ** เปาตัวชี้วัดตัวแทนสะทอนภาพรวมระบบงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 3.2 เปาหมายการนำวัคซีนมาใชและการขยายกลุมเปาหมายในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ปที่ดำเนินการ การนำวัคซีนมาใช/การขยายกลุมเปาหมาย กลุมเปาหมายในการใหบริการวัคซีน 2วัคซีนโรคมะเร็งปากมดลูกจากเชื้อเอชพีวี (HPV) นักเรียนหญิงชั้น ป.5 และเด็กหญิงไทยอายุ 11-12 ป ที่ไมไดอยูในระบบการศึกษา นำรองพัฒนารูปแบบการดำเนินงานคลินิกวัคซีนผูใหญ (4 อำเภอ 4 จังหวัด) 1. วัคซีนรวมโรคคอตีบ-บาดทะยัก (dT) 2. วัคซีนโรคไขหวัดใหญ (Influenza) 1. ประชากรอายุ 20 ปขึ้นไป โดยฉีดกระตุนทุก 10 ป เมื่ออายุ 30 ป 40 ป ไปตลอดจนสิอายุขัย 2. หญิงตั้งครรภ 2นำรองพัฒนารูปแบบการดำเนินงานคลินิกวัคซีนผูใหญ (12 จังหวัด) 1. วัคซีนรวมโรคคอตีบ-บาดทะยัก (dT) 2. วัคซีนโรคไขหวัดใหญ (Influenza) 1. ประชากรอายุ 20 ปขึนไป โดยฉีดกระตุนทุก 10 ป เมืออายุ 30 ป 40 ป ไปตลอดจนส้่้อายุขัย 2. หญิงตั้งครรภ 2ขยายการดำเนินงานคลินิกวัคซีนผูใหญทั่วประเทศ 1. วัคซีนรวมโรคคอตีบ-บาดทะยัก (dT) 2. วัคซีนโรคไขหวัดใหญ (Influenza) 3. วัคซีนรวมโรคหัด-หัดเยอรมัน (MR) 1. ประชากรอายุ 20 ปขึนไป โดยฉีดกระตุนทุก 10 ป เมืออายุ 30 ป 40 ป ไปตลอดจนสิ้่อายุขัย 2. หญิงตั้งครรภ 3. นักศึกษาทางการแพทยและสาธารณสุข วัคซีนรวมโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ไวรัสตับอักเสบบี-เยือหุมสมองอักเสบ ่จากเชื้อฮีโมฟลุสอินฟลูเอ็นเซ ทัยป บี (DTP-HB-Hib) เด็กปฐมวัย2วัคซีนโรคอุจจาระรวงจากเชื้อไวรัสโรตา (Rota)เด็กปฐมวัยนำรองใหวัคซีนรวมโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรนชนิดไรเซลล (Tdap) (1 จังหวัด) หญิงตั้งครรภ

83ปที่ดำเนินการ การนำวัคซีนมาใช/การขยายกลุมเปาหมาย กลุมเปาหมายในการใหบริการวัคซีน 2นำรองใหวัคซีนโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส (PCV)เด็กปฐมวัยวัคซีนไวรัสตับอักเสบบี บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข2วัคซีนโรคโปลิโอชนิดเชื้อตาย (IPV) (เพิมอีกอยางนอย 1 โดส) ่เด็กปฐมวัยวัคซีนรวมโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรนชนิดไรเซลล (Tdap) (ทัวประเทศ) ่หญิงตั้งครรภ2วัคซีนโรคจากเชื้อนิวโมคอคคัส (PCV) (ทัวประเทศ) ่เด็กปฐมวัยวัคซีนพิษสุนัขบา (Pre-exposure) ผูมีโอกาสเสี่ยงในการสัมผัสโรค 2วัคซีนรวมโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ไวรัสตับอักเสบบี-เยือหุมสมองอักเสบ ่จากเชื้อฮีโมฟลุสอินฟลูเอ็นเซ ทัยป บี-โปลิโอชนิดเชื้อตาย (DTwP-HB-Hib-IPV) เด็กปฐมวัยหมายเหตุ : 1. วัคซีนใหม หมายรวมถึง วัคซีนที่พัฒนาขึ้นมาใหมและยังไมบรรจุในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของประเทศและวัคซีนที่มีการปขึ้นมาใหมหรือมีแนวทางการบริหารยาใหมและยังไมบรรจุในแผนงานฯ2. การจัดลำดับความสำคัญของวัคซีนที่จะนำเขาสูแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค จำเปนตองมีการทบทวนขอมูลเปนระยะ ๆ เพื่อให4. ตัวชี้วัดตามเปาหมาย ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน คาเปาหมาย ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 2559 2560 2561 2562 2563 รักษาสถานะของการเปนประเทศปลอดโรคโปลิโอ (ไมมีผูปวยโรคโปลิโอ) 0000-0ลดอุบัติการณของผูปวยยืนยันโรคหัด15.7 ตอ ปชก. 1 ลานคน 29.5 ตอ ปชก. 1 ลานคน 84.5 ตอ ปชก. 1 ลานคน (เสียชีวิต 23 ราย) 66.3 ตอ ปชก. 1 ลานคน (เสียชีวิต 25 ราย) -ผูติดเชือภายในประเทศ 0 ราย ้

84ตัวชี้วัด ขอมูลพื้นฐาน คาเปาหมาย ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 2559 2560 2561 2562 2563 ลดอุบัติการณของผูปวยยืนยันโรคหัดเยอรมัน0012-ผูติดเชือภายในประเทศ 0 ราย ้อัตราปวยโรคคอตีบ (ผูปวยยืนยัน)0.013 ตอ ปชก. 1 แสนคน (9 ราย) 0.006 ตอ ปชก. 1 แสนคน (4 ราย)0.021 ตอ ปชก. 1 แสนคน (14 ราย)0แสนคน (9 ราย)-0.015 ตอ ปชก. 1 แสนคน (10 ราย)อัตราปวยโรคไอกรน (Proxy Indicator)0.101 ตอ ปชก. 1 แสนคน (66 ราย) 0.118 ตอ ปชก. 1 แสนคน (78 ราย)0.073 ตอ ปชก. 1 แสนคน (68 ราย)0.05 ตอ ปชก. 1 แสนคน (-0.08 ตอ ปชก. 1 แสนคน (50 ราย)มีการขยายกลุมเปาหมายหรือมีวัคซีนชนิดใหมในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค วัคซีน HPV ขยายคลินิกวัคซีนผูใหญทัวประเทศ ่(วัคซีน dT, Influenza, MR) วัคซีน Rota นำรองวัคซีน PCV วัคซีน DTP-HB-Hib วัคซีน HB (คลินิกวัคซีนผูใหญ)

855. กลไกการบริหารจัดการแผนเพื่อใหแผนบรรลุตามวัตถุประสงค/เปาหมายมาตรการ/Service Provider สวนกลาง สคร./สปคม./เขต สสจ./สสอ. รพ./หนวยบริการงาน EPI/PCC อื่นๆ หมายเหตุ มาตรการที่ 1 กำจัดและกวาดลางโรคตามพันธสัญญานานาชาติ1. โครงการกวาดลางโรคโปลิโอตามพันธสัญญานานาชาติขับเคลื่อนนโยบายระดับโลกสูการดำเนินงานภายในประเทศ ขับเคลื่อนการดำเนินงานจากสวนกลางสูการปฏิบัติระดับเขต ขับเคลื่อนการดำเนินงานจากเขตสูการปฏิบัติภายในจังหวัด/อำเภอ/กทม. - ใหบริการวัคซีนแกประชาชนกลุมเปาหมาย - ดำเนินการตามระบบเฝาระวังโรคเมื่อพบผูปวย AFP การดำเนินงานของโครงการในมาตรการที่ 1 มีรูปแบบบูรณาการรวมกันระหวางโครงการ ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน 2. โครงการรณรงคใหวัคซีนปองกันโรคโปลิโอเสริมจัดเตรียมความพรอมและสนับสนุนการดำเนินงานดานตางๆเพื่อรองรับการดำเนินงาน ขับเคลือนและสนับสนุน่การรณรงคในระดับเขต ขับเคลือนและสนับสนุน่การรณรงคภายในจังหวัด อำเภอและหนวยบริการ ใหบริการวัคซีนชวงรณรงคแกประชาชนกลุมเปาหมาย Rotary ชวยปติดตามประเมินผลการดำเนินงาน 3. โครงการกำจัดโรคหัดและหัดเยอรมันตามพันธสัญญานานาชาติขับเคลื่อนนโยบายระดับภูมิภาคสูการดำเนินงานภายในประเทศ ขับเคลื่อนการดำเนินงานจากสวนกลางสูการปฏิบัติระดับเขต ขับเคลื่อนการดำเนินงานจากเขตสูการปฏิบัติภายในจังหวัด/อำเภอ - ใหบริการวัคซีนแกประชาชนกลุมเปาหมาย - ดำเนินการตามระบบเฝาระวังโรคเมื่อพบผูปวยไขออกผื่น ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน 4. โครงการรณรงคใหวัคซีนปองกันโรคหัดและหัดเยอรมันจัดเตรียมความพรอมและสนับสนุนการดำเนินงานดานตางๆ เพื่อรองรับการดำเนินงาน ขับเคลื่อนการรณรงคในระดับเขต ขับเคลื่อนการรณรงคภายในจังหวัดและหนวยบริการ ใหบริการวัคซีนชวงรณรงคแกประชาชนกลุมเปาหมาย ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน

86มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สคร./สปคม./เขต สสจ./สสอ. รพ./หนวยบริการงาน EPI/PCC อื่นๆ หมายเหตุ มาตรการที่ 2 เรงรัดและรักษาระดับความครอบคลุมการไดรับวัคซีนทุกชนิดในกลุมเปาหมาย1. โครงการพัฒนาและสนับสนุนกครอบคลุมการไดรับวัคซีน - ประสานและจัดทำแนวทครอบคลุมและติดตามขอมูล - การปรับปรุงระบบขอมูล (วัคซีนไขหวัดใหญ วัคซีนนักเรียน วัคซีนสำหรับผูใหญและหญิงตั้งครรภ) - ผลักดันใหเกิดระบบขอมูล กทม - การผลักดันระบบ registry - พัฒนาคุณภาพการบันทึกขอมูลในระดับพื้นที่ (พัฒนาโปรแกรม (HosxP, JHCIS) และพัฒนาคน (EPI+IT)) - สำรวจความครอบคลุมการไดรับวัคซีน - ติดตามและรวมพัฒนาขอมูลความครอบคลุมวัคซีนระดับเขต - ติดตามและรวมพัฒนาขอมูลความครอบคลุมวัคซีนระดับจังหวัด/อำเภอ - ใหบริการวัคซีนในแผนงานฯ - ติดตามความครอบคลุมวัคซีน 2. โครงการสำรวจและเก็บตกใหวัคซีนแกกลุมเปาหมายอยางครอบคลุม - จัดทำแนวทางการสำรวจความครอบคลุมการไดรับวัคซีน - สำรวจความครอบคลุมการไดรับวัคซีนในประชากรกลุมเสี่ยง - วิเคราะหพื้นที่เสี่ยงเพื่อระบุประชากรกลุมเสี่ยงในการเรงรัดความครอบคลุมการไดรับวัคซีน สนับสนุนขอมูลการใหบริการวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบ (กรณีที่ตองมี

87มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สคร./สปคม./เขต สสจ./สสอ. รพ./หนวยบริการงาน EPI/PCC อื่นๆ หมายเหตุ - สำรวจความครอบคลุมการไดรับวัคซีน - วิเคราะหพื้นที่เสี่ยงเพื่อระบุประชากรกลุมเสี่ยงในการเรงรัดความครอบคลุมการไดรับวัคซีน - วางแผนแกไขปญหาความครอบคลุมการไดรับวัคซีนในประชากรกลุมเสี่ยง - วางแผนแกไขปญหาความครอบคลุมการไดรับวัคซีนในประชากรกลุมเสี่ยง การตรวจสอบขอมูลที่หนวยบริการ) มาตรการที่ 3 ขับเคลื่อนการนำวัคซีนใหมมาใชและขยายกลุมเปาหมายในการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค1. โครงการพัฒนานโยบายงานวัคซีนใหมแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค-พัฒนานโยบายแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคตามมติคณะอนุกรรมการวัคซีนแหงชาติ -ดำเนินการขับเคลื่อนการนำวัคซีนใหมมาใชตามกลไกการผลักดันวัคซีนของประเทศ 2. โครงการนำวัคซีน Tdap มาใชในหญิงตั้งครรภ- จัดทำและถายทอดแนวทางการดำเนินงาน - สนับสนุนการดำเนินงาน - ติดตามประเมินผล - ขับเคลื่อนตามแนวทางการดำเนินงานระดับเขต - สนับสนุนการดำเนินงานภายในเขต - นิเทศติดตามประเมินผล - ขับเคลื่อนตามแนวทางการดำเนินงานระดับจังหวัด/อำเภอ - สนับสนุนการดำเนินงานภายในจังหวัด/อำเภอ - ใหบริการวัคซีนตามแนวทางและมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค

88มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สคร./สปคม./เขต สสจ./สสอ. รพ./หนวยบริการงาน EPI/PCC อื่นๆ หมายเหตุ -ประเมินผล 3. โครงการนำวัคซีน PCV มาใชในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค- จัดทำและถายทอดแนวทางการดำเนินงาน - สนับสนุนการดำเนินงาน - ติดตามประเมินผล - ขับเคลื่อนตามแนวทางการดำเนินงานระดับเขต - สนับสนุนการดำเนินงานภายในเขต - นิเทศติดตามประเมินผล - ขับเคลื่อนตามแนวทางการดำเนินงานระดับจังหวัด/อำเภอ - สนับสนุนการดำเนินงานภายในจังหวัด/อำเภอ - นิเทศติดตามประเมินผล - ใหบริการวัคซีนตามแนวทางและมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 4. โครงการเพิ่มการใหวัคซีนIPV 1 โดส ในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค- จัดทำและถายทอดแนวทางการดำเนินงาน - สนับสนุนการดำเนินงาน - ติดตามประเมินผล - ขับเคลื่อนตามแนวทางการดำเนินงานระดับเขต - สนับสนุนการดำเนินงานภายในเขต - นิเทศติดตามประเมินผล - ขับเคลื่อนตามแนวทางการดำเนินงานระดับจังหวัด/อำเภอ - สนับสนุนการดำเนินงานภายในจังหวัด/อำเภอ - นิเทศติดตามประเมินผล - ใหบริการวัคซีนตามแนวทางและมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 5. โครงการใหวัคซีน DTwP-HB-Hib-IPV ในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค- จัดทำและถายทอดแนวทางการดำเนินงาน - สนับสนุนการดำเนินงาน - ติดตามประเมินผล - ขับเคลื่อนตามแนวทางการดำเนินงานระดับเขต - สนับสนุนการดำเนินงานภายในเขต - ขับเคลื่อนตามแนวทางการดำเนินงานระดับจังหวัด/อำเภอ - สนับสนุนการดำเนินงานภายในจังหวัด/อำเภอ - ใหบริการวัคซีนตามแนวทางและมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค

89มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สคร./สปคม./เขต สสจ./สสอ. รพ./หนวยบริการงาน EPI/PCC อื่นๆ หมายเหตุ - นิเทศติดตามประเมินผล - นิเทศติดตามประเมินผล 6. โครงการนิเทศติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานการนำวัคซีนใหมมาใชในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค- จัดทำและถายทอดแนวทางการดำเนินงาน - สนับสนุนการดำเนินงาน - ติดตามประเมินผล - ขับเคลื่อนตามแนวทางการดำเนินงานระดับเขต - สนับสนุนการดำเนินงานภายในเขต - นิเทศติดตามประเมินผล - ขับเคลื่อนตามแนวทางการดำเนินงานระดับจังหวัด/อำเภอ - สนับสนุนการดำเนินงานภายในจังหวัด/อำเภอ - นิเทศติดตามประเมินผล - ใหบริการวัคซีนตามแนวทางและมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 7. โครงการพัฒนางานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในผูใหญ- จัดทำและถายทอดแนวทางการดำเนินงาน - สนับสนุนการดำเนินงาน - ติดตามประเมินผล - ขับเคลื่อนตามแนวทางการดำเนินงานระดับเขต - สนับสนุนการดำเนินงานภายในเขต - นิเทศติดตามประเมินผล - ขับเคลื่อนตามแนวทางการดำเนินงานระดับจังหวัด/อำเภอ - สนับสนุนการดำเนินงานภายในจังหวัด/อำเภอ - นิเทศติดตามประเมินผล - ใหบริการวัคซีนตามแนวทางและมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - เขารวมการแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อใหขอมูลจากการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค (ตัวแทนจากบางแหง) 8. โครงการใหวัคซีน HB ในบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข- จัดทำและถายทอดแนวทางการดำเนินงาน - สนับสนุนการดำเนินงาน - ติดตามประเมินผล - ขับเคลื่อนตามแนวทางการดำเนินงานระดับเขต - สนับสนุนการด- ขับเคลื่อนตามแนวทางการดำเนินงานระดับจังหวัด/อำเภอ - ใหบริการวัคซีนตามแนวทางและมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค

90มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สคร./สปคม./เขต สสจ./สสอ. รพ./หนวยบริการงาน EPI/PCC อื่นๆ หมายเหตุ -ประเมินผล - สนับสนุนการดำเนินงานภายในจังหวัด/อำเภอ - นิเทศติดตามประเมินผล 9. โครงการใหวัคซีน Rabies (Pre-exposure) ในผูมีโอกาสเสี่ยงในการสัมผัสโรค- จัดทำและถายทอดแนวทางการดำเนินงาน - สนับสนุนการดำเนินงาน - ติดตามประเมินผล - ขับเคลื่อนตามแนวทางการดำเนินงานระดับเขต - สนับสนุนการดำเนินงานภายในเขต - นิเทศติดตามประเมินผล - ขับเคลื่อนตามแนวทางการดำเนินงานระดับจังหวัด/อำเภอ - สนับสนุนการดำเนินงานภายในจังหวัด/อำเภอ - นิเทศติดตามประเมินผล - ใหบริการวัคซีนตามแนวทางและมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค มาตรการที่ 4 พัฒนาคุณภาพการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค1. โครงการพัฒนาศักยภาพผูนิเทศงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - จัดทำคูมือผูนิเทศงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของจังหวัดและกรุงเทพฯ - อบรมพัฒนาศักยภาพผูนิเทศงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของจังหวัดและกรุงเทพฯ - นิเทศติดตาม - ไดรับการอบรมพัฒนาองคความรูและการพัฒนาศักยภาพในการนิเทศงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - นิเทศติดตาม - ไดรับการอบรมพัฒนาองคความรูและการพัฒนาศักยภาพในการนิเทศงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - จัดตั้งเครือขายในการนิเทศงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคระดับพื้นที่ - นิเทศติดตาม - ใหบริการวัคซีนในแผนงานฯ และติดตามความครอบคลุมไดรับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบ - ไดรับการนิเทศ เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดตามมาตรฐาน/แนวทางการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ใหบริการวัคซีนในแผนงานฯ และติดตามความครอบคลุมไดรับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบ (หนวยบริการภาคเอกชน)

91มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สคร./สปคม./เขต สสจ./สสอ. รพ./หนวยบริการงาน EPI/PCC อื่นๆ หมายเหตุ 2. โครงการติดตามประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค- พัฒนาและจัดทำแนวทางการติดตามประเมินมาตรฐาน - พัฒนาระบบรายงาน - ติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน - พัฒนาและจัดทำแนวทางการติดตามประเมินมาตรฐาน (ฉบับปรับปรุง) - ติดตามและประเมินมาตรฐานการดำเนินงาน - ติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน - รวมพัฒนาและจัดทำแนวทางการติดตามประเมินมาตรฐาน (ฉบับปรับปรุง) - ติดตามและประเมินมาตรฐานการดำเนินงาน - ติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน ใหบริการวัคซีนในแผนงานฯ ตามแนวทางและมาตรฐานที่กำหนด ใหบริการวัคซีนในแผนงานฯ ตามแนวทางและมาตรฐานที่กำหนด(หนวยบริการภาคเอกชน) 3. โครงการถายทอดองคความรูดานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคถายทอดองคความรูดานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคระดับเขตและจังหวัด ถายทอดองคความรูดานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคระดับจังหวัด/หนวยบริการ ถายทอดองคความรูดานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคระดับจังหวัด/หนวยบริการ ใหบริการวัคซีนในแผนงานฯ ตามแนวทางและมาตรฐานที่กำหนด ใหบริการวัคซีนในแผนงานฯ ตามแนวทางและมาตรฐานที่กำหนด(หนวยบริการภาคเอกชน) 4. โครงการพัฒนาองคความรูและจัดทำแนวทางการควบคุมโรคที่ปองกันไดดวยวัคซีน- พัฒนาคูมือการปองกันควบคุมโรคที่ปองกันไดดวยวัคซีน - พัฒนาการดำเนินการใหบริการวัคซีนปองกันโรคไขหวัดใหญประจำป - การพัฒนาตำราวัคซีนและการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - การจัดทำกำหนดการใหวัคซีนประจำป ไดรับการสนับสนุนองคความรูและแนวทางการควบคุมโรคที่ปองกันไดดวยวัคซีน ไดรับการสนับสนุนองคความรูและแนวทางการควบคุมโรคที่ปองกันไดดวยวัคซีน ใหบริการวัคซีนในแผนงานฯ ตามแนวทางและมาตรฐานที่กำหนด ใหบริการวัคซีนในแผนงานฯ ตามแนวทางและมาตรฐานที่กำหนด(หนวยบริการภาคเอกชน)

92มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สคร./สปคม./เขต สสจ./สสอ. รพ./หนวยบริการงาน EPI/PCC อื่นๆ หมายเหตุ - การพัฒนาสื่อตนแบบ - การจัดทำรายงานประจำป JRF/WHO/ UNICEF, คูมือการปฏิบัติงานแบบยอ, รายงานผลการดำเนินการ E5. โครงการติดตามสถานการณและตอบโตโรคที่ปองกันไดดวยวัคซีนและกลุมอาการภายหลังการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค- พัฒนาคณะทำงานประสานขอมูลโรคที่ปองกันไดดวยวัคซีน - สนับสนุนการ Monitor สถานการณโรคติดตอที่ปองกันดวยวัคซีน/ประเมินความเสี่ยง - สนับสนุนการตอบโตในการเกิดโรคและ AEFI (ประเมินความเสี่ยง, สื่อสารความเสี่ยง) ติดตามสถานการณและตอบโตโรคที่ปองกันไดดวยวัคซีนและกลุมอาการภายหลังการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในระดับเขตและจังหวัด ติดตามสถานการณและตอบโตโรคที่ปองกันไดดวยวัคซีนและกลุมอาการภายหลังการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในระดับจังหวัดและพื้นที่ ติดตามสถานการณและตอบโตโรคที่ปองกันไดดวยวัคซีนและกลุมอาการภายหลังการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในระดับพื้นที่ 6. โครงการการพัฒนาศักยภาพผูดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค (- พัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร - จัดอบรมเจาหนาที่เพื่อพัฒนาศักยภาพ เขารวมโครงการเพื่อพัฒนาศักยภาพ เขารวมโครงการเพื่อพัฒนาศักยภาพ เขารวมโครงการเพื่อพัฒนาศักยภาพ

93มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สคร./สปคม./เขต สสจ./สสอ. รพ./หนวยบริการงาน EPI/PCC อื่นๆ หมายเหตุ 7. โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนและระบบลูกโซความเย็นเพื่อยกระดับคุณภาพงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค- จัดทำคูมือ แนวทางและระบบเพื่อรองรับการดำเนินงาน - สนับสนุนการดำเนินงาน -ติดตามประเมินผล - ดำเนินการตามคูมือ แนวทาง - สนับสนุนการดำเนินงานภายในเขต -นิเทศติดตามผลการดำเนินงานภายในเขต - ดำเนินการตามคูมือ แนวทาง -นิเทศติดตามผลการดำเนินงาน - บริหารจัดการวัคซีนตามคูมือ แนวทาง แผนยกระดับความมั่นคงและความเปนเลิศดานควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ.2560-2564กรมควบคุมโรค : Vaccine security- ประสานและติดตามผลการจัดทำคำของบประมาณเพื่อพัฒนาคลังวัคซีนกับหนวยงานที่เกี่ยวของ - ติดตามประเมินผลภายหลังจากการพัฒนาคลังวัคซีน -จัดทำคำของบประมาณเพื่อพัฒนาคลังวัคซีนสวนภูมิภาค -รายงานผลการดำเนินงานจัดซื้อจัดจางตามแผนการของบลงทุนสำหรับพัฒนาคลังวัคซีนใหกับสวนกลาง

946. การตดตามและประเมนผล ิิตัวชี้วดหลัก ัของแผนงาน/มาตรการ วธีการติดตามประเมนผล ิิกรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล (ป พ.ศ.) 2563 2564 2565 2566 2567 ระดับแผนงาน อัตราปวยของโรคติดตอที่ปองกนัไดดวยวัคซีน - ไมมีผูปวยโรคโปลิโอ- ลดอุบัติการณของผูปวยยืนยัน โรคหัด - อัตราปวยโรคคอตีบ - อัตราปวยโรคไอกรน การเฝาระวังโรคจากกองระบาดวิทยา 1. ติดตามผลการเฝาระวังผูปวย AFP และผูปวยไขออกผื่น ในการประชุมประจำสัปดาหระหวางกองโรคปองกันดวยวัคซีน กองระบาดวิทยาและกรมวิทยาศาสตรการแพทย 2. ฐานขอมูลกำจัดโรคหัด กองระบาดวิทยา 3. ผลการรณรงคใหวัคซีนปองกันโรคโปลิโอ โรคหัด และโรคหัดเยอรมัน 4. ประเมินอัตราปวยจากรายงานเฝาระวงัโรค 506 และโปรแกรมตรวจสอบขาวการระบาด กองระบาดวิทยา ระดบมาตรการ ัรอยละความครอบคลุมการไดรับวัคซีนทุกชนิดในกลุมเปาหมาย การประมวลผล/รายงานผลความครอบคลุมการไดรับวัคซีนจากรายงาน 43 แฟมมาตรฐาน (HDC) รายเดือนและรายไตรมาส

957. มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ป มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน มาตรการที 1 กำจัดและกวาดลางโรคตามพันธสัญญานานาชาติ ่มาตรการ/โครงการกวาดลางโรคโปลิโอตามพันธสัญญานานาชาติ มาตรการยอยที่ 1.1 รักษาระดับความครอบคลุมการไดรับวัคซีนปองกันโรคโปลิโอ เปาหมายที 1.1 ่มการไดรับวัคซีนปองกันโรคโปลิโอไมต่ำกวาเกณฑ ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 ความครอบคลุมการไดรับวัคซีนปองกันโรคโปลิโอ (Polio 3 ครั้ง) ครบตามเกณฑในเด็กอายุครบ 1 ป ไมต่ำกวารอยละ 9ตัวชี้วัดที่ 1.1.2 ความครอบคลุมการไดรับวัคซีนปองกันโรคโปลิโอชนิดฉีด (IPV 1 ครั้ง)

96มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน ครบตามเกณฑในเด็กอายุครบ 1 ป ไมต่ำกวารอยละ 90 กิจกรรมที่ 1 จัดทำแผนยุทธศาสตรการกวาดลางโรคโปลิโอของประเทศไทย  - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - กองระบาดวิทยา - กรมวิทยาศาสตร การแพทย - สคร./สปคม. - เขตสุขภาพ/สสจ./สสอ. - กทม. 01-1งแผนยุทธศาสตรการกวาดลางโรคโปลิโอของประเทศไทย 1่กิจกรรมที่ 2 จัดทำแนวทางการกวาดลางโรคโปลิโอของประเทศไทย  - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - กองระบาดวิทยา - กรมวิทยาศาสตร การแพทย - สคร./สปคม. - เขตสุขภาพ/สสจ./สสอ. - กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 02-2งแนวทางการกวาดลางโรคโปลิโอของประเทศไทย 1่มาตรการยอยที่ 1.2 เฝาระวังผูปวยเปาหมายที 1.2.1 ่ตัวชี้วัดที่ 1.2.1

97มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน กลามเนื้อออนแรงแบบปวกเปยกเฉียบพลัน (Acute flaccid paralysis : AFP) มีการเฝาระวังผูปวย AFP ไดตามเกณฑ เปาหมายที 1.2.2 ่มีการเก็บตัวอยางอุจจาระสงตรวจ จากผูปวยมี AFP ไดตามเกณฑ มีรายงานผูปวย AFP ไมนอยกวา 2ประชากรแสนคนอายุต่ำกวา 15 ปตอป (รายจังหวัด) ตัวชี้วัดที่ 1.2.2 เก็บตัวอยางอุจจาระสงตรวจ จากผูปวย AFP จำนวน 2 ตัวอยาง หางกันอยางนอย 24-48 ชัวโมง ่ภายใน 14 วันหลังเริ่มมีอัมพาต ไดไมต่ำกวารอยละ 80

98มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน ของผูปวย AFP ทังหมด ้กิจกรรมที่ 3 การป- คณะกรรมการกวาดลางโปลิโอและโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ - คณะกรรมการที่ปรึกษาและคณะทำงานเพื่อการกวาดลางโปลิโอและโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ - คณะกรรมการรับรองผลการกวาดลางโปลิโอและการกำจัดโรคหัดแหงชาติ     - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - กองระบาดวิทยา - กรมวิทยาศาสตร การแพทย 000000ง- การดำเนินโตามแผนงานโ- รายงานประจำป 1 เรือง ่

99มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน - คณะผูเชี่ยวชาญเพื่อพิจารณาวินิจฉัยผูปวยโรคโปลิโอ - คณะประสานงานขอมูลการเฝาระวังโรคและผลตรวจทางหองปฏิบัติการในผูปวย AFP และ ผูปวยสงสัยโมาตรการยอยที่ 1.3 สอบสวนโรคและควบคุมโรคหลังจากพบผูปวย AFP เปาหมายที 1.3.1 ่มีการสอบสวนโรคหลังจากพบผูปวย AFP ไดทันเวลา เปาหมายที ่1ดำเนินการสอบสวนโรคในผูปวย AFP ภายใน 48 ชั่วโมงหลังพบผูปวย รอยละ 8

100มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน เปาหมายที 1.3.2 ่มีการควบคุมโรคหลังจากพบผูปวย AFP ไดทันเวลา เปาหมายที ่1ดำเนินการใหวัคซีนเพื่อการคภายใน 72 ชั่วโมง หลังพบผูปวย AFP รอยละ 80 กิจกรรมที่ 4 จัดทำแฉุกเฉิน เตรียมความพรอมรับการระบาดข - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - กองระบาดวิทยา - กรมวิทยาศาสตร การแพทย - สคร./สปคม. - เขตสุขภาพ/สสจ./สสอ. - กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 0----0งแแผนฉุกเฉิน เตรียมความพรอมรับการระบาดของโรคโปลิโอ 1่กิจกรรมที่ 5 ซอมแผนฉุกเฉิน กรณีพบผูปวยโปลิโอภายในประเทศ     - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - กองระบาดวิทยา - สคร./สปคม. - เขตสุขภาพ/สสจ./สสอ. 000003งมีการซอมแผนฉุกเฉิน กรณีพบจัดซอมแผนฉุกเฉิน กรณีพบผูปวยโปลิโอ

101มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน - กรมวิทยาศาสตร การแพทย -- หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ผูปวยโปลิโอภายในประเทศ ภายในประเทศ 1 ครั้งตอป มาตรการยอยที่ 1.4 รณรงคใหวัคซีนปองกันโรคโปลิโอเสรมในพืนทีิ้่เสี่ยง เปาหมายที 1.4 ่มการไดรับวัคซีนปองกันโรคโปลิโอชวงรณรงคไมต่ำกวาเกณฑ ตัวชี้วัดที่ 1.4 ความครอบคลุมการไดรับวัคซีนปองกันโรคโปลิโอชวงรณรงคไมต่ำกวารอยละ 90 โดยตองผานเกณฑทัง 2 รอบ ้กิจกรรมที่ 6 รณรงคใหวัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง     - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 778914งมีการรณรงคใหวัคซีน ปองกันโรคโปลิโอแกเด็กในพื้นที่เสี่ยง ความครอบคลุมการไดรับวัคซีนปองกันโรคโปลิโอชวงรณรงคไมต่ำกวารอยละ 90 โดย

102มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน - องคกรที่ไมแสวงหาผลกำไร เชน Rotary ตองผานเกณฑทัง 2 รอบ ้มาตรการ/โครงการกำจัดโรคหัดและหัดเยอรมันตามพันธสัญญานานาชาติ มาตรการยอยที่ 1.5 เพิ่มและรักษาระดับความครอบคลุมการไดรับวัคซีนปองกันโรคหัดและหัดเยอรมัน เปาหมายที 1.5 ่มการไดรับวัคซีนปองกันโรคหัดและหัดเยอรมันไมต่ำกวาเกณฑ ตัวชี้วัดที่ 1.5.1 ความครอบคลุมการไดรับวัคซีนปองกันโรคหัดและหัดเยอรมันครั้งที่ 1 (MMR1) ในกลุมเด็กอายุครบ 1 ไมต่ำกวารอยละ 9ตัวชี้วัดที่ 1.5.2 ความครอบคลุมการไดรับวัคซีนปองกันโรคหัด

103มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน และหัดเยอรมันครั้งที่ 2 (MMR2) ในกลุมเด็กอายุครบ 3 ป ไมต่ำกวารอยลกิจกรรมที่ 1 จัดทำแผนยุทธศาสตรการกำจัดโรคหัดและหัดเยอรมันของประเทศไ - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - กองระบาดวิทยา - กรมวิทยาศาสตร การแพทย - สคร./สปคม. - เขตสุขภาพ/สสจ./สสอ. 01---1งแผนยุทธศาสตรการกำจัดโรคหัดและหัดเยอรมันของประเทศไทย 1่กิจกรรมที่ 2 ขยายกลุมเปาหมายการใหวัคซีนปองกันโรคหัดและหัดเยอรมัน เชน กลุมแรงงานไทยและตางชาติ กลุมผูตองขัง กลุมทหารเกณฑ กลุมบุคลากรทางการแพทย    - กองโรคปองกันดวยวัคซีน กรมค- กระทรวงแรงงาน - กระทรวง ม- กระทรวงยุติธรรม - กระทรวงกลาโหม - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - กทม. - โรงงาน/สถานป- เรือนจำ - คายทหาร ไประมาณ กลุมเปาหมายไดรับวัคซีนปองกันโรคหัดและหัดเยอรมันเพิ่มจากเดิม อยางนอย 1 กลุม

104มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน และสาธารณสุข เปนตน - สถานพยาบาล หนวยงานสมาตรการยอยที่ 1.6 เรงรัดการเฝาระวังโรคหัดและหัดเยอรมัน และการตรวจยืนยันทางหองปฏิบัติการ เปาหมายที 1.6.1 ่มีการเฝาระวังโรคหัดและหัดเยอรมันไดตามเเปาหมายที 1.6.2 ่มีการเก็บตัวอยางสงตรวจยืนยันทางหองปฏิบัติการไดตามเกณฑ ตัวชี้วัดที่ 1.6.1 มีรายงานผูปวยไขออกผื่นที่ไมใชหัดหรือหัดเยอรมัน ไมนอยกวา 2 รายตอประชากรแสนคนตอป (ในระดับประเทศ และระดับจังหวัด) ตัวชี้วัดที่ 1มีการเก็บตัวอยางซีรั่มสงตรวจเพื่อยืนยัน

105มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน การติดเชื้อ ไมนอยกวารอยละ 80 ของผูปวยที่รายงานเขาสูระบบเฝาระวัง (ไมนับผูปวยในการสอบสวนเหตุการณการระบาด) ตัวชี้วัดที่ 1มีการเก็บสิ่งสงตรวจเพื่อวิเคราะหหาสายพันธุไวรัสโรคหัดหรือหัดเยอรมันไมนอยกวารอยละ 80 ของ

106มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน เหตุการณการรกิจกรรมที่ 3 สนับสนุนการเฝาระวังโรคหัดและหัดเยอรมัน     - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - กองระบาดวิทยา - กรมวิทยาศาสตร การแพทย - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - กทม. - ทีมสอบสวนโรคเคลือนทีเร็ว (ทุก่่ระดับ) - ทีม SAT/JIT กรมค112221งวัสดุวิทยาศาสตรเพียงพอสำหรบัการตรวจยืนยันทางหองปฏิบัติการโรคหัดและหัดเยอรมัน จัดซือเพิมเติมไม้่เกินปละ 1 ครั้ง กิจกรรมที่ 4 การป- คณะกรรมการกวาดลางโปลิโอและโรคหัด    - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - กองระบาดวิทยา - กรมวิทยาศาสตร การแพทย 000000ง- รายงานประจำป - การดำเนินโตามแผนงานโ1 เรือง ่

107มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน ตามพันธะสัญญานานาชาติ - คณะกรรมการที่ปรึกษาและคณะทำงานเพื่อการกวาดลางโปลิโอและโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ - คณะกรรมการรับรองผลการกวาดลางโปลิโอและการกำจัดโรคหัดแหงชาติ - คณะประสานงานขอมูลการเฝาระวังโรคและผลตรวจทางหองปฏิบัติการในผูปวย AFP และ ผูปวยสงสัยโ

108มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน มาตรการยอยที่ 1.7 เสริมสรางความเขมแข็งของการสอบสวนและควบคุมโรคหัดและหัดเยอรมัน เปาหมายที 1.7.1 ่มีการสอบสวนโรคหัดและหัดเยอรมันไดทันเวลา เปาหมายที 1.7.2 ่มีการควบคุมโรคหัดและหัดเยอรมันไดทันเวลา ตัวชี้วัดที่ 1.7.1 มีการสอบสวนโรคเฉพาะรายในผูปวยไขออกผื่นหรือผูปวยสหรือหัดเยอรมัน ภายใน 48 ชัวโมงหลังจาก่พบผูปวย ไมนอยกวารอยละ 80 ของผูปวย ตัวชี้วัดที่ 1.7.2 ดำเนินการใหวัคซีนเพื่อคระบาดของโรคหัดใหแลวเสร็จภายใน 72

109มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน ชั่วโมง หลังพบผูปวยสงสัยโรคหัดรายแรก (พิจารณาจากผลการตรวจสอบความคไดรับวัคซีน/ประวัติการไดรับวัคซีน/ลักษณะทางระบาดวิทยา ในพื้นที่) กิจกรรมที่ 5 จัดทำแนวทางการกำจัดโรคหัดและหัดเยอรมันของประเทศไทย  - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - กองระบาดวิทยา - กรมวิทยาศาสตร การแพทย - สคร./สปคม. - เขตสุขภาพ/สสจ./สสอ. - กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 02---2งแนวทางการกำจัดโเยอรมันของประเทศไทย 1่

110มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน มาตรการยอยที่ 1.8 รณรงคใหวัคซีนปองกันโเสริม เปาหมายที 1.8 ่มการไดรับวัคซีนปองกันโรคหัดและหัดเยอรมันชวงรณรงคไมต่ำกวาเกณฑ ตัวชี้วัดที่ 1.8 ความครอบคลุมการไดรับวัคซีนปองกันโรคหัดและหัดเยอรมันในชวงรณรงคของประชากรกลุมเปาหมายไมต่ำกวารอยละ 9กิจกรรมที่ 6 รณรงคใหวัคซีนปองกันโรคหัดและหัดเยอรมัน (MR) ในกลุมเสี่ยง - เรือนจำ - คายทหาร - โรงงาน/สถานปทองเทียว ่    กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - กองระบาดวิทยา (เฝาระวัง AEFI) 5634427งความครอบคลุมการไดรับวัคซีนปองกันโรคหัดและหัดเยอรมันชวงรณรงคไมต่ำกวาเกณฑ ความครอบคลุมการไดรับวัคซีนปองกันโรคหัดและหัดเยอรมันในชวงรณรงคของประชากรกลุมเปาหมายไมต่ำกวารอยละ 9

111มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน - บุคลากรทางการแพทยและส- หนวยงานที่เปนพื้นที่เปาหมายการรณรงค เชน เรือนจำ คายทหาร สดานการทองเที่ยว โรงงาน โรงพยาบาล สถานพยาบาล หนวยงานสาธารณสุข ฯลฯ กิจกรรมที่ 7 รณรงคใหวัคซีนปองกันโรคหัด ค(MMR) ในเด็กที่ไดรับวัคซีนไมครบตามเกณฑ กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - กองระบาดวิทยา (เฝาระวัง AEFI) --1--1งบปกติ ความครอบคลุมการไดรับวัคซีนปองกันโรคหัด คเยอรมันชวงรณรงคไมต่ำกวาเความครอบคลุมการไดรับวัคซีนปองกันโรคหัดและหัดเยอรมันในชวงรณรงคของประชากรกลุมเปาหมายไมต่ำกวารอยละ 9

112มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน - หนวยงานที่เปนพื้นที่เปาหมายการรณรงค เชน ศูนยเด็กเล็ก โรงเรียน เปนตน มาตรการยอยที่ 1.9 ตอบโตการระบาดของโรคหัดหรือหัดเยอรมันอยางเต็มที่ เปาหมายที 1.9.1 ่จำนวนเหตุการณการระบาดที่มีผูปวยไมเกิน 2 เทาของระยะฟกตัว (42 วัน) เปาหมายที 1.9.2 ่มีการควบคุมโรคหัดและหัดเยอรมันไดทันเวลา ตัวชี้วัดที่ 1.9.1 ไมพบเหตุการณการระบาดของโรคหัดหรือโรคหัดเยอรมันเกิน 2ฟกตัว (42 วัน) ตัวชี้วัดที่ 1.9.2 ดำเนินการใหวัคซีนเพื่อคระบาดของโรคหัดและหัดเยอรมันใหแลว

113มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน เสร็จภายใน 72 ชั่วโมง หลังพบผูปวยสงสัยโรคหัดรายแรก กิจกรรมที่ 8 การตอบโตการระบาดดวยวัคซีนอยางทันทวงที     กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - กทม. - ทีมสอบสวนโรคเคลือนทีเร็ว (ทุก่่ระดับ) - ทีม SAT/JIT กรมค711116งการควบคุมโรคดวยวัคซีนเมื่อมีการระบาดของโเยอรมัน สนับสนุนวัคซีนคนอยรอยละ 80 ของเหตุการณการระบาดที่ขอรับการสนับสนุน มาตรการที 2 เรงรัดและรักษาระดับความครอบคลุมการไดรับวัคซีนทุกชนิดในกลุมเปาหมาย ่เปาหมายที 2.1 ่มีระดับความคตัวชี้วัดที่ 2.1 รอยละความค

114มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน ไดรับวัคซีนไมต่ำกวาเกณฑ เปาหมายที 2.2 ่ควบคุมอัตราปวยโรคที่ปองกันดวยวัคซีนไมเกินคาเปาหมาย ไดรับวัคซีนทุกชกลุมเปาหมาย ≥รอยละ 90 ยกเวน MMR1 และ MMR2 ≥รอยละ 95 และวัคซีนใน นร. ≥รอยละ 95 เปนรายโรงเรียน ตัวชี้วัดที่ 2.2 โรคที่เปนตัวแทน 2.2.1 อัตราปวยโรคคอตีบ (ผูปวยยืนยัน) ไมเกิน 0.015 ตอประชากร หนึ่งแสนคน

115มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน 2.2.2 อัตราปวยโรคไอกรน (Indicator) ไมเกิน 0.08 ตอประชากร หนึ่งแสนคน 1. โครงการพัฒนาและสนับสนุนการดำเนินงานดานความครอบคลุมการไดรับวัคซีน 001102กิจกรรมที่ 1 พัฒนาขอมูลความครอบคลุมฯ จากระบบ HDC [การติดตามขอมูล (หนังสือราชการ/ประชุมเขต), การปรับปรุงระบบ    กองโรคปองกันดวยวัคซีน - ศูนยเทคฯ/กยผ./สำนักตรวจราชการฯ/เขตสุขภาพ สป. - สสจ./สสอ. - สคร./สปคม. - กทม. 000000งระบบขอมูลที่ค-กลุมเปาหมาย - ชนิดวัคซีน - ทัวประเทศ ่ระบบขอมูลที่ค- กลุมเปาหมาย (อยางนอย 3 กลุมเปาหมาย) - ชนิดวัคซีน (รอยละ 90ของ

116มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน ขอมูล, การผลักดันระบบ registry] - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ ชนิดวัคซีนที่บรรจุในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคอยางนอย 3 ป- ทุกจังหวัดและ กทม. กิจกรรมที่ 2 พัฒนาคขอมูลในระดับพื้นที่ [พัฒนาโปรแกรม (HosxP, JHCIS หรืออื่นๆ), พัฒนาคน (   กองโรคปองกันดวยวัคซีน - ศูนยเทคฯ/กยผ./สำนักตรวจราชการฯ/เขตสุขภาพ สป. - สสจ./สสอ. - สคร./สปคม. - กทม. - กระทรวงมหาดไทย - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกัน-00000งบปกติ ผูบันทึกขอมูลจากหนวยบริการวัคซีน ไดรับการพัฒนาทักษะการบันทึกขอมูล รอยละ 80 ของหนวยบริการวขอมูลที่ไดรับการพัฒนาทักษะกา รบันทึกขอมูลของจังหวัดนำรอง

117มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน โรคทังในและนอก้สังกัด สธ. ทุกระดับ กิจกรรมที่ 3 สำรวจขอมูลความครอบคลุมฯ กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สสจ./สสอ. - สคร./สปคม. - กทม. - กระทรวง ศึกษาธิการ - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ --11-2งบปกติ มีการสำรวจความคไดรับวัคซีนอยางสรายงานผลการสำรวจความคไดรับวัคซีนทุก 52. โครงการสำรวจและเก็บตกใหวัคซีนแกกลุมเปาหมายอยางค-00002งกิจกรรมที่ 1 การเก็บตกวัคซีนในเด็กกลุมเปาหมาย (กอนวัยเรียน วัยเรียน ใน 4    - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ. - กทม. -00002งจำนวนกลุมเปาหมายที่ไดรับการสำรวจและเก็บตก กลุมเปาหมายที่ไดรับการสำรวจและเก็บตกอยาง

118มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน จังหวัดชายแดนภาคใต ชายแดน ตางดาว : area/pop base) [จัดทำแนวทาง (สำรวจกลุมเสี่ยง/ใหวัคซีนเก็บตก), นิเทศ ประเมินผล] - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค นอย 2 กลุมเปาหมาย มาตรการที 3 ขับเคลื่อนการนำวัคซีนใหมมาใชและขยายกลุมเปาหมายในการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ่เปาหมายที 3 ่เพิ่มการเขาถึงการไดรับวัคซีนในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ตามบริบทของประเทศ ตัวชี้วัดที่ 3 - มีนโยบายการใหวัคซีนชนิดใหมที่บรรจุในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค อยางนอย 2 ชนิดวัคซีน ใน 5 ป และ มีกลุมเปาหมายการไดรับวัคซีนเพิมเติมใน่

119มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน แผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค อยางนอย 1 กลุมเปาหมาย ใน 5 ป - รัฐบาลมีวัคซีนชนิดใหมในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค อยางนอย 2 ชนิดวัคซีน ใน 5 ป และมีวัคซีนสำหรับกลุมเปาหมายใหม อยางนอย 1 กลุมเปาหมาย ใน 5 ป - สถานบริการภาครัฐทุกแหงที่

120มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน ใหบริการวัคซีนชนิดใหมที่บรรจุในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - รอยละของสถานบริการภาครัฐที่ขยายการใหบริการในกลุมเปาหมายใหมที่บรรจุในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ไมนอยกวา รอยล1. โครงการพัฒนานโยบายงานวัคซีนใหม    กองโรคปองกันดวยวัคซีน สถาบันวัคซีนแหงชาติ 111117- สถาบันวัคซีนแหงชาติ มีนโยบายที่สนับสนุนการเขาถึงกลุมชนิด- มีประกาศราชกิจจานุเบกษาระบุรายการ

121มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน แผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - งบปกติ วัคซีนใหมและประชากรใหมแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค วัคซีนใหม หรือ มีกลุมเปาหมายใหมในบัญชียาหลักแหงชาติ หรือมีโครงการที่ไดรับอนุมัติจากกรมควบคุมโรค อยางนอย 3รายการ กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะอนุกรรมการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคและคณะทำงานที่เกี่ยวของ     กองโรคปองกันดวยวัคซีน -สถาบันวัคซีนแหงชาติ -คณะอนุกรรมการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 111115- สถาบันวัคซีนแหงชาติ - งบปกติ กำหนดหลักการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค หลักเกณฑ/คำแนะนำเชิงวิชาการเพื่อสนับสนุนนดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค อยางนอย 2 เรือง ่

122มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน กิจกรรมที่ 2 การจัดลำดับความสำคัญของรายการวัคซีนใหมที่จะผลักดันเขาสูแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค  กองโรคปองกันดวยวัคซีน -คณะกรรมการวัคซีนแหงชาติ -คณะอนุกรรมการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค -คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชีวัคซีนหลักแหงชาติ สปสช. -0- - - 0งบปกติ มีรายการวัคซีนใหมที่จำเปนตองบรรจุในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค รายงานผลการศึกษาการจัดลำดับความสำคัญของวัคซีนใหมในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค อยางนอย 2่กิจกรรมที่ 3 การผลักดันวัคซีนใหมและขยายกลุมเปาหมายในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค     กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สถาบันวัคซีนแหงชาติ - คณะอนุกรรมการฯ/ คณะทำงานที่เกี่ยวของ - สปสช. 000001สวัคซีนแหงชาติ มีวัคซีนใหม และ/หรือ กลุมเปาหมายใหมใวัคซีนในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - มีชนิดวัคซีนที่บรรจุในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค อยางนอย 2 ชนิดวัคซีน ใน 5 ป - มีกลุมเปาหมายการไดรับวัคซีน

123มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน เพิมเติมในใน่แผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค อยางนอย 1 กลุมเปาหมาย ใน 5 ป 2. โครงการการนำวัคซีน Tdap มาใชในหญิงตั้งครรภ   กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สปสช. - อย. - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ 143--8งหญิงตั้งครรภไดรับการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคดวยวัคซีน Tdap ครบถวนตามเรอยละความคไดรับวัคซีน Tตั้งครรภตามเไมนอยกวารอยละ 90 ในพื้นที่ที่ดำเนินการ กิจกรรมที่ 1 เตรียมความพรอมการ- กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. 0----0ง

124มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน ดำเนินงานในพื้นที่นำรอง กิจกรรมที่ 2 จัดทำแนวทางการใหวัคซีน Tdap มาใชในหญิงตั้งครรภ - ผูทรงคุณวุฒิกรมค- กองโรคปองกันดวยวัคซีน -0งกิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการการใหวัคซีน Tdap มาใชในหญิงตั้งครรภ  - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สปสช. - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - หนวยบริการ 0-2--3งกิจกรรมที่ 4 สนับสนุนการดำเนินงาน   - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - หนวยบริการ 001--1งกิจกรรมที่ 5 จัดซื้อวัคซีน  - กองโรคปองกันดวยวัคซีน -3---3งบปกติ กิจกรรมที่ 6 นิเทศติดตามประเมินผล  - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - หนวยบริการ 00- - - 0งบปกติ

125มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน 3. โครงการการนำวัคซีน PCV มาใชในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค   กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สปสช. - อย. - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ./กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ 9832งบปกติ เด็กปฐมวัยไดรับการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคดวยวัคซีน PCV ครบถวนตามเรอยละความคไดรับวัคซีน PCV ตามเกณฑในกลุมเปาหมาย ไมนอยกวารอยละ 90 ในพื้นที่ที่ดำเนินการ กิจกรรมที่ 1 เตรียมความพรอมการดำเนินงานในพื้นที่นำรอง - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. -0- - - 0งบปกติ กิจกรรมที่ 2 จัดทำแนวทางการใหวัคซีน PCV ในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - ผูทรงคุณวุฒิกรมค- กองโรคปองกันดวยวัคซีน --- - - 0งบปกติ

126มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการการใหวัคซีน PCV ในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สปสช. - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ./กทม. - หนวยบริการ - 0- 2- 3งบปกติ กิจกรรมที่ 4 สนับสนุนการดำเนินงาน   - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - หนวยบริการ -001-2งบปกติ กิจกรรมที่ 5 จัดซื้อวัคซีน  - กองโรคปองกันดวยวัคซีน -88--1งกิจกรรมที่ 6 นิเทศติดตามประเมินผล - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - หนวยบริการ -0---0งบปกติ 4. โครงการการเพิ่มการใหวัคซีน IPV 1 โดส ในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สปสช. - อย. - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ./กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกัน--3--3งเด็กปฐมวัยไดรับการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคดวยวัคซีน IPV เข็มที ่2รอยละความคไดรับวัคซีน IPV เข็มที 2 ่ในกลุมเปาหมาย

127มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน โรคทังในและนอก้สังกัด สธ. ทุกระดับ ไมนอยกวารอยละ 90 ในพื้นที่ที่ดำเนินการ กิจกรรมที่ 1 จัดทำแนวทางการใหวัคซีน IPV ในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - ผูทรงคุณวุฒิกรมค- กองโรคปองกันดวยวัคซีน --กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการการใหวัคซีน IPV ในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สปสช. - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ --2--2งกิจกรรมที่ 3 สนับสนุนการดำเนินงาน - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ./กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกัน--0--0งบปกติ

128มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน โรคทังในและนอก้สังกัด สธ. ทุกระดับ กิจกรรมที่ 4 นิเทศติดตามประเมินผล - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - หนวยบริการ 0--0งบปกติ 5. โครงการการใหวัคซีน DTwP-HB-Hib-IPV ในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สปสช. - อย. - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ --33งเด็กปฐมวัยไดรับการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคดวยวัคซีน DTwP-HB-Hib-IPV ครบถวนตามเกณฑ รอยละความคไดรับวัคซีน DTwP-HB-Hib-IPV ตามเกณฑ ในกลุมเปาหมาย ไมนอยกวารอยละ 90 ในพื้นที่ที่ดำเนินการ กิจกรรมที่ 1 จัดทำแนวทางการใหวัคซีน - ผูทรงคุณวุฒิกรมค--- - - -

129มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน DTwP-HB-Hib-IPV ในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - กองโรคปองกันดวยวัคซีน กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการการใหวัคซีน DTwP-HB-Hib-IPV ในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สปสช. - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ --22งกิจกรรมที่ 3 สนับสนุนการดำเนินงาน - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ./กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ --00งกิจกรรมที่ 4 นิเทศติดตามประเมินผล - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - หนวยบริการ ----00งบปกติ

130มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน 6ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานการนำวัคซีนใหมมาใชในแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค     - สคร./สปคม. - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สสจ./สสอ. - กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ 000002งบปกติ สถานบริการสามารถใหบริการวัคซีนใหมเปนไปแนวทางการดำเนินงานที่กรอยละของสถานบริการที่สใหบริการวัคซีนใกกวารอยละ 80 ของสถานบริการประเมิน กิจกรรมที่ 1 จัดทำแนวทางและหลักเกณฑใวัคซีนใหมฯ     - กองโรคปองกันดวยวัคซีน 000000งกิจกรรมที่ 2 นิเทศติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน     - สคร./สปคม. - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สสจ./สสอ. - กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ 000002ง

131มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน 7ระบบงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในผูใหญ     กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สปสช. - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ./กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ 055752งสถานบริการดำเนินงานใหผูใหญไดรับวัคซีนตามแนวทางการดำเนินงาน รอยละของสถานบริการที่สใหบริการวัคซีนผูใหญตามแนวทางการดำเนินงาน ไมนอยกวารอยละ 8กิจกรรมที่ 1 การแลกเปลี่ยนเรียนรูการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในผูใหญ กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ./กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทังในและนอก้สังกัด สธ. ทุกระดับ 0- -0-1งบปกติ กิจกรรมที่ 2 การปรับปรุงแนวทางการดำเนินงาน กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ./กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกัน- -

132มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน โรคทังในและนอก้สังกัด สธ. ทุกระดับ กิจกรรมที่ 3 การสนับสนุนการดำเนินงานคลินิกวัคซีนผูใหญ     กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ./กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค -55552งกิจกรรมที่ 4 นิเทศติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน     - สคร./สปคม. - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สสจ./สสอ./กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ 000002งกิจกรรมที่ 5 พัฒนาสื่อดิจิทัล   - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สสจ./สสอ./กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ 1018. โครงการการใหวัคซีน HB ในบุคลากรกองโรคปองกันดวยวัคซีน - สปสช. - อย. -3---3งบุคลากรฯ ไดรับการสรางเสริมรอยละความค

133มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน ทางการแพทยและส- สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ ภูมิคุมกันโรคดวยวัคซีน HB ตามเไดรับวัคซีน HB ตามเกณฑ ในกลุมเปาหมาย ไมนอยกวารอยละ 90 กิจกรรมที่ 1 จัดทำแนวทางการใหวัคซีน HB ในบุคลากรทางการแพทยและส- ผูทรงคุณวุฒิกรมค- กองโรคปองกันดวยวัคซีน --กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการการใหวัคซีน HB ในบุคลากรทางการแพทยและส- กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สปสช. - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ -2---2ง

134มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน กิจกรรมที่ 3 สนับสนุนการดำเนินงาน - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ./กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ - 0- --0งบปกติ กิจกรรมที่ 4 นิเทศติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน - สคร./สปคม. - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สสจ./สสอ./กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ -0- --0งบปกติ 9. โครงการการใหวัคซีน Rabies (Pre-exposure) ในผูมีโอกาสเสี่ยงในการสกองโรคปองกันดวยวัคซีน - สปสช. - อย. - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกัน33งบปกติ ผูมีโอกาสเสี่ยงในการสัมผัสโรคพิษสุนัขบา ไดรับการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคดวยวัคซีน Rabies (Pre-exposure) รอยละความคไดรับวัคซีน Rabies ตามเในกลุมเปาหมาย

135มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน โรคทังในและนอก้สังกัด สธ. ทุกระดับ ครบถวนตามเไมนอยกวารอยละ 90 กิจกรรมที่ 1 จัดทำแนวทางการใหวัคซีน Rabies (Pre-exposure) ในผูมีโอกาสเสี่ยงในการส- ผูทรงคุณวุฒิกรมค- กองโรคปองกันดวยวัคซีน --กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการการใหวัคซีน Rabies (Pre-exposure) ในผูมีโอกาสเสี่ยงในการส- กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สปสช. - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ -22งกิจกรรมที่ 3 สนับสนุนการดำเนินงาน - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ./สสอ./กทม. -00งบปกติ

136มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ กิจกรรมที่ 4 นิเทศติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน - สคร./สปคม. - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สสจ./สสอ./กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทั้งในและนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ ---00งบปกติ มาตรการที 4 พัฒนาคุณภาพการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ่- งบปกติ - สถาบันวัคซีนแหงชาติ เปาหมายที 4 ่สถานบริการไดรับการประเมินมาตรฐานอยางคตัวชี้วัดที่ 4 สถานบริการภาครัฐสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผานเกณฑการประเมินมาตรฐานดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกัน

137มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน โรค ≥รอยละ 81ศักยภาพผูนิเทศงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 011116กิจกรรมที่ 1 พัฒนาคูมือพัฒนาผูนิเทศงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค     กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สสจ./สสอ. - สคร./สปคม. - กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 000000งบปกติ คูมือผูนิเทศงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค (จังหวัดและ กทม.) คูมือผูนิเทศงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค จ่(จังหวัดและ กทม.) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมพัฒนาศักยภาพผูนิเทศงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค     - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สำนักอนามัย กรุงเทพฯ - สปสช. เขตกรุงเทพฯ - สสจ./สสอ. - กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในและนอกสังกัด สธ. 011114งบปกติ ผูนิเทศงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคไดรับอบรมพัฒนาศักยภาพการนิเทศติดตามงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ผูนิเทศงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคไดรับการพัฒนาศักยภาพการนิเทศติดตามงานสรางเสริมภูมิคุมกัน

138มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน โรคทุกจังหวัดและ กทม. กิจกรรมที่ 3 นิเทศติดตามการพัฒนาศักยภาพผูนิเทศงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในพื้นที่     - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สปคม. - สำนักอนามัย กรุงเทพฯ - สปสช. เขตกรุงเทพฯ หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 000001งการนิเทศติดตามงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค นิเทศติดตามงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรครอยละ 90 ของจังหวัดและ กทม. กิจกรรมที่ 4 สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาศักยภาพผูนิเทศงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค     กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สสจ./สสอ. - สคร./สปคม. - กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ----รายงานผลการนิเทศติดตามงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค รายงานนิเทศติดตามงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคจำนวน 2 เรื่อง (จังหวัดและ กทม.) 2. โครงการติดตามประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 01003

139มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน กิจกรรมที่ 1 พัฒนาองคความรูและแนวทางการประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค (สคร./สปคม.)    กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สสจ./สสอ. - สคร./สปคม. - กทม. -00001งบปกติ ผูประเมินมาตรฐานงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคระดับเขตไดรับการพัฒนาองคความรูงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค สคร. /สปคม. มีรายชื่อทีมวิทยากรเรื่องประเมินมาตรฐานงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของตนครบทุกเขต ผูรับผิดชอบงานสรางเสริมภูมมิคุมกันโรคเปนวิทยากรถายทอดเรื่องมาตรฐานงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคอยางนอย 2

140มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน ครั้งตอป ครบทุกเขต กิจกรรมที่ 2 พัฒนาระบบรายงานผลการประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค  กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - กทม. ---มีระบบรายงานผลการประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค มีระบบรายงานผมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 1 ระบบ กิจกรรมที่ 3 ติดตามประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค (สคร./สปคม. และจังหวัด)    กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สสจ./สสอ. - สคร./สปคม. - กทม. --00001งบปกติ สถานบริการไดรับการประเมินมาตรฐานอยางคสถานบริการภาครัฐสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีการประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทุกแหง อยางนอย 1 ครั้งในรอบ 5 ป

141มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน กิจกรรมที่ 4 สรุปผลการประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค     กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - กทม. - สสจ. --รายงานสรุปผลการประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค รายงานสรุปผลการประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 1 เรื่อง กิจกรรมที่ 5 พัฒนาปรับแกไขมาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค (ฉบับปรับปรุง) กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - กทม. - สสจ. 00งพัฒนามาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค (ฉบับ ปรับปรุง) มาตรฐานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค (ฉบับปรับปรุง) 1 เรื่อง 3. โครงการถายทอดองคความรูดานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 224กิจกรรมที่ 1 ประชุมเพือถายทอดองค่ความรูดานการกองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. 11งบปกติ ผูรับผิดชอบงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคผูรับผิดชอบงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค

142มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน ดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคระดับเขต ระดับเขตไดรับการพัฒนาองคความรูงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ระดับเขตไดรับการพัฒนาองคความรูงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคจำนวน 1 ครั้งในรอบ 5 ป กิจกรรมที่ 2 ประชุมเพือถายทอดองค่ความรูดานการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคสำหรับบุคลากรใหมระดับเขต สคร./สปคม. - สสจ./สสอ. - กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 123งบปกติ ผูรับผิดชอบงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคระดับเขตรายใหมไดรับการพัฒนาองคความรูงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ผูรับผิดชอบงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคระดับเขตรายใหมไดรับการพัฒนาองคความรูงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคจำนวน 1 ครั้งในรอบ 5 ป 4. โครงการพัฒนาองคความรูและจัดทำแนว133331

143มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน ทปองกันไดดวยวัคซีน กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาคูมือการปองกันควบคุมโรคที่ปองกันไดดวยวัคซีน (6 โรค)  000งแนวทางการคปองกันไดดวยวัคซีน แนวทางการคปองกันไดดวยวัคซีนจำนวน 6 โรค กิจกรรมที่ 2 การปรับปรุงแนวทางการดำเนินงานใหบริการวัคซีนปองกันโรคไขหวัดใหญประจำป     - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สปสช. -ทั่วไป - กองระบาดวิทยา 000000งแนวทางการดำเนินการใหบริการวัคซีนปองกันโรคไขหวัดใหญประจำป แนวทางการดำเนินการใหบริการวัคซีนปองกันโรคไขหวัดใหญประจำป 1 เรื่อง/ป กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาตำราวัคซีนและการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค กองโรคปองกันดวยวัคซีน 101งบปกติ ตำราวัคซีนและการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ตำราวัคซีนและการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 1 เรื่อง

144มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน กิจกรรมที่ 4 การจัดทำกำหนดการใหวัคซีนประจำปของแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค     กองโรคปองกันดวยวัคซีน 000001งบปกติ กำหนดการใหวัคซีนประจำปของแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค กำหนดการใหวัคซีนประจำปของแผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค จ่กิจกรรมที่ 5 การพัฒนาสือตนแบบ ่(แผนพับ/info graphic/สติ๊กเกอร/ สื่อวีดิทัศนเพือการ่สื่อสารดานวัคซีนสำหรับประชาชน/ Vaccine Information Sheet: VIS)     กองโรคปองกันดวยวัคซีน - 33331งบปกติ สื่อตนแบบเรื่องงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค สื่อตนแบบเรื่องงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคอยางนอย 2 สื่อตอป กิจกรรมที่ 6 การจัดทำรายงานประจำป Jคูมือการปฏิบัติงาน - กองโรคปองกันดวยวัคซีน สปสช. - กองโรคติดตอทั่วไป - กองระบาดวิทยา -รายงานประจำป JRF/WHO/ Uปฏิบัติงานแบบยอ -รายงานปJRF/WHO/UNI

145มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน แบบยอ, รายงานผลการดำเนินการ EPI (ทุก 5 ป) -กรมวิทยาศาสตรการแพทย - รายงานผลการดำเนินการ EPI Cฉบับ - คูมือการปฏิบัติงานแบบยอ จำนวน 1 เรื่องทุก 5 ป - รายงานผลการดำเนินการ EPI จ่ทุก 5 ป 5. โครงการติดตามสถานการณและตอบโตโรคที่ปองกันไดดวยวัคซีนและกลุมอาการภายหลังการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 00000กิจกรรมที่ 1 พัฒนาคณะทำงานประสานขอมูลโรคที่ปองกันได    - กองโรคปองกันดวยวัคซีน -กองระบาดวิทยา - - กอง EOC (SAT) -00000งมีการประชุมคณะทำงานประสานขอมูลโรคมีการประชุมคณะทำงานประสานขอมูล

146มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน ดวยวัคซีน (เพือใหมี่ขอมูลสถานการณโรคอยางชัดเจนตอเนื่อง) ที่ปองกันไดดวยวัคซีน โรคที่ปองกันไดดวยวัคซีนอยางนอยไตรมาสละ 1 ครั้ง กิจกรรมที่ 2 วิเคราะห สถานการณโรคติดตอที่ปองกันดวยวัคซีนและประเมินความเสี่ยง     - กองโรคปองกันดวยวัคซีน -กองระบาดวิทยา - - กอง EOC (SAT) --มีการวิเคราะห สถานการณโรคติดตอที่ปองกันดวยวัคซีนและประเมินความเสี่ยง มีการวิเคราะห สถานการณโรคติดตอที่ปองกันดวยวัคซีนและประเมินความเสี่ยงอยางนอยเดือนละ 1 โรค กิจกรรมที่ 3 สนับสนุนการตอบโตในการเกิดโรคและ AEFI (ประเมินความเสี่ยง, สื่อสารความเสี่ยง)     กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สสจ./สสอ. - สคร./สปคม. - กทม. - - - - - - พัฒนาระบบรายงานการขอรับการสนับสนุนกรณีเกิดโรคและ AEFI พัฒนาระบบรายงานการขอรับการสนับสนุนกรณีเกิดโรคและ AEFI จำนวน 1 ระบบ

147มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน 6. โครงการการพัฒนาศักยภาพผูดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค (EPI Module)     กองโรคปองกันดวยวัคซีน สถาบันวัคซีนแหงชาติ 222221-วัคซีนแหงชาติ - งบปกติ เพื่อใหผูปฏิบัติงานมีความรูและทักษะที่จำเปนในการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค รอยละของผูเขารับการอบรมผานเกณฑการอบรม ไมนอยกวา รอยละ 80 กิจกรรมที่ 1 ปรับปรุงหลักสูตรสำหรับผูปฏิบัติงานดานการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค กองโรคปองกันดวยวัคซีน สถาบันวัคซีนแหงชาติ --0-00สวัคซีนแหงชาติ เพือพัฒนาและ่ปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตรใหครบถวนทันสมัย มีหลักสูตรสำหรับผูปฏิบัติงานดานการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคที่มีเนือหา้สอดคลองกับนโยบายและการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในปจจุบัน อยางนอย 1 เรื่อง

148มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาศักยภาพผูปฏิบัติงานดานการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค     กองโรคปองกันดวยวัคซีน สถาบันวัคซีนแหงชาติ 222221- สถาบันวัคซีนแ- งบปกติ เพื่อใหผูปฏิบัติงานมีความรูและทักษะที่จำเปนในการดำเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค รอยละของผูเขารับการอบรมผานเกณฑการอบรม ไมนอยกวา รอยละ 80 7. โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนและระบบลูกโซความเย็นเพื่อยกระดับคุณภาพงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 142221งบปกติ กิจกรรมที่ 1 พัฒนาคูมือมาตรฐานการดำเนินงานดานคลังและการเก็บรักษาวัคซีน(คูมือเลมเดิมพัฒนาเมือป 56) ่ กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - กองโรคติดตอทั่วไป - สสจ./สสอ. - กทม. - 2- - - 2งบปกติ มีคูมือมาตรฐานการดำเนินงานดานคลังและการเก็บรักษาวัคซีน 1 เรื่อง

149มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค กิจกรรมที่ 2 พัฒนาระบบการรายงานเหตุการณฉุกเฉินในระบบลูกโซความเย็น    กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - กองโรคติดตอทั่วไป - สสจ./สสอ. - กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค -00000งมีระบบการรายงานเหตุการณฉุกเฉินในระบบลูกโซความเย็น 1 โปรแกรม กิจกรรมที่ 3 พัฒนา/ปรับปรุงระบบเพื่อรองรับการบริหารจัดการคลังวัคซีนและเวชภัณฑ   กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - กองโรคติดตอทั่วไป --งบปกติ โปรแกรมการบริหารจัดการคลังวัคซีนและเวชภัณฑ 1 โปรแกรม กิจกรรมหลักที่ 4 พัฒนาศักยภาพผูรับผิดชอบการบริหาร  กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. -ทั่วไป --0001งบปกติ ผูรับผิดชอบการบริหารจัดการวัคซีนและระบบผูรับผิดชอบการบริหารจัดการวัคซีนและระบบ

150มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน จัดการวัคซีนและระบบลูกโซความเย็นระดับเขตและเครือขาย - สสจ./สสอ. - กทม. - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ลูกโซความเย็นของหนวยงานไดรับการพัฒนาศักยภาพดานการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซความเย็น เพือใหมีองค่ความรูที่ถูกตอง และเปนปจจุบัน สามารถนำไปใชดำเนินงานและพัฒนาระบบงานใหดียิ่งขึ้น ลูกโซความเย็นของหนวยงานสังกัดกรมคจไดแก สคร. 12 แหง สปคม. แโรคติดตอทั่วไป ไดรับการพัฒนาศักยภาพดานการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซความเย็น กิจกรรมหลักที่ 5 สนับสนุนการดำเนินงานดานคลังวัคซีนและระบบลูกโซ    กองโรคปองกันดวยวัคซีน - สคร./สปคม. - สสจ. - กทม. 122229งบปกติ หนวยงานไดรับวัคซีน และการสนับสนุนการดำเนินงานดาน- หนวยงานที่ขอรับการสนับสนุนวัคซีนไดรับวัคซีนอยาง

151มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน ความเย็น เชน การจัดสงวัคซีน สื่อตนแบบการเก็บรักษาวัคซีน เปนตน - หนวยบริการงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค คลังวัคซีนและระบบลูกโซความเเพียงพอและทันตอสถานการณ -เปาหมายไดรับการสนับสนุนสือ่ตนแบบการเก็บรักษาวัคซีน แผนยกระดับความมั่นคงและความเปนเลิศดานควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ.2560-2564กรมควบคุมโรค : Vaccine security การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของคลังวัคซีนสวนกลางและคลังวัคซีนสำรองสวนภูมิภาคใหสามารถรองรับการดำเนินงานใโตภาวะฉุกเฉินได - กองโรคปองกันดวยวัคซีน - กองโรคติดตอทั่วไป - สคร. (พิษณุโลก ราชบุรี ขอนแกน สงขลา) 190--1งบลงทุน มีคลังวัคซีนที่สามารถบริหารจัดการเพื่อรองรับการดำเนินงานในภาวะปกติและตอบโตภาวะฉุกเฉินได - คลังวัคซีนสวนกลาง 1 แ- คลังวัคซีนสำรองสวนภูมิภาค 4 แหง (สคร.2 พิษณุโลก, สคร.5 ราชบุรี, สคร.7 ขอนแกน และ สคร.12 สงขลา)

152มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน กิจกรรมที่ 1 พัฒนา Cold room และ Freezer room ของคลังวัคซีนสวนกลาง 1.1 ปรับปรุงหองเย็นเก็บวัคซีน (Cold room) ขนาด 10 x 8 ตารางเมตร 1.2 ปรับปรุงหองแชแข็งสำหรับเก็บวัคซีนและ Ice pack (Freezer room) ขนาด 4 x 4 ตารางเมตร 1.3 จัดซื้อครุภัณฑ ไดแก อุปกรณสนับสนุนการดำเนินงานในระบบกองโรคติดตอทั่วไป กองโรคปองกันดวยวัคซีน -2---2งบลงทุน คลังวัคซีนสวนกลางไดรับการพัฒนา Cold room และ Freezer room รวมถึงมีการจัดซื้อครุภัณฑตางๆ เพือสนับสนุนการ่ดระบบลูกโซความเ1

153มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน ลูกโซความเย็นตางๆ และเครื่องบันทึกอุณหภูมิแบบตอเนื่องพรอมระบบการแจงเตือน กิจกรรมหลักที่ 2 พัฒนาคลังวัคซีนสำรองสวนภูมิภาค 2.1 จัดซื้อตูเย็นชนิด Pharmaceutical refrigerator สำหรับเก็บวัคซีน ความจุ 390 ล2.2 จัดซื้อตูแชแข็งสำหรับเก็บวัคซีนแชแข็งและ Ice pack ความจุประมาณ 388 ล - สคร.2 พิษณุโลก - สคร.5 ราชบุรี - สคร.7 ขอนแกน - สคร.12 สงขลา กองโรคปองกันดวยวัคซีน 14---6- งบลงทุนหนวยงานละ 1.50 ลบ. - สคร.2 ขอสงคำขอในป 6- สคร.12 ขอสงคำขอรายการที่ 2.4 ในป คลังซีนวัคซีนสำรองสวนภูมิภาคมีการจัดซื้อครุภัณฑตางๆ เพือสนับสนุนการ่ดระบบลูกโซความเย็น ไดแก ตูเย็นชPharmaceutical refrigerator ตูแชแข็ง เครื่องสำรองไฟ (Generator) และเครื่องบันทึกคลังซีนวัคซีนสำรองสวนภูมิภาค 4 แหง ไดแก - สคร.2 พิษณุโลก - สคร.5 ราชบุรี - สคร.7 ขอนแกน - สคร.12 สงขลา

154มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน 2.3 จัดซื้อเครื่องสำรองไฟ (Generator) สำหรับตูเย็นและตูแชแข็ง 2.4 จัดซื้อเครื่องบันทึกอุณหภูมิแบบตอเนื่องพรอมระบบการแจงเตือน 6ลบ. อุณหภูมิแบบตอเนื่องพรอมระบบการแจงเตือน กิจกรรมหลักที่ 3 จัดซื้อรถหองเย็นสำหรับขนสงวัคซีน - สคร.2 พิษณุโลก - สคร.5 ราชบุรี - สคร.7 ขอนแกน กองโรคปองกันดวยวัคซีน -3---3งบลงทุนหนวยงานละ 1 ลบ. คลังซีนวัคซีนสำรองสวนภูมิภาคมีการจัดซื้อรถหองเย็นสำหรับขนสงวัคซีน คลังซีนวัคซีนสำรองสวนภูมิภาค 3 แหง ไดแก - สคร.2 พิษณุโลก - สคร.5 ราชบุรี - สคร.7 ขอนแกน

155มาตรการ/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา (ป พ.ศ.) ผูรับผิดชอบ วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย มาตรการ/โครงการ ตัวชี้วัดและ คาเปาหมาย มาตรการ/โครงการ 2563 2564 2565 2566 2567 หลัก รวม 2563 2564 2565 2566 2567 รแหลงเงิน กิจกรรมหลักที่ 4 ประเมินคลังวัคซีนสวนกลางและคลังวัคซีนสำรองสวนภูมิภาคในการเตรียมความพรอมและตอบโตภาวะฉุกเฉิน กองโรคปองกันดวยวัคซีน -ทั่วไป - สคร.2 พิษณุโลก - สคร.5 ราชบุรี - สคร.7 ขอนแกน - สคร.12 สงขลา --0--0งบดำเนินงานโ- มีการประเมินคลังวัคซีนสวนกลางและคลังวัคซีนสำรองสวนภูมิภาคในการเตรียมความพรอมและตอบโตภาวะฉุกเฉิน - สรุปผลการประเมินคลังวัคซีนสวนกลางและคลังวัคซีนสำรองสวนภูมิภาคในการเตรียมความพรอมและตอบโตภาวะฉุกเฉิน - รอยละ 80 ของหนวยงานที่เปนคลังวัคซีนสวนกลางและคลังวัคซีนสำรองสวนภูมิภาคผานเกณฑการประเมิน - สรุปผลฯ 1 เรื่อง

1568. แผนติดตามประเมินผล ระยะ 5 ป ตัวชี้วัดหลัก ของแผนงาน/มาตรการ คาเปาหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล (ป พ.ศ.) 2563 2564 2565 2566 2567 รอัตราปวยของโรคติดตอที่ปองกันไดดวยวัคซีน - ไมมีผูปวยโรคโปลิโอ- ลดอุบัติการณของผูปวยยืนยันโรคหัด - อัตราปวยโรคคอตีบ - อัตราปวยโรคไอกรน (ดูไดจากตารางคาเปาหมาย) การเฝาระวังโรคจากกองระบาดวิทยา 1. ติดตามผลการเฝาระวังผูปวย AFP และผูปวยไขออกผื่น ในการประชุมประจำสัปดาหระหวางกองโรคปองกันดวยวัคซีน กองระบาดวิทยาและกรมวิทยาศาสตรการแพทย 2. ฐานขอมูลกำจัดโรคหัด กองระบาดวิทยา 3. ผลการรณรงคใหวัคซีนปองกันโรคโปลิโอ โรคหัด และโรคหัดเยอรมัน 4และโปรแกรมตรวจสอบขาวการระบาด กองระบาดวิทยา ระดับมาตรการ รอยละความครอบคลุมการไดรับวัคซีนทุกชนิดในกลุมเปาหมาย ความครอบคลุมการไดรับวัคซีนทุกชนิดในกลุมเปาหมาย≥รอยละ 90 ยกเวน MMR1 และ MMR2 ≥รอยละ 95 และวัคซีนใน นร. ≥รอยละ 9การประมวลผล/รายงานผลความครอบคลุมการไดรับวัคซีนจากรายงาน 43 แฟมมาตรฐาน (HDC) รายเดือนและรายไตรมาส

1579. ผูรับผิดชอบแผนงาน 1. แพทยหญิงสุชาดา เจียมศิริ เบอรโทรศัพท 0 2590 3196-9 ผูอำนวยการกองโรคปองกันดวยวัคซีน E-mail : [email protected] 2. นายแพทยชนินันท สนธิไชย เบอรโทรศัพท 0 2590 3196-9 หัวหนากลุมงาน E-mail : [email protected] 3. นายเลิศฤทธิ์ ลีลาธร เบอรโทรศัพท 0 2590 3196-9 ผูประสานงาน E-mail : [email protected]

กลุ่มแผนงานโรคติดต่อ (CD)2

1611. สถานการณการดำเนนงานควบคุมโรคเรือนของประเทศไทยทีผานมา สามารถกำจัดโรคเรือนได จนไมเปนปญหาิ้่้สาธารณสุข ตามหลักเกณฑขององคการอนามัยโลก กลาวคือ อัตราความชุกโรคเรื้อนในระดบประเทศ ตำกวา 1 ราย ตอ ั่10,000 ประชากร ตงแตป 2537 จนถึงปจจุบนทีเขาสูระยะหลังการกำจัดโรคเรื้อน (Post-elimination phase) ในป ั ้ั่2562 อัตราความชุกโรคเรื้อนเทากบ 0.04 ตอ 10,000 ประชากร (ความชกโรคเรือน คือ 269 ราย) ในป 2553 – 2562 ัุ้คนพบผูปวยโรคเรื้อนรายใหม จำนวน 405, 280, 220, 188, 208, 187, 163, 164, 125 และ 119 ราย ตามลำดบ จากัขอมูลดังกลาว การคนพบผูปวยโรคเรือนรายใหมในแตละปมีแนวโนมคอย ๆ ลดลงอยางตอเนอง โดยในป 2562 ้ื่กำหนดคาเปาหมายจำนวนการคนพบผูปวยโรคเรื้อนรายใหม > 120 ราย ซึ่งการคนพบผูปวยโรคเรื้อนรายใหมยังไมไดตามเปาหมายทีกำหนดไว แตกมีจำนวนที่ใกลเคียงกน คือ 119 ราย ถึงแมวาจำนวนผูปวยโรคเรือนรายใหมจะมีแนวโนม่็ั้ลดลงในแตละป แตยงพบวาผูปวยโรคเรือนรายใหมมีความพการระดบ 2 โดยในป 2553 – 2562 พบผูปวยโรคเรื้อนรายั้ิัใหมทีมีความพการระดบ 2 จำนวน 60, 29, 38, 18, 31, 27, 24, 26, 25 และ 18 ราย ตามลำดบ ในป 2562 กำหนดคา่ิััเปาหมายจำนวนผูปวยโรคเรือนรายใหมที่มีความพิการระดับ 2 ไว < 21 ราย ซึ่งผลการดำเนนงานผานเกณฑตาม้ิเปาหมายที่กำหนด คือ พบผูปวยโรคเรือนรายใหมที่มีความพการระดบ 2 จำนวน 18 ราย แตเมือคำนวณเปนคาสัดสวน้ิั่ผูปวยโรคเรื้อนรายใหมที่มีความพการระดับ 2 ในป 2553 – 2562 คือ รอยละ 14.8, 10.4, 17.3, 9.6, 14.9, 14.4, 14.7, ิ15.9, 20.0 และ 15.1 ตามลำดบ (คาเฉลี่ยเทากับรอยละ 14.7) แสดงใหเห็นวาแนวโนมของคาสัดสวนผูปวยโรคเรื้อนรายัใหมทีมีความพการระดบ 2 ยงไมลดลง เปนการสะทอนใหเห็นถึงความลาชาในการคนพบผูปวยโรคเรื้อนรายใหม ่ิััซึ่งสอดคลองกบขอมูลรอยละของผูปวยโรคเรือนรายใหมที่มีระยะเวลาตงแตเริ่มปรากฏอาการของโรคเรือนจนไดรับการั้ั้้วนจฉัยและรักษาโรคเรือนตามมาตรฐาน (Since of onset : SOS) < 12 เดอน ซึ่งกำหนดคาเปาหมายไว > รอยละ 50 ิิ้ืในป 2562 คา SOS < 12 เดอน คือ รอยละ 44.5 (ผูปวยโรคเรื้อนรายใหมทีมี SOS < 12 เดอน จำนวน 53 ราย พบื่ืความพการระดบ 2 จำนวน 2 ราย) สวนคา SOS > 12 เดอน คือ รอยละ 55.5 (ผูปวยโรคเรื้อนรายใหมที่มี SOS > 12 เดอน ิัืืจำนวน 66 ราย พบความพิการระดบ 2 จำนวน 16 ราย) จะเหนวาคา SOS < 12 เดือน ไมผานเกณฑตามเปาหมาย ั็ทีกำหนดไว และยงพบวากลุมผูปวยโรคเรื้อนรายใหมที่มีคา SOS > 12 เดอน มีจำนวนผูพการระดับ 2 มากกวา 8 เทา ่ัืิเมื่อเทียบกับกลุมผูปวยโรคเรื้อนรายใหมที่มีคา SOS < 12 เดือน ดงนน การเรงรัดคนหาผูปวยโรคเรือนรายใหมใหพบัั้้โดยเร็วทีสุด แลวนำผูปวยโรคเรือนรายใหมเขาสูระบบการรักษาตามมาตรฐานจะเปนวิธีการชวยปองกนไมใหผูปวยโรค่้ัเรื้อนเกิดความพการ การคนพบผูปวยโรคเรื้อนรายใหมลาชา นอกจากจะสงผลทำใหผูปวยโรคเรื้อนเกิดความพิการแลว ิผูปวยโรคเรื้อนทียงไมไดรับการรกษาตามมาตรฐาน โดยเฉพาะผูปวยชนดเชอมากจะเปนแหลงแพรเชอโรคเรื้อนไปสู ่ััิื ้ื้ผูสัมผัสใกลชิดที่อาศัยอยรวมกันในชุมชน โดยเฉพาะกลุมผูสัมผัสโรครวมบาน เพอนบาน และผูทีมีกิจกรรมทางสังคมูื่่รวมกัน เปนตน แผนงานปองกันควบคุมโรคเรือน ้

162จากผลการประเมินงานควบคุมโรคเรือน (Leprosy Elimination Monitoring : LEM) พ.ศ. 2558 พบความ้ลาชาในการตรวจวนจฉัยและรักษาโรคเรื้อนโดยเฉลียนาน 3.3 ป โดยสาเหตของความลาชามี 2 สวน คือ สวนที 1 ความิิ่ุ่ลาชาทีเกดจากตวผูปวย (Patient delay) นาน 2.1 ป สวนที 2 ความลาชาของระบบบริการสาธารณสุข (Health ่ิั่service delay) นาน 1.3 ป อยางไรก็ตาม กลุมผูสัมผัสโรครวมบานผูปวยโรคเรอน รอยละ 100 ควรไดรับการตรวจคัดื ้กรองโรคเร้อน อยางนอยปละ 1 ครัง ตอเนองเปนระยะเวลา 10 ป แตจากขอมูลการสำรวจฯ พบวา ในปแรกผูสัมผัสโรคื้ื ่รวมบานไดรับการตรวจคัดกรองโรคเรือนครอบคลุมเพยงรอยละ 53.3 และในปที 2 – 5 ลดลงเหลือ รอยละ 37.1, 24.1, ้ี่14.3 และ 9.6 ตามลำดบ ัในสวนของการกำหนดอำเภอเปาหมายที่มีขอบงช้ทางระบาดวทยาโรคเรือน เพอดำเนนกจกรรมเรงรัดการีิ้ื่ิิคนหาผูปวยโรคเรื้อนรายใหม พบจำนวนและสัดสวนของการคนพบผูปวยโรคเรื้อนรายใหมในอำเภอเปาหมาย และอำเภอนอกเปาหมาย ในป 2553 – 2562 ดังน ี้ประเด็น 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 ขอมูลผูปวยโรคเรื้อนรายใหมยอนหลัง (ป) 5 5 5 5 5 5 5 5 5 8 จำนวนอำเภอเปาหมาย (อำเภอ) 140 119 99 84 72 69 66 53 47 102 จำนวน/สัดสวนการคนพบผูปวยโรคเรื้อนรายใหม 200 / 115 / 78 / 62 / 70 / 51 / 40 / 49 / 30 / 41 / ในอำเภอเปาหมาย (ราย/รอยละ) 49.4 41.1 35.5 33.0 33.7 27.3 24.5 29.9 24.0 34.5 จำนวน/สัดสวนการคนพบผูปวยโรคเรื้อนรายใหม 205 / 165 / 142 / 126 / 138 / 136 / 123 / 115 / 95 / 78 / อำเภอนอกเปาหมาย (ราย/รอยละ) 50.6 58.9 64.5 67.0 66.3 72.7 75.5 70.1 76.0 65.5 จากขอมูลสัดสวนการคนพบผูปวยโรคเรือนรายใหมในอำเภอเปาหมาย และอำเภอนอกเปาหมาย ในป 2553 - ้2554 พบวา คาสัดสวนฯ ในอำเภอเปาหมาย ใกลเคียงกับคาสัดสวนฯ อำเภอนอกเปาหมาย คือ ป 2553 เทากบ รอยละ ั49.4 และรอยละ 50.6 ตามลำดบ ป 2554 เทากับ รอยละ 41.1 และรอยละ 58.9 ตามลำดบ ในปตอมาคาสัดสวนฯ ััในอำเภอเปาหมายเริ่มมีแนวโนมลดลงจนถึงป 2561 ทีคาสัดสวนฯ ในอำเภอเปาหมายและอำเภอนอกเปาหมาย เทากับ ่รอยละ 24.0 และ รอยละ 76.0 ซึงตอมาในป 2562 ไดพิจารณาปรับการกำหนดอำเภอเปาหมายทีใชขอมูลผูปวยโรคเรื้อน่่รายใหมยอนหลังจากเดม 5 ป ขยายระยะเวลาเปน 8 ป ทำใหไดจำนวนอำเภอที่เขาเกณฑเปนอำเภอเปาหมายที่มีขอบงชิี ้ทางระบาดวทยา เพมขึ้นเปน 102 อำเภอ และทำใหมีสัดสวนการคนพบผูปวยโรคเรือนรายใหมในอำเภอเปาหมายเพมขึ้นเปน ิิ่้ิ่รอยละ 34.5 เมื่อเทียบกับป 2558 - 2561 คือ รอยละ 27.3, 24.5, 29.9, และ 24.0 ตามลำดบ ัในสวนของจำนวนและสัดสัดสวนของการคนพบผูปวยโรคเรือนรายใหมในอำเภอเปาหมาย และอำเภอนอก้เปาหมาย ป 2562 จำแนกรายสำนักงานปองกันควบคุมโรคที่ 1 - 12 / สถาบันปองกันควบคุมโรคเขตเมือง กทม. ดังน ี้ประเด็น สคร. สคร. สคร. สคร. สคร. สคร. สคร. สคร. สคร. สคร. สคร. สคร. สปคม. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 กทม. จำนวนอำเภอเปาหมาย (อำเภอ) 7 5 5 3 1 4 16 6 23 9 4 18 1 จำนวน/สัดสวนการคนพบผูปวยโรคเรื้อนรายใหม ในอำเภอ3 / 1 / 1 / 2 / 0 / 3 / 6 / 0 / 16 / 0 / 1 / 8 / 20.0 20.0 33.0 29.0 0.0 43.0 86.0 0.0 53.0 0.0 25.0 62.0 0.0 0 /

163ประเด็น สคร. สคร. สคร. สคร. สคร. สคร. สคร. สคร. สคร. สคร. สคร. สคร. สปคม. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 กทม. เปาหมาย (ราย/รอยละ) จำนวน/สัดสวนการคนพบผูปวยโรคเรื้อนรายใหม อำเภอนอกเปาหมาย (ราย/รอยละ) 12 / 4 / 2 / 5 / 4 / 4 / 1 / 6 / 14 / 13 / 3 / 5 / 80.0 80.0 67.0 71.0 100.0 57.0 14.0 100.0 47.0 100.0 75.0 38.0 100.0 5 / จากขอมูลสัดสวนของการคนพบผูปวยโรคเรื้อนรายใหมในอำเภอเปาหมายและอำเภอนอกเปาหมาย จำแนกตามเขตพนทีของสำนกงานปองกันควบคุมโรคที 1 - 12 / สถาบนปองกนควบคุมโรคเขตเมือง กทม. ป 2562 พบวา ื้่ั่ััอำเภอเปาหมายที่มีขอบงชทางระบาดวทยาในพื้นที่ สคร.7 ขอนแกน พบสัดสวนการคนพบผูปวยโรคเรื้อนรายใหมสูงที่สุด ี้ิคือ รอยละ 86.0 รองลงมาเปนพนที สคร.12 สงขลา คือ รอยละ 62.0 และพนที่ สคร.9 นครราชสีมา คือ รอยละ 53.0 ื ้่ื ้ตามลำดับ ซึ่งแสดงใหเห็นวาการกำหนดอำเภอเปาหมายทีมีขอบงชทางระบาดวทยาโรคเรือนในเขตพ้นที่ที่ยังมีความชุก่ี ้ิ้ืโรคเรื้อน ยงมีความนาเชื่อถือพอที่จะใหหนวยงานที่เกี่ยวของในระดบพื้นที่ดำเนินจัดกิจกรรมคนหาผูปวยโรคเรื้อนรายใหม ััในสวนของเขตพ้นที่ที่ไมพบผูปวยโรคเรื้อนรายใหมในอำเภอเปาหมายฯ ไดแก สคร.5 ราชบุรี สคร.8 อุดรธาน สคร.10 ืีอบลราชธาน และ สปคม. กทม. อาจเปนเพราะการดำเนินกิจกรรมคนหาผูปวยโรคเรือนรายใหมยังไมมีประสิทธิผลมากุี้พอ ซึงสอดคลองกบการรายงานผลการดำเนนกิจกรรมคนหาผูปวยโรคเรื้อนรายใหมในอำเภอเปาหมายที่มีขอบงช้ทาง่ัิีระบาดวทยาโรคเรือน จากเปาหมาย 102 อำเภอ มีการดำเนนกิจกรรมฯ ตามเกณฑที่กำหนด 73 อำเภอ (รอยละ 71.6) ิ้ิซึ่งยังต่ำกวาเปาหมายทีกำหนดไว > รอยละ 80 จากขอมูลที่กลาวมาขางตน ชี้ใหเห็นถึงการดำเนินกิจกรรมคนหาผูปวย่โรคเร้อนรายใหมในพนทีทีมีขอบงช้ทางระบาดวิทยา ยงไมครอบคลุมและไมมีประสิทธิผลเพยงพอที่จะชวยการคนพบืื ้่่ีัีผูปวยโรคเรื้อนรายใหม ใหไดรับการรักษาตงแตปรากฏอาการสำคัญของโรคเรือนในระยะเริมแรก กอนเกิดความพิการั ้้่ระดบ 2 ันอกจากปญหาโรคเรื้อนที่ยงพบในประชากรไทยแลว ยังมีรายงานการคนพบผูปวยโรคเรื้อนรายใหมที่เปนัประชากรตางดาวในประเทศไทย ป 2553 – 2562 เทากับ 60, 29, 38, 18, 31, 27, 24, 26, 25 และ 19 ราย ตามลำดบ โดยในป 2562 มีผูปวยโรคเรื้อนรายใหมสัญชาตเมียนมาร 18 ราย (รอยละ 94.7) สัญชาตลาว 1 ราย (รอยละ ัิิ5.3) เปนผูปวยโรคเรือนประเภทเชอนอย 1 ราย (รอยละ 5.3) ประเภทเชอมาก 18 ราย (รอยละ 94.7) ซึงถือวามีโอกาส้ื ้ื ้่ที่เชอโรคเรื้อนจากประชากรตางดาวจะแพรมาสูประชากรไทย สงผลใหโรคเรื้อนกลับมาปญหาสาธารณสุขของไทยในื้อนาคตได ในดานการพัฒนาสุขภาวะของผูประสบปญหาจากโรคเรือน พบวา ผูทีหายจากโรคเรื้อนแตยังมีความพการ้่ิระดบ 2 ประมาณ 5,000 คน ทั่วประเทศ ยังไมไดรบการพัฒนาสุขภาวะอยางทั่วถึง และประชาชนยังมีการตีตราตอโรคั1ัเรื้อนอยในชมชนบางแหงทีสุมสำรวจในป 2554 และ ป 2559 เชน จงหวดชยภูมิ นครนายก เพชรบูรณ ศรีสะเกษ ูุ่ััั2จนทบรี และสตล รวมทังยังมีกฎหมายเลือกปฏิบัติตอผูประสบปญหาจากโรคเรือนในประเทศไทย ทีไดทำการสำรวจในัุู3้้่เบืองตนอยูจำนวน 5 เรื่อง กลาวโดยสรุป สถานการณโรคเรื้อน สภาพปญหา และสาเหตุของปญหาในปจจุบัน เปนดังนี ้4้

164สถานการณ สภาพปญหา สาเหตุของปญหา 1. ป 2562 (1 ม.ค. – 31 ธ.ค. 62) - ผูปวยโรคเรื้อนรายใหม 119 ราย - ผูปวยโรคเรื้อนรายใหมทมีความพิการี่ระดับ 2 จำนวน 18 ราย 1.1 การคนพบผูปวยโรคเรื้อนรายใหมต่ำกวาเปาหมาย 1.1.1 ขาดความตอเนื่องในกิจกรรมการคนหาผูปวยโรคเรอนรายใหมในื ้พื้นที่ที่มีขอบงชี้ทางระบาดวิทยาเนื่องจากในพื้นท โรคเรื้อนี่จัดเปนโรคที่มีความสำคัญในระดับต่ำ 1.1.2 ผูสัมผัสโรครวมบานไดรับการตรวจรางกายต่ำกวาเปาหมาย (รอยละ 100) กลาวคือสามารถตรวจไดเพียงรอยละ 40 - 50 ตอปเทานั้น 2. ป 2562 (1 ม.ค.-31 ธ.ค.62) - พบผูปวยโรคเรื้อนรายใหมในประชากรตาง สุขภาพแรงงานดาว จำนวน 19 ราย 2.1 การตรวจตางดาวยังพบปญหาดานคุณภาพการตรวจคัดกรองโรคเรื้อน 1.2.2 บุคลากรที่เกี่ยวของกับการใหบริการตรวจสุขภาพแรงงานตาง1.2.1 การใหบริการตรวจสุขภาพแรงงานตางดาว เพือออกใบรับรอง่สุขภาพสำหรบนำไปใชขออนุญาตประกอบอาชีพในประเทศัไทยพบวามีจำนวนมากเกินกวาอตรากำลังเจาหนาที่ที่ใหบริการัตรวจคัดกรองโรคเรื้อนไดอยางมคุณภาพในแตละวันในชวงทีี่เปดใหบริการ ดาวขาดความรู และความเชียวชาญในการตรวจคัดกรอง และวินิจฉัยโรคเรื้อน ซึ่งตองตรวจอาการแสดงสำคัญของโรคเรื้อน โดยเฉพาะรอยโรคที่ผิวหนังตามรางกาย ดังนั้น จึงไมใหความสำคัญเกี่ยวกับขั้นตอนการตรวจคัดกรองโรคเรื้อน 1.2.3 ปจจุบันยงไมมีเทคโนโลยทันสมัยทีมีความสะดวกและรวดเรว ัี่็สำหรับนำมาใชเปนเครื่องมือชวยในตรวจคัดกรองโรคเรื้อนที่ใหผลการตรวจทแมนยำ ี่3. รอยละของผูปวยโรคเรื้อนรายใหมทมี่ีระยะเวลาตั้งแตเริ่มมีอาการของโรคเรื้อนจน เรื้อนรายใหมยังไดรับการวินิจฉัยและรักษาโรคเรื้อนตามมาตรฐาน (SOS) ไมเกิน 12 เดือน มีคาเทากับ วินิจฉัยและรักษารอยละ 44.54 จากเปาหมายรอยละ 50 3.1 ผูปวยโรคไดรับการตรวจลาชา 3.1.1 ความลาชาที่เกิดจากตัวผูปวย ซงขาดความรูและความตระหนักึ่ในเรื่องโรคเรื้อน และความลาชาของระบบบริการสาธารณสุข ซึ่งขาดความรูและทักษะในการตรวจวินิจฉัยของบุคลากรสาธารณสุข (จากการประเมินผลงานควบคุมโรคเรื้อนป 2558) 4. ผูทหายจากโรคเรื้อนแตยังมีความพิการี่ระดบ 2 ประมาณ 5,000 คน ทวประเทศ ยัง สภาพผูประสบั1ั่ไมไดรับการพัฒนาสุขภาวะอยางทั่วถึง และประชาชนยังมีการตีตราตอโรคเรื้อนอยูในชุมชนบางแหงทีสุมสำรวจในป 2554 และ ป ครอบคลุม่2559 เชน จังหวัดชัยภูม นครนายก ิ2เพชรบูรณ ศรีสะเกษ จันทบุรี และสตูล 3รวมทั้งยังมีกฎหมายเลือกปฏิบัติตอผูประสบปญหาจากโรคเรื้อนอยในประเทศไทย ู4.1 การฟนฟูปญหาจากโรคเรื้อนยังไมกลุมเปาหมาย 4.1.1 ผูประสบปญหาจากโรคเรื้อนอาศัยอยูกระจัดกระจาย ในชุมชนทัวประเทศ ่4.1.2 ขอมูลผูประสบปญหาจากโรคเรื้อนที่มีความจำเปนตองไดรับการฟนฟูสภาพฯ ทั้งประเทศ ยังไมครบถวน 4.1.3 มีผูประสบปญหาจากโรคเรื้อนยังอาศัยอยในนิคมโรคเรื้อน ทยังูี่ไมไดรับการบูรณาการนิคมใหเปนชุมชนทั่วไป 4.2 มการตีตราีโรคเรื้อนในชุมชน 4.2.2 ชุมชนขาดความรูเรื่องโรคเรื้อน 4.2.1 ผูปวยบางรายที่หายจากโรคเรื้อนแลวยังคงมีความพิการอย ู4.2.3 ความเชือที่ไมถูกตองเกี่ยวกับโรคเรื้อน ่

165สถานการณ สภาพปญหา สาเหตุของปญหา 4.3 มีกฎหมายเลือกปฏิบัติตอผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน 44.3.1 สังคมมีความเขาใจตอโรคเรื้อนไมถูกตอง ที่มา: ขอมูลจากฐานขอมูลการสำรวจสภาพความพิการของผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน สถาบันราชประชาสมาสัย 1 2, 3 ขอมูลจากการวิจัยของศิลธรรม เสริมฤทธรงคและคณะ ในป 2554 และ ป 2559 ิ4 ขอมูลจากการสำรวจกฎหมายที่เลือกปฏิบัติตอผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน สถาบันราชประชาสมาสัย ป 2563 2. พื้นที่เสี่ยง/กลุมเสี่ยง ในป 2564 ไดกำหนดอำเภอเปาหมายทีมีขอบงชทางระบาดวทยาโรคเรือน ในการเรงรัดคนหาผูปวยโรคเรือน่ี ้ิ้้รายใหม จำนวน 115 อำเภอ ใน 44 จังหวัด ตามหลักเกณฑการกำหนดอำเภอเปาหมาย โดยใชขอมูลผูปวยโรคเรื้อน รายใหมยอนหลัง 10 ป (พ.ศ. 2553 - 2562)

1662.1 หลักเกณฑการกำหนดอำเภอเปาหมาย ใชขอมูลผูปวยโรคเรื้อนรายใหมยอนหลัง 10 ป (ป พ.ศ. 2553 - 2562) ที่มีคุณสมบัติขอใดขอหนึ่งดังตอไปน คือ ี้2.1.1 พบผูปวยรายใหมทุกปติดตอกันในรอบ 10 ป 2.1.2 พบผูปวยรายใหมที่เปนเด็ก (อายุต่ำกวา 15 ป) ในรอบ 10 ป 2.1.3 พบผูปวยรายใหมที่มียอดรวมตั้งแต 7รายขึ้นไป ในรอบ 10 ป ขอเสนอแนะมาตรการในการดำเนินงานคนหาผูปวยรายใหมในอำเภอเปาหมาย ปงบประมาณ 2564 ดังน ี้กิจกรรม พื้นที่อำเภอเปาหมาย 1. สรางความตระหนักเรื่องโรคเรื้อนทั้งอำเภอ อยางนอย ปละ 1 ครั้ง 2. คัดกรองผูสงสัยและสงตอไปรับการตรวจวินิจฉัย หมูบานที่มีผูปวยใหมในรอบ 10 ปที่ผานมา 3. สำรวจหมูบานแบบเร็ว (Rapid village survey: RVS) หมูบานที่มีผูปวยใหมเด็กในรอบ 10 ป หมายเหต: ุ1. อำเภอนอกพืนทีเปาหมาย้่ใหจัดกิจกรรมสุขศึกษาประชาสัมพนธความรูโรคเรือนปละ ครั้ง ในชวง ั้1สัปดาหราชประชาสมาสัย (สัปดาหที่มีวันที่ 16 มกราคมของทุกป) ใหพรอมเพรียงกันทุกพื้นที่ 2. กจกรรมปกตที่ทุกพื้นที่ตองดำเนินการิิทั้งอำเภอที่มีขอบงช้ทางระบาดวิทยาและอำเภอที่ไมมีขอบงชทางีี ้ระบาดวทยาคือิการตรวจผูสัมผัสโรคไดแก2.1 ตรวจผูสัมผัสโรครวมบาน (Household contact)ของผูปวยรายใหมทุกคน โดยเร็วที่สุดหลังจากผูปวยขึ้นทะเบียนรักษา แลวตดตามตรวจตอเนื่องปละ 1 ครังรวมเปนเวลา 10 ป ิ้2.2 ตรวจผูสัมผัสโรคที่เปนเพอนบาน (Neighboring contact)ซึ่งอยูรอบๆ บาน Index caseและผูสัมผัสโรคื่กับผูปวยประเภทเชื้อมาก (MB)ที่มีกิจกรรมรวมทางสังคม(Social contact)ทุกคนอยางนอย 1 ครั้งโดยติดตามตรวจภายใน 3 เดอนหลังจากผูปวยขึ้นทะเบียนรักษา ื2.2 แนวทางการปฏิบัติ ในกรณีมผูปวยใหมที่เปนเดก และมีความพิการระดบ 2 ี็ัใหรีบเรงดำเนนการสืบสวนิหาสาเหต(Critical Incident Investigation: CII) ดังนุี้3.2.1 คนหาสาเหตุของความลาชา(Causes of delay)และดำเนินการแกไข 3.2.2 คนหาผูปวยโรคเรื้อนรายใหมในผูสัมผัสโรคทัง 3 กลุม คือ Household contact, Neighboring ้contact และ Social contact 3.2.3 ดำเนินการโดยเร็วที่สุดหลังไดรับรายงาน 2.3 ขอพึงระวงในการดำเนินงานในพืนทีั้่ เนองจากโรคเรื้อนยังคงเปนโรคที่ถูกตตราจากสังคม (ทังตตราื่ี้ีตนเอง และถูกสังคมตตรา) ดงนนการปฏบตงานในพนที จึงตอง ีัั ้ิัิื ้่“รักษาความลับของผูปวย และระมดระวงอยางทีสุดัั่ในการเปดเผยขอมูลของผูปวย” โดยบูรณาการรวมกับโรคอื่นๆนิยาม

1671. สรางความตระหนักเรื่องโรคเรื้อนทั้งอำเภอ สรางความตระหนกหมายถึงการจัดกจกรรมเพอใหประชาชนเกดความตระหนกเรื่องโรคเรื้อน ในชวงัิื ่ิัระยะเวลาที่กำหนด เชน สัปดาหราชประชาสมาสัยงานประจำจังหวัด หรืองานเทศกาลที่สำคัญของชุมชน ไดแก 1.1 เผยแพรความรูผานสื่อตางๆเชน - วิทยุชุมชน - หอกระจายขาว - เสียงตามสาย - หนังสือพิมพทองถิ่น - ใหสัมภาษณสื่อมวลชน - สื่อสารผาน Social Media เชน Line, Facebook, Hotline สายดวน, Application 1.2 การจัดนิทรรศการ 1.3 จัดรถประชาสัมพันธเคลื่อนที่ 1.4 จดเวทีประชาคม ั1.5จัดประกวดเรียงความ คำขวัญ 1.6 พฒนาศักยภาพแกนนำชุมชน / อสม. / ผูนำศาสนา ฯลฯ เพอใหความรูแกประชาชน และคัดกรองัื่ผูมีอาการสงสัยโรคเรื้อน สงหนวยงานที่เกี่ยวของตามระบบ หมายเหต: ุ1. พิจารณาเลือกกิจกรรมการสรางความตระหนกเรื่องโรคเรื้อนที่สามารถปฏบัติไดตามความเหมาะสมัิของพื้นที่ 2. ชองทางของการเผยแพรความรูเรืองโรคเรอนทีเหมาะสม และเขาถึงประชาชนมากทีสุด คือ อสม. ่ื ้่่และ หอกระจายขาว โดยตองมีความถี่ของการใหความรูที่มากขึ้น(บอยๆ และซ้ำๆ) ในชวงของการรณรงค/ประชาสัมพันธ และมี Key Message ที่สำคัญ คือ ผิวหนังเปนวงดางขาว มีอาการชา หรือเปนผื่นนูนแดง ตมแดง ไมคันุตองรีบไปพบแพทย เพื่อใหผูที่มีอาการสงสัยออกมาตรวจเอง (Self-Awareness Reporting) 2. สำรวจหมบานแบบเร็ว (Rapid village survey: RVS) ู ตองดำเนนการตามมาตรฐานการสำรวจิหมูบานแบบเร็ว (Rapid Village Survey) เพื่อคนหาผูปวยรายใหมโดยทำตอเนืองเปนเวลา 5 ป แตถาหากไมสามารถทำ ่RVS ตดตอกนไดทัง 5 ป สามารถเวนชวงการทำ RVS ได แตตองไมเกน 1 ป แลวใหมีกจกรรมทดแทนดวย Passive ิั้ิิcase finding แบบเขมขน ดำเนนการตอเนองทุก 3 เดอน (ปละ 4 ครัง) โดยเฉพาะในชวงเทศกาลสำคัญ เชน สงกรานติื ่ื้ฯลฯ

1683. ผูสัมผัสโรคกับผูปวยโรคเรื้อน ประกอบดวย 3.1 ผูสัมผัสโรครวมบาน (Household contact) หมายถึงผูที่อาศัย หรือเคยพกอาศัยอยรวมชายคาัู เดียวกันกับผูปวยโรคเรื้อน เปนระยะเวลาตั้งแต 6 เดือนขึ้นไป กอนผูปวยจะไดรับการรักษา3.2 ผูสัมผัสโรคที่มีบานอยรอบบานผูปวยโรคเรือน(Neighboring contact) หมายถึง ผูที่พกอาศัยอยู ้ัูในบานรอบๆ บานผูปวยโรคเรื้อนในรัศมี 20 เมตร เปนระยะเวลาตังแต 6เดือนขึ้นไป ้กอนผูปวยจะไดรับการรักษา3.3 ผูสัมผัสโรคที่มีปฏสัมพนธทางสังคม (Social contact) หมายถึง ผูทีมีการไปมาหาสูหรือทำิั่กจกรรมรวมกบผูปวยโรคเรือนประเภทเชอมาก (Multibaciillary:MB) อยางนอย 3 ชวโมง ตอวน ไมตองตดตอกน เปนิั้ื ้ั ่ัิัเวลาอยางนอย 3 วนตอสัปดาห เปนระยะเวลาตั้งแต 6เดือนขึ้นไป ักอนผูปวยจะไดรับการรักษา

169รายชื่อ 115 อำเภอเปาหมายที่มีขอบงชี้ทางระบาดวิทยาโรคเรื้อน ในป 2564 ใชขอมูลผูปวยโรคเรื้อนรายใหมยอนหลัง 10 ป (พ.ศ.2553 - โดยระบุหมูบาน และตำบล พรอมทั้งกิจกรรมการคนหาผูปวยโรคเรื้อนรายใหม หนวยงาน จ(44) อ(คุณสมบัติขอที่ จำนวนครั้งของกิจกรรมสรางความตระหนักเรื่อง โรคเรื้อน ทั้งอำเภอ หมูบานที่มีผูปวยใหมในรอบ 10 ป ทำกิจกรรมคัดกรองผูสงสัย และ สงตอไปรับการตรวจวินิจฉัย (716) หมูบานที่มีผูปวยใหมเด็กในรอบ 10 ป ทำกิจกรรม RVS (91) สคร.1 เชียงใหม 1เ1ฝาง 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.14 ต.มอนปน, ม.8,9 ต.แมคะ, ม.1 ต.แมงอน, ม.13,15 ต.เวียง 2อมกอย 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.1 ต.นาเกียน, ม.3, 6, 7, 8, 13 ต.แมตื่น, ม.4 ต.ยางเปยง ม.3 ต.แมตืน ่2เ3เมืองเชียงราย 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.7 ต.นางแล, ม.12 ต.แมกรณ, ม.5, 8, 10, 11, 12 ต.แมยาว, ม.8 ต.รอบเวียง 4แ3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.15,16,20 ต.ปาตึง, ม.1 ต.แมจัน, ม.6, ม.8 ต.แมไร, ม.5 ต.สันทราย 5แมสรวย 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.16 ต.ทากอ, ม.15,20 ต.ปาแดด, ม.1,21 ต.วาวี, ม.9 ต.ศรีถอย ม.21 ต.วาวี 3แมฮองสอน 6แมสะเรียง 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.4, 8, 13 ต.บานกาศ, ม.12 ต.ปาแป, ม.8 ต.แมคง, ม.1, 5,6 ต.แมสะเรียง, ม.3,4, 9, 10ต.แมเหาะ 7สบเมย 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.2 ต.แมคะตวน, ม.3 ต.แมสวด, ม.3 ต.แมสามแลบ ม.3 ต.แมสวด สคร.2 พิษณุโลก 4พิษณุโลก 8ชาติตระการ 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.15 ต.บานดง ม.15 ต.บานดง 5ส9กงไกรลาศ 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.2 ต.ไกรใน, ม.9 ต.ทาฉนวน ม.2 ต.ไกรใน 6ตาก 1ทาสองยาง 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.1, 4, 9 ต.แมตาน, ม.12 ต.แมหละ, ม.3, 5, 21 ต.แมอุสุ 1พบพระ 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.5 ต.คีรีราษฎร, ม.4 ต.ชองแคบ ม.4 ต.ชองแคบ 1อุมผาง 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.9 ต.แมจัน, ม.1 ต.อุมผาง ม.9 ต.แมจัน, ม.1 ต.อุมผาง 

170หนวยงาน จ(44) อ(คุณสมบัติขอที่ จำนวนครั้งของกิจกรรมสรางความตระหนักเรื่อง โรคเรื้อน ทั้งอำเภอ หมูบานที่มีผูปวยใหมในรอบ 10 ป ทำกิจกรรมคัดกรองผูสงสัย และ สงตอไปรับการตรวจวินิจฉัย (716) หมูบานที่มีผูปวยใหมเด็กในรอบ 10 ป ทำกิจกรรม RVS (91) 7เพชรบูรณ 1เมืองเพชรบูรณ 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.9 ต.ดงมูลเหล็ก, ม.8 ต.นายม, ม.12 ต.บานโตก, ม.1 ต.ปาเลา, ม.5 ต.ระวิง, ม.9 ต.วังชมภู, ม.9 ต.สะเดียง 1ศรีเทพ 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.7,18 ต.คลองกระจัง, ม.3,18 ต.นาสนุน, ม.11 ต.ศรีเทพ, ม.13 ต.หนองยางทอย สนครสวรรค 8นครสวรรค 1บรรพตพิสัย 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.9 ต.ดานชาง, ม.3 ต.ตาขีด, ม.4 ต.ตาสัง, ม.6,10 ต.บานแดน 9กำแพงเพชร 1เมืองกำแพงเพชร 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.6 ต.ธำมรงค, ซ.27 ถ.ราชดำเนิน 1 ชนบท 4 ต.ในเมือง, ม.7 ต.ลานดอกไม, ม.16 ต.วังทอง ม.7 ต.ลานดอกไม 1ขาณุวรลักษบุรี 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.22 ต.ปางมะคา ม.22 ต.ปางมะคา 1พรานกระตาย 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.10 ต.คลองพิไกร, ม.5 ต.ทาไม, ม.2 ต.พรานกระตาย, ม.3 ต.หวยยั้ง ม.3 ต.หวยยั้ง 1พิจิตร 1โพทะเล 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.1 ต.ทาขมิน, ม.1,19 ต.ทาเสา, ม.12 ต.แหลมรัง ้ม.1 ต.ทาขมิน ้สคร.4 สระบุรี 1ลพบุรี 2ชัยบาดาล 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.10 ต.เกาะรัง, ม.2 ต.บัวชุม, ม.9, 11 ต.ลำนารายณ, ม.12 ต.ศิลาทิพย 1นนทบุรี 2ปากเกร็ด 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.5 ต.ปากเกร็ด , ม.1 ต.คลองเกลือ ม.5 ต.ปากเกร็ด 1ป2ค3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.4, เทศบาลต.คลองสาม, ม.3, 5 ต.คลองหก, ม.6, 16, 18 ต.คลองหนึ่ง สคร.5 ราชบุรี 1เพชรบุรี 2บานแหลม 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.8 ต.บางตะบูน ม.8 ต.บางตะบูน สคร.6 ชลบุรี 1ชลบุรี 2บางละมุง 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.5 ต.ตะเคียนเตี้ย, ม.1 ต.บางละมุง ม.5 ต.ตะเคียนเตีย ้2พนัสนิคม 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.10 ต.นาวังหิน, ถ.ศรีวิชัยเทศบาล ต.พนัสนิคม ม.10 ต.นาวังหิน 1ปราจีนบุรี 2กบินทรบุรี 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.12 ต.วังดาล, ม.11 ต.วังทาชาง, ม.7 ต.หนองกี ่ม.11 ต.วังทาชาง 1ส2เมือง2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.6 ต.ทายบานใหม, ม.3, 4 ต.เทพารักษ, ม.3,4 ต.บางปูใหม, ม.4 ต.บางปูใหม

171หนวยงาน จ(44) อ(คุณสมบัติขอที่ จำนวนครั้งของกิจกรรมสรางความตระหนักเรื่อง โรคเรื้อน ทั้งอำเภอ หมูบานที่มีผูปวยใหมในรอบ 10 ป ทำกิจกรรมคัดกรองผูสงสัย และ สงตอไปรับการตรวจวินิจฉัย (716) หมูบานที่มีผูปวยใหมเด็กในรอบ 10 ป ทำกิจกรรม RVS (91) สม.1, 4 ต.บางโปรง, ม.3,6 ต.บางเมือง, ม.8, 10 ต.บางเมืองใหม, ม.4 (ซ.แพรกษา10), ม.5, ศุภาลัยวิลล แพรกษา , วาง ต.แพรกษา, ม.5 ต.แพรกษาใหม, ม.7, 9 ต.สำโรงเหนือ 2พระประแดง 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.6, 8 ต.บางกอบัว, เทศบาล ต.บางพึง, ม.2 (ซ.เบทาโก ่ถ.เพชรหึง) ต.บางยอ, ม.7 ต.บางหญาแพรก, ม.13, 15 ต.บางหัวเสือ ม.13 ต.บางหัวเสือ สคร.7 ขอนแกน 1ขอนแกน 2เมืองขอนแกน 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.3 ต.โคกสี, ม.3,5, 9, 12 ต.โนนทอน, ม.2, 14, 17 ต.ในเมือง, ม.14 ต.บานเปด, ม.3 ต.พระลับ, ม.7 ต.เมืองเกา, ม.11, 21 ต.ศิลา, ม.7 ต.สำราญ, ม.10 ต.หนองตูม, ม.9 ต.บานทุม ม.9 ต.โนนทอน 3ชุมแพ 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.7,10 ต.ชุมแพ, ม.9 ต.วังหินลาด,ม.2 ต.หนองไผ ม.10 ต.ชุมแพ 3น้ำพอง 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.9 ต.กุดน้ำใส, ม.6 ต.ทรายมูล, ม.2, 11, 16 ต.บัวเงิน, ม.4, 13 ต.วังชัย, ม.13 ต.สะอาด, ม.7 ต.ทากระเสริม 3บานไผ 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.3 ต.แคนเหนือ, ม.1,5 ต.ในเมือง, ม.7 ต.ปาปอ, ม.12 ต.หนองน้ำใส, ม.8,12 ต.หินตั้ง 3พล 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.4 ต.โคกสงา, ม.1,9, 12 ต.โจดหนองแก, ม.9 ต.เพ็กใหญ, ถ.พิศาล เทศบาล ต.เมืองพล, ม.7 ต.หนองแวงนางเบา, ม.4 ต.หนองแวงโสกพระ 3หนองสองหอง 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.4 ต.ดอนดั่ง, ม.1,15 ต.หนองเม็ก, ม.4 ต.ดอนดัง ่

172หนวยงาน จ(44) อ(คุณสมบัติขอที่ จำนวนครั้งของกิจกรรมสรางความตระหนักเรื่อง โรคเรื้อน ทั้งอำเภอ หมูบานที่มีผูปวยใหมในรอบ 10 ป ทำกิจกรรมคัดกรองผูสงสัย และ สงตอไปรับการตรวจวินิจฉัย (716) หมูบานที่มีผูปวยใหมเด็กในรอบ 10 ป ทำกิจกรรม RVS (91) ม.1 ต.หนองสองหอง 3ชนบท 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.4 ต.โนนพะยอม, ม.10, 12 ต.ศรีบุญเรือง 3บานแฮด 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.2,12 ต.โคกสำราญ, ม.2, 11 ต.โนนสมบูรณ ม.11 ต.โนนสมบูรณ 1กาฬสินธุ 3กุฉินารายณ 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.6,7 ต.แจนแลน ม.7 ต.แจนแลน 3ยางตลาด 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.13 ต.คลองขาม, ม.9 ต.นาดี, ม.4 ต.ยางตลาด, ม.9 ต.เวอ, ม.2 ต.หนองอิเฒา, ม.2 ,10 ต.หัวนาคำ, ม.8 ต.อิตื้อ 3หวยผึ้ง 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.15 ต.นิคมหวยผึ้ง ม.15 ต.นิคมหวยผึ้ง 2มหาสารคาม 4โ2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.7 ต.แพง, ม.7, 8 ต.หนองบัว, ม.10 ต.หนองเหล็ก, ม.1 ต.หัวขวาง ,ม.4 ต.โพนงาม ม.8 ต.หนองบัว 4บ3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.8 ต.กำพี้, ม.12 ต.บรบือ, ม.6 ต.บอใหญ, ม.7 ต.วังไชย, ม.10 ต.หนองจิก ม.10,13 ต.หนองคูขาด, ม.3,12 ต.หนองมวง 4วาปปทุม 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.5 ต.งัวบา, ม.6 ต.นาขา, ม.14, 15 ต.บานหวาย, ม.9 ต.ประชาพัฒนา, ม.4 ต.หนองแสง, ม.4,8 ต.หนองแสง 4นาดูน 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.1 ต.กูสันตรัตน, ม.10 ต.ดงดวน, ม.3,4 ต.ดงยาง, ม.2, 3 ต.หนองคู, ม.2, 7 ต.หัวดง ม.10 ต.ดงดวน, ม.2 ต.หนองคู 2รอยเอ็ด 4เมืองรอยเอ็ด 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.7, 9 ต.เมืองทอง, ม.2 ต.สีแกว, ม.1 ต.หนองแกว ม.9 ต.เมืองทอง

173หนวยงาน จ(44) อ(คุณสมบัติขอที่ จำนวนครั้งของกิจกรรมสรางความตระหนักเรื่อง โรคเรื้อน ทั้งอำเภอ หมูบานที่มีผูปวยใหมในรอบ 10 ป ทำกิจกรรมคัดกรองผูสงสัย และ สงตอไปรับการตรวจวินิจฉัย (716) หมูบานที่มีผูปวยใหมเด็กในรอบ 10 ป ทำกิจกรรม RVS (91) สคร.8 อุดรธานี 2อุดรธานี 4เมืองอุดรธานี 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.11 ต.เชียงยืน, ม.2 ต.นากวาง, ม.2 ต.บานเลือม, ่ม.7, 15 ต.สามพราว, ม.4 ต.หนองขอนกวาง, ม.6 ต.หนองไผ, ซ.โพธิ์สวาง 2 เทศบาล, ม.2 ต.หมากแขง 4กุมภวาป 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.10 ต.เชียงแหว, ม.3 ต.ทาลี่, ม.1 ต.หวยเกิ้ง ม.8, 9, 12, 13 ต.พันดอน, ม.9 ต.เวียงคำ,ม.2 ต.สีออ , ม.8 ต.หนองหวา, ม.2 ต.สีออ 2เลย 4วังสะพุง 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.4 ต.ศรีสงคราม ม.4 ต.ศรีสงคราม 2หนองบัวลำภู 4นากลาง 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.13, 19 ต.กุดดินจี่, ม.7, 10, 11 ต.ดานชาง, ม.11 ต.โนนเมือง 4สุวรรณคูหา 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.1 ต.กุดผึ้ง, ม.9 ต.ดงมะไฟ, ม.2 ต.นาดี, ม.6, 11 ต.บานโคก, ม.2, 6 ต.บุญทัน 2สกลนคร 5สวางแดนดิน 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.8 ต.คำสะอาด, ม.1, 4, 10 ต.โคกสี, ม.3 ต.บงเหนือม.11 ต.สวางแดนดิน สคร.9 นครราชสีมา 2นครราชสีมา 5เมืองนครราชสีมา 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.1, 14 ต.โคกกรวด, ซ.มิตรภาพ 19, ถ.จอมพล (วัดบูรณ), ซ.สุระ 3,ชุมชนทางรถไฟ, ซ.กิ่งสวายเรียง ถ.มุขมนตรี เทศบาล ต.ในเมือง, ม.8 ต.บานโพธิ์, ม.7 ต.พลกรัง, ม.10 ต.พุดซา, ม.2 ต.โพธิ์กลาง, ม.10 ต.สุรนารี, ม.6 ต.หนองระเวียง 5ครบุรี 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.4,6,8 ต.ครบุรี, ม.1,2 ต.มาบตะโกเอน ม.8 ต.ครบุรี 5บัวใหญ 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.5, 10 ต.โนนทองหลาง, ถ.หัวหนอง 1 เทศบาล, ม.7 ต.บัวใหญ, ม.7 ต.เสมาใหญ, ม.3, 4 ต.หนองแจงใหญ

174หนวยงาน จ(44) อ(คุณสมบัติขอที่ จำนวนครั้งของกิจกรรมสรางความตระหนักเรื่อง โรคเรื้อน ทั้งอำเภอ หมูบานที่มีผูปวยใหมในรอบ 10 ป ทำกิจกรรมคัดกรองผูสงสัย และ สงตอไปรับการตรวจวินิจฉัย (716) หมูบานที่มีผูปวยใหมเด็กในรอบ 10 ป ทำกิจกรรม RVS (91) 5ประทาย 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.5 ต.ตลาดไทร, ม.5, 11 ต.นางรำ, ม.10 ต.ประทาย, ม.5 ต.หนองคาย, ม.8,11 ต.หนองพลวง, ม.1 ต.หันหวยทราย 5พิมาย 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.18 ต.นิคมสรางตนเอง, ม.3, ม.14 ต.ในเมือง, ม.6 ต.รังกาใหญ ม.3 ต.ในเมือง 2ชัยภูมิ 5คอนสวรรค 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.2,8,9 ต.คอนสวรรค, ม.2 ต.ยางหวาย, ม.6 ต.ศรีสำราญ, ม.9 ต.หวยไร 5เกษตรสมบูรณ 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.1,4,6 ต.โนนกอก, ม.15 ต.บานเดื่อ, ม.2 ต.บานหัน, ม.2 ต.หนองโพนงาม ม.6 ต.โนนกอก 5หนองบัวแดง 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.1,5,12,14 ต.กุดชุมแสง, ม.3,7,9 ต.ถ้ำวัวแดง, ม.1 ต.ทาใหญ , ม.3 ต.หนองบัวแดง, 5จัตุรัส 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.1 ต.กุดน้ำใส, ม.4 ต.บานขาม, ม.1,17 ต.ละหาน, ม.6 ต.สมปอย, ม.8 ต.หนองบัวบาน 6เทพสถิต 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.15 ต.โปงนก ม.8 ต.นายางกลัก ม.15 ต.โปงนก 6ภูเขียว 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.6 ต.กวางโจน, ม.9 ต.โคกสะอาด, ม.4,16 ต.บานแกง, ม.7 ต.บานเพชร, ม.14 ต.ผักปง 6บานแทน 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.4 ต.บานเตา, ม.15 ต.บานแทน, ม.2,6,9 ต.สระพัง, ม.3 ต.หนองคู ม.4 ต.บานเตา 6แกงครอ 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.6,7 ต.โคกกุง, ม.5 ต.ทามะไฟหวาน, ม.6 ต.นาหนองทุม, ม.12 ต.บานแกง, ม.2 ต.หนองไผ ม.6 ต.โคกกุง 6ภักดีชุมพล 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.4, 14 ต.เจาทอง ม.14 ต.เจาทอง 2บุรีรัมย 6เมืองบุรีรัมย 1อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.8,14 ต.กระสัง, ม.1,2,5 ต.ชุมเห็ด, ถ.จิระ, เทศบาล ต.ในเมือง, ม.1,11 ต.บานยาง, ม.3,6,13 ต.พระครู, ม.18 ต.ลุมปุก, ม.17 ต.สะแกโพรง, ม.10,11 ต.เสม็ด, ม.2,13 ต.อิสาณ

175หนวยงาน จ(44) อ(คุณสมบัติขอที่ จำนวนครั้งของกิจกรรมสรางความตระหนักเรื่อง โรคเรื้อน ทั้งอำเภอ หมูบานที่มีผูปวยใหมในรอบ 10 ป ทำกิจกรรมคัดกรองผูสงสัย และ สงตอไปรับการตรวจวินิจฉัย (716) หมูบานที่มีผูปวยใหมเด็กในรอบ 10 ป ทำกิจกรรม RVS (91) ม.3 (วัดศรีสำโรง)ต.หนองตาด, ม.6 ต.หลักเขต 6หนองกี่ 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.4 ต.โคกสวาง,ม.5 ต.โคกสูง, ม.3 ต.ดอนอะราง, ม.9 ต.ทาโพธิ์ชัย,ม.2 ต.ทุงกระตาดพัฒนา,ม.4ต.เมืองไผ, ม.7 ต.หนองกี่ 6ประโคนชัย 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.6,10 ต.เขาคอก, ม.5 ต.ประโคนชัย, ม.4 ต.ไพศาล, ม.2 ต.สี่เหลี่ยม ,ม.1 ต.โคกตูม 6บานกรวด 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.12,13 ต.บึงเจริญ, ม.2,14 ต.สายตะกู ม.14 ต.สายตะกู 6ลำปลายมาศ 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.3,5 ต.โคกกลาง, ม.11 ต.โคกลาม, ม.4 ต.โคกสะอาด, ม.8 ต.บานยาง, ม.19 ต.ผไทรินทร, ม.6 ต.เมืองแฝก, ม.15 ต.แสลงพัน, ม.8 ต.หนองบัวโคก, ม.6,10 ต.หินโคน ม.11 ต.โคกลาม, ม.19 ต.ผไทรินทร 7ส2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.2 ต.ชุมแสง, ม.1, 5, 7 ต.ทามวง, ม.8 ต.ทุงวัง, ม.2,4 ต.นิคม,ม.3 ต.สตึก, ม.1,11 ต.สนามชัย, ม.6 ต.สะแก, ม.3, 11, 16 ต.หนองใหญ ม.1 ต.สนามชัย, ม.11 ต.หนองใหญ 7โนนดินแดง 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.1,10 ต.โนนดินแดง ม.10 ต.โนนดินแดง 2สุรินทร 7เมืองสุรินทร 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.8 ต.กาเกาะ, ม.8 ต.แกใหญ, ม.2,5,15 ต.ทาสวาง, ม.1 ต.เทนมีย, เทศบาล, ม.1,2,8 ต.นอกเมือง, ถ.ศรีบัวลาย, ถ.กรุงศรีนอก, เทศบาล ต.ในเมือง, ม.6 ต.บุษี, ม.14 ต.เมืองที, ม.8 ต.สลักได 7ชุมพลบุรี 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.3,15 ต.ชุมพลบุรี, ม.8 ต.นาหนองไผ, ม.9 ต.ไพรขลา, ม.6,9 ต.ยะวึก, ม.11 ต.สระขุด 7ท3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.12 ต.กระโพ, ม.4,22 ต.ทาตูม, ม.1,2,3,9,10 ต.เมืองแก,ม.5 ต.หนองบัว

176หนวยงาน จ(44) อ(คุณสมบัติขอที่ จำนวนครั้งของกิจกรรมสรางความตระหนักเรื่อง โรคเรื้อน ทั้งอำเภอ หมูบานที่มีผูปวยใหมในรอบ 10 ป ทำกิจกรรมคัดกรองผูสงสัย และ สงตอไปรับการตรวจวินิจฉัย (716) หมูบานที่มีผูปวยใหมเด็กในรอบ 10 ป ทำกิจกรรม RVS (91) สุรินทร (ตอ) 7ปราสาท 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.17 ต.กังแอน, ม.7 ต.กันตวจระมวล, ม.9 ต.โคกสะอาด, ม.1 ต.ทุงมน, ม.4 ต.บานไทร, ม.8 ต.ปราสาททนง, ม.3, 11 ต.หนองใหญ, ม.10 ต.ตาเบา 7ศีขรภูมิ 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.11 ต.จารพัต, ม.3 ต.ชางป, ม.2 ต.แตล, ม.5, 11 ต.ยาง, ม.13 ต.ระแงง, ม.18 ต.หนองบัว 7ส2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.10 ต.กระเทียม, ม.3,10 ต.ขอนแตก,ม.5,7 ต.ตาตุม, ม.5,8 ต.ทับทัน, ม.9 ต.พระแกว, ม.5, 12,16 ต.สะกาด ม.3 ต.ขอนแตก ม.5,7 ต.ตาตุม 7ส3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.10 ต.ประดู, ม.4 ต.ศรีสุข, ม.2,3,9 ต.หมื่นศรี สคร.10 3อ7นาจะหลวย 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.3 ต.นาจะหลวย, ม.2 ต.โนนสมบูรณ ม.3 ต.นาจะหลวย อ8กุดขาวปุน 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.1 ต.กาบิน, ม.3 ต.แกงเค็ง ม.1 ต.กาบิน 8พ2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.7 ต.กุดชมภู, ม.1 ต.ทรายมูล, ม.10 ต.นาโพธิ์, ม.3, 4, 5 ต.โนนกลาง, ม.4 ต.โนนกาหลง, ม.19 ต.โพธิ์ไทร,ม.10 ต.หนองบัวฮี, ม.2 ต.อางศิลา ม.1 ต.ทรายมูล 8โพธิไทร ์2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.3 ต.มวงใหญ ม.3 ต.มวงใหญ 8ส2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.4,13 ต.โคกสวาง, ม.3,10 ต.โนนกาเล็น ม.3 ต.โนนกาเล็น 3อำนาจเจริญ 8ลืออำนาจ 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.6 ต.โคกกลาง ม.6 ต.โคกกลาง 3ยโสธร 8คำเขื่อนแกว 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.3 ต.นาคำ, ม.8 ต.ยอ, ม.4 ต.เหลาไฮ ม.4 ต. เหลาไฮ 3ศรีสะเกษ 8กันทรารมย 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.2 ต.ทาม, ม.7 ต.โนนสัง, ม.8,12 ต.ผักแพว, ม.7 ต.เมืองนอย, ม.12 ต.ยาง 8กันทรลักษ 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.1 ต.ทุงใหญ, ม.2 ต.โนนสำราญ, ม.1 ต.บึงมะลู, ม.1,10,18 ต.ภูเงิน, ม.1,8 ต.เมือง,

177หนวยงาน จ(44) อ(คุณสมบัติขอที่ จำนวนครั้งของกิจกรรมสรางความตระหนักเรื่อง โรคเรื้อน ทั้งอำเภอ หมูบานที่มีผูปวยใหมในรอบ 10 ป ทำกิจกรรมคัดกรองผูสงสัย และ สงตอไปรับการตรวจวินิจฉัย (716) หมูบานที่มีผูปวยใหมเด็กในรอบ 10 ป ทำกิจกรรม RVS (91) ม.6 ต.เวียงเหนือ, ม.1,12 ต.สวนกลวย 8อุทุมพรพิสัย 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.19,20 ต.กานเหลือง, ม.6 ต.แขม, ม.7 ต.โพธิ์ชัย, ม.16 ต.หนองหาง 8โพธิศรีสุวรรณ ์2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.7,9,11ต.ผือใหญ, ม.11 ต.เสียว, ม.7 ต.หนองมา ม.7 ต.หนองมา สนครศรีธรรมราช 3นครศรีธรรมราช 9เมืองนครศรีธรรมราช 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.4 ต.ทางิ้ว, ม.5 ต.นาทราย, ม.9, ซ.ไสเจรญ ถ.เอเชีย เทศบาล ต.โพธิ์เสด็จ ิม.5 ต.นาทราย 3กระบี่ 9เกาะลันตา 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.2 ต.ศาลาดาน ม.2 ต.ศาลาดาน 3พังงา 9คุระบุรี 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.4 ต.คุระ, ม.6 ต.แมนางขาว ม.4 ต.คุระ 3ภูเก็ต 9เมืองภูเก็ต 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.2 ต.กะรน, ม.10 ต.ฉลอง, ขางวงเวียนหอย เทศบาล ต.ตลาดใหญ, ม.4,7 ต.รัษฎา, ม.1,6 ต.วิชิต สคร.12 สงขลา 3สงขลา 9เทพา 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.5, 14 ต.ทามวง, ซ.เกษตรขันธ 2 ถ. เกษตรขันธ เทศบาล, ม.1 ต.เทพา, ม.3 ต.ปากบาง, 3ส9ค2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.2 ต.ทุงนุย ม.2 ต.ทุงนุย 4ตรัง 9ย2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.10 ต.ในควน ม.10 ต.ในควน 4ป9เมืองปตตานี 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.3 ต.บาราเฮาะ, ม.1 ต.ปะกาฮะรัง, ม.6, 7 ต.ปุยุด, ถ.สฤษดิ์ เทศบาล, วาง (เทศบาล)? ต.สะบารัง, วาง (เทศบาล)? ต.อาเนาะรู ม.6 ต.ปุยุด 9หนองจิก 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.3, 5 ต.คอลอตันหยง, ม.4 ต.ตุยง, ม.4 ต.ยาบี ม.3 ต.คอลอตันหยง 9ป3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.4 ต.ดอน, ม.5 ต.บานกลาง, ม.1, 4, 5 ต.ปะนาเระ, ม.2 ต.พอมิง ่

178หนวยงาน จ(44) อ(คุณสมบัติขอที่ จำนวนครั้งของกิจกรรมสรางความตระหนักเรื่อง โรคเรื้อน ทั้งอำเภอ หมูบานที่มีผูปวยใหมในรอบ 10 ป ทำกิจกรรมคัดกรองผูสงสัย และ สงตอไปรับการตรวจวินิจฉัย (716) หมูบานที่มีผูปวยใหมเด็กในรอบ 10 ป ทำกิจกรรม RVS (91) 1ม2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.2 ต.เกาะจัน, ม.3 ต.ตรัง, ม.1 ต.มายอ, ม.6, 7, 8 ต.ลุโบะยิไร, ม.1, 2, 3 ต.สาคอบน ม.3 ต.ตรัง, ม.7,8 ต.ลุโบะยิไร 1ทุงยางแดง 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.2 ต.ตะโละแมะนา, ม.3, 5 ต.ปากู, ม.5, 6 ต.พิเทน 1สายบุรี 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.8 ต.กะดุนง, ถ.ตะพา, ถ.ตะพาลาง, ถ.โรงพยาบาล, ถ.ปาตาตีมอ เทศบาล ต.ตะลุบัน, ม.2, 3 ต.บางเกา, ม.4 ต.บือเระ, ม.2, 3 ต.ปะเสยะวอ ม.1,3 ต.มะนังดาลำ, ม.2, 5 ต.ละหาร ม.3 ต.บางเกา, มม.2 ต.ละหาร ปตตานี (ตอ) 1ยะหริ่ง 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.1 ต.จะรัง, ม.1,3 ต.ตะโละกาโปร, ม.2,5 ต.ปยามุมัง, ม.3 ต.มะนังยง, ม.1 ต.ยามู, ม.1 ต.สาบัน, ม.3 ต.แหลมโพธิ์ ม.1,3 ต.ตะโละกาโปร, ม.1 ต.สาบัน, ม.3 ต.แหลมโพธิ ์1ยะรัง 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.3 ต.กอลำ, ม.6 ต.เขาตูม, ม.3 ต.ยะรัง, ม.1 ต.วัด, ม.4 ต.สะนอ ม.6 ต.เขาตูม, ม.3 ต.ยะรัง 1กะพอ 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.4 ต.กะรุบี, ม.6 ต.ตะโละดือรามัน, ม.6 ต.ปลองหอย 1โคกโพธิ์ 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.5 ต.ชางใหตก, ม.1 ต.ปาบอน, ม.2 ต.ทุงพลา, ม.8 ต.ปากลอ ม.8 ต.ปากลอ 4ยะลา 1เมืองยะลา 3อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.3 ต.ตาเซะ, ม.3, 4 ต.บันนังสาเรง, ม.6 ต.พรอน, ม.2,6 ต.ยุโป, ม.1 ต.ลิดล, ถ.พิพิธภักดี, ถ.สิโรรสสาย2, ถ.สุขยางค2, ถ.เทศบาล5 เทศบาล ต.สะเตง, ม.13 ต.สะเตงนอก 1รามัน 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.1 ต.กายูบอเกาะ, ม.5 ต.เกะรอ, ม.2ต.ตะโละหะลอ, ม.1,3,7 ต.ทาธง, ม.1, 5 ต.เนินงาม, ม.3 ต.บาลอ, ม.2 ต.ยะตะ, ม.2,4 ต.วังพญา, ม.1 ต.อาซอง ม.1,7 ต.ทาธง, ม.4 ต.วังพญา

179หนวยงาน จ(44) อ(คุณสมบัติขอที่ จำนวนครั้งของกิจกรรมสรางความตระหนักเรื่อง โรคเรื้อน ทั้งอำเภอ หมูบานที่มีผูปวยใหมในรอบ 10 ป ทำกิจกรรมคัดกรองผูสงสัย และ สงตอไปรับการตรวจวินิจฉัย (716) หมูบานที่มีผูปวยใหมเด็กในรอบ 10 ป ทำกิจกรรม RVS (91) 4นราธิวาส 1เมืองนราธิวาส 1อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.4,8,13 ต.กะลุวอเหนือ, ม.5 ต.โคกเคียน, เทศบาล (ซ.โตะกอดอ ถ.พิชิตบำรุง, ซ.กาแลยาแย, ถ.กำปงบารู, ถ.นิมิตรมงคล, ถ.ศรีชัยชาญ) ต.บางนาค, ม.1 ต.บางปอ, ม.1,3,4 ต.มะนังตายอ, ม.1,4,8 ต.ลำภู ม.13 ต.กะลุวอเหนือ, ม.5 ต.โคกเคียน, เทศบาล ต.บางนาค 1ตากใบ 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.8 ต.เกาะสะทอน, ม.5 ต.โฆษิต, ม.1,2 ต.เจะเห, ม.3 ต.บางขุนทอง, ม.1 ต.พรอน, ม.4,6,8,10 ต.ไพรวัน, ม.2,3,6 ต.ศาลาใหม ม.5 ต.โฆษิต 1ร1อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.1,2,3,5,6 ต.กาลิซา, ม.5 ต.เฉลิม, ม.1,4,6,7,8,11 ต.ตันหยงมัส, ม.1 ต.ตันหยงลิมอ, ม.2, 5,6 ต.บองอ, ม.4,5,8 ต.บาโงสะโต, ม.1,7,8 ต.มะรือโบตก ม.6 ต.กาลิซา, ม.6,8 ต.ตันหยงมัส, ม.1 ต.ตันหยงลิมอ, นราธิวาส (ตอ) 1ศรีสาคร 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.3 ต.เชิงคีรี, ม.4 ต.ซากอ, ม.3 ต.ตะมะยูง, ม.3 ต.ศรีบรรพต, ม.5 ต.ศรีสาคร ม.3 ต.เชิงคีรี, ม.4 ต.ซากอ 1จะแนะ 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.2,7 ต.จะแนะ, ม.4,5 ต.ชางเผือก, ม.1,2,6,7ต.ผดุงมาตร ม.5 ต.ชางเผือก 1เจาะไอรอง 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ม.2, 5 ต.จวบ, ม.2,3,8,11 ต.บูกิต, ม.1,3,4,7 ต.มะรือโบออก ม.2 ต.จวบ, ม.3 ต.บูกิต, ม.7 ต.มะรอโบออก ืสถาบันปองกัน คเมือง (สปคม.) 4กรุงเทพมหานคร 1คลองสาน 2อยางนอยปละ 1 ครั้ง ถ.เจริญรัถ แขวงคลองสาน, ถ.ประชาธิปกแขวงสมเด็จเจาพระยา ถ.ประชาธิปก แขวงสมเด็จเจาพระยา

180หมายเหตุ 1) จำนวนหมูบานที่มีผูปวยใหมในรอบ 10 ป มี 7 หมูบาน ประกอบดวย 695 หมูบาน + 19 เทศบาล + 2 แขวงของกทม. 2) จำนวนหมูบานที่มีผูปวยใหมเด็กในรอบ 10 ป มี 91 หมูบาน ประกอบดวย 89 หมูบาน + 1 เทศบาล + 1 แขวงของกทม. 3) ตัดขอมูลวิเคราะหพื้นที่เปาหมายเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2563 ดังนั้นถาหากสคร./สปคม.ไดรับขอมูลเพิ่มเติมจากจังหวัดและทำใหอำเภอนั้นเขาตเปาหมายในการดำเนินได 4) สามารถ Download ไดที่ //thaileprosy.ddc.moph.go.th/site/area.html

1813. เปาหมาย3.1 ระดบประเทศ ระยะ 20 ป ัตัวชี้วด ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2561 – 2565) ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2566 - 2570) ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2571- 2575) ระยะที่ 4 (พ.ศ. 2576 - 2580) ัคาเปาหมาย 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573 2574 2575 2576 2577 2578 2579 2580 1จำนวนผูปวยโรคเรื้อนรายใหม ≥140 ≥120 ไมราย ราย เกิน ราย ราย ราย ราย ราย ราย 50 100 ราย ≥98 ≥92 ≥82 ≥74 ≥66 ≥56 ไมเกิน ≥44 ≥40ราย ราย ราย ราย ราย ≥35 ≥32 ไมเกิน ≥2630 ราย ราย ราย ≥24 ≥22 ≥20 ราย ราย เกินไม18 ราย 2จำนวนผูปวยโรคเรื้อนรายใหม มีความพิการ ระดับ 2 ไม เกิน เกิน เกิน22 ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ไม 21 ไม20 ไมเกิน เกิน20 ไม20 ไมเกิน เกิน18 ไม16 ไม เกิน เกิน เกิน เกิน เกิน เกิน เกิน 14 ไม 12 ไม 10 ไม 8 ไม 6 ไม 4 ไม2 0 0 0 0 ราย ราย ราย 0 0 ที่มา: เปาหมายจำนวนผูปวยโรคเรือนรายใหม ป 2561 - 2580 คำนวณจากขอมูลการคนพบผูปวยรายใหม ยอนหลัง 5 1้ปแลวทำนายไปขางหนา (Regression) 2จำนวนผูปวยโรคเรื้อนรายใหมที่มีความพการระดบ 2 อางอิงจาก WHO ไดกำหนดเปาหมายลดอตราความพการิััิระดบ 2 (Grade 2 disability rate) ในผูปวยโรคเรือนรายใหม ในป 2563 ไมเกิน 1 รายตอประชากร 1 ลานคน ซึงั้่ประเทศไทยไดบรรลุเปาหมายนไปกอนแลว จงไดกำหนดเปาหมายจำนวนผูปวยโรคเรื้อนรายใหมที่มีความพการระดับ 2 ี ้ึิในป 2563 ไมเกน 0.3 ตอประชากร 1 ลานคน (20 ราย) ทั้งนี้ไดตั้งเปาเปน 0 ราย ในป 2575 ิ 3.2 ระดบประเทศ ระยะ 5 ป ัเปาหมาย/ตัวชี้วัดเปาหมาย baseline คาเปาหมาย ป พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เปาหมาย/ตัวชี้วัดเปาหมายที่ 1 - จำนวนผูปวยโรคเรื้อนรายใหม มากกวาหรือเทากับจำนวนทีกำหนด (ราย) [ใชเฉพาะป 62, 64, 65] ่- จำนวนผูปวยโรคเรื้อนรายใหม ไมเกินจำนวนที่กำหนด (ราย) [ใชเฉพาะป 63] ระดบประเทศ ั125 119 100 98 92 สคร.1 เชียงใหม 7 15 10 10 7 สคร.2 พิษณุโลก 9 5 6 6 6 สคร.3 นครสวรรค 7 3 3 3 3 สคร.4 สระบุรี 3 7 3 3 3 สคร.5 ราชบุรี 2 4 2 2 2 สคร.6 ชลบุร ี5 7 3 3 3 สคร.7 ขอนแกน 19 7 11 11 9 สคร.8 อุดรธานี 6 6 6 6 6 สคร.9 นครราชสีมา 27 30 22 21 20

182เปาหมาย/ตัวชี้วัดเปาหมาย baseline คาเปาหมาย ป พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 สคร.10 อบลราชธานี ุ9 13 8 8 9 สคร.11 นครศรีธรรมราช 5 4 4 4 3 สคร.12 สงขลา 19 13 18 17 18 สถาบันปองกันควบคุมโรคเขตเมือง 7 5 4 4 3 ตัวชี้วด Proxy ัจำนวนผูปวยโรคเรื้อนรายใหม ทมีความพิการระดับ 2 (Grade ี่2 disability) ไมเกินจำนวนที่กำหนด (ราย) 25 18 20 20 20 เปาหมายที่ 2จังหวัดเปาหมายที่สามารถลดการตีตราของชุมชนที่มีตอโรคเรื้อน - - 3/5 ตัวชี้วดเปาหมายที่ 2(ระดับประเทศ) ั- รอยละของจังหวัดเปาหมายทสามารถลดการตีตราของชุมชนี่ที่มีตอโรคเรื้อน (3/5 จังหวัด) - - 50 ตัวชี้วดเปาหมายที่ 2 (ระดับพื้นที่) ัรอยละของประชากรในจังหวัดเปาหมายลดการตีตราตอโรคเรื้อน - - - สคร.2 พิษณุโลก (จังหวัดเพชรบูรณ) 1คาเฉลี่ย 17.0 - 2คาเฉลี่ยลดลง 10 % จากป 59 สคร.4 สระบุรี (จังหวัดนครนายก) 1คาเฉลี่ย14.2 - 2คาเฉลี่ยลดลง 10 % จากป 59 สคร.6 ชลบุรี (จังหวัดจันทบุรี) 1คาเฉลี่ย14.5 - 2คาเฉลี่ยลดลง 10 % จากป 59 สคร.10 อุบลราชธานี (จังหวัดศรีสะเกษ) 1คาเฉลี่ย12.8 - 2คาเฉลี่ยลดลง 10 % จากป 59 สคร.12 สงขลา (จังหวัดสตูล) 1คาเฉลี่ย13.9 - 2คาเฉลี่ยลดลง 10 % จากป 59 - รอยละของผูประสบปญหาจากโรคเรื้อนไดรับการแกไข 3ปญหาดวยการฟนฟูสภาพทุกมิติเพื่อลดการตีตราและการเลือกปฏิบัต ิ- - - 50 50 ที่มา: คา baseline ของตัวชี้วัดเปาหมายที่ 2 รอยละของประชากรในจังหวัดเปาหมายลดการตีตราตอโรคเรื้อน มาจาก1การประเมินในป 2559

183 2 อางอิงจากการวจัยป 2554 ของ อ.หนองบวแดง จ.ชัยภูมิ (คาเฉลียลดลงประมาณรอยละ30) ในป 2563 จึงิั่กำหนดคาเปาหมายใหคาเฉลี่ยลดลงรอยละ 10 ตามกิจกรรมที่ไดรับงบประมาณเพื่อลดการตีตราในพื้นที่ 3 ขอมูลผูประสบปญหาจากโรคเรือนที่ตองไดรับการแกไขปญหาฯ อางองจาก ทะเบียนผูประสบปญหาจากโรค้ิเรื้อนที่ไดจากการสำรวจปญหาถึงป 2561 และผูประสบปญหาจากโรคเรื้อนที่ไดรับการสงเคราะหถึงปที่ทำการประเมิน

1845. กลไกการบริหารจัดการแผนเพื่อใหแผนบรรลุผลตามวัตถุประสงค/เปาหมาย มาตรการ สวนกลาง สคร. สสจ. รPมาตรการที่ 1 เรงรัดคนหาผูปวยโรคเรื้อนในพื้นที่ที่มีขอบงชีทางระบาด้วิทยาและในผูส1. เพิ่มประสิทธิภาพการตรวจคัดกรองผูสัมผัสโรคเรื้อนที่ต่ำกวาเปาหมาย 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขเพื่อลดความลาชาในการวินิจฉัยและรักษาโรคเรื้อน 3. พัฒนาเครือขายระบบเฝาระวัง ปองกันและควบคุมโรคเรื้อนในประชากรตางดาว 4. ดำเนินการและสนับสนุนกิจกรรมสรางความตระหนักเรื่องโรคเรื้อนแกประชาชนและบุคลากรสาธารณสุขที่เกี่ยวของ อยางเขมขนและสม่ำเสมอ - ยกระดับศักยภาพจิตอาสาในการคนหาผูปวยโรคเรื้อนรายใหมในชุมชน ดวยนวัตกรรมแอพพลิเคชั่น LINE@ 5. นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานควบคุมโรคเรื้อนในพื้นที่รับผิดชอบ พัฒนาสถานบริการเชี่ยวชาญโรคเรื้อนอยางเขมขนและสม่ำเสมอ เพื่อเพิ่มคุณภาพการดำเนินงานของพื้นที่ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการตรวจคัดกรองผูสัมผัสโรคเรื้อนที่ต่ำกวาเปาหมาย 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขเพื่อลดความลาชาในการวินิจฉัยและรักษาโรคเรื้อน 3. ดำเนินกิจกรรมคนหาผูปวยโรคเรื้อนรายใหมตามหลักเกณฑพื้นที่ที่มีขอบงชี้ทางระบาดวิทยา - ยกระดับศักยภาพจิตอาสาในการคนหาผูปวยโรคเรื้อนรายใหมในชุมชน ดวยนวัตกรรมแอพพลิเคชั่น LINE@ 4. พัฒนาเครือขายระบบเฝาระวัง ปองกันและควบคุมโรคเรื้อนในประชากรตางดาว 5. สนับสนุนการตรวจคัดกรองโรคเรื้อน และยืนยันการวินิจฉัยโรคเรื้อนในกลุมประชากร ตางดาวที่มาตรวจสุขภาพประจำป และประชากรตางดาวที่มีอาการโรคผิวหนังเรื้อรังรักษา ไมหาย 6. นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานควบคุมโรคเรื้อนในพื้นที่รับผิดชอบและสถานบริการเชี่ยวชาญโรคเรื้อน 1. คนหาผูปวยโรคเรื้อนรายใหมตามบริบทพื้นที่ 2ม. เขารวม LINE@ “อาสาคนหา โรคเรื้อน” --มาตรการที่ 2 พัฒนาสุขภาวะผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน 1สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมการพัฒนาสุขภาวะ 1.1 สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน 1.2 สนับสนุนการลดการตีตราของชุมชนตอผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน 1.3 สนับสนุนการจัดตั้งเครือขายจิตอาสา 1.4 สนับสนุนการบูรณาการนิคมเพื่อใหผูประสบปญหาจากโรคเรื้อนมีสวนรวมกับชุมชนและ1. ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาสุขภาวะผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน 1.1 ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน - สนับสนุน สงเสริมการดูแลตนเองเพื่อปองกันความพิการและใหการฟนฟูสภาพผูประสบปญหาจากโรคเรื้อนตามความจำเปน - สนับสนุนการมีสวนรวมทางสังคมและการเขาถึงสวัสดิการสังคมที่จำเปน 1พัฒนาระบบการฟนฟูสภาพผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน 2ดำเนินกิจกรรมใหความรูโรคเรื้อนเพื่อลดการตีตราแก1ใหการฟนฟูสภาพผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน 2ใหความรูเรื่องโรคเรื้อนเพื่อลดการตีตรา 3จัดตั้งกลุมจิต1ใหการฟนฟูสประสบปญหาจากโรคเรื้อน 2ใหความรูเรื่องโรคเรื้อนเพื่อลดการตีตรา

185มาตรการ สวนกลาง สคร. สสจ. รPสิ่งแวดลอม 2. นิเทศ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานพัฒนาสุขภาวะผูประสบปญหาจากโรคเรื้อนของ สคร. สปคม. 3. ประเมินสุขภาวะของผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน 4. สรุปบทเรียนการพัฒนาสุขภาวะ 5. ดำเนินงานที่เกี่ยวของกับการยกเลิกกฎหมายที่มีการเลือกปฏิบัติตอผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน 1.2 ดำเนินกิจกรรมการสรางความรูความเขาใจที่ถูกตองเรื่องโรคเรื้อนตอประชาชนในชุมชนเปาหมายที่มีผูประสบปญหาฯเพื่อลดการตีตรา และดำเนินการแกไขปญหาการตีตราและเลือกปฏิบัติตอโรคเรื้อน 1.3 สนับสนุนการจัดตั้งเครือขายจิตอาสาเพื่อชวยผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน 1.4 ติดตามความกาวหนาภายหลังการบูรณาการนิคม 2. นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานพัฒนาสุขภาวะผูประสบปญหาจากโรคเรื้อนของพื้นที่ ประชาชนในชุมชนเปาหมาย 3สนับสนุนการจัดตั้งเครือขายจิตอาสาฯ อาสาฯเพื่อชวยผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน 3จัดตั้งกลุมจิตอาสาฯเพือ่ชวยผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน

1866. การตดตามและประเมนผล ิิมาตรการ/โครงการ วธีการติดตามประเมนผล ิิระยะเวลาการตดตามประเมินผล ิมาตรการท 1 ี ่เรงรัดคนหาผูปวยโรคเรื้อนในพื้นที่ที่มีขอบงชี้ทางระบาดวิทยาและในผูสัมผัสโรค 1. รวบรวมขอมลจากระบบรายงานผูปวยโรคเรื้อนทูี่พบใหม ปละ 1 ครั้ง 2. นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานควบคุมโรคเรื้อนของ สคร./สปคม. ทุกป หรือทุก 2 ป ขึ้นกับสถานการณโรคเรื้อน และปญหาการดำเนินงานของแตละเขต มาตรการท 2 ี ่พัฒนาสุขภาวะผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล ปละ 1 ครั้ง

1877. มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ป มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาพ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน มาตรการที 1 ่เรงรัดคนหาผูปวยโรคเรื้อนในพื้นที่ที่มีขอบงชี้ทางระบาดวิทยาและในผูสัมผัสโรค     - รพช./รพท./รพศ./สสจ. - สคร.1-12/สปคม. - สรส. 9.476 16.352 8.77 34.598 งปม. กรอยละ 50 1. รอยละของผูปวยโรคเรื้อนรายใหมมีคาเฉลี่ยระยะเวลาตั้งแตเริ่มมีอาการของโรคเรือนจน้ไดรับการวินิจฉัยและรักษาโรคเรือนตามมาตรฐาน ้(SOS) ไมเกิน 12 เดือน 02. จำนวนผูปวยโรคเรื้อนรายใหมที่เปนเด็กที่มีความพิการระดับ 2 โครงการที่ 1 โครงการเรงรัดการดำเนินงานปองกันควบคุมโรคเรื้อนในพื้นที่ (F1.5)   - รพช./รพท./รพศ./สสจ. - สคร.1-12/สปคม. - สรส. 1113งกรมฯ กิจกรรมหลัก 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพการการสอบสวนโรคเรื้อนในกลุมผูสัมผัสโรคสำหรับบุคลากรสาธารณสุขในระดับอำเภอ และจังหวัดเปาหมายในการดำเนินงานตรวจคัดกรองโรคเรื้อน (  0102งกรมฯ

188มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาพ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน - พัฒนาความรวมมือกับเจาหนาที่สาธารณสุขในพื้นที่ที่มีขอบงชี้ทางระบาดวิทยาโรคเรื้อน เพื่อติดตามตรวจคัดกรองโรคเรื้อนในกลุมผูสัมผัสโรค กิจกรรมหลัก 2 ปฏิบัติการสอบสวนและควบคุมโรคเรื้อน (F1.5)   0000งกรมฯ โครงการที่ 2 โครงการระบบเฝาระวังและสอบสวนโรคอัจฉริยะ Smart Surveillance & Investigation (F3.2)   ส213งกรมฯ กิจกรรมหลัก พัฒนาฐานขอมูลโรคเรื้อนระดับประเทศ (F3.2)  213งกรมฯ โครงการที่ 3 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการควบคุมโรค(F3.2)   สรส. 202งกรมฯ กิจกรรมหลัก การพัฒนาปญญาประดิษฐ ในการเฝาระวัง คัดกรองและวินิจฉัย เพือการปองกันควบคุมโรคเรื้อน(F 3.2) ่-พัฒนา Skin app เพื่อการพัฒนาการคนหาผูปวยโรคเรื้อนรายใหม    สรส. 001งกรมฯ - พัฒนารูปแบบการตรวจผูสัมผัสโรครวมบานและเพื่อนบาน เพื่อคนหาผูปวยโรคเรื้อนรายใหม ดวย สรส./ สคร. / สปคม. / สสจ. 11งกรมฯ

189มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาพ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน Mobile Application โครงการที่ 4 โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข เพื่อการตรวจคัดกรอง วินิจฉัยและรักษาผูปวยโรคเรื้อนในประชากรตางดาว ป 2563 สรส. / สสจ. / โรงพยาบาลที่เปดบริการตรวจสุขภาพแรงงานตางดาว 11งกรมฯ โครงการที่ 5 โครงการพัฒนาเครือขายหนวยงานภาครัฐ และองคกรเอกชน (NGO) ในการเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมโรคเรื้อนในพื้นที่ชายแดนไทย - เมียนมาร (ภาคตะวันตก) และพื้นที่ชายแดนไทย-กัมพูชา (ภาคตะวันออก)  สรส. / สสจ. / อำเภอ / รพ. และหนวยงานองคกรเอกชน ในพื้นที่ สคร.5 ราชบุรี และ 6 ชลบุรี 022งกรมฯ โครงการที่ 6 โครงการพัฒนาศักยภาพผูปฏิบัติงานโรคเรื้อนผานรสรส. / สสจ. / รพ. / รพ.สต. 00งกรมฯ โครงการที่ 7 โครงการพัฒนามาตรฐานงานควบคุมโรคเรื้อนของเครือขายสถานบริการเชี่ยวชาญโรคเรื้อน   สรส./ สคร./สปคม./สสจ./รพศ./รพท. ที่เปนพื้นที่ตั้งของ N1113งกรมฯ โครงการที่ 8 โครงการคนหาผูปวยโรคเรื้อนในชุมชนโดยใชเครือขายแอพพลิเคชั่นไลนของอสม.และจิตอาสา  สรส./ สคร./สปคม./สสจ./รพศ./รพท./รพช./รพ.สต./อสม./จิตอาสาราชประชาสมาสัย 1113งกรมฯ

190มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาพ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน สถาบันราชประชาสมาสัย ในพื้นที่มีขอบงชี้ทางระบาดวิทยา โครงการที่ 9 ควบคุมโรคเรื้อนและการฟนฟูสภาพผูปวยโรคเรื้อน   สรส. / สสจ. / รพ.สต. / อสม. / จิตอาสาราชประชาสมาสัย 1013งกรมฯ โครงการที่ 10 โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม. รอบรูโรคเรื้อน เพื่อคนหาผูปวยใหมในชุมชน(F1.3)   สรส. / สคร. / สปคม. / สสจ. / สสอ. / สอ. / รพศ. / รพท. / รพช. / รพ.สต. ตามพื้นที่ (อำเภอ) เปาหมายที่มีขอบงชี้ทางระบาดวิทยา 1113งกรมฯ โครงการที่ 11 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานการควบคุมโรคเรื้อนภายใตสภาวะความชุกโรคเรื้อนต่ำ สำหรับบุคลากรสาธารณสุขระดับประเทศ เขต และจังหวัด สรส. /สคร. /สปคม. / สสจ. / รเครือขาย 22งกรมฯ โครงการที่ 12 โครงการประเมินประสิทธิผลการพัฒนาชุดความรูพื้นฐานโรคเรื้อนสำหรับผูปฏิบัติงานโรคเรื้อนผานระบบ Online สคร. / สปคม. / สสจ. / รพ. / รพ.สต. 00งกรมฯ โครงการที่ 13   สคร. 1 – 12 / สปคม. 1115ง

191มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาพ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน โครงการเรงรัดการดำเนินงานตามยุทธศาสตรงานโรคเรือน (สำหรบ สคร. และ สปคม.) ้ักรมฯ มาตรการที 2 ่พัฒนาสุขภาวะผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน     - รพช./รพท./รพศ./สสจ. - สคร.1-12/สปคม. - สรส. 1.75 2.2 1.5 5.45 งปม. กรอยละ 60 รอยละของผูประสบปญหาจากโรคเรื้อนที่ไดรับการฟนฟูสภาพตามความจำเปน มีสุขภาวะที่ดีขึ้น โครงการที่ 1 โครงการประเมินการตีตราของสังคมตอผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน สรส. / สคร. / สปคม. / สสจ. / พม. / หนวยงานทองถิ่น 00งกรมฯ โครงการที่ 2 โครงการสนับสนุนการบูรณาการนิคมโรคเรือนให้เปนชุมชนทั่วไป และติดตามประเมินผลนิคมโรคเรื้อนภายหลังการยกเลิกเปนสถานสงเคราะห   ส/ สสจ. / หนวยงานทองถิ่น 0000งกรมฯ โครงการที่ 3 โครงการการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกลางและการคัดเลือกผูปวยพิการจากโรคเรื้อนเขารับการส  สรส. / สคร. / สปคม. 0102งกรมฯ โครงการที่ 4 โครงการพัฒนาศักยภาพผูประสบปญหาจากโรคเรื้อนเพื่อการมีสุขภาวะที่ดีแบบมีสวนรวมทางสังคม  สรส. / สคร. / สสจ.และหนวยงานที่เกี่ยวของ 001งกรมฯ

192มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาพ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน โครงการที่ 5 โครงการขจัดการเลือกปฏิบัติและการตีตราผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน (การสำรวจและดำเนินการยกเลิกกฎหมายที่เลือกปฏิบัติตอผูประสบปญหาจากโรคเรื้อน)   สรส.

1938. แผนการตดตามประเมนผลระยะ 5 ปิิมาตรการ/โครงการ เปาหมาย วธีการติดตามิประเมนผล ิกรอบระยะเวลาของการตดตามประเมนผล(พ.ศ.) ิิ2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการท 1 ี ่เรงรัดคนหาผูปวยโรคเรื้อนในพื้นที่ทมขอบงชี้ ระยะเวลาตั้งแตเริ่มมี่ีทางระบาดวทยาและใน อาการของโรคเรื้อนจนิผูสัมผัสโรค 1. รอยละ 50 ของผูปวยโรคเรื้อนรายใหมมีคาเฉลี่ย ระบบรายงานผูปวยโรคีไดรับการวินิจฉัยและรักษา ประเมินผลการโรคเรื้อนตามมาตรฐาน (SOS) ไมเกิน 12 เดือน 2. จำนวนผูปวยโรคเรื้อนรายใหมที่เปนเด็กที่มีความพิการระดับ 2 (0 ราย) 1. รวบรวมขอมลจากูเรอนทีพบใหม ื ้่1 ครั้ง 1 ครั้ง 1 ครั้ง 1 ครั้ง 1 ครั้ง 2. นิเทศ กำกับ ติดตาม ทุกป หรือทุก 2 ป ขึ้นกับสถานการณโรคเรื้อน และปญหาดำเนินงานควบคุมโรคเรื้อนของ สคร./สปคม. การดำเนินงานของแตละเขต มาตรการท 2 ี ่พัฒนาสุขภาวะผูประสบ ปญหาจากโรคเรื้อนที่ไดรับ ประเมินผล ปญหาจากโรคเรื้อน รอยละ 60 ของผูประสบการฟนฟูสภาพตามความจำเปน มีสุขภาวะที่ดีขึ้น นิเทศ กำกับ ติดตาม 1 ครั้ง 1 ครั้ง 1 ครั้ง 1 ครั้ง 1 ครั้ง 9. ผูรับผิดชอบแผนงาน 1. นายอาจินต ชลพันธ ุเบอรโทรศัพท 0 23859135-7 ตอ 1007ผูอำนวยการสถาบันราชประชาสมาสัย E-mail: [email protected]

1941. สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ/ปัญหา/พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง โรคติดต่อทางอาหารและน้้า เป็นปัญหาสาธารณสุขที่พบผู้ป่วยได้ตลอดทั้งปีด้วยโรคอจจาระร่วงเฉียบพลัน ุอหวาตกโรค ไวรสตบอักเสบชนดเอ และโรคอาหารเปนพษ ทงจากเชื้อไวรส แบคทเรย สารพิษ และพชพิษ เช่น ไวรสิััิ็ิั ้ัีีืัโรต้า โบทูลิซึม เห็ดพิษ ผู้ป่วยจะมีอาการไข้ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลว/ถ่ายเป็นน้้า หากมีอาการรุนแรงจากการขาดน้้า จะท้าให้เกิดภาวะช็อก ไตวายและเสียชีวิตได้ ผู้ป่วยสามารถแพร่เชื้อไปสู่ผู้อนได้ผ่านทางอจจาระ ทั้งนี้ ืุ่โรคอาหารเป็นพษ ถือเป็นปัญหาโรคติดต่อทางอาหารและน้้าที่ส้าคัญ เนื่องจากมักเกิดเหตุการณ์ระบาดเป็นกลุ่มก้อน ิจากการท้ากิจกรรมร่วมกันหรือมีการรวมตัวของคนจ้านวนมากในการประชุม เข้าค่ายลูกเสือ งานกีฬาสี ทัศนศึกษา ท่องเที่ยว งานเลี้ยงสังสรรค์ต่างๆ ท้าให้มีการรับประทานอาหารและน้้าร่วมกัน หากอาหาร น้้า และน้้าแข็งปนเปื้อนหรอไมมคุณภาพ การปรงประกอบอาหารขาดสขลกษณะและการสขาภิบาลไมถกตองตามมาตรฐาน พฤตกรรมการื่ีุุัุู่้ิบริโภคไม่ถูกหลักอนามัย ด้วยเหตุเหล่านี้ จึงท้าให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อโรค ระบาดเป็นวงกว้าง และมีผู้ป่วยจ้านวนมากในแต่ละเหตุการณ์ ดังเช่นปี 2557 เกิดเหตุการณ์ระบาดของโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน มีผู้ป่วย 463 ราย ผลสรุปจากการสอบสวนโรคพบสาเหตุ คือ เลือดในข้าวมันไก่ ซึ่งเชื้อที่เป็นสาเหตุของการระบาดอาจปนเปื้อนในโรงงานผลิตและระบบการขนส่ง ปี 2559 เกิดอาหารเป็นพิษจากนมโรงเรียน มีผู้ป่วย 99 ราย ผลสรุปจากการสอบสวนโรค สาเหตุของการปนเปื้อนน่าจะเกิดจากการเก็บรักษานมถุงในอณหภูมิที่ไม่เหมาะสม ปี 2560 เกิดอาหารเป็นพษในเรือนจ้า มีผู้ป่วย 185 ุิราย ผลสรปจากการสอบสวนโรคพบว่า มีการปนเปื้อนเชื้อในวัตถดิบ (ไขต้ม) ปี 2561 เกดอาหารเป็นพิษในเรอนจา ุุ่ิื้มีผู้ป่วย 598 ราย ผลจากการสอบสวนโรคพบว่า รับประทานอาหารเสี่ยง คือ ลาบดิบ ปี 2562 เกดอาหารเปนพษในวัด ิ็ิมีผู้ป่วย 81 ราย จากโครงการบวชถวายเปนพระราชกศล ผลจากการสอบสวนโรคพบว่า รบประทานอาหารประเภทย้า ็ุักะทิ น้้าผลไม้ รวมถึงอาหารที่มีคนมาถวาย ซงอาจเสื่อมสภาพได้ หรือในปี 2563 เกิดอาหารเป็นพิษในชุมชน มีผู้ป่วย 79 ึ่ราย ผลสรุปจากการสอบสวนโรคพบว่า รับประทานอาหารเสี่ยง คือ ลาบควายดิบ (ข้อมูลจากโปรแกรมตรวจสอบข่าวการระบาด ส้านักระบาดวิทยา)จากข้อมูลระบบเฝ้าระวังโรค (รง 506) ปี 2558-2562 พบอตราปวยด้วยโรคอาหารเป็นพษต่อแสนประชากร ั่ิจาก 199.06 ลดลงเปน 166.25 (ภาพท 1) ในป 2562 มีผู้ป่วยด้วยโรคอาหารเปนพษ 109,826 ราย และมีผู้เสยชีวิต ็ี ่ี็ิี1 ราย จาก 77 จังหวัด กลุ่มอายุที่พบมากที่สุด คือ 15-24 ปี รองลงมา คือ มากกว่า 65 ปี จะเห็นได้ว่า สถานการณ์โรคอาหารเป็นพษ แม้จะมีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย แต่ยังมีผู้ป่วยจ้านวนมากและพบผู้เสียชีวิต ข้อมูลจากโปรแกรมตรวจสอบิข่าวการระบาด ส้านักระบาดวิทยา พบว่า ส่วนใหญ่เกิดเหตุการณ์การระบาดในโรงเรียน รองลงมาคือ การรับประทานอาหารที่บ้าน ค่ายทหาร และเรือนจ้า (ภาพที่ 2) ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค คือ เกิดจากการรับประทานอาหารร่วมกัน แต่ไม่ทราบสาเหตุ รับประทานอาหารเสี่ยง รับประทานอาหารดิบ หรือสุกๆ ดิบๆ ปรุงประกอบอาหารทิ้งไว้นานเกิน 2 ชั่วโมงก่อนรับประทาน และมีการปนเปื้อนเชื้อก่อโรคในวัตถุดิบ (ภาพที่ 3) โดยกลุ่มเสี่ยงส่วนใหญ่เป็นนักเรียน จากข้อมูลที่กล่าวมา พบว่า ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคสามารถเกิดได้ตลอดห่วงโซ่อาหาร ทั้งจากอาหารและน้้าที่ไม่ปลอดภัย การปรุงประกอบอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ และพฤติกรรมการบริโภค การด าเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับอาหารและน าตลอดห่วงโซ่อาหาร ตั งแต่ต้นน า กลางน า จนถึงปลายน า ยังขาดความเชื่องโยงในด้านข้อมูล ความร่วมมือของแผนงานและมาตรการปฏิบัติ ท าให้เป็นการด าเนินงานที่แยกส่วนกัน ขาดการบูรณาการงานให้เกิดความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน จึงควรมีกิจกรรมด าเนินงานที่ก่อให้เกิดการบูรณาการงานของหน่วยงานทุกภาคส่วนเข้าด้วยกัน เพอให้เกิดการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน าอย่างมีื่ประสิทธิภาพ แผนงานควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้้า

195199.06211.83167.11182.14166.25050100150200250พ.ศ.2558พ.ศ.2559พ.ศ.2560พ.ศ.2561พ.ศ.2562อัตราป่วยโรคอาหารเป็นพิษต่อแสนประชากร ปี 2558-2562ภาพที่ 1 อัตราป่วยโรคอาหารเป็นพิษต่อแสนประชากรภาพที่ 2 จ้านวนการเกิดเหตุการณ์ระบาดของโรคอาหารเป็นพิษใน Setting ต่างๆภาพที่ 3 ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกดโรคอาหารเป็นพิษ ปี 2558-2562 ิ

1962. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง ตารางที่ 1 แสดงจังหวัดเสี่ยงของโรคอาหารเป็นพิษ (ใช้ด้าเนินการปี 2564)เขต จังหวัดเสี่ยง ส้านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ เชียงใหม่ ล้าพูน แม่ฮ่องสอน แพร่ ส้านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก พิษณุโลก ส้านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ - ส้านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดสระบุรี - ส้านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี - ส้านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดชลบุรี จันทบุรี ปราจีนบุรี ตราด ส้านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ส้านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดอุดรธานี นครพนม หนองคาย ส้านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ ส้านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี อุบลราชธานี อ้านาจเจริญ มุกดาหาร ศรีสะเกษ ส้านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช - ส้านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา - ข้อมูล ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2563 เกณฑ์จังหวัดเสี่ยง คือ จังหวัดที่มีอัตราป่วยต่อแสนประชากรด้วยโรคอาหารเป็นพิษสูงกว่าอัตราป่วยของประเทศ 5 ปีติดต่อกัน ตั้งแต่ ปี 2558-2562

1973. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ปี (2561-2565)เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เป้าหมาย: ลดจ้านวนผู้ป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษในจังหวัดเสี่ยง ตัวชี้วัด 1 ร้อยละของจังหวัดเสี่ยง ที่มีการขับเคลื่อนงาน เฝ้าระวัง ป้องกันโรคติดต่อทางอาหารและน้้า - ร้อยละ 50 ร้อยละ 70 ร้อยละ 90 ร้อยละ 100 (16 จังหวัด จากทั้งหมด 18 จังหวัดเสี่ยง)ตัวชี้วัด 2 ร้อยละของจังหวัดเสี่ยง ที่มีการขับเคลื่อนงาน เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้้า มีจ้านวนผู้ป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษลดลงจากปีที่ผ่านมา - ร้อยละ 10 ร้อยละ 20 ร้อยละ 70 ร้อยละ 80

1984. มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส้าคัญ ในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผู้ด้าเนินการ มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. สสจ. เครือข่ายด้าเนินงาน ในพื้นที่ (PCC) มาตรการที่ 1 พัฒนาเครือข่ายและระบบบริหารจัดการ 1. จัดท้าฐานข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา ประเมินความเสี่ยง และประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. พัฒนานโยบาย และบูรณาการแผนงาน/โครงการ เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกันโรคติดต่อทางอาหารและน้้าในระดับกรม 3. พัฒนาความร่วมมือและศักยภาพบุคลากรเครือข่ายในการด้าเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้้า 4. เยี่ยมเสริมพลังและประเมินผลการขับเคลื่อนงานของเครือข่าย 1. ถ่ายทอด ชี้แจงแผนการด้าเนินงานแก่เครือข่าย เช่น สสจ. คปสข. 2. วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาร่วมกับ จังหวัดและเครือข่าย 3. ประสานความร่วมมือ และ บูรณาการแผนด้าเนินงานกับเครือข่าย เช่น ศูนย์อนามัย สสจ. 4. พัฒนาและผลักดันให้เกิดกลไก/รูปแบบการขับเคลื่อนงานเฝ้าระวัง ป้องกันโรคติดต่อทางอาหารและน้้าร่วมกับเครือข่าย เช่น คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด คณะกรรมการอาหารปลอดภัย 5. พัฒนาศักยภาพบุคลากรเครือข่ายด้าเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้้า 6. ประเมินผลการขับเคลื่อนงานของเครือข่ายในพื้นที่ เพื่อพัฒนาการด้าเนินงานปีต่อไป 1. วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา ในพื้นที่ 2. ประสานความร่วมมือเครือข่าย และบูรณาการด้าเนินงานในพื้นที่ 3. ขับเคลื่อนงานเฝ้าระวัง ป้องกัน โรคติดต่อทางอาหารและน้้าอย่างบูรณาการร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่ เช่น คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด คณะกรรมการอาหารปลอดภัยจังหวัด/อ้าเภอ สภาผู้น้าชุมชน ฯ 4. จัดท้าแผนงาน โครงการ เพื่อ เฝ้าระวัง ป้องกันโรคติดต่อทางอาหารและน้้า 5. ติดตามประเมินผลการด้าเนินงานตามแผนงาน โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน โรคติดต่อทางอาหารและน้้า 1. พัฒนาศักยภาพเครือข่ายการด้าเนินงานป้องกันโรคติดต่อทางอาหารและน้้า ในพื้นที่ เช่น อสม. กสค. ผู้น้าชุมชน อย.น้อย อสร. ยสร. 2. ประสานความร่วมมือเครือข่าย และบูรณาการด้าเนินงานในพื้นที่ 3. ขับเคลื่อนการด้าเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกัน โรคติดต่อทางอาหารและน้้าร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่ เช่น อปท. 4. ประเมินผลการด้าเนินงานในพื้นที่ มาตรการที่ 2 พัฒนาวิชาการ เพื่อการป้องกันโรคติดต่อทางอาหารและน้้า 1. พัฒนาวิชาการด้านโรคติดต่อทางอาหารและน้้า เช่น ศึกษาวิจัย จัดท้าคู่มือ/แนวทาง 1. สนับสนุนข้อมูลวิชาการ แนวทาง และมาตรการเพื่อการป้องกันโรคติดต่อทางอาหารและน้้าแก่1. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ มาตรการ “สุก ร้อน สะอาด” และแนวทางการป้องกันโรคติดต่อทางอาหารและน้้าให้กับเครือข่าย1. ประชาสัมพันธ์มาตรการ “สุก ร้อน สะอาด” และให้ความรู้เพื่อการป้องกัน

199มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. สสจ. เครือข่ายด้าเนินงาน ในพื้นที่ (PCC) 2. สนับสนุนข้อมูลวิชาการ คู่มือ สื่อ แนวทาง มาตรการเพื่อการป้องกันโรคติดต่อทางอาหารและน้้า เครือข่ายในพื้นที่ เช่น สสจ. อปท. โรงเรียน สถานประกอบการ ด้าเนินงาน เช่น รพ. สสอ. รพ.สต. และประชาชนหรือกลุ่มเป้าหมาย เช่น โรงเรียน (โดยเฉพาะในช่วงก่อนเปิดเรียน ช่วงการเข้าค่าย) ชุมชน (ก่อนเทศกาลท่องเที่ยว หรืองานประเพณีต่างๆ) 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการป้องกันโรคติดต่อทางอาหารและน้้า เช่น สสอ. รพ.สต. ครู อปท. ผู้ประกอบการ โรคติดต่อทางอาหารและน้้าในพื้นที่ เช่น โรงเรียน ชุมชน วัด มาตรการที่ 3 เสริมสร้างความเข้มแข็งการจัดการภาวะฉุกเฉิน 1. พัฒนาฐานข้อมูลระดับประเทศให้เป็นระบบ 2. พยากรณ์โรค และจัดท้ารายงานการประเมินความเสี่ยง 3. จัดท้าคู่มือ แนวทาง แผนปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 1. พัฒนาฐานข้อมูลระดับเขต ให้เป็นระบบ 2. จัดท้าแนวทางการจัดการใน ภาวะฉุกเฉิน กรณีเกิดระบาด ของโรคติดต่อทางอาหารและน้้า 3. จัดท้ารายงานสอบสวนโรคกรณีเกิดการระบาดของโรคติดต่อทางอาหารและน้้า 4. แจ้งเตือนประชาชนตาม แนวทางการสื่อสารความเสี่ยง ในภาวะฉุกเฉิน (หากจ้าเป็น) 1. พัฒนาฐานข้อมูลเฝ้าระวังโรคระดับจังหวัดอย่างเป็นระบบ 2. เมื่อเกิดการระบาดของโรคติดต่อทางอาหารและน้้า ต้องมีการสอบสวนหาแหล่งแพร่เชื้อ ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้าเนินการตอบโต้และควบคุมโ็3. ท้าลายเชื้อ และปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรค เพื่อป้องกันการระบาดซ1. เมื่อเกิดการระบาดของโรคติดต่อทางอาหารและน้้า ต้องมีการสอบสวนหาแหล่งแพร่เชื้อ ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้าเนินการตอบโต้และควบคุมโ็2. การจัดเก็บข้อมูลการสอบสวนโรคในฐานข้อมูล และส่งต่อข้อมูลตามระบบ 3. แจ้งเตือนประชาชนในพื้นที่ ตามแนวทางการสื่อสารความเสี่ยงในภาวะฉุกเฉิน (หากจ้าเป็น)

200มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. สสจ. เครือข่ายด้าเนินงาน ในพื้นที่ (PCC) 4. แจ้งเตือนประชาชนในจังหวัด ตามแนวทางการสื่อสารความเสี่ยงในภาวะฉุกเฉิน (หากจ้าเป็น) 5. มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/ โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน แผนงานโรคติดต่อทางอาหารและน้้า โครงการพัฒนาและสนับสนุนการด้าเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อทาง อาหารและน้้า4.435 43.5 11.9351. จ้านวนคู่มือ/แนวทาง/สื่อต่างๆ เพื่อการป้องกันโรคที่เกิดจากอาหารและน้้า 1 เรื่อง 2. ร้อยละจังหวัดเสี่ยงที่มีการขับเคลื่อนงาน เฝ้าระวัง ป้องกันโรคติดต่อทางอาหารและน้้า และมีจ้านวนผู้ป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 40กิจกรรมที่ 1 ประชุมพัฒนาความร่วมมือเครือข่ายและบูรณาการขับเคลื่อนงาน เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้้า √√√√- กองโรคติดต่อทั่วไป - สคร. - สสจ. 0.8 0.8 0.8 2.4 ปีละ 1 ครั้ง กิจกรรมที่ 2 พัฒนาวิชาการเพื่อการป้องกันโรคติดต่อทางอาหารและน้้า √√√√- กองโรคติดต่อทั่วไป - กรมอนามัย 1.5 113.5 ปีละ 1 เรื่อง

201มาตรการ/แผนงาน/ โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน - ส้านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข - ส้านักงานคณะกรรมการอาหาร และยา - กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ - หน่วยงานอื่นๆ เช่น มหาวิทยาลัย สสส. กิจกรรมที่ 3 จัดท้าคู่มือ/แนวทาง/สื่อ สนับสนุนการด้าเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ √√- กองโรคติดต่อทั่วไป - สคร. 0.435 0.5 0.935 สื่อ/คู่มือ/แนวทาง อย่างน้อย 1 สื่อ กิจกรรมที่ 4 เยี่ยมเสริมพลังและประเมินผลการขับเคลื่อนงาน √√√√- กองโรคติดต่อทั่วไป - สคร. 0.4 0.4 0.4 1.2 ปีละ 5 ครั้ง กิจกรรมที่ 5 สนับสนุนการด้าเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันโรคและภัยสุขภาพ √√√√- กองโรคติดต่อทั่วไป - สคร. 1.3 1.3 1.3 3.9 13 หน่วยงาน

2026. แผนการติดตามประเมินผล ระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการท 1 พฒนาเครอข่ายและี ่ัืระบบบรหารจัดการ ิตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละจังหวัดเสี่ยงที่มีการขับเคลื่อนงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้้า ป 63 ร้อยละ 70 ีป 64 ร้อยละ 90 ีป 65 ร้อยละ 100 ี1. ตดตามผล ิการขับเคลื่อนงานฯ จากรายงาน 2. วิเคราะห์ การด้าเนินงาน 3. สรปผลรายไตรุมาส √ √ √ √ √ ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของจังหวัดเสี่ยงที่มีการขับเคลื่อนงานเฝ้าระวัง ป้องกันโรคตดตอทางอาหารและน้้า มีจ้านวนิ่ผู้ป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษลดลงป 63 ร้อยละ 20 ีปี 64 ร้อยละ 70 ปี 65 ร้อยละ 80 1. ตดตามผล ิการขับเคลื่อนงานฯ จากรายงาน 2. รายงาน 506 3. สรปผลรายไตรุมาส √ √ √ √ √ มาตรการที่ 2 พัฒนาวิชาการ เพื่อการป้องกันโรคติดต่อทางอาหารและน้้า ตัวชี้วัดที่ 3 จ้านวนผลงานวิชาการ/นวัตกรรม/คู่มือ/แนวทาง เพื่อการป้องกันโรคติดต่อทางอาหารและน้้า ปีละ 1 เรื่อง 1. ติดตามผลการด้าเนินงาน 2. ผลิตภัณฑ์ที่จัดท้าขึ้น เช่น สื่อ คู่มือ แนวทาง ระบบ √ √ √ √ √ มาตรการที่ 3 เสริมสร้างความเข้มแข็งการจัดการภาวะฉุกเฉินตัวชี้วัดที่ 4 หน่วยงานระดับเขต มีแผนปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน โรคติดต่อทางอาหารและน้้า 1 แผน 1. ติดตามผลจากแบบรายงานผลการด้าเนินงาน 2. ข้อมูลรายงานในระบบ Estimate SM 3. การซ้อมแผน √ √ √ √ √ ผู้รับผิดชอบแผนงาน PM แผนงานโรค ได้แก่ หน่วยงานสังกัดกรมควบคุมโรคที่เกี่ยวข้อง ชื่อ-สกุล: นางสาวศิริวลัยย์ มณีศรีเดช หัวหน้ากลุ่มโรคติดต่อทางอาหารและน้้า เบอร์โทรศัพท์: 0-2590-3187 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์: [email protected]

2031 1. สถานการณ์จากขอมลการเฝาระวังโรค รง.506 ระหว่างป 2551-2562 พบจ านวนผู้ป่วยมีแนวโน้มลดลงจากจ านวน ู้้ี5,439 รายในป 2552 เหลอ 2,151 รายในปี 2558 หลังจากนั้นจ านวนผู้ป่วยเริ่มเพมสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และสูงสุด ีืิ่ปี 2560 จ านวน 3,508 ราย จากนั้นมีแนวโน้มลดลง ดังภาพที่ 1 ภาพที่ 1 แสดงจ านวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตด้วยโรคเลปโตสไปโรสิสในประเทศไทย ระหว่างปี 2557-2562 เมอพิจารณาอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคเลปโตสไปโรสสต้งแต่ปี 2556-2561 พบว่า จ านวนผู้ป่วย ื ่ิัมีแนวโน้มเพมสูงขึ้นตั้งแต่ปี 2560 เป็นต้นมา ซึ่งปี 2560 อตราป่วยมีค่าเกินมัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง และอตราปวยตาย ิ่ัั่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเฉลี่ยอยู่ที่ 1-2% ดังภาพที่ 2 ภาพที่ 2 แสดงอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคเลปโตสไปโรสิสในประเทศไทย ระหว่างปี 2556-2562 22512151229535082919216524513669352905010015001000200030004000255725582559256025612562casesdeaths4.833.473.33.515.314.423.120.941.072.371.571.971.21.35012345672556255725582559256025612562MorbidityCFRMedian MBMed CFRแผนงานโรคเลปโตสไปโรสิส อัตราป่วยต่อแสนประชากร, อัตราป่วยตาย (% )

204โรคเลปโตสไปโรสสมกเกิดการระบาดในช่วงฤดฝน (พ.ค. – ม.ค.) ของทุกปี โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ิัูจะพบผู้ป่วยสูงช่วงเดือนมิถุนายน-กันยายน ส่วนภาคใต้จะพบผู้ป่วยสูงช่วงเดือนพฤศจิกายน-มกราคม ซึ่งภาคใต้เป็นภาคที่พบอตราป่วยสูงสุด รองลงมาคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเขตที่พบอตราป่วยมากที่สุด เป็นพนที่เขต สคร. 7-12 ััื้และจังหวัดที่พบอตราป่วยสูงสุด อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 7 จังหวัด ได้แก่ ศรีสะเกษ กาฬสินธุ์ เลย สุรินทร์ ัมหาสารคาม ยโสธร นครราชสีมา ภาคใต้ 8 จังหวัด ได้แก่ ระนอง พังงา นครศรีธรรมราช ตรัง ยะลา พัทลุง กระบี่ สงขลา และภาคเหนือ ได้แก่ น่าน แสดงดังภาพ ภาพที่ 3 แสดงอัตราป่วยด้วยโรคเลปโตสไปโรสิส จ าแนกรายเขต ระหว่างปี 2551-2561 ส าหรับข้อมูลเฝ้าระวังโรค ปี 2563 ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2562 – 23 พ.ค. 63 พบผู้ป่วย 401 ราย คดเปนอัตราิ็ป่วย 0.6 ตอแสนประชากร เสยชีวิต 5 ราย คดเปนอตราตาย 0.02 ต่อแสนประชากร อัตราสวนเพศชายต่อเพศหญิง ่ีิ็ั่1: 0.17 กลุ่มอายุที่พบมากที่สุด เรียงตามล าดับ คือ 45-54 ปี (21.45 %), 35-44 ป (17.96 %), 55-64 ป(17.96 %) ีีอาชีพส่วนใหญ่ เป็นเกษตรรอยละ 44.1 รับจ้างร้อยละ 21.7 นักเรียน รอยละ 10.5 จังหวัดที่มีอตราป่วย ้้ัต่อแสนประชากรสูงสุด 5 อนดับแรก คือ ระนอง (12.15 ตอแสนประชากร) ยะลา (4.51 ตอแสนประชากร) ศรีสะเกษ ั่่(3.39 ต่อแสนประชากร) พังงา (3.36 ต่อแสนประชากร) สตูล (2.49 ต่อแสนประชากร) จากการสอบสวนผเสยชีวิตดวยโรคเลปโตสไปโรสิส ปี 2562 จานวน 19 เหตการณ พบผเสยชีวิตเป็นเพศชาย : ู ้ีุ้์ู ้ีเพศหญิง เท่ากับ 3.8 : 1 อายุระหว่าง 13 - 77 ปี (median age = 45 ปี) ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมเสี่ยง คือ ย่ าดินที่ชื้นแฉะโดยไม่สวมรองเท้าป้องกัน ลุยน้ าท่วมขัง ท านา/หาปลา ลงแช่น้ าเป็นเวลานาน โดยเกิดจากสาเหตุผู้ป่วยเป็น Severe leptospirosis 6 ราย คนไข้มาช้า / ซื้อยามาทานเอง 5 ราย ไปพบแพทย์คลินิก 2 ราย ได้รับการรักษาล่าช้าจาก รพ.สต. 3 ราย รพช. 5 ราย และ รพศ. 1 ราย ทั้งนี้ อาการของโรคเลปโตสไปโรสิสในระยะแรกจะคล้ายกับโรคติดเชื้ออนๆ ื่เมื่อรับประทานยาอาการอาจดีขึ้นจนกระทั่งเข้าสู่การด าเนินโรคในช่วงที่สอง ผู้ป่วยจะมีอาการรุนแรงหรือเกิดภาวะแทรกซ้อน และเสียชีวิตในที่สุด 051015202525572558255925602561อัตราป่วยต่อแสนประชากร

2053 จากการวิเคราะหสถานการณโรคทผานมา ปัญหาของการเจ็บป่วยและเสยชีวิตจากโรคเลปโตสไปโรสสมาจาก์์ี ่่ีิสาเหตุหลายประการ ได้แก่ ประชาชนขาดความรู้เกี่ยวกับโรค (มีความรู้ที่ถูกต้องต่ ากว่าร้อยละ 50 ของ) หรือขาด ความตระหนักถึงการป้องกันตนเองท าให้เกิดความเจ็บป่วย มารับการรักษาช้าเมื่อมีอาการสงสัย โรคเลปโตสไปโรสิส บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เป็นด่านแรกรับมีการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยโรคช้าน าไปสู่การดูแลรักษาโรค ทช้าตามมา ดังนั้น ประชาชนควรมีความรู้เกี่ยวกับโรคการป้องกันตนเองโดยการหลีกเลี่ยงการลงน้ าที่เป็นจุดเสี่ยง ี ่สวมรองเท้าบู๊ทเมื่อต้องย่ าดินที่ชื้นแฉะ อาบน้ าช าระร่างกายทันทีหลังสัมผัสน้ าเป็นเวลานาน รีบไปพบแพทย์เมื่อสงสัยว่าเป็นโรคเลปโตสไปโรสิส และแพทย์ควรมีการวินิจฉัยโรคได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ซึ่งโรคเลปโตสไปโรสสมยาปฏิชีวนะ ิีที่สามารถเลือกใช้ได้จ าเพาะเจาะจงกับโรค หากรักษาได้ทันท่วงทีก็จะช่วยลดความเสี่ยงจากการเสียชีวิตได้2. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง จังหวัดเสี่ยงซึ่งเป็นจังหวัดที่พบอตราป่วยสูงสุดล าดับแรกๆ ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2557-2561) เป็นพนที่เขต ัื้สคร. 7-12 และจังหวัดที่พบอตราป่วยสูงสุด อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 7 จังหวัด ได้แก่ ศรีสะเกษ กาฬสินธุ์ เลย ัสรินทร์ มหาสารคาม ยโสธร นครราชสมา ภาคใต 8 จังหวัด ไดแก ระนอง พงงา นครศรีธรรมราช ตรัง ยะลา พทลง ุี้้่ััุกระบี่ สงขลา และภาคเหนือ ได้แก่ น่าน ส าหรับกลุ่มเสี่ยง พบว่า ร้อยละ 70 ของผู้ป่วยทั้งหมดเป็นกลุ่มวัยท างาน อายุระหว่าง 25-65 ปี ได้แก่ เกษตรกรททานา ทาสวน (สวนผลไม สวนยางพารา สวนปาลม) หาปลาในแหล่งน้ าธรรมชาติที่มีเชื้อปนเปื้อน คนเลี้ยงสัตว์ ี ่้์ผู้ที่ประสบอุทกภัยหรืออาศัยอยู่ในพื้นที่น้ าท่วมขัง นักท่องเที่ยวที่เดินลุย/ว่ายน้ าในจุดเสี่ยง

2063. เป้าหมาย3.1 ระดับประเทศ เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 1. ลดอัตราป่วยด้วยโรคเลปโตสไปโรสิสไม่เกินค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง 4.42 3.51 3.51 - - 2. ลดอัตราป่วยตายด้วยโรคเลปโตสไปโรสิส 1.45 ไม่เกินค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง 1.451.45 1.45 1.45 3.2 ระดับเขต/จังหวัด เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย เขต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต สป.12 คม. 1. ลดอัตราป่วย ไม่เกินค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง 3.43 1.6 0.56 0.23 0.19 0.76 7.09 2.24 4.25 11.98 8.42 8.62 0.14 2. ลดอัตราป่วยตาย ไม่เกินค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง 0.66 1.47 0 0 0 2.06 1.67 0.56 1.04 1.46 1.67 2.03 0

2075 4. มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผู้ด าเนินการ มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. เขต สสจ. รPCC ชุมชน/ต าบล มาตรการการป้องกันโรค 1. เฝ้าระวัง และชี้เป้าเตือนภัย พื้นที่เสี่ยง วิเคราะห์สถานการณ์ความเสี่ยงภาพรวมของประเทศ ชี้เป้าเตือนภัยพื้นที่ที่มีอัตราป่วย/ป่วยตายสูง รวมทั้งติดตามสถานการณ์น้ าท่วมเพื่อเตรียมความพร้อมรับมือ วิเคราะห์สถานการณ์ความเสี่ยงและสภาพปัญหาของพื้นที่ระดับเขต ชี้เป้าเตือนภัยพื้นที่ที่มักเกิดการระบาด รวมทั้งติดตามสถานการณ์น้ าท่วมเพื่อเตรียมความพร้อมรับมือ วิเคราะห์สถานการณ์ความเสี่ยงและสภาพปัญหาของพื้นที่ ชี้เป้าอ าเภอเสี่ยงที่พบผู้ป่วยจ านวนมาก และวางแผนการด าเนินงานป้องกันควบคุมโรคในอ าเภอเสี่ยง ประสานงานกับ สสจ. เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล และเฝ้าระวังโรคในผู้ป่วย กรณีเกิดโรคระบาดหรือภาวะน้ าท่วม เฝ้าระวัง ติดตามสถานการณ์น้ าท่วม และเตือนภัยประชาชนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภาวะน้ าท่วม 2. สื่อสารความเสี่ยงเชิงรุกทั้งในภาวะปกติ และภาวะน้ าท่วม -ส ารวจความรู้ประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันโรคเลปโตสไปโรสิส -จัดท าสื่อต้นแบบฯ -สื่อสารความเสี่ยงแก่ประชาชนในภาพรวมของประเทศก่อนช่วงฤดูฝนและระหว่างฤดูฝน -ส ารวจความรู้ประชาชนร่วมกับ สสจ. -จัดท าสื่อประชาสัมพันธ์สนับสนุนให้หน่วยงาน สถานพยาบาล คลินิก ร้านขายยา และสถานศึกษามีการสื่อสารความเสี่ยง -จัดกิจกรรมรณรงค์สื่อสารความเสี่ยงให้แก่ประชาชนก่อนช่วงฤดูฝนและระหว่างฤดูฝน -ส ารวจความรู้ประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันโรคเลปโตสไปโรสิสในอ าเภอเสี่ยง -จัดท าสื่อประชาสัมพันธ์สนับสนุนให้หน่วยงาน สถานพยาบาล คลินิก ร้านขายยา และสถานศึกษามีการสื่อสารความเสี่ยง -จัดกิจกรรมรณรงค์สื่อสารความเสี่ยงให้แก่ ประชาชนก่อนช่วงฤดูฝนและระหว่างฤดูฝน สื่อสารความเสี่ยงแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับการป้องกันตนเอง และอาการสงสัยโรคเลปโตสไปโรสิส เจ้าหน้าที่และ อสม. สื่อสารความเสี่ยงแก่ประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันตนเอง และอาการสงสัยโรคเลปโตสไปโรสิส เผยแพร่ประชาสัมพันธ์แก่ประชาชนผ่านหอกระจายข่าว วิทยุ กรณีเกิดเข้าสู่ฤดูกาลระบาด

208มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. เขต สสจ. รPCC ชุมชน/ต าบล 3. การจัดการสุขาภิบาลและ สิ่งแวดล้อมในชุมชน สสจ. ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควบคุม ก ากับ ดูแลการประกอบกิจการตลาด และสถานที่จ าหน่าย อาหารในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ให้มีการจัดการถูกหลักสุขาภิบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่ก าหนด สสอ. ร่วมกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นควบคุม ก ากับ ดูแลการประกอบกิจการตลาดและสถานที่จ าหน่ายอาหารใน ชุมชน ให้มีการจัดการถูกหลัก สุขาภิบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ที่ก าหนด มาตรการเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบการวินิจฉัยโรคและดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรสิส4. รู้เร็ว วินิจฉัยเร็ว ป้องกัน ผู้เสียชีวิตจากโรคเลปโตสไปโรสิส -ศึกษา ค้นคว้าเครื่องมือที่ช่วยในการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยโรคได้อย่างรวดเร็ว แม่นย า -ถ่ายทอดแนวทางการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยโรคแก่บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขให้แก่ สคร. -ถ่ายทอดแนวทางการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยโรคแก่ บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขให้แก่ สสจ. -นิเทศ ติดตามการน าแนวทางการตรวจคัดกรอง และวินิจฉัยผู้ป่วยไปใช้ในระดับจังหวัด -ถ่ายทอดแนวทางการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยโรคแก่บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขให้แก่ รพ. คลินิก ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ -เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองผู้ป่วยในโรงพยาบาล -น าแนวทางการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยโรคไปใช้ใน รพ. -เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองผู้ป่วยในโรงพยาบาล -รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลของผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตใน- น าแนวทางการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยโรคไปใช้ใน PCC -น าข้อมูลที่ได้รับจากจาก สสอ. สสจ. หรือโรงพยาบาล มาประชาสัมพันธ์ แจ้งเตือนประชาชนให้รีบไปพบแพทย์เมื่อพบอาการสงสัย

2097 มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. เขต สสจ. รPCC ชุมชน/ต าบล -รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลของผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตในจังหวัด พร้อมทั้งคืนข้อมูลให้แก่ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง -ก ากับ ติดตาม ประเมินผลการใช้แนวทางการตรวจคัดกรองฯ ในโรงพยาบาล พร้อมทั้งคืนข้อมูลให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5. เร่งรัดการควบคุมโรคในพื้นที่ระบาด -วิเคราะห์ รวบรวมข้อมูลสถานการณ์ ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคในพื้นที่ -สนับสนุนข้อมูลทางวิชาการเพื่อจัดท าแผนป้องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิสระดับอ าเภอ -ขับเคลื่อนนโยบาย ผลักดันความร่วมมือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงานป้องกันควบคุมโรค -ผลักดัน สนับสนุน และร่วมด าเนินงานกับ สสจ. ในการวิเคราะห์ สถานการณ์ ปัจจัยเสี่ยง และจัดท าแผนป้องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส ระดับอ าเภอ -สอบสวนควบคุมโรคร่วมกับ สสจ. กรณีเกิดการระบาดเป็นกลุ่มก้อน -สสจ. ในจังหวัดเสี่ยงผลักดัน สนับสนุน และร่วมด าเนินงานกับ สสอ. ในการวิเคราะห์ สถานการณ์ ปัจจัยเสี่ยง และจัดท าแผนป้องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิสระดับอ าเภอ -สสจ. ร่วมกับ สสอ. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ปศุสัตว์อ าเภอ ท าสอบสวนหาสาเหตุของการติดเชื้อ กรณีพบผู้ป่วยเป็นกลุ่มก้อนหรือผู้เสียชีวิต เพื่อป้องกันการระบาดในพื้นที่ พร้อมทั้งคืนข้อมูลสู่ชุมชน -เฝ้าระวังจ านวนผู้ป่วยในพื้นที่ และส่งต่อข้อมูลกรณีพบการระบาด เมื่อพบผู้ป่วยรายแรกของหมู่บ้าน ด าเนินการสอบสวนหาสาเหตุ และแจ้งเตือนประชาชนให้ ระมัดระวัง รู้จักป้องกันตนเอง หรือประกาศ หลีกเลี่ยงการใช้แหล่งน้ าต้นเหตุ ร่วมกับผู้น าชุมชนและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง -ผู้น าชุมชนแจ้งเตือนประชาชนให้ ระมัดระวัง รู้จักป้องกันตนเอง หรือหลีกเลี่ยงการใช้แหล่งน้ าต้นเหตุ -ก าหนดแหล่งน้ าส าหรับเลี้ยงสัตว์และแหล่งน้ าที่ใช้เพื่อการอุปโภคบริโภคของคนในชุมชน กรณีพบการระบาดของโรคอย่างต่อเนื่อง

2105.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการการป้องกันโรค1. จ านวนอ าเภอเสี่ยงในจังหวัดเสี่ยง มีการจัดท าแผนป้องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส 2. จ านวนจังหวัดเสี่ยงมีการวิเคราะห์สถานการณ์ความเสี่ยง และระบุสภาพปัญหาของพื้นที่ 3. จานวนจังหวัดเสี่ยงมีการส ารวจความรู้ฯ และจัดกิจกรรมรณรงค์อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง1. เฝ้าระวัง และชี้เป้าเตือนภัย พื้นที่เสี่ยง แผนงาน/โครงการ ประชุมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียนและจัดท าแผนปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส√√-ถอดบทเรียนการด าเนินงานป้องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส -จัดท า flow chart ของการแลกเปลี่ยนข้อมูล และผู้รับผิดชอบ -จัดท าแผนปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคเลปโตสไปสิสในพื้นที่เสี่ยง ส านักโรคติดต่อทั่วไป 0.4 0.4 0.8 งสคร. สสจ. รพศ./รพท./รพช. ปศข./ปศจ. อปท. ทบวงมหาวิทยาลัย แผนปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคเลปโตสไปสิสในพื้นที่เสี่ยง

2119 มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน 2. สื่อสารความเสี่ยงเชิงรุกทั้งใน ภาวะปกติ และภาวะน้ าท่วมแผนงาน/โครงการสื่อสารความเสี่ยงเพื่อป้องกันโรคเลปโตสไปโรสิส √√√√-จัดท าสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคเลปโตสไปโรสิส สรต. 0.5 0.5 1งสคร. -รณรงค์สื่อสารความเสี่ยงเพื่อป้องกันโรคเลปโตสไปโรสิส สรต./สคร. 1.4 1.4 1.4 4.2 ประชาชนกลุ่มเสี่ยง (เกษตรกรและรับจ้าง อายุ 35-65 ปี) ระดับความรู้ของประชาชนก่อน-หลังรณรงค์ 3. การจัดการสุขาภิบาลและ สิ่งแวดล้อมในชุมชน แผนงาน/โครงการตลาดสดน่าไป ปลอดภัยจากโรคเลปโตสไปโรสิส √√สสจ. 0.3 0.6 ตลาดสดในพื้นที่เสี่ยง ตลาดสดที่มีการพัฒนาดีเด่น -ประเมินมาตรฐานของระบบการจัดการสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมในตลาดสด งงงงง-ให้ความรู้และสร้างความเข้าใจแก่ผู้ประกอบการ มาตรการเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบการวินิจฉัยโรคและดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรสิส รอยละของโรงพยาบาลใน้จังหวัดเสี่ยงได้รับการถายทอดแนวทางการ่วินิจฉัยและดูแลรักษาผู้ป่วยโ4. รู้เร็ว วินิจฉัยเร็ว ป้องกัน ผู้เสียชีวิตจากโรคเลปโตสไปโรสิส แผนงาน/โครงการ สนับสนุนการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรสิส -จัดประชุมพัฒนาแนวทางการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยโรคเลปโตสไปโรสิส √สรต. 0.5 0.5 แนวทางการตรวจคัดกรองฯ

212มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน -ถ่ายทอดแนวทางการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยโรคแก่บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข √√√สคร./สสจ. 1.2 1.2 1.2 1.6 รพศ./รพท./รพช. คลินิกเอกชน จ านวนหน่วยงานที่ได้ถ่ายทอดแนวทางฯ -ก ากับ ติดตาม ประเมินผล การใช้แนวทางการตรวจคัดกรองฯ และการด าเนินงานป้องกันควบคุมโรค √√√สคร./สสจ. 0.05 0.05 0.05 0.15 รพศ./รพท./รพช. คลินิกเอกชน รายงานการติดตามประเมินผลฯ5. เร่งรัดการควบคุมโรคในพื้นที่ระบาด แผนงาน/โครงการเร่งรัดการควบคุมโรคในพื้นที่ระบาด -ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดท าแผนป้องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิสระดับอ าเภอ √√สคร./สสจ./สรต. 0.5 0.5 1สสอ. ปศอ. อปท. แผนป้องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิสระดับอ าเภอ

21311 6. แผนติดตามประเมินผล ระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการการป้องกันโรค1. เฝ้าระวัง และชี้เป้าเตือนภัย พื้นที่เสี่ยง** จ านวนอ าเภอเสี่ยง อย่างน้อย ส่วนกลาง / สคร. ร่วมกับ 3 อ าเภอ ในจังหวัดเสี่ยงมีการจัดท าแผนป้องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส สสจ. ผลักดันให้อ าเภอมีแผนป้องกันควบคุมโรคฯ √ √ ทุกจังหวัดเสี่ยงมีการวิเคราะห์สถานการณ์ความเสี่ยง และระบุสภาพปัญหาของพื้นที่ (16 จังหวัด) สคร. รวบรวมรายงาน การวิเคราะห์สถานการณ์และประเมินความเสี่ยงของ สสจ. √ √ √ 2. สื่อสารความเสี่ยงเชิงรุกทั้งใน ภาวะปกติ และภาวะน้ าท่วม** ทุกจังหวัดเสี่ยง มีการส ารวจความรู้ฯ และจัดกิจกรรมรณรงค ์อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง สคร./สสจ. รวบรวมรายงานการส ารวจความรู้และจัดกิจกรรมรณรงค์สื่อสารความเสี่ยงฯ √√ √ √ มาตรการเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบการวินิจฉัยโรคและดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรสิส 3. รู้เร็ว วินิจฉัยเร็ว ป้องกันผู้เสียชีวิตจากโรคเลปโต-สไปโรสิส ร้อยละ 70 ของโรงพยาบาลในจังหวัดได้รับการถ่ายทอดแนวทาง รายงานการถ่ายทอดแนวทางการตรวจคัดกรองฯ แต่ละระดับ (สรต./สคร./สสจ.) √ √ √ 4. เร่งรัดการควบคุมโรคในพื้นที่ระบาด** จ านวนอ าเภอเสี่ยง อย่างน้อย ส่วนกลาง / สคร. ร่วมกับ 3 อ าเภอ ในจังหวัดเสี่ยงมีการจัดท าแผนป้องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส สสจ. ผลักดันให้อ าเภอมีแผนป้องกันควบคุมโรคฯ √ √ หมายเหตุ: ** คือ เป้าหมายที่เป็นจุดเน้นของแผนงานป้องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส 7. ผู้รับผิดชอบแผนงาน 1. นายแพทย์โสภณ เอี่ยมศิริถาวรเบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3160ผู้อ านวยการกองโรคติดต่อทั่วไป E-mail: [email protected]. นางรัตนา ธีระวัฒน์ เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3176 กองโรคติดต่อทั่วไปE-mail: [email protected] 3. สพ.ญ.วิมวิการ์ ศักดิ์ชัยนานนท์ เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3178 กองโรคติดต่อทั่วไปE-mail: [email protected]

2141 1. สถานการณ์ ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาได้เกิดการระบาดของโรคติดต่ออบัติใหม่ขึ้นทั่วโลกอย่างต่อเนื่องทั้งโรคติดเชื้อ ุชนิดใหม่ที่เพงค้นพบการระบาดในมนุษย์ หรือโรคติดเชื้อที่พบในพื้นที่ใหม่ เช่น โรคซาร์ส โรคไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N1, ิ่H7N9 โรคไขหวัดใหญ่ 2009 โรคติดเชื้อไวรสอีโบลา โรคติดเชื้อทางเดนหายใจตะวันออกกลางหรือโรคเมอร์ส เป็นตน ้ัิ้โดยมสาเหตมาจากปัจจัยหลายประการ ไดแก การเปลยนแปลงดานประชากร และพฤตกรรมมนุษย์ การเปลยนแปลงีุ้่ี ่้ิี ่ของตัวเชื้อโรค การด้อต่อยาปฏิชีวนะ ภัยธรรมชาต การพัฒนาด้านเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม รวมทงผลจากการืิั ้เปลี่ยนแปลงทางนิเวศวิทยาของสัตว์น าโรคและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งภาวะโลกร้อนที่ก าลังเป็นปัญหาส าคัญ ซึ่งเหล่านี้ล้วนเป็นสาเหตุที่ท าให้โรคติดต่ออบัติใหม่ ซึ่งส่วนใหญ่มีธรรมชาติของโรคที่ซับซ้อนยากต่อการจัดการ นอกจากนี้ ยังรวมถึง ุกรณการเกดภัยคุกคามทางชีวภาพ ซึ่งก าลังเป็นประเด็นที่นานาประเทศจัดเข้าเป็นเรื่องส าคัญในการประกัน ีิความปลอดภัยของสขภาพระดบโลก (Global Health security) ซึ่งในส่วนของประเทศไทย แม้จะยังไม่พบว่ามีปัญหาุัดานภัยคกคามทางชีวภาพ แต่อาจเกดเหตการณ หรือมีการใช้เรื่องดังกล่าวให้เกิดผลในทางจิตวิทยาสรางกระแสความ ุ้ิุ์้ตื่นตระหนกแก่ประชาชนได้ ส าหรับประเทศไทย โรคติดต่ออบัติใหม่ที่มีความเสี่ยงแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) โรคติดต่อ ุอบัติใหม่หรืออบัติซ้ าที่เกิดขึ้นแล้วในประเทศ 2) โรคติดต่ออบัติใหม่ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต และ 3) โรคติดต่ออบัติใหม่ ุุุุที่อาจแพร่มาจากต่างประเทศซึ่งเป็นโรคที่ติดมากับนักท่องเที่ยวหรือนักธุรกิจที่มาจากประเทศในพนที่ที่มีการระบาด ื้ของโรคดังกลาวทเดินทางเขามาในประเทศไทยหรออาจเกดจากประชาชนชาวไทยผนบถอศาสนาอิสลามทเดินทางไป่ี ่้ืิู ้ัืี ่แสวงบุญซึ่งในจ านวนนี้เป็นชาวไทยมุสลิมจ านวน 7,753 คน (ขอมลจากกรมการปกครอง วันท 29 มีนาคม 2562 ู้ี ่ส าหรับปี 2563 ประเทศยังอยู่ในภาวะการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19) เดินทางไปประกอบพธีฮจย์ การที่มีผู้แสวงิับุญจ านวนมากและมีหลายเชื้อชาติรวมกันอยู่ในสถานที่จ ากัดเป็นระยะเวลานาน โอกาสเกิดโรคระบาดจึงเป็นไปได้ง่าย โดยเฉพาะโรคติดเชือระบบทางเดินอาหารและระบบทางเดินหายใจ ทพบมากทสด คอโรคไขหวัดใหญ่ (Influenza) โรค้ี ่ี ุ่ื้ติดเชื้อที่รุนแรงและพบมากในช่วงประกอบพิธีฮจย์ คือโรคไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal meningitis) ที่เกิดจากเชื้อ ั(Neisseria meningitidis) ซึ่งเกิดระบาดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2530 เป็นเหตุให้มีผู้แสวงบุญเสียชีวิต ประเทศซาอุดิอาระเบียจึงก าหนดข้อควรปฏิบัติด้านสาธารณสุขส าหรับผู้เดินทางไปประกอบพธีฮจย์ โดยก าหนดให้ผู้เดินทางไปแสวงบุญทุกคนิัต้องได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้กาฬหลังแอ่นชนิด A C Y W 135 ก่อนเดินทางเข้าประเทศ อย่างน้อย 10 วัน รวมทั้งควรฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล แผนงานป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่และโรคติดต่ออันตราย

215ส าหรับโรคติดต่ออบัติใหม่ที่ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุข และต้องติดตามสถานการณ์ พร้อมทั้งจัดท าแผนุเตรียมการรองรับในการเฝาระวัง ป้องกน และควบคมโรคเมอมใหเกดการแพร่ระบาดในวงกว้างในประเทศ ไดแก ้ัุื ่ิ้ิ้่โรคทางเดนหายใจตะวันออกกลาง (Middle East Respiratory Syndrome: MERS) โรคติดเชื้อไวรัสอโบลา ิี(Ebola Virus Disease: EVD) และโรคไข้หวัดนก (Avian Influenza) โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (Middle East Respiratory Syndrome: MERS) สถานการณ์ในต่างประเทศ ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2562 (ตั้งแต่เดือนมกราคม – พฤศจิกายน 2562) มีรายงานผู้ป่วยยืนยันโรค Middle East respiratory syndrome (MERS) จ านวน 2,494 ราย ในจ านวนนี้เสียชีวิต 858 ราย (อัตราป่วยตาย 34.4%) เกิดขึ้นใน 27 ประเทศ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ (84.03%) พบในประเทศซาอดิอาระเบีย 2,102 ราย เสยชีวิต ุี780 ราย (อัตราปวยตาย 37.1%) ทั้งนี้ ได้มีระบบการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่ออบัติใหม่จากต่างประเทศใน ุ่ผู้เดินทางเข้า-ออกประเทศ และกลุ่มเสี่ยง ใน 3 ช่องทาง ได้แก่ ท่าอากาศยาน โดยด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ โรงพยาบาล และชุมชนโดยมอาสาสมครสาธารณสข ช่วยในการเฝาระวังและติดตาม หากพบผู้ปวยสงสัยในพนที่ีัุ้่ื้รับผิดชอบ นอกจากนี้ประเทศไทยจะมีชาวไทยมุสลิมเดินทางไปประกอบพิธีฮจย์ที่ประเทศซาอุดิอาระเบียทุกปีอย่างน้อยัปละ 8,000 – 10,000 คน กระทรวงสาธารณสข โดยกรมควบคมโรค จึงไดกาหนดนโยบายในการดูแลสขภาพ ีุุุ้และการเฝ้าระวังสภาวะสุขภาพผู้เดินทางไปประกอบพธีฮจย์ ซึ่งมีมาตรการในการดูแลสุขภาพตั้งแต่ก่อนการเดินทาง ิัขณะอยู่ในประเทศซาอุดิอาระเบีย และภายหลังกลับมาถึงประเทศไทย สถานการณประเทศไทยขอมลจากกองระบาดวิทยา ตั้งแต่ ป 2558 – ปัจจุบัน พบผู้ป่วย MERs ในไทย 3 ราย ์ู้ีทุกราย เข้ารับการรักษาที่สถาบันบ าราศนราดูร จนหายดและกลับประเทศแล้ว ป 2562 (ตั้งแต่วันท 1 มกราคม – 31 ีีี ่ธันวาคม 2562 มีผู้ป่วยสงสัย (PUI MERs) จ านวน 119 ราย เป็นเพศชาย 58 ราย หญิง 61 ราย ปัจจุบันตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 30 เมษายน 2563 มีผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนโรค 14 ราย เป็นเพศชาย 7 ราย หญิง 7 ราย ทุกรายตรวจไม่พบสารพันธุกรรมของเชื้อ MERS-CoV) แหล่งข้อมูล: องค์การอนามัยโลก //www.who.int/emergencies/mers-cov/en/

2163 โรคติดเชื้อไวรัสอโบลา (Ebola Virus Disease: EVD) องค์การอนามยโลก รายงานสถานการณโรคตดเชือไวรัสอโบลา ีั์ิ้ีในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ฉบับที่ 90 เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ.2563 พบว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก มีรายงานพบผู้ป่วยจ านวน 3,461 ราย (ผ ูปวยยืนยัน 3,361 ราย ผู้ปวยเขาขาย 145 ราย) เสียชีวิต 2,279 ราย (เป็นผู้ป่วยยืนยัน ้่1,416 ราย) คดเป็นอัตราป่วยตาย รอยละ 66 โดยผู้ป่วยเป็นเพศหญิง ร้อยละ 57 เป็นเด็กอายุต่ ากว่า 18 ปี ร้อยละ 28 ในส่วนิ้ของประเทศไทย มผเดนทางจากประเทศคองโก ประมาณ 50 คน โดยประเทศไทยไดประกาศใหประเทศคองโกเป็นเขต ีู ้ิ้้ตดต่ออนตราย และมีมาตรการในการด าเนินงานดังนี้ ดังนี้ 1. จัดระบบเฝ้าระวัง และตรวจคัดกรอง ผู้เดินทางมาจากพื้นที่ ิัเขตติดโรค 2. การจัดการผู้ป่วยและการป้องกันและควบคุมการติดชื้อในโรงพยาบาล 3. ยกระดับการตรวจทางหองปฏิบัติการ ้4. การเตรียมความพร้อมของสถานพยาบาลและอุปกรณ์การแพทย์ และ 5. การสื่อสารความเสี่ยง

217โรคไข้หวัดนก (Avian Influenza) โรคไข้หวัดนก (Avian Influenza) ที่เฝ้าระวังสายพันธุ์ที่ส าคัญ คอ ืสายพันธุ์ H5N8 H5N6 H5N1 H5 H5N2 H5N5 H7N3 เนื่องจากยังคงมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง ทั้งในสตว์ และคน ัโดยเฉพาะ สายพันธุ์ H5N1 ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2546 ถึงเมษายน 2563 พบผู้ป่วยจ านวน 861 ราย เสียชีวิต 455 ราย มาตรการด าเนนงาน มดงน การเฝาระวังโรคทงในสตว์และคน การสมตรวจตัวอยางในสตว์และคน ด าเนนการซ้อมแผนิีัี ้้ั ้ัุ ่่ัิตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน เพอเตรียมความพร้อมระดับจังหวัดอย่างสม่ าเสมอทุกระดับ การให้ความรู้เกษตรกรและประชาชน ื่และเน้นการประสานความร่วมมือด้าน “สุขภาพหนึ่งเดียว” 2. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (Middle East Respiratory Syndrome: MERS) พนที่เสียง คือ ประเทศแถบื้ตะวันออกกลาง โดยเฉพาะประเทศซาอดิอาระเบีย กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ชาวไทยมุสลิมที่เดินไปประกอบพธีฮจย์ ุิัและอุมเลาะห์ นักท่องเที่ยว นักธุรกิจ และแรงงาน โรคติดเชื้อไวรสอีโบลา (Ebola Virus Disease: EVD) ป 2563 มีสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส ัีอโบลา ในสาธารณรฐประชาธิปไตยคองโก พนที่เสี่ยง คือ สาธารณรฐประชาธิปไตยคองโก และกลุ่มผู้เดินทางเข้า-ออกีัื้ัจากประเทศดังกล่าว โรคไข้หวัดนก (Avian Influenza) โรคไข้หวัดนก (Avian Influenza) ที่เฝ้าระวังสายพันธุ์ที่ส าคัญ เนื่องจากยังคงมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องทั้งในสัตว์ และคน ได้แก่ สายพนธุ์ H5N8 H5N6 H5N1 H5 H5N2 H5N5 H7N3 ัโดยเฉพาะ การระบาดของสายพันธุ์ H5N1 ซึ่งส่วนใหญ่มักเกิดการระบาดทั่วโลก ดังนั้นพื้นที่เสี่ยง มีดังนี้ - สายพันธุ์ H5N8 พบใน 10 ประเทศ ได้แก่ บัลแกเรีย, สาธารณรัฐเช็ก, เยอรมนี, ฮังการี, อิสราเอล, โปแลนด์, โรมาเนีย, ซาอุดิอาระเบีย, สโลวาเกีย และแอฟริกาใต้ - สายพันธุ์ H5N6 พบใน 4 ประเทศ ได้แก่ จีน ไนจีเรีย เวียดนาม และฟิลิปปินส์ - สายพันธุ์ H5N1 พบใน 3 ประเทศ ได้แก่ จีน อินเดีย และเวียดนาม

2185 - สายพันธุ์ H5 พบใน 2 ประเทศ ได้แก่ ไต้หวัน (ไทเป) และยูเครน - สายพันธุ์ H5N2 พบใน 1 ประเทศ ได้แก่ ไต้หวัน (ไทเป) - สายพันธุ์ H5N5 พบใน ประเทศ ได้แก่ ไต้หวัน (ไทเป) - สายพันธุ์ H7N3 พบใน 1 ประเทศ ได้แก่ เม็กซิโก และสหรัฐอเมริกา3. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ป (2561-2565)ีเป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เป้าหมาย 1 สามารถควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ไม่ให้เกิด Generation ที่ 2 ได้ 100 100 100 100 100 ตัวชี้วัด 1 ร้อยละของเหตุการณ์โรคติดต่ออุบัติใหม่ที่สามารถควบคุมไม่ให้เกิด Generation ที่ 2 เป้าหมาย 2 หน่วยงานเครือข่ายมีแผนรองรับการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ และโรคติดต่ออันตราย 1 1 1 1 1 ตัวชี้วัด 1 หน่วยงานเครือข่ายมีแผนรองรับการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ และโรคติดต่ออันตราย อย่างน้อยร้อยละ ๘๐

2194.มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผู้ด าเนินการ มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร เขต สสจ. รพ. Pชุมชน/ต าบล มาตรการประเมินความเสี่ยงโรคติดต่ออุบัติใหม่ให้มีมาตรฐานสากล พัฒนาและก าหนดรูปแบบในการประเมินความเสี่ยง ถ่ายทอดให้กับสคร. จัดท าการประเมินความเสี่ยงของสคร.และถ่ายทอดให้กับสสจ. และหน่วยงานเครือข่าย ติดตามประเมินผลรูปแบบในการประเมินความเสี่ยง จัดท าการประเมินความเสี่ยงในพื้นที่ สนับสนุนข้อมูลและด าเนินการสอบสวน และควบคุมโรคในพื้นที่ สนับสนุนข้อมูลและร่วมด าเนินการสอบสวน และควบคุมโรคในพื้นที่ สนับสนุนข้อมูลและร่วมด าเนินการสอบสวน และควบคุมโรคในพื้นที่ มาตรการพัฒนาระบบการเตรียมความพร้อม ของหน่วยงานทั่วประเทศ และ การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้าน โรคติดต่ออุบัติใหม่ ให้มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบในการเตรียมความพร้อม การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้าน โรคติดต่ออุบัติใหม่ ให้มีประสิทธิภาพจัดระบบในการเตรียมความพร้อม การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้าน โรคติดต่ออุบัติใหม่ ให้มีประสิทธิภาพและถ่ายทอดให้กับหน่วยงานเครือข่ายติดตามประเมินผลจัดระบบในการเตรียมความพร้อม การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้าน โรคติดต่ออุบัติใหม่จัดระบบในการเตรียมความพร้อม การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้าน โรคติดต่ออุบัติใหม่ ให้มีประสิทธิภาพจัดระบบในการเตรียมความพร้อม การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้าน โรคติดต่ออุบัติใหม่ ให้มีประสิทธิภาพจัดระบบในการเตรียมความพร้อม การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้าน โรคติดต่ออุบัติใหม่ ให้มีประสิทธิภาพจัดระบบในการเตรียมความพร้อม การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้าน โรคติดต่ออุบัติใหม่ ให้มีประสิทธิภาพมาตรการพัฒนาระบบการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน ด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ ให้เป็น ไปตามมาตรฐานสากล พัฒนาระบบการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน ด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ ให้เป็น ไปตามมาตรฐานสากล จัดระบบการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน ด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ ให้เป็น ไปตามมาตรฐานสากล ติดตามการจัดระบบการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน ด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ในพื้นที่ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล จัดระบบการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน ด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ให้เป็น ไปตามมาตรฐานสากล จัดระบบการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน ด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ให้เป็น ไปตามมาตรฐานสากล จัดระบบการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน ด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ให้เป็น ไปตามมาตรฐานสากล จัดระบบการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน ด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ให้เป็น ไปตามมาตรฐานสากล

2207 5.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 1 ประเมินความเสี่ยงโรคติดต่ออุบัติใหม่ให้มีมาตรฐานสากล ///กรมควบคุมโรค มีการประเมินความเสี่ยงโรคติดต่ออุบัติใหม่ให้มีมาตรฐานสากล ร้อยละ 80 ของหน่วยงานเครือข่ายมีการประเมินความเสี่ยงโรคติดต่ออุบัติใหม่ให้มีมาตรฐานสากล แผนงาน/ โครงการพัฒนาการประเมินความเสี่ยงโรคติดต่ออุบัติใหม่ให้มีมาตรฐานสากลกิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลโรคติดต่ออุบัติใหม่เพื่อการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินครอบคลุม ทุกด้านแบบบูรณาการ 0.5 0.5 0.5 1.5 งบประมาณ กิจกรรมหลักที่ 2 พัฒนาบุคลากร แ ล ะ ที ม ง า นด้านการประเมินความเสี่ยง 0.5 0.5 0.5 1.5 งบประมาณ กิจกรรมหลักที่ 3 การพัฒนากระบวนการประเมิน ความเสี่ยงด้านโรคติดต่อ- อุบัติใหม่ ในระดับจังหวัด อ าเภอและองค์กรปกครอง- ส่วนท้องถิ่น 1113งบประมาณ

221มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 2 มาตรการพัฒนาระบบการเตรียมความพร้อม ของหน่วยงานทั่วประเทศ และ การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้าน โรคติดต่ออุบัติใหม่ ให้มีประสิทธิภาพ///มีระบบการเตรียมความพร้อมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ ที่มีประสิทธิภาพร้อยละ 80 ของหน่วยงานเครือข่ายระบบการเตรียมความพร้อมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ ที่มีประสิทธิภาพ แผนงาน/โครงการพัฒนาระบบเตรียมความพร้อม กิจกรรมหลักที่ 1 การจัดท า แผน- ปฏิบัติการเพื่อตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินด้านโรค- ติดต่ออุบัติใหม่ 0.5 0.5 0.5 1.5 งบประมาณ กิจกรรมหลักที่ 2 จัดท า แผนประคองกิจการ (Business Continuity Plan – BCP)0.5 0.5 0.5 1.5 งบประมาณ กิจกรรมหลักที่ 3 การฝึกซ้อมแผนด้านโรคติดต่อ- อุบัติใหม่ ในระดับจังหวัด อ าเภอและองค์กรปกครอง- ส่วนท้องถิ่น 1113งบประมาณ

2229 มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 3 พัฒนาระบบการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน ด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ///มีระบบการเตรียมความพร้อมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ ที่มีประสิทธิภาพร้อยละ 80 ของหน่วยงานเครือข่ายระบบการเตรียมความพร้อมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ ที่มีประสิทธิภาพ แผนงาน/ โครงการพัฒนาระบบเตรียมความพร้อม กิจกรรมหลักที่ 1 การทบทวนและจัดท า เกณฑ์การจัดตั้งศูนย์ปฎิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านโรค- ติดต่ออุบัติใหม่ 0.5 0.5 0.5 1.5 งบประมาณ กิจกรรมหลักที่ 2 การทบทวนและจัดท าระบบวัสดุอุปกรณ์ (logistic) 0.5 0.5 0.5 1.5 งบประมาณ กิจกรรมหลักที่ 3 การทบทวน และปรับปรุงมาตรการแนวทางในการป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ- อุบัติใหม่ 0.5 0.5 0.5 1.5 งบประมาณ

2236. แผนติดตามประเมินผล ระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการประเมินความเสี่ยงโรคติดต่ออุบัติใหม่ให้มีมาตรฐานสากล ปรับปรุงรูปแบบการประเมินความเสี่ยง ติดตามจากผู้ปฏิบัติในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเอกสาร / มาตรการพัฒนาระบบการเตรียมความพร้อม ของหน่วยงานทั่วประเทศ และ การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้าน โรคติดต่ออุบัติใหม่ ให้มีประสิทธภาพ ิพัฒนาระบบการเตรียมความพร้อม ในหน่วยงานทของหน่วยงานทั่วประเทศติดตามจากผู้ปฏิบัติี่เกี่ยวข้อง และเอกสาร/ มาตรการพัฒนาระบบการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน ด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลติดตามจากผู้ปฏิบัติในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเอกสาร/ 7. ผู้รับผิดชอบแผนงาน 1. นายแพทย์โสภณ เอี่ยมศิริถาวรเบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3160ผู้อ านวยการกองโรคติดต่อทั่วไป E-mail: [email protected]. นางนพรัตน์ มงคลางกูร เบอร์โทรศัพท์ 02 590 3191 นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการพิเศษ E-mail: [email protected]

2241. สถานการณ์ โรคไข้หวัดใหญ่ (Influenza) เป็นโรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ เกิดจากเชื้อไวรัส Influenza สายพันธุ์ A, B หรือ C ซึ่งเชื้อนี้จะอยู่ในน้้ามูก น้้าลาย หรือเสมหะของผู้ป่วย ติดต่อโดยการไอ หรือจามหรือการสัมผัสถูกมือของเครื่องใช้เปื้อนเชื้อโรค สามารถทาให้เกิดการเจ็บป่วยโดยอาจเป็นการเจ็บป่วยที่รุนแรง และมีภาวะแทรกซ้อนที่ส่งผลให้เสียชีวิตได้ ้โดยในแต่ละปการระบาดของโรคไขหวัดใหญ่จะมอย 2 ช่วง คอ ช่วงฤดูหนาว และฤดฝน สถานการณโรคไขหวัดใหญ ี้ีู ่ืู์้่ในประเทศไทยปี 2562 จากข้อมูลเฝ้าระวังโรค ส้านักระบาดวิทยา พบผู้ป่วย 390,773 ราย คิดเป็นอตราป่วย 588.39 ัต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต 27 ราย คิดเป็นอัตราตาย 0.04 ต่อประชากรแสนคน จังหวัดที่มีอตราป่วยสูงสุด 5 อนดับ ััคือ กรุงเทพมหานคร (อตราป่วย 1630.42 ต่อประชากรแสนคน) รองลงมา คือ ระยอง (1430.91 ต่อประชากรแสนคน) ัเชียงใหม่ (1239.24 ตอประชากรแสนคน) นครปฐม (1190.44 ตอประชากรแสนคน) และจนทบร (1091.15 ตอ่่ัุี่ประชากรแสนคน) ตามลาดับ และขอมลจากโปรแกรมตรวจสอบขาวการระบาดเหตุการณพบผปวยอาการคลายไขหวัดู้้่์ู ้่้้ใหญ่เป็นกลุ่มก้อน ตงแตวันท่ 1 มกราคม – 24 ธันวาคม 2562 พบจานวน 164 เหตการณ ใน 53 จงหวัด โดยพบในั ้่ีุ้ัโรงเรียน/มหาวิทยาลัย 45 เหตุการณ เรือนจ้า 54 เหตุการณ ค่ายทหาร 18 เหตุการณ โรงพยาบาล 8 เหตุการณ ค่ายฝึกต้ารวจ 3 เหตุการณ์ ศูนย์ฝึกอบรม 2 เหตุการณ สถานพินจฯ แคมปคนงาน โรงงาน วัด ค่ายบ้าบัดยาเสพติดและสถานิสงเคราะห์สถานที่ละ 1 เหตุการณ์ สถานการณโรคไขหวัดใหญในปี 2563 ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 21 พฤษภาคม 2563 มีรายงานผู้ป่วย ่ทั่วประเทศจ้านวน 100,297 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 151.27 ตอประชากรแสนคน เสียชีวิต 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.00 จ้านวนผู้ป่วยสะสมในภาพรวมพบว่าลดลงต่้ากว่าค่ามัธยฐาน 5 ปย้อนหลังการเกิดโรคไข้หวัดใหญ่จ้าแนกตามกลุ่มอายุ พบว่าส่วนใหญ่พบผู้ป่วยอยู่ในกลุ่มอายุ0 - 4 ป มีอัตราป่วยสูงสุด คือ 644.70 ตอประชากร แสนคน รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 5 - 9 ป มีอัตราป่วย 525.86 ตอประชากรแสนคน และกลุ่มอายุ 10 - 14 ป มีอัตราป่วย 314.43 ตอประชากรแสนคน ตามล้าดับ จังหวัดที่มีอัตราป่วยสูงสุด คือ จังหวัดพะเยา อัตราป่วย 453.21 ตอประชากรแสนคน รองลงมา คอ เชียงใหม่อตราปวย 415.03 ตอประชากรแสนคน หนองคาย อัตราป่วย 364.75 ตอประชากรแสนคน ืั่ระยอง อัตราป่วย 339.20 ตอประชากรแสนคน และกรุงเทพมหานครอตราป่วย 333.58 ตอประชากรแสนคน ตามล้าดับัเหตุการณพบผู้ป่วยอาการคล้ายไขหวัดใหญ่เป็นกลุ่มก้อน 25 เหตุการณ ใน 18 จังหวัด โดยพบในโรงเรียน/มหาวิทยาลัย 7 เหตุการณ เรอนจา 9 เหตุการณ กองรอยอาสารกษาดินแดน 1 เหตุการณ โรงพยาบาล 2 เหตุการณ โครงการศนยื้้ัู์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1 เหตุการณ และค่ายบ้าบัดยาเสพติด 1 เหตุการณ จะเห็นไดว่ากลุ่มผู้ป่วยที่มีอัตราป่วยสูงจะอยู่ในช่วงวัยเด็ก จึงต้องมีการให้ความส้าคัญต่อการป้องกนควบคุมโรคในกลุ่มวัยเรียนและเด็ก และในสถานที่ที่มีการรวมตัวักันของคนหมูมาก แผนงานป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่

2252. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง พื้นที่เสี่ยงโรคไข้หวัดใหญ่ ทั่วประเทศ โดยเฉพาะ โรงเรียน เรือนจ้า และสถานที่ที่มีคนรวมตัวของคนหมู่มาก กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ เด็ก อายุ 0-14 ปี และผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป (ข้อมูล ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2562)

2263. เป้าหมาย3.1 ระดับประเทศ เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เป้าหมาย 1 จ้านวนผู้ป่วยและจ้านวนผู้เสียชีวิต ด้วยโรคไข้หวัดใหญ่ลดลงกว่าปีที่ผ่านมา 185,829 (เสียชีวิต 32)148,663 (เสียชีวิต 23)ตัวชี้วัด 1 จ้านวนผู้ป่วยลดลงกว่าปีที่ผ่านมา อย่างน้อยร้อยละ 20 และจ้านวนผู้เสียชีวิตลดลงกว่าปีทผ่านมา ี่อย่างน้อยร้อยละ 30 เป้าหมาย 2 หน่วยงานเครือข่ายมีระบบเฝ้าระบบเฝ้าระวังไข้หวัดใหญ่ 75 ≥ 90 ≥ 90 ≥ 90 ≥ 90 ตัวชี้วัด 1 ร้อยละความครอบคลุมในการได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ของกลุ่มเสี่ยง ไม่ต่้ากว่า 90

2274.มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผู้ด าเนินการ มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. เขต สสจ. รพ. Pชุมชน/ต าบล 1. มาตรการ ััโรคไข้หวัดใหญ่ จัดตั้งศูนย์ข้อมูลโดยอพัฒนาความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พฒนาระบบเฝ้าระวงโรคััไกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นาระบบการเฝ้าระวง้ัโรคฯ ไปใช้ เพอการเฝ้าื ่รในพื้นที่ โดยด้าเนินการร่ัหอย่างมีประสิทธิภาพ ติดตามผลการด้าเนินงาน ตามระบบการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ ให้เกิดประสิทธิภาพ ทันต่อสถานการณ์ นาระบบการเฝ้า้ระวงโรคฯ ไปใช้ เพอัื ่กัไข้หวัดใหญ่ ในพื้นที่ ได้อ ย่า งมีประสิทธิภาพ สนับสนุนขอมลและู้ด้าเนินการเฝ้าระวงัโพื้นที่ สนับสนุนข้อมูลและร่วมดาเนนการเฝ้า้ิรใหญ่ ในพื้นที่ สร่วมด้าเนนการเฝ้าิระวัง โรคไข้หวัดใหญ่ ในพื้นที่ 2. มาตรการ สนับสนุนการน้าข้อมูลผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่จากการรายงานรง.506 ไปใช้ในการป้องกันควบคุมโรค - พัฒนาระบบการบริหารจัดการวัคซีนให้กับกลุ่มเป้าหมาย อย่างครอบคลุม และทั่วถึง - ผลักดันนโยบายการบริหารจัดการวัคซีนให้กับกลุ่มเป้าหมายร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จด้าเนินการตามนโยบายการบริหารจัดการวัคซีน ให้กับกลุ่มเป้าหมาย และกลุ่มเสี่ยง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ติดตามระบบ และนโยบายการบริหารจัดการวัคซีน ในพื้นที่ ให้มีความครอบคลุม และทั่วถึง จด้าเนินการตามนโยบายการบริหารจัดการวัคซีน ให้กับกลุ่มเป้าหมาย และกลุ่มเสี่ยง ในพื้นที่ จด้าเนินการบริหารจัดการวัคซีน และให้บริการวัคซีน กับกลุ่มเป้าหมาย และกลุ่มเสี่ยง ในพื้นที่ จด้าเนินการบริหารจัดการวัคซีน และให้บริการวัคซีน กับกลุ่มเป้าหมาย และกลุ่มเสี่ยง ในพื้นที่ สนับสนุนข้อมูล การให้บริการวัคซีนในกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มเสี่ยง 3สีพฤตกรรมการป้องกนตนเอง เพื่อลดิัการติดเชื้อโรคไข้หวัดใหญ่ที่ถูกต้องเหมาะสม จัดท้าองค์ความรู้ และก้าหนดมาตรการ ในการดูแลสุขภาพ การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ ให้กับประชาชน เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสม สนับสนุนการด้าเนินการ และถ่ายทอด องค์ความรู้ และมาตรการป้องกันตนเองจากโรคไข้หวัดใหญ่ ให้กับประชาชนในพื้นที่ ประเมินผลการรับรู้และพฤติกรรมของประชาชน ในการป้องกันตนเอง จากโรคไข้หวัดใหญ่ สนับสนุนการด้าเนินการ และถ่ายทอดองค์ความรู้ และมาตรการป้องกันตนเองจากโรคไข้หวัดใหญ่ ให้กับประชาชนในพื้นที่ สนับสนุนข้อมูลและด้าเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ให้กับประชาชนในพื้นที่ สนับสนุนข้อมูลและด้าเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ให้กับประชาชนในพื้นที่ สนับสนุนข้อมูลและด้าเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ให้กับประชาชนในพื้นที่

2285.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ จัดตั้งศูนย์ข้อมูลโดยอาศัยความร่วมมือแบบบูรณาการ พัฒนาความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/////-ส้านักระบาดวิทยา -ส้านักโรคติดต่อทั่วไป 0.5 0.5 1.0 0.5 0.5 3.0 งบประมาณ มีระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ ที่มีประสิทธิภาพ มีระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ ที่สามารถตรวจจับโรคได้ทันต่อสถานการณ์ แผนงาน/ โครงการ พัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ แบบบูรณาการ กิจกรรมหลัก 1 การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง และการแจ้งเตือนโรคไข้หวัดใหญ่ที่มีประสิทธิภาพ มีระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ มีระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ กิจกรรมหลัก 2 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการฐานข้อมูลแบบบูรณาการ ความครอบคลุมของการรายงานการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ ร้อยละของหน่วยงาน มีการรายงานการเฝ้าระวงัโรคไข้หวัดใหญ่ กิจกรรมหลัก 3 จัดท้าแนวทางปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองต่อโรคไข้หวัดใหญ่ ในระดับประเทศ ระดับเขต ระดับจังหวัด และระดับพื้นที่ มีแนวทางปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองต่อโรคไข้หวัดใหญ่ ทุกระดับ ร้อยละของหน่วยงานที่มีแนวทางปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองต่อโรคไข้หวัดใหญ่

229มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 2 สนับสนุนการน้าข้อมูลผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่จากการรายงานรง.506 ไปใช้ในการป้องกันควบคุมโรค /////-ส้านักโรคติดต่อทั่วไป -กองป้องกันโรคด้วยวัคซีน -สปสช -สถาบันวัคซีนแห่งชาติ 0.6 0.6 06 0.6 0.6 3.0 งบประมาณ มีระบบบริหารจัดการวัคซีน ที่มีประสิทธิภาพ ครอบคลุม ทั่วถึงกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการน้าข้อมูลไปวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์เพื่อวางแผนการป้องกันโรค กิจกรรมหลัก 1 จัดท้าแผนการส้ารองเวชภัณฑ์ การจัดส่ง และการกระจาย วัคซีน ยาต้านไวรัส และ PPE มีแผนส้ารอง เวชภัณฑ์ แผนการจัดส่ง และการกระจายวัคซีน ยาต้านไวรัส และPPE ที่ครอบคลุมเป้าหมายพื้นที่ ร้อยละของหน่วยงานที่มีแผนส้ารอง เวชภัณฑ์ แผนการจัดส่ง และการกระจายวัคซีน ยาต้านไวรัส และPPE กิจกรรมหลัก 2 การพัฒนาศักยภาพระบบการบริหารจัดการวัคซีน เวชภัณฑ์ ยา และ Stockpile มีระบบการบริหารจัดการ วัคซีน เวชภัณฑ์ ยา และ Stockpile การส้ารองยา และเวชภัณฑ์ เพื่อรองรับโรคไข้หวัดใหญ่ ที่มีประสิทธิภาพ จ้านวนหน่วยงานเครือข่ายมีระบบการบริหารจัดการวัคซีน เวชภัณฑ์ ยา และ Stockpile การส้ารองยาและเวชภัณฑ์ในการรองรับการระบาดโรคไข้หวัดใหญ่

230มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน กิจกรรมหลัก 3 จัดท้าคู่มือ/หลักเกณฑ์การเก็บส้ารองวัคซีน ยาต้านไวรัส PPE ที่มีประสิทธิภาพรองรับโรคไข้หวัดใหญ่ ทั้งในส่วนกลาง และภูมิภาค การส้ารอง วัคซีน ยาต้านไวรัส PPE ที่มีประสิทธิภาพ เป็นไปตามมาตรฐานที่ก้าหนด มีคู่มือ/หลักเกณฑ์มาตรฐานการส้ารอง วัคซีน ยาต้านไวรัส PPE มาตรการที่ 3 ส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมการป้องกันตนเอง เพื่อลดการติดเชื้อโรคไข้หวัดใหญ่ที่ถูกต้องเหมาะสม /////-ส้านักโรคติดต่อทั่วไป -ส้านักสื่อสารความเ่-ส้านักระบาดวิทยา 0.6 0.6 06 0.6 0.6 3.0 งบประมาณ ประชาชนมีพฤติกรรมการป้องกันตนเอง เพื่อลดการติดเชื้อโรคไข้หวัดใหญ่ที่ถูกต้อง เหมาะสม ร้อยละของประชาชนมีพฤติกรรมการป้องกันตนเอง เพื่อลดการติดเชื้อโรคไข้หวัดใหญ่ ที่ถูกต้อง เหมาะสม ไม่น้อยกว่า 80กิจกรรมหลัก 1 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ด้านสื่อสารความเสี่ยง โรคไข้หวัดใหญ่ มีระบบการบริหารจัดการ ด้านสื่อสารความเสี่ยงโรคไข้หวัดใหญ่ที่มีประสิทธิภาพ ร้อยละของหน่วยงานเครือข่ายระดับจังหวัดมีระบบการบริหารจัดการสื่อสารความเสี่ยงโรคไข้หวัดใหญ่ กิจกรรมหลัก 2 การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่ที่ถูกต้อง แก่ประชาชน ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ ร้อยละของประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ไม่น้อยกว่า 80

2316. แผนติดตามประเมินผล ระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 1. พัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวดัใหญ่ จัดตั้งศูนย์ข้อมูลโดยอาศัยความ ระวังโรค ร่วมมือแบบบูรณาการ พัฒนาความร่วมมือกับหน่วยงานพัฒนาระบบเฝ้าติดตามจากผู้ปฏิบัติในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเอกสาร / 2. สนับสนุนการน้าข้อมูลผู้ป่วย พัฒนาระบบไขหวดใหญจากการรายงานรง.506 บริหารจัดการ้ั่ไปใช้ในการป้องกันควบคุมโรค วัคซีน ติดตามจากผู้ปฏิบัติในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเอกสาร / 3. ส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมการป้องกันตนเอง เพื่อลดการติดเชื้อ พฤติกรรมในการโรคไข้หวัดใหญ่ที่ถูกต้องเหมาะสม ประชาชนมีป้องกันตนเอง ที่ถูกต้อง และเหมาะสม ติดตามจากเอกสารแบบสอบถาม / / 7. ผู้รับผิดชอบแผนงาน 1. นายแพทย์โสภณ เอี่ยมศิริถาวรเบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3160ผู้อ้านวยการกองโรคติดต่อทั่วไป E-mail: [email protected]. นางนพรัตน์ มงคลางกูร เบอร์โทรศัพท์ 02 590 3191 นักวิชาการสาธารณสุขช้านาญการพิเศษ E-mail: [email protected] 3. นางมนัญญา ประเสริฐสุข เบอร์โทรศัพท์ 02-590-3191 นักวิชาการสาธารณสุขช้านาญการ E-mail: [email protected]

2321. สถานการณ์ เด็กปฐมวัย เป็นกลุ่มอายุที่อยู่ในภาวะพงพงผู้ใหญ่ซึ่งยังไม่สามารถดูแลหรือป้องกันตัวเองได้ หากเด็กกลุ่มนี้ึ่ิเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่มีความรุนแรงและเกิดการระบาดไปอย่างรวดเร็ว ถ้าไม่ได้รับการดูแลรักษาตั้งแต่เริ่มต้นอาจท าให้การเจ็บป่วยมีอาการหรือภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงถึงเสียชีวิตได้ โดยเฉพาะโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังในเด็กปฐมวัย ได้แก่ โรคมือเท้าปาก ไข้เอนเทอโรไวรัส โรคไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น สาเหตุการระบาดของโรคดังกล่าวส่วนใหญ่เกิดจากภาวะที่เด็กอยู่รวมกันเป็นจ านวนมากทั้งในชุมชน ศูนย์เด็กเล็ก และสถานรับเลี้ยงเด็กต่างๆ ซึ่งเชื้อก่อโรคในปัจจุบันมีความรุนแรงมากขน มการพัฒนาความสามารถในการด้อยา รวมถงเพมโอกาสการแพร่กระจายเชื้อมากขึ้น ท าให้โรคสามารถติดต่อึ ้ีืึิ ่ระหว่างกันได้ง่าย จากข้อมูลการเฝ้าระวังโรคมอ เทา ปาก ในเด็กต่ ากว่า 5 ปี ของส านักระบาดวิทยา พบว่าตั้งแต่ ื้ปีพ.ศ. 2558 - 2562 การระบาดของโรคมือ เท้า ปาก มีแนวโน้มสูงขึ้น และมีผู้เสียชีวิตโดยเฉลี่ยแต่ละปี จ านวน 2 ราย เชื้อที่ท าให้เสียชีวิตส่วนใหญ่ คือ Enterovirus 71 และพบผู้ป่วยมากที่สุดในกลุ่มเด็กอายุต่ ากว่า 2 ปี (58.74%) รองลงมาคือ 3 - 5 ปี (32.18%) และ 5 ปีขึ้นไป (9.08%) ตามล าดับ โดยในปี พ.ศ. 2562 พบผู้ป่วยโรคมือเท้าปากในกลุ่มเด็กอายุต่ ากว่า 5 ปีจ านวน 57,709 ราย (อตราปวย 1,750.40 ต่อแสนประชากร) มีผู้เสียชีวิตจากเชื้อ Enterovirus 71 จ านวน ั่1 ราย โดยกลุ่มอายุที่พบมากที่สุด คือ 0-4 ปี (85.90%) รองลงมาคอ 5-6 ปี (5.03%) 7-9 ป (3.70%) ภาคเหนอมอตราืีืีัป่วยสูงสุด (2,630.10) รองลงมาคอ ภาคกลาง (1,906.80) ภาคตะวันออกเฉยงเหนอ (1,582.95) และภาคใต (983.95) ืีื้ตามล าดับ จังหวัดที่มีอตราป่วยโรคมอเท้าปากในกลุ่มเด็กอายุต่ ากว่า 5 ปี สูงสุด 5 อันดับแรกคือ เชียงใหม่ (4,717.41) ัืรองลงมาคอ พะเยา (4,045.29) น่าน (3,740.18) เชียงราย (3,468.71) และจันทบุรี (3,374.18) ตามลาดับ จากการเฝาื้ระวังเชื้อก่อโรคมือเท้าปากทางห้องปฏิบัติการในกลุ่มอายุ 0-5 ปี โดยกองระบาดวิทยาร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตรสขภาพ์ุโรคอุบติใหม โรงพยาบาลจฬาลงกรณ สภากาชาดไทย ตรวจยืนยันเชื้อไวรัสก่อโรคมือเท้าปากในกลุ่มผู้ป่วยสงสัย ัุ่์โรคมือเท้าปากหรือติดเชื้อเอนเทอโรไวรัส ระว่างวันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2562 จ านวน 419 ราย ให้ผลบวกต่อสารพนธุกรรมเอนเทอโรไวรัส 228 ราย (54.42%) โดยสายพนธุ์ก่อโรคที่พบสูงสุด 5 อนดบแรกคอ Coxsackie A6 ััััื(34.65%) รองลงมาคอ Enterovirus 71 (33.77%) Rhinovirus spp. (12.28%) Coxsackie A4 (5.70%) Coxsackie ืA10 (5.26%) ตามลาดบ และจากการเฝาระวังเหตการณระบาดโรคมือเท้าปาก มีรายงาน 26 เหตุการณ์ ซึ่งมากกว่า ัุ้์ร้อยละ 90 เกิดในโรงเรียนอนุบาลและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก นอกจากนี้ พบผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มเด็กอายุต่ ากว่า 5 ปี จ านวน 78,539 ราย (อตราปวย 2,382.21 ต่อแสนประชากร) และมีผู้เสียชีวิต จ านวน 5 ราย กลุ่มอายุที่พบมากที่สุด ั่3 อันดับแรก คือ 0-4 ปี (20.00%) 25-34 ปี (12.30 %) และ 10-14 ปี (12.12 %) ตามล าดับ และพบรายงานการระบาดของไขเอนเทอโรไวรัส จ านวน 12 เหตุการณ พบผเสยชีวิต 2 ราย ซึ่งทั้งสามโรคนี้เป็นสาเหตุที่ส าคัญของการเสียชีวิต้์ู ้ีแผนงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อในเด็ก

233อย่างรวดเร็วในเด็ก จากการด าเนินงานที่ผ่านมา พบว่า ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กส่วนใหญ่ไม่สามารถด าเนินการด้านสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้มีความเหมาะสม ขาดงบประมาณในการด าเนินงานด้านป้องกันควบคุมโรคติดต่อ และการไม่ได้รับการอบรมพฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งไม่สามารถก าหนดให้มีนโยบาย แผนงาน และโครงการประจ าป ัีที่เกี่ยวกับการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ซึ่งถือเป็นช่องว่างของการด าเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อในกลุ่มเด็กปฐมวัย ทั้งนี้ จึงต้องมีกระบวนการบรณาการดาเนนงานฯ ในทกระดบ ทงในระดบสวนกลาง เขต จงหวัด อาเภอ และหน่วยบริการูิุัั ้ั่ัสุขภาพปฐมภูมิ โดยมงเน้นการบูรณาการความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพนที่และภาคีเครือข่ายทีุ่ ่ื้เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและขับเคลื่อนแนวทางการด าเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อกลุ่มเด็กปฐมวัย ให้มีประสิทธิภาพ และมีความครอบคลุมมากยิ่งขึ้น 2. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง ในป 2562 จังหวัดที่มีค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ของอตราป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในกลุ่มเด็กอายุต่ ากว่า 5 ปี สูงสุด ีั10 อนดบแรก ได้แก่ 1. พะเยา (อตราปวย 4,335.12 ตอแสนประชากร) 2. เชียงราย (อตราป่วย 3,388.03 ััั่่ั ตอแสนประชากร) 3. ลาปาง (อัตราป่วย 3,204.07 ตอแสนประชากร) 4. กรงเทพมหานคร(อัตราป่วย 3,068.29 ุ่่ตอแสนประชากร) 5. เชียงใหม (อตราป่วย 2,954.30 ตอแสนประชากร) 6. พิษณโลก (อัตราปวย 2,922.72 ต่อ ่่ัุ่่แสนประชากร) 7. ตราด (อัตราป่วย 2,866.44 ตอแสนประชากร) 8. นครสวรรค (อัตราปวย 2,773.20 ต่อแสน่์่ประชากร) 9. ล าพูน (อัตราป่วย 2,673.44 ต่อแสนประชากร) และ 10. จันทบุรี(อัตราป่วย 2,602.08 ตอแสนประชากร) ่ตามล าดับ ดังแผนที่ . ที่มา : รายงาน 506 , กองระบาดวิทยา สัปดาห์ที่ 53 , วันที่ 31 ธ.ค. 2562 0 (0)0-1,600 (45)≥1,600 – 2,400 (18)>2,400 (14) Morbidity rate (/100,000 population) Number of provinces

2343. เป้าหมายเป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2562 2562 2563 2564 2565 อัตราป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในกลุ่มเด็กอายุต่ ากว่า 5 ปี ลดลง เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.38 อัตราป่วยโรคมือเท้าปากในเด็ก ต่ ากว่า 5 ปี = 1,750.40 ต่อแสนประชากร ค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี = 1,709.63 ต่อแสนประชากร (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562) ลดลง ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ 30 ลดลง 5 ลดลง 5 ลดลง 10 อัตราป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ในเด็กต่ ากว่า 5 ปี อัตราป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ในเด็กต่ าลดลงเมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี กว่า 5 ปี = 2,382.21 ต่อแสนประชากร ค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี = 984.69 ต่อแสนประชากร (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562) - ลดลง ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ 10 ลดลง 20 ลดลง 30จ านวนผู้เสียชีวิตด้วยไข้เอนเทอโรไวรัสในเด็กต่ ากว่า 5 ปี ผู้เสียชีวิต 2 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562) 10 ราย/ไม่เกิน ไม่เกิน 5 ไม่เกิน 5 ไม่เกิน 5 ปี ราย/ปี ราย/ปี ราย/ปี

2354.มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผู้ด าเนินการ มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. เขต สสจ. รพ. PCC ชต าบล มาตรการที่ 1 ผลักดันนโยบาย มาตรการ และสร้างกลไกความร่วมมือเครือข่ายในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในกลุ่มเด็กปฐมวัย - กาหนดนโยบาย/ มาตรการ/ เปาหมาย/ แนวทางการด าเนินงาน้ป้องกันควบคุมโรคติดต่อในเด็ก แเขต/ จังหวัด - ผลักดนการดาเนนงานภายใตัิ้แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย (กลุ่มวัยเด็ก) -ควบคมโรคติดต่อในเด็กแบบุบูรณาการตามบันทึกข้อตกลง ค่ืช่วงชีวิต 4 กระทรวง -คโครงการขององคกรปกครองส่วน์ท้องถิ่น โดยผ่านเทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ าปี - ขับเคลื่อนมาตรการศูนย์เด็กเล็กแภายใต้มาตรฐานสถานพัฒนา คมโรคติดตอในเด็ก ระดับเด็กปฐมวัยแห่งชาติ พ.ศ. 2562 - ถายทอดนโยบาย/ มาตรการ/ ่เป้าหมาย/ แนวทางการป้องกนัควบคมโรคติดต่อในเด็ก สู่การุปฏิบัติในพื้นที่ -ูพฒนาคนตลอดช่วงชีวิต 4 ักระทรวงในระดับพืนท โดยผ่าน้ี ่คณะอนกรรมการส่งเสริมพฒนาุัเด็กปฐมวัยระดับจังหวัด -ดาเนินงานปองกันควบคมุ้โิ่็่โครงการขององคกรปกครองส่วน์ท้องถิ่น โดยผ่านเทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ าปี - ขับเคลื่อนมาตรการศูนย์เด็กเล็กแภายใต้มาตรฐานสถานพัฒนา เด็กปฐมวัยแห่งชาติ พ.ศ. 2562 - พฒนารปแบบการป้องกันัูคุ่ชุมชน ขับเคลื่อนนโยบาย/ มาตรการ/ เ้้ัควบคมโรคติดต่อในเด็ก สู่การุปฏิบัติในพื้นที่ -การดาเนินงานเฝ้าระวงป้องกันัควบคมโรคติดต่อในเด็กระดับุจังหวัด/ อ าเภอ -ป้องกันควบคุมโรคติดต่อในเด็กส่์ปกครองส่วนทองถ่น โดยผ่าน้ิเท ศ บัญ ญัติ/ ข้อ บัญ ญัติงบประมาณรายจ่ายประจ าปี -เล็กและโรงเรียนอนุบาล ปลอดโรค ภายใตมาตรฐาน้สถานพัฒนา เดกปฐมวัย็แห่งชาติ พ.ศ. 2562 - ขบเคลือนรปแบบการปองกนัู่้ัควบคมโรคตดต่อในเด็ก ระดับุิชุมชน มการดาเนินโครงการที่ีเกี่ยวข้องกับการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในเด็ก 4 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านบริหารจัดการ 2. ด้านบุคลากร 3. ดานอาคารสถานท ้ี ่สุขาภบาล และอนามัยิสิ่งแวดล้อม ป้องกันควบคุมโรค - ดาเนินการตามมาตรการ/ แนวทางการปองกันควบคุม้โร ค ติดต่อ ใ น เด็ก เช่นมั็ป(ดานการป้องกันควบคมุ้โรคติดต่อ) มาตรการศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนบาลุคุณภาพปลอดโรค เป็นต้น -

236มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. เขต สสจ. รพ. PCC ชต าบล - พฒนารปแบบการปองกันควบคมัูุ้โรคติดต่อในเด็ก ระดับชุมชน - พฒนาหลักสูตรแกนนาสุขภาพ ัด้านการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในเด็ก - นิเทศ/ ติดตาม และประเมินผลกโรคติดต่อในเด็ก -พร้อมทั้งสนับสนุนและส่งเสริมให้เสอาสาสมครสาธารณสุข ชมรม/ัสมาคมผู้ปกครอง เป็นต้น เพื่อขับเคลื่อนการด าเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อในเด็ก - นเทศ/ ติดตาม และประเมนผลิิกุโรคติดต่อในเด็ก - สรางการมส่วนรวมในชุมชน้ี่พร้อมทั้งสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดกลุ่มแกนน า เช่น แกนน าสอัสมาคมผู้ปกครอง เป็นต้น เพื่อขับเคลื่อนการด าเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อในเด็ก -ิิิการดาเนินงานปองกันควบคมุ้โรคติดต่อในเด็ก -ภป้องกันควบคุมโรคติดต่อในเด็ก -ส้ัป้องกันควบคมโรคติดต่อในุเด็ก ระดับพื้นที่ มาตรการที่ 2 พัฒนาวิชาการ และนวัตกรรมสนับสนุนการด าเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในกลุ่มเด็กปฐมวัย- ศกษาคนคว้าและพฒนาึ้ันวตกรรมในการดาเนินงานัป้องกันควบคุมโรคติดต่อในกลุ่มเด็กปฐมวัย - พัฒนาผลงานวชาการ คู่มือ/ิแ้คปฐมวัย - เฝ้าระวง ติดตาม วิเคราะห์ัสถานการณ์ทางระบาดวทยาของิโรคติดต่อในเด็ก เชิง 5 มิติ - ร่วมด าเนินการพัฒนามาตรการ/แ้คปฐมวัย -กโรคติดตอในเดกระดับพื้นที่ ่็โดยยึดหลัก Health Literacy - สนับสนุนวชาการและสือในการิ่ดาเนินงานปองกันควบคมุ้โรคติดต่อในกลุ่มเด็กปฐมวัย -ัื่การดาเนินงานปองกันควบคมุ้โรคติดต่อในเด็กระดับพนท ื ้ี ่โดยยึดหลัก Health Literacy - ประเมินผลการด าเนินงานตามมาตรฐานสถานพฒนาเดกปฐมวยั็ัแโรคติดต่อ/ มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กโรงเรียนอนุบาลคุณภาพปลอดโรค และรายงานผลการประเมินผ่านระบบฐานข้อมูล - เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ องค์ความรู้เรื่องโรคติดต่อในเด็ก ผ่านช่องทางตางๆ ใหกบ่้ัภาคีเครือข่ายในพื้นที่ - ให้ค วา มรู้ ผู้ป กค รอง ใโเด็กป่วยให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุข/อสม. -

237มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. เขต สสจ. รพ. PCC ชต าบล - พัฒนาองค์ความรู้และจัดท าสื่อสนับสนุนพร้อมทั้งเผยแพร่ปั์่เพื่อการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในเด็ก -ระบบสารสนเทศ สนบสนุนการัด าเนินงานป้องกนควบคุมัโรคติดต่อในเด็ก - ประเมนผลการดาเนนงานตามิิมั็แโรคติดต่อ/ มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กโรงเรียนอนุบาลคุณภาพปลอดโรค และรายงานผลการประเมนผ่านิระบบฐานข้อมูล - รณรงค์ เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เรื่องโรคติดต่อในเด็ก หร่ัภาคีเครือข่ายในพื้นที่ - รณรงค์ เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เรื่องโรคติดต่อในเด็ก หระบาด ผ่านช่องทางต่างๆ ให้กับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ - จัดให้มีบริการให้ความรู้ ค าปรกษาด้านการเฝ้าระวงึัป้องกันควบคุมโรคติดต่อในเด็ก แก่ผู้ปกครอง/ ผู้ดูแลเด็กที่พาเด็กมารับวัคซีน ในคลินิกสในโรงพยาบาล (Day care) และคลินิก ANC มาตรการที่ 3 การเฝ้าระวังป้องกันโรคล่วงหน้าและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในเด็ก-เและป้องกัน เพื่อลดความเสี่ยงของเด็กจากการเสียชีวิตด้วยโรคติดต่อ - เฝ้าระวงเชือกอโรคทเปนสาเหตั้่ี ่็ุของการระบาด - พฒนามาตรการ/ แนวทาง ัการควบคมการระบาดของุโ้การปฏิบัติงานในระดับพื้นที่ - เฝ้าระวง ตดตาม วเคราะหัิิ์สิโรคติดต่อในเด็กในพื้นที่ - ปรับใช้มาตรการให้เหมาะสมกับพื้นที่ ในกรณีที่มีการระบาดของโรค -สอบสวนโรคติดต่อในเด็ก กรณีมีการระบาดของโรคในพืนท ้ี ่- รวบรวมวเคราะหผลการิ์ดิ เฝ้าระวง ตดตาม วเคราะหัิิ์สิของโรคติดต่อในเด็กในพื้นที่ -เครือข่ายที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ในการด าเนินงาน/ สอบสวนโรคเมอเกดการระบาดของโรคตดตอื ่ิิ่ในเด็ก - ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ให้มีการแจ้งล่วงหน้าในศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล และชุมชน  เดกนักเรยนทุกวันก่อนเขา็ี้เรียน เมื่อพบเด็กป่วยเป็นกลุมก้อน (3 คนข้นไป) ดวย่ึ้อาการเดียวกัน ให้แจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทันที  ูใหสะอาด ท าความสะอาด้-

238มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. เขต สสจ. รพ. PCC ชต าบล -สอบสวนโรคติดต่อในเด็ก กรณีที่โรคมีแนวโน้มที่จะระบาดในวงกว้าง - ตดตามและประเมนผลการิิด าเนินงานควบคุมโรคในพื้นที่ โิ่็ด าเนินงานมายังกรมควบคุมโรค - ตดตามและประเมนผลการิิด าเนินงานควบคุมโรคในพื้นที่ เตือนการระบาด เพอควบคมื ุ่ไม่ให้มีการระบาดในวงกว้าง - เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ลงสอบสวนและควบคมโรค ุพร้อมทั้งให้ค าแนะน าแก่ คชุมชน -ุโรคตดตอในเดก ผ่านโปรแกรมิ่็ตรวจสอบการระบาดของส านกัรหรือรายงานมายัง ทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (Situation Awareness Team: SAT) กรมควบคุมโรค อี ่นอน ห้องเรียน อาคารสถานที่ อย่างสม่ าเสมอ  ูด้านอาคาร สิ่งแวดล้อม น้ าดื่ม น้ าใช้ให้สะอาดและเพียงพอ - ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ให้มีการแจ้งเืไม่ให้มีการระบาดในวงกว้าง - จนท.สธ.ลงพื้นที่สอบสวนและควบคุมโรค และให้ค าแนะน าแก่ครผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และชุมชน ู- ครู/ผู้ดูแลเด็ก มีการคัดแยกเด็กปู่ ้้็ไปรับการรักษา - ศูนย์เดกเลก โรงเรยนอนุบาล ็็ีและชุมชน ด าเนินการ ตามมารตราการ/ แนวทางการควบคุมโิระบาดของโรคในพนที ื ้่5.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี

239มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน โครงการย่อยที่ 1. พัฒนาศักยภาพการจัดการปัญหาโรคติดต่อในเด็ก มาตรการที่ 1 ผลักดันนโยบาย มาตรการ และสร้างกลไกความร่วมมือเครือข่ายในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในกลุ่มเด็กปฐมวัยตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของจังหวัดที่มีแผนบูรณาการในการด าเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในกลุ่มเด็กปฐมวัยร่วมกับภาคีเครือข่าย กิจกรรมย่อยที่ 1 ้คการบูรณาการด าเนนงานตาม ิแนวทาง/ มาตรฐานการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในเด็ก --√√√กรมควบคุมโรค (กองโรคติดต่อทั่วไป) --1113กรมควบคุมโรคร้อยละ 83 ร้อยละของเครือข่ายที่ด า เนิน ก า ร ต า ม แนวทาง/ มาตรฐานด้า น ก า ร ป้อ ง กันควบคมโรคติดต่อในุเด็ก กิจกรรมย่อยที่ 2 ผลักดนการัด าเนินงานป้องกันควบคุมโโครงการขององคกรปกครอง์ส่วนท้องถิ่น √√√กรมควบคุมโรค (กองโรคติดต่อทั่วไป) 1113กรมควบคุมโรคร้อยละ 70 ร้ปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีด้า น ก า ร ป้อ ง กันควบคุมโรคติดต่อในเด็ก

240มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน กิ จ ก รรม ย่ อ ย ที่3 พัฒ น าศักยภาพแกนน าสุขภาพ ด้านการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคกลุ่มเด็กปฐมวัยระดับพื้นที่ √√√กรมควบคุมโรค (กองโรคติดต่อทั่วไป) --1.5 1.5 1.5 4.5 กรมควบคุมโรค ร้อยละ 70 ร้อยละของจังหวัดที่มีกัแกนน าสุขภาพดาน้กคปฐมวัยระดับพื้นที่ มาตรการที่ 2 : พัฒนาวิชาการ และนวัตกรรมสนับสนุนการด าเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในกลุ่มเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัดที่ 1 จ านวนผลงานวิชาการ/เทคโนโลยี/สื่อ/นวัตกรรมการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย กิจกรรมย่อยที่ 4 องค์ความรู้และสื่อเพื่อใช้ในการด าเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคมโรคติดต่อกลุมเด็กุ่ปฐมวัยระดับพื้นที่ √√√กรมควบคุมโรค (กองโรคติดต่อทั่วไป , ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 และส านักงานป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง) --6.5 6.5 6.5 19.5 กรมควบคุมโรค 77 จังหวัด จ านวนเครือข่ายเป้าหมายที่ได้รับการสนสนุนการด าเนินงานเฝ้าระวัง ป้อ ง กัน ค ว บ คุมโรคติดต่อกลุมเด็ก่ปฐมวัย

241มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 3 การเฝ้าระวังป้องกันโรคล่วงหน้าและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในเด็กตัวชี้วัดที่ 1 จ านวนจังหวัดที่มีอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในกลุ่มเด็กปฐมวัยลดลง เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี กิจกรรมย่อยที่ 5 ติดตามและประเมินผลการด าเนินงานเชิงรุกด้า น ก า ร ป้ องกั น ค ว บ คุ มโพื้นที่ --√√√กรมควบคุมโรค (กองโรคติดต่อทั่วไป) --1113กรมควบคุมโรค 77 จังหวัด จ านวนเครือข่ายที่ได้รับการติดตามและป ระเมินผ ล ก า รด าเนินงานเชิงรุกด้านการป้องกันควบคมุโรคติดต่อกลุมเด็ก่ปฐมวัยระดับพื้นที่

2426. แผนติดตามประเมินผล ระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการที่ 1 : ผลักดันนโยบาย มาตรการ และสร้างกลไกความร่วมมือเครือข่ายในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในกลุ่มเด็กปฐมวัย ร้อยละ 70 ภายในปี 2565 ความครอบคลุมของเครอขายื่ที่สามารถด าเนินงานตามนโยบาย มาตรการดานการ้เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในกลุ่มเด็กปฐมวัย √ √ √ √ √ มาตรการที่ 2 : พัฒนาวิชาการ และนวัตกรรมสนับสนุนการด าเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในกลุ่มเด็กปฐมวัย ปีละ 1 เรื่อง ผลงานวิชาการ/เทคโนโลยี/สื่อ/นวัตกรรมการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย √ √ √ √ √ มาตรการที่ 3 : การเฝ้าระวังป้องกันโรคล่วงหน้าและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในเด็ก ร้อยละ 50 จังหวัดที่มีอัตราป่วยด้วยภายในปี 2565 โรคติดต่อในกลุ่มเด็กปฐมวัย ลดลง เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี √ √ √ √ √ 7. ผู้รับผิดชอบแผนงาน 1. นายแพทย์โสภณ เอี่ยมศิริถาวรเบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3160ผู้อ านวยการกองโรคติดต่อทั่วไป E-mail: [email protected]. นางสมนึก เลิศสุโภชวณิชย์ เบอร์โทรศัพท์ 02 590 31853 นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการพิเศษ E-mail: [email protected]

2431. สถานการณ์ โรคติดต่อนำโดยยุงลาย ที่เปนโรคประจำถิ่นในทุกภาคของประเทศไทย ได้แก่ ไข้เลอดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย ็ืและโรคติดเชอไวรัสซิกาโรคไข้เลอดออกเปนปญหาสาธารณสขที่สำคัญของประเทศไทยมากที่สดของกลมโรคติดต่อ ื้ื็ัุุุ่นำโดยยุงลาย โดยมีการรายงานพบผปวยสูงทุกปอย่างน้อย 60,000 – 70,000 รายต่อป แต่ถ้าหากเปนปที่มีการระบาดู้่ีี็ีใหญจะพบผู้ป่วยมากถึง 150,000 ราย สำหรับรูปแบบการระบาดในชวง 10 ปทีผานมา พบวา มีรูปแบบการระบาด ่่ี่่่ที่ไม่แนนอน อาจมีการระบาดแบบปีเวนปี หรือปีเวน 2 ปี และมีการเปลยนแปลงตามฤดูกาล ่้้ี ่(Seasonal Pattern) โดยเริมมีแนวโน้ม ผปวยมากขึ้นตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนและสูงสุดในเดือน ู่้่กรกฎาคม-สิงหาคม ซึ่งเปนชวงฤดูฝน และลดลงเมื่อเข้าสฤดูหนาว ซึ่งในช่วงปลายปีหากยังมีผ้ป่วยสูงลอย ็ูู่่จะส่งผลให้ในปีต่อมามีการระบาดใหญ่ได้ เช่น การรระบาดใหญในปี 2556, 2558 และ 2562 ในสวนชนิดเช้อไวรัส่่ืไขเลอดออกประเทศไทยพบทั้ง 4 สายพันธ์ในทุกป หากปใดมีการเปล่ยนแปลงสัดส่วนของสายพันธ์ไวรัสไขเลือดออก ้ืุีีีุ้มักจะทำให้มีการระบาดและอัตราป่วยตายสงกว่าปกต สำหรับกล่มเส่ยงต่อการปวยเปนเด็กวยเรียน ช่วงอายุระหว่าง ูิุี่็ั5-14 ปี กล่มเส่ยงตอการเสียชีวิตอย่ในกล่มเด็กเล็ก (0-4 ปี) และวยผูใหญ่ (อายุ 25 ปขึ้นไป) โดยเฉพาะกลมผสงอายุ ุีูุ่ั้ีุูู่้(65 ปขึ้นไป) เนื่องจากผู้ใหญและผสงอายุมักมีโรคประจำตัวเรื้อรัง ทำให้เมือป่วยเป็นไขเลือดออกจะมีภาวะแทรกซ้อน ีูู่้่้เช่น ตับวาย ไตวาย ที่รักษาได้ยาก นอกจากนี้ผใหญส่วนมากเมื่อป่วยมักซื้อยารับประทานเองหรือไปฉีดยาลดไข้ที่คลินิก ู้่ทำใหไม่ได้ไปตรวจหาสาเหตุของไข้ที่โรงพยาบาลแต่เนิ่น ๆ จึงได้รับการรักษาที่เหมาะสมล่าช้า ้ โรคไขปวดขอยุงลายหรือชิคนกุนยา ประเทศไทยพบมีการระบาดเปนกลมก้อนของโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ุ้้็ุ ่7 ครั้ง ในป พ.ศ. 2531 ที่จงหวดสุรินทร์ ปี พ.ศ. 2534 ที่จังหวัดขอนแก่นและปราจีนบรี ในป พ.ศ. 2536 มีการระบาด ีััุี3 ครังทีจงหวดเลย นครศรีธรรมราช และหนองคาย และปี พ.ศ. 2552 - 2553 มีการระบาดในวงกว้างในทุกจังหวด ้่ัััทางภาคใต้และกระจายไปยังจงหวัดอื่นๆ ทั่วทุกภาคของประเทศไทยผ่านการเดินทางของผที่ติดเชอ โดยเฉพาะแรงงานัู้ื้สวนยาง ทหารเกณฑ์ และนักศึกษา พบผปวยทั้งประเทศรวมกวา 50,000 ราย หลังจากปี พ.ศ. 2554 แนวโน้มจำนวนู้่่ผ้ปวยลดลงอย่างมากจนเหลอไม่เกิน 50 รายตอปีในชวง พ.ศ. 2558 – 2560 หลงจากนั้นพบมีแนวโน้มผปวยโรคไข้ ู่ื่่ัู้่ปวดขอยุงลายสงขึ้นอีกครั้งในช่วงปลายปี พ.ศ. 2561 กว่า 3,000 ราย และระบาดต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน โดยสถานการณ์ู้ในปี พ.ศ. 2563 (ข้อมูลจากรง 506 กองระบาดวิทยา ณ วันที่ 7 พฤษภาคม 2563) พบรายงานผู้ป่วยสะสมรวม 962 ราย อัตราป่วย 1.45 ต่อประชากรแสนคน สงกวาค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลังถึง 41 เท่า ไม่มีรายงานผู้เสียชวิต อัตราปวยสงสดู่ีูุ่ในกลมวัยทำงาน อาย 25 – 34 ปี 2.06 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคืออายุ 35 – 44 ปี (1.87) และอายุ 30 - 34 ปี ุ ุ่(1.75) ตามลำดับ สัดส่วนผป่วยประกอบอาชีพรับจ้างหรือกรรมกรสูงสุด ร้อยละ 31 รองลงมาคือนักเรียน (14%) ู ้และเกษตร (10%) พบผูป่วยกระจายทั่วทุกภาคของประเทศ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ภาคกลาง อัตราป่วย 2.30 ต่อประชากร้แสนคน รองลงมาคือภาคใต้ (1.98) ภาคเหนือ (0.81) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (0.32) ตามลำดับ แผนงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลาย

244 โรคติดเช้อไวรัสชกา ในประเทศไทยมีรายงานวาตรวจพบภูมิคมกันต่อเช้อไวรัสซิกาในผ้ที่อาศัย ืิุ่ ้ืูในกรุงเทพมหานคร เมื่อปี พ.ศ. 2506 และในป พ.ศ. 2556 มีผู้ปวยยืนยันการติดเชอ Zika virus โดยเป็นนักท่องเที่ยวี่ื้จากแคนาดาเดินทางมาประเทศไทยมีอาการป่วยระหว่างเดินทางกลบ ตั้งแต่ป พ.ศ. 2555-2557 พบการระบาดไม่ทราบัีสาเหตุ 4 เหตุการณ์ มีผ้ป่วยรวม 47 ราย และในป พ.ศ. 2559 มีการระบาดของโรคตดเช้อไวรัสซิกาในทั่วทุกภาค ูีิืของประเทศ รวม 43 จังหวด มีรายงานผป่วยยืนยันการตดเช้อทั้งที่มีอาการและไม่แสดงอาการ โดยพบผูป่วยได ัู ้ิื้้ตลอดทั้งปี การระบาดดังกลาวทำให้มีหญงตั้งครรภ์ติดเชอและคลอดทารกที่มีภาวะศีรษะเลก 2 ราย โดยสถานการณ์โรค่ิื้็ตดเช้อไวรัสซิกาในปัจจบัน ปี พ.ศ. 2563 ขอมูลจากระบบเฝาระวงโรคติดเช้อไวรัสซิกา กองโรคติดต่อนำโดยแมลง ิืุ้้ัืตั้งแต่วนที่ 1 มกราคม – 7 พฤษภาคม 2563 ซึ่งครอบคลุมการตรวจยนยนทางห้องปฏบัตการเฉพาะกล่มอาจมีัืัิิุภาวะแทรกซ้อนหรือความรุนแรงของโรค ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ ทารกศีรษะเล็ก และกลุ่มอาการทางระบบประสาทอักเสบ โดยมีรายงานผู้ติดเชื้อไวรัสซิกาในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 1 ราย ทารกศีรษะเล็ก 2 ราย ที่มา : โรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย จากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (รายงาน 506) สำนักระบาดวิทยา โรคติดเชื้อไวรัสซิกา จากระบบเฝ้าระวังโรคสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง 2. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออกและโรคติดเชื้อไวรัสซิกา เปนพื้นที่เขตเมืองในทุกภาคของประเทศไทย เนื่องจาก็มีการเคลอนย้ายของประชากรสง สวนพื้นที่เสี่ยงโรคไข้ปวดข้อยุงลายเดิมพบผู้ปวยสงเฉพาะในพื้นที่จงหวัดทางภาคใต้ ืูู่่่ัแต่ในช่วงปที่ผ่านมาพบมีรายงานผป่วยสูงขนในเขตเมืองและพบผ้ปวยสูงสุดในพืนทีภาคกลางกระจายหลายจังหวด ีู ้ึ ู้่้่ัโดยพื้นที่เสี่ยงของโรคติดต่อนำโดยยุงลายแสดงตามรูปที่ 1-3 เสี่ยงต่ำ 231 อำเภอ เสี่ยงปานกลาง 473 อำเภอ เสี่ยงสูง 224 อำเภอ รูปที่ 1 พื้นที่เสี่ยงไข้เลือดออกระดับอำเภอ ปี 2563 (ข้อมูลจากรายงานพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ปี 2563 กรมควบคุมโรค)

245- อำเภอที่มีรายงานผู้ป่วยในช่วง 14 วันที่ผ่านมา (25 อำเภอ)- อำเภอที่มีรายงานผู้ป่วยในช่วง 28 วันที่ผ่านมา (15 อำเภอ)- อำเภอที่เคยมีรายงานผู้ป่วย แต่ไม่มีรายงานผู้ป่วยในช่วง 28 วันที่ผ่านมา (123 อำเภอ)- อำเภอที่ไม่มีรายงานผู้ป่วยในปี พ.ศ. 2563 (765 อำเภอ)- ผู้ติดเชื้อไวรัสซิกา (3 จังหวัด)- สงสัยผู้ติดเชื้อไวรัสซิกา (39 จังหวัด)- ไม่มีรายงานผู้ติดเชื้อไวรัสซิกา ในปี พ.ศ. 2563 (33 จังหวัด)รูปที่ 2 พื้นที่ระบาดโรคไข้ปวดข้อยุงลายระดับอำเภอ ปี พ.ศ. 2563 (ข้อมูลจากรายงาน 506 กองระบาดวิทยา ณ วันที่ 7 พฤษภาคม 2563) รูปที่ 3 แผนที่ประเทศไทยแสดงผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสซิการายจังหวัด ปี พ.ศ. 2563 (ข้อมูลจากกองโรคติดต่อนำโดยแมลง ณ วันที่ 7 พฤษภาคม 2563)

2463. วัตถุประสงค์ เพื่อใหหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน ร่วมกันรับผิดชอบในการจัดการปัญหาโรคติดต่อนำโดย้ยุงลายโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน และดำเนินมาตรการป้องกันควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลายด้วยตนเอง4. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ป (2561-2565)ีเป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เป้าหมาย ลดการป่วย การเสียชีวิตและภาวะแทรกซ้อนจากโรคติดต่อนำโดยยุงลาย ตัวชี้วัด 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกน้อยกว่า อัตราป่วยปี ค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ร้อยละ 2561 เท่ ากั บ ของค่ามัธย131.58 เกินค่ามัธยฐาน 2557-2561 ร้อยละ 35 Median 97.71ร้อยละ 15 ฐาน พ.ศ. ร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน พ.ศ. 2558-2562 ร้อยละ 10 ของค่ามัธยฐาน พ.ศ. 2559-2563 (<79,094 ราย)- ตัวช้วัด 2ี ลดอัตราปวยตายดวยโรค่้ไขเลอดออกไม่เกินรอยละ 0.10 ภายในปี ้ื้พ.ศ. 2565 ร้อยละ 0.13 ร้อยละ 0.10 ร้อยละ 0.10 ร้อยละ 0.10 ร้อยละ 0.10 ตัวช้วัดที 3 ี่จำนวนผป่วยโรคไข้เลอดออก ตัวชี้วัดใหม่ ปี ู้ืน้อยกว่าค่าต่ำสุด 5 ปี ย้อนหลัง 2564 รอบปี 2557-2561เป้าหมาย 2562 เป้าหมาย ไข้เลือดออกน้อย ผู้ป่วยโรค< 41,082 ราย (ปี 2557)ผลงาน ปี 2560) 114,449 ราย เกินเป้าหมาย ร้อยละ 178% (2.8 เท่า) รอบปี2558-< 53,961 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคกว่าค่าต่ำสุด 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2559 -2563) จำนวน ไข้เลือดออกน้อยกว่าค่าต่ำสุด 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2560 -2564) ตัวชี้วด 4 ัจำนวนผป่วยโรคไข้ปวดข้อยุงลายู้ลดลงตัวชี้วัดใหม่ นวนผู้ป่วย ปี 2564 จำ11,431 ราย ลดลงร้อยละ 50 ลดลงร้อยละ 50 ลดลงร้อยละ 50 (5,716 ราย) จากปี 2563 จากปี 2564 ตัวช้วัดที่ 5ี รอยละความครอบคลุมของการ ตัวชี้วัดใหม่ ปี ตัวชี้วัดใหม่ ปี ร้อยละ 100 ้ติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชอไวรัสซิกาและผลื้การคลอด 2563 2563 ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 ตัวชีวัดที 6 ้่ร้อยละอำเภอเสยงสงมค่าดัชนี ตัวชี้วัดใหม่ ปี ตัวชี้วัดใหม่ ปี ีู่ีลูกน้ำยุงลายได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด - โรงเรือน HI < 5 และ- โรงเรียน CI = 0 และ - โรงพยาบาล CI = 0 และ - โรงธรรม หรือ โรงแรม หรือ โรงงาน หรือสถานที่ราชการ CI < 5 2563 2563 ร้อยละ 80 ร้อยละ 80 ร้อยละ 80

2475.มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่สำคัญ ในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผู้ดำเนินการ มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร./สปคม. เขตสุขภาพ สสจ. รPCC ชุมชน/ตำบล ม่ยเข้มแข็งของ ระบบเฝ้าระวังโรค แโรคติดต่อนำโดยยุงลาย1. พัฒนาระบบฐานข้อมูลโรคติดต่อนำโดยยุงลาย 2. เตรียมความพร้อมอำเภอเสี่ยงในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุก 3. พัฒนาศูนย์พยากรณ์โรคไข้เลือดออกอัจฉริยะ - วิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์โรคติดต่อนำโดยย- พยากรณ์และประเมินพื้นที่เสี่ยง - พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ระดับสคร./สปคม.ในการใช้ฐานข้อมูลในการพยากรณ์โรคและระบุ1.วิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์โรคติดต่อนำโดยยุงลายก่อน และระหว่างฤดูกาลร2. พยากรณ์และประเมินพื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลอดออก ื3. พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด/อำเภอในการวิเคราะห์สถานการณ์ /วิเคราะห์ฐานข้อมูลในการพยากรณ์โรคและระบุพื้นที่เสี่ยง 4. ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้1. เตรียมความพร้อมอำเภอเสี่ยงในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุก 2. ร่วมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด/อำเภอในการวิเคราะห์สถานการณ์ โรค/วิเคราะห์ฐานข้อมูลในการพยากรณ์โรคและระบุพื้นที่เสี่ยง 3. ร่วมติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข (ยุงลาย) ระดับจังหวัด 4. ร่วมจัดทำแผนปฏิบัติการหรือแนวทาง ควบคุมโรคและตอบโต้1.วิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์โรคติดต่อนำโดยยุงลายก่อน และระหว่างฤดูกาลร2. นำผลการพยากรณ์โรคไปจัดทำแผนงานโครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในอำเภอเสี่ยง มีการเฝ้าระวังเชื้อไวรัสเด็งกี ไวรัสซิกา และไวรัสชิคุณกุนยาใ1. วิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์โรคติดต่อนำโดยยุงลายก่อน และระหว่างฤดูกาลร2. จัดทำแผนปฏิบัติการหรือแนวทาง ควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินเพื่อรองรับการรไข้เลือดออก ระดับอำเภอ 3. สำรวจลูกน้ำยุงลาย และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยใช้ อสม.ออนไลน ์4. รายงานผลการ1. สนับสนุนการจัดการสิ่งแวดล้อม และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 2. สนับสนุนวัสดุ/อุปกรณ์คนำโรค 3. เตรียมความพร้อมรับการระบาดโรคติดต่อนำโดยยุงลาย

248มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร./สปคม. เขตสุขภาพ สสจ. รPCC ชุมชน/ตำบล พื้นที่เสี่ยง 4. จัดทำแผนปฏิบัติการควบคุมโรค (AHP) แผนเผชิญเหตุ (IAP) และซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านโรคติดต่อนำโดยยุงลายในทุกระดับ 5. พัฒนาโปรแกรมทันระบาด และ แอพลิเคชัน อสม.ออนไลน์ และติดตามผลการสำรวจลูกน้ำยุงลาย 6. เฝ้าระวังเชื้อไวรัสใัรูปแบบการใช้ข้อมูลเชื้อไวรัสเด็งกีและไวรัสซิกาเพื่อเฝ้าระวังกโรคติดต่อนำโดยย7. พัฒนาขีดภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข (ยจังหวัด 5. ติดตามผลสำรวจลูกน้ำยุงลาย โดยใช้ โแแิออนไลน ์6. เฝ้าระวังเชื้อไวรัสเด็งกีและไวรัสซิกาในคน 7. พัฒนาขีดความสามารถในการเฝ้าระวังพาหะนำโรคและการจัดการภาวะฉุกเฉิน 8.เป็นศูนย์การตรวจวินิจฉัยโรคติดต่อนำโดยยุงลายทางภาวะฉุกเฉินเพื่อรองรับกไข้เลือดออก สำรวจลำทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยทันระบาด และ อสม.ออนไลน์ 5. ค้นหาผู้ป่วยเชิงรุก โดยเฉพาะโรคไข้ปวดข้อยุงลาย เพื่อป้องกันการระบาดในวงกว้าง

249มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร./สปคม. เขตสุขภาพ สสจ. รPCC ชุมชน/ตำบล ความสามารถในการเฝ้าระวังพาหะนำโรคและการจัดการภาวะฉุกเฉิน 8. เป็นศูนย์อ้างอิงการตรวจวินิจฉัยโรคติดต่อนำโดยยุงลายทางห้องปฏิบัติการ และการควบคุมคุณภาพ เพื่อเฝ้าระวังเชื้อก่อโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินของประเทศ ห้องปฏิบัติการในเขตพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อเฝ้าระวังเชื้อก่อโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ม่ขับเคลื่อนภาคีเครือข่ายและประชาชนให้มีความเป็นเจ้าของร่วมรับผิดชอบ ในการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อค1. ผลักดันและขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและประชาชนในการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อค2. สร้างและพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย และการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกัน1. ขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและประชาชนในการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อควบคุมพาหะนำโ2. สร้างและพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย และการมีส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย และการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันควบคุมโรค ติดต่อนำโดยยุงลาย 1. ขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อคโ2. พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย และสนับสนุนการจัดการสิ่งแวดล้อมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในโรงพยาบาลและบ้านพักเจ้าหน้าที่ 1. พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย และขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมรับผิดชอบของชุมชนในการป้องกันควบคุมโรค ติดต่อนำโดยยุงลาย2. สนับสนุนการจัดการสิ่งแวดล้อมและทำลายแหล่งสร้างและ พัฒนาภาคีเครือข่าย และขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันควบคุมโรค ติดต่อนำโดยยุงลาย

250มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร./สปคม. เขตสุขภาพ สสจ. รPCC ชุมชน/ตำบล ควบคุมโรค ติดต่อนำโดยยุงลาย ส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันควบคุมโรค ติดต่อนำโดยยุงลาย การมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันควบคุมโรค ติดต่อนำโดยยุงลาย3. สนับสนุนการจัดการสิ่งแวดล้อมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเพาะพันธุ์ยุงลาย มาตรการที่ 3 เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้ประชาชนมีความรอบรูด้านสุขภ้า (Health Literacy) เพื่อการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดยยุงลาย1. กำหนด key message ที่เฉพาะกับกลุ่มเป้าหมาย 2. เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้ปกลุ่มเป้าหมายมีความรอบรู้ทางสุขภาพ (Health Literacy) เพื่อการป้องกันตนเองจากควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลาย ในทุก1. สร้างกลไกในการสื่อสาร key message ไปยังกลุ่มเป้าหมาย 2. เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้ปกลุ่มเป้าหมายมีความรอบรู้ทางสุขภาพ (Health Literacy) เพื่อการป้องกันตนเองจาก1. ร่วมสร้างกลไกในการสื่อสาร key message ไปยังกลุ่มเป้าหมาย 2. ร่วมเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรอบรู้ทางสุขภาพ (Health Literacy) เพื่อการป้องกันตนเองจากควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลาย ในระดับเขต 1. เลือก key message ที่เฉพาะกับสภาพปัญหาของพื้นที่ 2. ร่วมเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้ปกลุ่มเป้าหมายมีความรอบรู้ทางสุขภาพ (Health Literacy) เพื่อ1. สื่อสารความรอบรูด้านการ้ดอาการและป้องกันยุงกัดในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มผู้ป่วย/กลุ่มผู้สูงอายุ 2. ส่งเสริมความรอบรู้ในการจัดการสิ่งแวดล้อมและสื่อสาร key message ในพื้นที่ตามกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด สื่อสาร key messagในพื้นที่ตามกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด

251มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร./สปคม. เขตสุขภาพ สสจ. รPCC ชุมชน/ตำบล ร3. ผลิตสื่อเพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนในการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดยย4. จัดทำแนวทางการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) สำหรับเจ้าหน้าที่ โรคติดต่อนำโดยยุงลาย ในระดับเขต 3. ประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ(Health Literacy) เพื่อการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดยยุงลาย การป้องกันตนเองจากคโรคติดต่อนำโดยยจังหวัด ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายใและบ้านพักเจ้าหน้าที่ มาตรการที่ 4 เพิ่มความเข้มแข็งขิดู่ ้และติดตามผลการรักษา ในทุกรรักษา1. จัดทำและสนับสนุนการใช้ CPG โรคติดต่อนำโดยยุงลายให้กับบุคลากรทางการแพทย์ 2. พัฒนาความรู้และถ่ายทอดเพื่อเพิ่มพูนทักษะการวินิจฉัย/ดูแล/รักษาให้บุคลากรทางการแพทย์ สนับสนุนการใช้ CPG โรคติดต่อนำโดยยุงลายให้กับสถานพยาบาล 1. จัดอบรมแพทย์จบใหม่ในการวินิจฉัยรักษาผู้ป่วย โรคติดต่อนำโดยย2. จัดระบบและเกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลในลำดับสูงขึ้นไปภายในเขต 1. กำกับสถานพยาบาลเอกชนภายในจังหวัด ให้มีการวินิจฉัยและแจ้งผู้ป่วยสงสัย โรคติดต่อนำโดยยุงลายทันทีที่พบผู้ป่วยไปยังศูนย์ระบาดอำเภอ 1. ใช้แนวทางในการวินิจฉัยผู้ป่วย โรคไข้เลือดออก โรคไข้ปวดข้อยุงลาย และโรคติดเชื้อไวรัสซิกาตาม CPractice G1. รพ.สต.ร่วมเฝ้าระวังสอบสวนเพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัสซิกาในหญิงตั้งครรภ์ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 2. ส่งต่อผู้ป่วยสงสัยโรคติดต่อนำโดยยุงลายไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล ประชาสัมพันธ์/สื่อสารความรู้ ความเข้าใจโรคติดต่อนำโดยยุงลายในชุมชน เช่น - อาการผู้ป่วยสงสัยเบื้องต้น เพื่อเข้ารับการรักษาที่

252มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร./สปคม. เขตสุขภาพ สสจ. รPCC ชุมชน/ตำบล โดยเฉพาะแพทย์จบใ3. จัดตั้งทีมผู้เชี่ยวชาญในการให้คcase conference 4. จัดทำและพัฒนาแนวทางการวินิจฉัยผู้ป่วยสงสัยโรคติดต่อนำโดยยุงลายเบื้องต้น และการส่งต่อผู้ป่วย หรือ สสจ. 2. สนับสนุนการใPractice Guideline ในการวินิจฉัย โรคติดต่อนำโดยย3. จัดอบรมแการวินิจฉัยรักษาผู้ป่วย โรคติดต่อนำโดยยุงลาย 2. ส่งเสริมให้มีการตรวจ CBC 24 ชั่วโมง 3. มีการใช้แนวทางและมาตรฐานการส่งต่อผู้ป่วยโรคติดต่อนำโดยยโโดยเร็วที่สุด - การห้ามใช้ยา NSIADs ในผู้ป่วยสงสัยโรคติดต่อนำโดยยมาตรการที 5 ่พัฒนาและสนับสนุนงานวิจัย และนวัตกรรมเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการป้องกันควบคุมโรค1. จัดทำกรอบการวิจัยในระยะยาว 2. ดำเนินการศึกษาวิจัยและสนับสนุนร่วมกับ สคร. แ1. ร่วมจัดทำกรอบการวิจัยในระยะยาว 2. ร่วมและดำเนินการศึกษาวิจัย 3. สนับสนุนหน่วยงานระดับพื้นที่ดำเนินการวิจัยตามบริบทพื้นที่ ดำเนินการวิจัยตามบริบทพื้นที่ ดำเนินการวิจัยตามบริบทพื้นที่ ดำเนินการวิจัยตามบริบทพื้นที่ ดำเนินการวิจัยตามบริบทพื้นที่

2536.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที 1 ่ยกระดบความัเข้มแข็งของ ระบบเฝ้าระวังโรค และการจัดการภาวะฉกเฉน ของุิโรคติดต่อนำโดยยุงลาย ตัวชี้วัดที่ ๑ ขงจังหวัดมีกาวิเร า ะ ห์ และปโรคไขเลือดออกและ้โใ ช่วงก่อ น แ ล ะระหว่างฤดูกาลระบาดของโรคไขเลือดออก้และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ต้่ร้อยละข องอำเภ อเสี ย งมี่แผนปฏบัติการหรือิแตอบโต้ภาวะฉุกเฉินเพื่อรระบาดโรคไข้เลือดออกกิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาระบบข้อมูลและศักยภาพบุคลากรในการ--4.9 4.9 1กรมควบคุ

254มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน เแบบบูรณาการ มโรค 1.1 เตรียมความพร้อมอำเภอเสี่ยงใไข้เลือดออกเชิงรุก ///// งโรคติดต่อนำโดยกแ-สคร.1-12 -สปคม. -สสจ. --3กรมควบคุมโรค 1.2 การประยกต์ใช้ขอมูลเฝ้าระวังุ้ในระดับพื้นที่เพื่อการพยากรณ์โรคติดต่อนำโดยยุงลาย /////กแ-สคร.1-12 -สปคม. -0.3 0.6 กรมควบคุมโรค 1่แูิระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อนุัทุกระดับ ///// งโรคติดต่อนำโดยกแ0.6 0.6 1.2 กรมควบคุมโรค 1ัและ แอพลิเคชัน อสม.ออนไลน์ เพื่อเิลูกน้ำยุงลาย ในพื้นที่เป้าหมาย 7ร. /////กองโรคติดต่อนำโดยแมลง สปคม. --44.0 4.0 12.0 กรมควบคุมโรค

255มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน กิจกรรมหลักที่ 2 พัฒนาศูนย์ความเโมาตรฐานสากล กแสคร. 0001กรมควบคุมโรค 2พัฒนารูปแบบการใช้ข้อมูลเชื้อไวรัสเด็งกี่และไวรัสซิกาเพื่อเฝ้าระวังก่ยุงลาย ///// งโรคติดต่อนำโดยกแ- สคร.1-12 - สปคม. --กรมควบคุมโรค 2.2 เฝ้าระวังเชื้อในตัวยุง /////กแกโ2.3 พัฒ น า ศัก ย ภ า พ ท า งห้องปฏิบัติการทั้งส่วนกลางและเคื่อข่ายเพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงเชื้อก่อโรคนำโดยแมลง (National Reference L///// งโรคติดต่อนำโดยกแ- สคร.1-12 - สปคม. 2.3.1 พัฒนาศักยภาพของบุคลากรและเครือข่ายทางห้องปฏิบัติการในหน่วยงานระดับเขตและจังหวัดเพื่อเฝ้าระวังเชื้อก่อโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ///// งโรคติดต่อนำโดยกแ- สคร.1-12 - สปคม. 0.4 0.4 0.4 1.2 กรมควบคุมโรค

256มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน 2 .3.2 จัด ห า ล ะ ปรับป รุงห้องปฏิบัติการของสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง และ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 ให้เป็นศูนย์อ้างอิงทางหองปฏิบัตการเกี่ยวกับ้ิโิ่มาตรฐานห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ /////กแ- สคร.1-12 - สปคม. 0000กรมควบคุมโรค กิจกรรมที่ 3 เฝ้าระวังทางกีฏวิทยาและติดตามประเมินผลการควบคุมย7.4 7.6 7.6 22.6 กรมควบคุมโรค 3้ต่อสารเคมี /////กแ- สคร.1-12 - สปคม. 2.2 2.2 2.2 6.6 กรมควบคุมโรค 3ิแมลง การใช้สารเสริมฤทธิ์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการกำจัดยงลาย ุAedes aegypti และทดสอบสารกำจัดแมลงชนิดใหม่ ๆ /// งโรคติดต่อนำโดยกแ1.1 1.1 1.1 3.3 กรมควบคุมโรค

257มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน 2 .3.2 จัด ห า ล ะ ปรับป รุงห้องปฏิบัติการของสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง และ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 ให้เป็นศูนย์อ้างอิงทางหองปฏิบัตการเกี่ยวกับ้ิโิ่มาตรฐานห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ /////กแ- สคร.1-12 - สปคม. 0000กรมควบคุมโรค กิจกรรมที่ 3 เฝ้าระวังทางกีฏวิทยาและติดตามประเมินผลการควบคุมย7.4 7.6 7.6 22.6 กรมควบคุมโรค 3้ต่อสารเคมี /////กแ- สคร.1-12 - สปคม. 2.2 2.2 2.2 6.6 กรมควบคุมโรค 3ิแมลง การใช้สารเสริมฤทธิ์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการกำจัดยงลาย ุAedes aegypti และทดสอบสารกำจัดแมลงชนิดใหม่ ๆ /// งโรคติดต่อนำโดยกแ1.1 1.1 1.1 3.3 กรมควบคุมโรค

258มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน 3.3 ประเมินประสิทธิภาพการควบคุมยุงพาหะนำโรคโดยใช้เครื่องพุ์ส่วนท้องถิ่น /// งโรคติดต่อนำโดยกแ- สคร.1-12 - สปคม. 1115กรมควบคุมโรค 3.4 พัฒนาศักยภาพนักกีฏวิทยา /// งโรคติดต่อนำโดยกแ0002กรมควบคุมโรค 3.5 การพฒนาศักยภาพบุคลากรัสำนักงานป้องกันควบคุมโรคเพื่อการประเมินคุณภาพเครืองพน่่ส///กแ0.5 0.5 0.5 1.5 กรมควบคุมโรค 3่ข้อมูลให้หน่วยงานเครือข่ายทุกภาคส่วนและประชาชนสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ /////กแ--0.1 0.1 0.3 กรมควบคุมโรค 3.7 เฝ้าระวังเชื้อไวรัส ไข้เลือดออก โไวรัสซิก้าในยุงพาหะนำโรค ///// งโรคติดต่อนำโดยกแ0.8 1.0 1.0 2.8 กรมควบคุมโรค

259มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน กิจกรรมหลักที 4 เร่งรัดการใช้่โัภาวะฉุกเฉินเพื่อควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลาย 53.2 53.05 53.05 159.3 กรมควบคุมโรค 4ิุโรค (AHP) แผนเผชิญเหต (IAP) ุแด้านโรคติดต่อนำโดยยุงลายในระดับ ///// งโรคติดต่อนำโดยกแ-ครฉ. 0.9 002.4 กรมควบคุมโรค 4.2 ตดตามและประเมินผลการิปฏิบัตงานของศูนย์ปฏิบตการตอบิัิโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข (โรคนำโดยแมลง) ระดับจังหวัด /////กแ- สคร.1-12 - สปคม. 4ยา และวัสดุอุปกรณ์ในการสอบสวนและควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลาย /////กแ- สคร.1-12 - สปคม. - อปท. 52.3 52.3 52.3 156.9 กรมควบคุมโรค

260มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 2 ขับเคลือนภาคี่เเป็นเจ้าของร่วมรับผิดชอบ ในการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อควบคุมพาหะนำโรค ต้่ร้อยละของอำเภอทมีการี ่ขบเคลื่อนการมีส่วนัร่วมของชุมชนเพื่อจัดการสิงแวดล้อม่และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย กิจกรรมหลักที่ 1 ผลักดันและขับเคลือนการมีส่วนร่วมของภาคี่เเป็นเจ้าของร่วมรับผิดชอบ ในการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อควบคุมยุงลาย- กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงกลาโหม -ระ ทรว ง ก า รท่องเที่ยวและกีฬา -ก ร ะทรว งทรพยากรธรรมชาติัและสิ่งแวดล้อม - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงวัฒนธรรม -ก ร ะทรว งอุตสาหกรรม - กระทรวงมหาไทย - กรุงเทพมหานคร -รมส่งเส รมกิาปกครองท้องถิ่น ---0.5 1.1 วบคุมโรค

261มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน 1.1 จัดตั้งคณะทำงานส่งเสริมการมีสและกฎหมาย เพื่อประเมินพื้นที่ปลอดโรคไข้เลือดออก -/แ-สคร. -สสจ. -0.1 -0.1 โค1.3 ประชุมวิชาการขบเคลื่อนการมีัส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทั้งหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน -// น่วยงาน MoU 9 -กระทรวง --0.3 0.6 กรมควบคุมโรค 1ิด ตาม ประเมินผ ล การดำเนินงาน/ประเมินพื้นที่ปลอดโรคไข้เลือดออก -//-แ-สคร. -สสจ. -0.2 0.4 กรมควบคุมโรค กิจกรรมหลักที่ 2 สร้างและพัฒนาภาคีเครือข่าย และการมีส่วนร่วมของชุมชนในการปองกนควบคุม้ัโรคติดต่อนำโดยยุงลาย--0.8 0.8 2.2 กร มควบคุมโรค 2.1 พัฒนารูปแบบและคู่มือการดำเนินงานการปองกันควบคุม้โรคติดต่อนำโดยยุงลายภายใต้กลไก พชพ. หรือธรรมนูญสุขภาพ //// งโรคติดต่อนำโดยกแมลง --0.6 2.2 นำรูปแบบที่ได้จากการพัฒนาไปขยายผล /////กองโรคติดต่อนำโดยแมลง สปคม. และ สสจ. -0.5 1กรมคโรค

262มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน 2.3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้พื้นที่ต้นแบบ Good practice ///// งโรคติดต่อนำโดยกแ-สคร. 1-12 ---0.3 0.6 กรมควบคุมโรค ม่้ครอบรูด้้านสภาพ Literacy) เพื่อการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดยยุงลาย ต้่ร้อยละข อ ง ป ร ะชาชนก ลม เาม ายที่สปบด้า ก า ป้องกันโรคติดตอ่นำยุงลายกิจกรรมหลักที่ 1 เสริมสร้างความรู ้คผูสูงอายุ/กลุ่มที่มีภาวะเสียงสูง มี้่ความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อป้องกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดยยุงลาย 2227กรมควบคุมโรค 1.1 สือสารความรอบรู้ด้านสุขภาพ่กลุ่มผู้ป่วย/กลุ่มผู้สูงอายุ/กลุ่มที่มีภ่อาการผู้ป่วยและปองกันยุงกัด้///-แ- สคร. 1-12, สปคม. - สสจ.

263มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน ทำลายแหลาะพันธุ์ผ่านสถานพยาบาล ร้านขายยา คลินิก --1.2 จัดทำคู่มือ แนวทาง และถ่ายทอดไปยังกลุ่มผู้ป่วย/กลุ่มผู้สูงอายุ/กลุ่มที่มีภาวะเสี่ยงสูง ///- กองโรคติดต่อนำโดยแมลง - สคร. 1-12, สปคม. - สสจ. - สำนักอนามัย - กรมอนามัย1.3 ติดตามประเมินความรอบรู้ของกลุ่มผู้ป่วย/กลุ่มผู้สูงอายุ/กลุ่มที่มีภาวะเสียงสูง ในการป้องกัน่โรคติดต่อนำโดยยุงลาย///-แ-สคร. 1-12 -สปคม. -ส.สื่อสาร กิจกรรมหลักที่ 2 เสริมสร้างความรู ้ค่ความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อป้องกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดยยุงลาย 0.4 0.7 0.7 1.8 กรมควบคุมโรค 2.1 สื่อสารความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อสร้างความตระหนักประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในปองกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดย้ยุงลาย และมีส่วนร่วมรับผิดชอบใน///-แ-สคร. 1-12 -สปคม. 0.3 0.6 0.6 01.5 กรมควบคุมโรค

264มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน การควบคุมยุงลายในบ้าน -ส.สื่อสาร 2.2 ติดตามประเมินความรอบรู้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในการป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลาย///- กองโรคติดต่อนำโดยแมลง สปคม. -่0.1 0.1 0.1 0.3 กรมควบคุมโรค กิจกรรมหลักที่ 3 เสริมสร้างความรู ้ความเข้าใจ ให้กลุ่มนักเรียนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อป้องกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดยยุงลาย 0.2 --0.2 กรมควบคุมโรค 3.1 สือสารความรอบรู้สุขภาพกลุ่ม่วีีรอบรู้สุขภาพ ///3.2 พัฒนาแนวทางการเรียนรู้และกิจกรรมประกอบการเรียนการสอนสำหรบนักเรยนระดบประถมศึกษา ัีัตามหลักสูตรการศึกษาพื้นฐาน ภายใต้แนวคิดการสร้างความรอบรู้สุขภาพ ///-แ- สคร.1-12, สปคม. กระทรวงศึกษาธิการ 3.3 ขับเคลื่อนแนวทางการเรียนรู้และกิจกรรมประกอบการเรียนการ//-แ

265มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน ส นส ำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษาพื้นฐาน ภายใต้แนวคิดการสร้างความรอบรู้สุขภาพ - สคร.1-12, สปคม. กระทรวงศึกษาธิการ 3.4 ทดสอบและประเมินผลแนวทางการเรียนรู้ฯ เพื่อปรับปรุงระบบความรอบรู้สุขภาพด้านโรคติดต่อนำโูโครงการโรงเรียนรอบรู้สุขภาพ ///-แ- สคร. 1-12, สปคม. - สสจ. - กระทรวงศึกษาธิการ -3.5 จัดทำคู่มือ แนวทาง และถ่ายทอดไปยังกลุ่มนักเรียน ///3.6 ติดตามประเมินความรอบรู้ของกลุ่ม นักเรียนใการป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลาย///-แ-สคร. 1-12 -สปคม. -ส.สื่อสาร กิจกรรมหลักที่ 4 ถ่ายทอดความรู้ในการดูแลสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลาย และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีคุณภาพ 0.9 112.9

266มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน 4.1 วางแผนการสือสารและพฒนา่ัช่องทางการสื่อสาร ///-4.2 จัดทำสือผ่านช่องทางสือสาร ่่ได้แ ก่ วิท ยุ infographics clip video เป็นต้น///-แ-สคร. 1-12 -สปคม. -ส.สื่อสาร 0.2 0.2 0.2 0.6 กรมควบคุมโรค 4.3 การสื่อสารเชิงรุก เพื่อขับเคลื่อนให้สังคมเห็นภาพรวมของสุขภาวะที่ด และเคลื่อนไหวสังคมใหทกระบบีุ้ร่วมกันดำเนินงาน ///-แ-สคร. 1-12 -สปคม. -ส.สื่อสาร 0.1 0.2 0.2 0.5 กรมควบคุมโรค 4.4 จัดกิจกรรมรณรงคส่งเสริมการ์ปองกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดย้ยุงลาย ///-แ-สคร. 1-12 -สปคม. -ส.สื่อสาร --0.6 0.6 1.8 กรมควบคุมโรค

267มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที 4 เพิมความเข้มแข็ง่่ขรักษาพยาบาล ส่งต่อผู้ปวย และ่ติดตามผลการรักษา ในทุกระดับให้ได้ตามแนวทางการรักษา ต้่ ของจังหวัดมีอัตราป ่วยตายด ้วยโรคไขเลือดออกไม่เกิน ้ร้อยละ 0.10 กิจกรรมหลักที่ 1 สนับสนุนส่งเสริมการวินิจฉัย การดูแลรักษาผูปวย้่ใรักษาของแต่ละระดับทั้งภาครัฐและภาคเอกชน 113กรมควบคุมโรค 1ัวินิจฉัยผู้ป่วยสงสัยโรคติดต่อนำโดยยุงลายเบื้องต้น และการส่งต่อผู้ป่วย //-0.6 0.6 1.2 กรมควบคุมโรค 1.2 ส่งเสริมและถ่ายทอดแนวทางการดแลรกษา (CPG) ให้กับูัแอายุรกรรม รวมถึงผู้ป่วยเสี่ยงสูง มีโค ป ร ะ จ ำ ตัวเรื้อ รัง มีภาวะแทรกซ้อน ////-แ-กรมการแพทย์ -และกุมารแพทย์ 001กรมควบคุมโรค 1.3 ผลักดันให้มีเครื่องมือสำคญ ในการัรักษาผู้ป่วย ได้แก่ CBC 24 hr., Dextran Tournique’ test ในสถานพยาบาล /////สสจ. ---

268มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน 1.4 พัฒนากลไกเครือข่ายการส่งต่อผู้ป่วยที่ชัดเจนทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ตามบริบทของจังหวัด /////-สคร. -สสจ. -เขตสุขภาพ -สปสช. -0.6 1.2 -1.5 จัดใหมีเกณฑ์ในการวินิจฉย้ัผู้ป่วยสงสัยและระบบส่งตอสำหรบ่ัรพ.สต. /////-สสจ. -เขตสุขภาพ -สปสช. -กิจกรรมหลักที่ 2 สนับสนุนให้ความช่วยเหลือ/ประสานงานในการติดตามผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการติดเชื้อ เช่น มารดา-ทารก 2ิดูแลผู้ได้รับผลกระทบจากการติดเชื้อ /////สสจ. ก--มาตรการที 5 พัฒนาและสนับสนุน่งานวิจัย และนวัตกรรมเพอนำมาื ่ป้ัโต้่จำนวนผลงานวิชาการที่สามาร ถ นำไปประยุกตใช้ในการ์ป้องกันควบคุมโรคได้ กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนากลไกการจัดการวิจัย นวัตกรรม และเทคโนโลยีด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อน-3.0 2.4 2.4 8.1 กรมควบคุมโรค

269มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน 1.1 ประเมินและสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดกรอบแนวทางการวิจัย (Road map) ที่สำคัญให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา มทำงานป้องกันควบคุมโรค / สวกแสปคม. สคร. 1-12 มหาวิทยาลัย ----0.3 กรมควบคุมโรค 1.2. สนับสนุนให้มีเวทแลกเปลี่ยนีเรยนร ระหว่างนักวิจัย ผู้บรหาร ีู ้ินักวิชาการ และผู้ปฏิบัตงาน เพอิื ่กำหนดหัวข้อการวิจัยให้เป็นไปตามกรอบแนวทางการวิจัย ///สวคร กแสปคม. สคร. 1-12 มหาวิทยาลัย --1.0 1.0 3.0 กรมควบคุมโรค 1ัฐ น ข ้อมวิจัย นวก รมเทคโนโลยีการปองกันควบคุม้โรคติดต่อโดยยุงลายที่สามารถเชื่อมผื ่็แหล่งอ้างอิงได้ /////สวคร กแศูนย์สารสนเทศ สปคม. สคร. 1-12 มหาวิทยาลัย --0.2 0.2 0.6 กรมควบคุมโรค

270มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน 1ั ้ื่สการควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลาย /////สวคร กแ--1.5. พัฒนาศักยภาพบุคลากรและคทุกระดับ (พื้นที่/ ชุมชน) ประเทศ แื ่รุิ่โดยยุงลาย / สวกแ----0.6 กรมควบคุมโรค 1 .6 ส่งเริม แ ล ะเพิ่ม ขีดความสามารถของบุคลากรให้มีองค์ความรู้และทักษะด้านการวิจัย นป้องกันควบคุมโรคติดต่อโดยยุงลาย (อบรม ดูงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งภายในประเทศและตางประเทศ) ่/////สวคร. สรป. --1.0 1.0 3.0 กรมควบคุมโรค 1งานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยทำข้อตกลงร่วมกันหรือแลกเปลี่ยนน/////สวคร. กแ--0.2 0.2 0.6 กรมควบคุมโรค

271มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน กิจ กรรมห ลัก ท 2 ส่งเส ริม สนับสนุนให้นำงานวิจย นวัตกรรม ัและเทคโนโลยีด้านการเฝ้าระวัง ป้ัโดยยุงลายไปใช้ประโยชน์ 0.3 0.3 0.9 กรมควบคุมโรค 2ินวัตกรรมงานวิจัย ไปผลักดนันึตุ้่(Susceptibility) เพื่อกำหนดแนวทางการใช้สารเคมีควบคุมแมลงนำโรค /////กแร วิท ย์ศา ต ร์การแพทย์ -กระทรวงเกษตร -มหาวิทยาลัย 0.3 0.3 0.9 กรมควบคุมโรค 2.2 การติดตามประเมินผลตามแเทคโนโลยี และระบบการจัดการความรู้ /////กแ-สวคร. -สคร. 1-12 -มหาวิทยาลัย ----

2727.แผนติดตามประเมินผลระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เวิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการที่ 1 ยกระดับความเข้มแข็งของ ระบบเฝ้าระวังโรค และการจัดการภาวะฉุกเฉินของโรคติดต่อนำโดยยุงลาย1.1 ร้อยละของจังหวัดมีการวิเคราะห์ และปฤดูกาลระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2564 ร้อยละ 70 ปี 2565 ร้อยละ 80 รายงานการวิเคราะห์ ประเมินสถานการณ์ก่อน และระหว่างฤดูกาลระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ระดับจังหวัด วิธีการคำนวณ จำนวนจังหวัดที่มีการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์โรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย x 100 จำนวนจังหวัดทั้งหมด --ปีละอย่างน้อย 2 ครั้ง (Q2,Q3) ปีละอย่างน้อย 2 ครั้ง (Q2,Q3) 1.2 รอยละของอำเภอเสียงมีแผนปฏิบัต้่ิกื้ภาวะฉุกเฉินเพื่อรองรับสถานการณ์การระบาดโรคไข้เลือดออก ปี 2564 ร้อยละ 80 ปี 2565 ร้อยละ 90 แผนปฏิบัติการหรือแนวทางควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินเพื่อรองรับสถานการณ์การระบาดโรคไข้เลือดออกของอำเภอเสี่ยง วิธีการคำนวณ จำนวนอำเภอเสี่ยงที่มีแผนปฏิบัติการหรือแนวทางควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ x 100 จำนวนอำเภอเสี่ยงทั้งหมด ปีละครั้ง ปีละครั้ง ปีละครั้ง ปีละครั้ง (Q1) ปีละครั้ง (Q1)

273มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เวิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการที่ 2 ขับเคลื่อนภาคีเครือข่ายและประชาชนให้มีความเป็นเจ้าของร่วมรับผิดชอบ ในการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อควบคุมพาหะนำโร2.1 รอยละของอำเภอทีมีการขบเคลื่อน้่ัการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อจัดการสิ่งแวดล้อมและทำลายแหล่งเพาะพนธุั์ยุงลาย ปี 2564 ร้อยละ 40 ปี 2565 ร้อยละ 50 - รายงานผลการดำเนินงานขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของชุมชนเพอจัดการสิ่งแวดล้อมและทำลายแหล่งื ่เพาะพันธุ์ยุงลาย ระดับอำเภอ วิธีการคำนวณ จำนวนอำเภอที่มีการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของชุมชนฯ x 100 จำนวนอำเภอทั้งหมด ปีละครั้ง ปีละครั้ง ปีละครั้ง ปีละครั้ง (ปีละครั้ง (มาตรการที่ 3 เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) เพื่อการป้องกันตนเองจากโรคติ3.1 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ส้้ัและบอกต่อข้อมูลสุขภาพด้านการป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลาย ปี 2564 ร้อยละ 60 ปี 2565 ร้อยละ 70 รายงานผลประเมินความรอบร้ของประชาชนูกลุ่มเป้าหมายในการป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายวิธีการคำนวณ จำนวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพฯ x 100 จำนวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด --ปีละครั้ง ปีละครั้ง (ปีละครั้ง (

274มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เวิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการที่ 4 เพิ่มความเข้มแข็งของระบบการวินิจฉัยโรค การดูแลรักษาพยาบาล ส่งต่อผู้ป่วย และติดตามผลการรักษา ในทุกระดับให้ได4.1 ร้อยละของจังหวัดมีอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน ร้อยละ 0.10 ปี 2564 ร้อยละ 60 ปี 2565 ร้อยละ 70 ข้อมูลจากรายงาน 506 วิธีการคำนวณ จำนวนจังหวัดที่มีอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน ร้อยละ 0.10 x 100 จำนวนจังหวัดทั้งหมด ปีละครั้ง ปีละครั้ง ปีละครั้ง ปีละครั้ง (ปีละครั้ง (มาตรการที่ 5 พัฒนาและสนับสนุนงานวิจัย และนวัตกรรมเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการป้องกันควบคุมโรคจำนวนผลงานวิชาการที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการป้องกันควบคุมโรคได้ ปี 2564 จำนวน 1 เรื่อง ปี 2565 จำนวน 1 เรื่อง รี ่ประยุกต์ใช้ในการป้องกันควบคุมโรคได้ ปีละครั้ง ปีละครั้ง ปีละครั้ง ปีละครั้ง (ปีละครั้ง (8.ผู้รับผิดชอบแผนงาน 1. นายแพทย์อภิญญา นิรมิตสันติพงศ์ เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3126นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ E-mail: [email protected]. ดร.สุภาวดี พวงสมบัติ เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3108นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ E-mail: [email protected]. นายบุญเสริม อ่วมอ่อง เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3125 นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ Email : [email protected] 4. นางสาววรรณา ศรีสัจจารักษ์ เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3128 นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ Email : [email protected]

2751 1.สถานการณ์ โรคสครับไทฟส พบผู้ป่วยเพมขึ้นเป็นล ำดับจำกปี พ.ศ. 2550 จำก 3,834 รำย กระทั่งสูงสุด ัิ่ในป พ.ศ.2556 ดวยจำนวน 10,932 รำย และลดลงอยู่ที่ระดับประมำณ 7,000-7,500 รำย/ป ในป พ.ศ.2558-2560 ี้ีีในปีที่ผ่ำนมำ (ส ำนักระบำดวิทยำ 2562) มีรำยงำนผู้ป่วยสะสมรวม 8,010 รำย ลดลงจำกปีพ.ศ.2561 (9,681 รำย) รำย อตรำปวย 12.1 ตอประชำกรแสนคน เสยชีวิต 1 รำย อตรำปวยตำย ร้อยละ 0.01 ั่่ีั่ยังคงพบมำกในภำคเหนือและภำคตะวันออกเฉียงเหนือ มักพบผู้ป่วยจ ำนวนมำกในจังหวัดเดิมๆ 10 จังหวัดที่มี อตรำป่วยสูง ได้แก่ จังหวัดแม่ฮองสอน (216.2) น่ำน (112.3) เชียงรำย (97.3) ตำก (68.0) ชัยภูม (59.0) ั่ิเชียงใหม่ (43.2) พังงำ (42.8) ศรีสะเกษ (39.6) สุรำษฎร์ธำนี (27.0) และร้อยเอ็ด (25.8) ตำมล ำดับ ส่วนใหญ่พบในผู้ที่มีอำชีพเกษตรกรรม เพศชำยต่อเพศหญิงใกล้เคียงกัน พบผู้ป่วยได้ตลอดทั้งปี เริ่มพบกำรระบำดตั้งแต่ช่วงต้นของฤดูฝน ตั้งแต่เดือนพฤษภำคม จะมีผู้ป่วยสูงสุดในเดือนมิถุนำยน-ตลำคม จำกน้นลดลงในฤดหนำว กำรระบำดเป็นแบบ ุัูseasonal variation เนื่องจำกในฤดูฝนพำหะน ำโรคจะชุกชุม และประชำชนจะเข้ำไปในพื้นที่เสี่ยงต่อกำรติดโรคมำกกว่ำฤดูอนๆ โรคนี้เป็นโรคที่สำมำรถรักษำให้หำยได้ไม่ยำก ด้วยกำรใช้ยำปฏิชีวนะ กำรเข้ำมำรับกำรรักษำล่ำช้ำ ื่เกิดภำวะแทรกซ้อนแล้ว จะท ำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตได้ โรคลิชมำเนีย ยังคงมีรำยงำนกำรพบผู้ป่วยประปรำยน้อยกว่ำ 5 รำยในแต่ละปี ในภำคเหนือตอนบน และภำคใต้ของประเทศไทย เกือบทั้งหมดเป็นกำรติดเชื้อภำยในประเทศ โรคลิชมำเนียชนิด visceral leishmaniasis นั้นได้ถูกก ำหนดเป็นเป้ำหมำยที่จะก ำจัดขององค์กำรอนำมัยโลก โดยจะต้องลดอบัติกำรต่อปีของโรคให้ต่ ำกว่ำ 1 ต่อ 10,000 ุประชำกรในหน่วยอำเภอ ซึ่งประเทศไทยผ่ำนเกณฑ์ดังกล่ำวก่อนกำรลงนำมในควำมร่วมมือกับองค์กำรอนำมัยโลกภูมภำคเอเชียตะวันออกเฉยงใต ในปีงบประมำณ 2561 มีรำยงำนพบผู้ป่วยชนิด cutaneous ภำยในประเทศ 1 รำย ิี้ในจังหวัดเชียงใหม่ และ imported case จำนวน 1 รำยในจงหวัดอำนำจเจรญ ในขณะที่มีรำยงำนพบผู้ป่วยชนิด ัิVisceral ติดเชื้อในประเทศรำยใหมเพียง 1 รำยในจังหวัดนครศรีธรรมรำช สวนในปีงบประมำณที่ผ่ำนมำ (2562) ่่ไม่มีกำรรำยงำนพบผู้ป่วยรำยใหม่ 2.พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยงโรคสครบไทฟัสั ประชำกรกลุ่มเสี่ยง ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 42.97) พบในผู้ที่มีอำชีพเกษตรกรรม อตรำส่วนผู้ป่วยัเพศชำยต่อเพศหญิงใกล้เคียงกัน เท่ำกับ 1:0.8 พนที่ที่พบผู้ป่วยมำกเป็นภำคเหนือและภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ื้(ข้อมูล ณ กันยำยน 2562) แผนงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลงอื่นๆ (สครับไทฟัสและลิชมาเนีย)

276รูปที่ 1 อัตรำป่วยโรคสครัปไทฟัสรำยจังหวัดต่อแสนประชำกร (ข้อมูล ณ กันยำยน 2562) โรคลชมาเนียิ ประชำกรกลุ่มเสี่ยง พบว่ำผู้ที่เป็นโรคลิชมำเนีย มักพบมีภำวะอมมูนต่ ำ เช่น ผู้ที่มีโรค HIV ิร่วมด้วย ภำวะพกำร เป็นต้น ส่วนพนที่ที่พบผู้ป่วยส่วนใหญ่ เป็นภำคเหนือตอนบน และภำตใต้ตอนล่ำง ิื้(ข้อมูล ณ กันยำยน 2562) 3.เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ป (2561-2565)ีเป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baselineค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ.2561 2562 2563 2564 2565 เปาหมายที่ 1้: ลดอตรำปวยและอัตรำั่ป่วยตำยจำกโรคสครับไทฟัส อตรำป่วยโรคสครับไทฟสน้อยกว่ำ ััค่ำมัธยฐำนย้อนหลัง 5 ปี 12.08 (ค่ำมัธยฐำน ย้อนหลัง 5ปี ย้อนหลัง 5ปี ย้อนหลัง 5ปี 11.82) < ค่ำมัธยฐำน < ค่ำมัธยฐำน < ค่ำมัธยฐำนอัตรำป่วยตำยของผู้ป่วยโรคสครปไทฟสััน้อยกว่ำร้อยละ 0.1 0.4 <0.1 <0.1 <0.1 เป้าหมายที่ 2: รักษำระดับกำรแพร่โรค ลิชมำเนียให้อยู่ในเกณฑ์กำรก ำจัดโรค ตัวชี้วดที่ 2ั คงอบัติกำรณ์พบผู้ป่วย ุโรคลิซมำเนียชนิด visceral รำยใหมให้ไม่่เกิน เกณ ฑ์ กำรก ำจั ด (<1: 10000) ในหน่วยอ ำเภอ 0.06 0 < 1: 10,000 < 1: 10,000 < 1: 10,000

2773 4.มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปีและหน่วยงานผู้ด าเนินการมาตรการ/Service Provider ส่วนกลางสคร.เขตสสจ.รพ.PCCชุมชน/ต าบล มาตรการที่ 1 เฝ้าระวังโรคติดต่อน าโดยแมลงอื่นๆ ก ำหนดกรอบกิจกรรมกำรด ำเนินงำน - เฝ้ำระวังโรคสครับไทฟัส และลิชมำเนีย ในพำหะและสัตว์รังโรค - ร่วมด ำเนินงำนสอบสวน และควบคุมโรคตำมผลกำรเฝ้ำระวัง เฝ้ำระวังโรคในคน - ร่วมในกำรเฝ้ำระวังพำหะ/สัตว์รังโรคกับ สคร. - ด ำเนินงำนสอบสวน ควบคุมโรคตำมผลกำรเฝ้ำระวัง เพื่อไม่ให้เกิดกำรแพร่โรค - ประสำนหน่วยงำนอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ร่วมในกำรเฝ้ำระวังโรค เช่น ปศุสัตว์ในกำรส ำรวจสัตว์รังโรค - ด ำเนินกำรสอบสวนโรคผู้ป่วยเสียชีวิตจำกโรคสครับไทฟัสทุกรำย กำรวินิจฉัย และรักษำ รพ.สต. รำยงำนเมื่อพบผู้สงสัย และส่งต่อเพื่อรับกำรวินิจฉัยและรักษำ -ลด/ท ำลำยแหล่งเพำะพันธุ์ของพำหะในชุมชน -ป้องกันตนเอง -ปรับสภำพแวดล้อมใน/รอบบ้ำน มาตรการที่ 2 พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการครับไทฟัสพัฒนำบุคลำกร และห้องปฏิบัติกำร----

278มาตรการ/Service Provider ส่วนกลางสคร.เขตสสจ.รพ.PCCชุมชน/ต าบล มาตรการที่ 3 พัฒนากลไกแนวทางการสื่อสารความเสี่ยง พัฒนำกลไกแนวทำงกำรสื่อสำรควำมเสี่ยง พัฒนำกลไกแนวทำงกำรสื่อสำรควำมเสี่ยง -สร้ำงควำมรอบรู้แก่ประชำชน -รพ.สต. สื่อสำรควำมเสี่ยง กำรป้องกันตนแก่ประชำกรกลุ่มเสี่ยง ประชำกรกลุ่มเสี่ยงป้องกันตนเอง มาตรการที่ 4 การพัฒนากลไกการจัดการวิจัย นวัตกรรม และเทคโนโลยีด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันแลละควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลงอื่น ๆ ด ำเนินกำร/สนับสนุนกำรศึกษำวิจัย ด ำเนินกำร/สนับสนุนกำรศึกษำวิจัย -ด ำเนินกำร/สนับสนุนกำรศึกษำวิจัยตำมบริบทพื้นที่ ด ำเนินกำร/สนับสนุนกำรศึกษำวิจัยตำมบริบทพื้นที่รพ.สต. ด ำเนินกำร/สนับสนุนกำรศึกษำวิจัยตำมบริบทพื้นที่ มาตรการที่ 5การติดตาม นิเทศงานโรคติดต่อน าโดยแมลงอื่นๆ ติดตำม นิเทศงำน หน่วยงำนระดับเขต ติดตำม นิเทศงำน หน่วยงำนระดับพื้นที่ -ติดตำม นิเทศงำน หน่วยงำนระดับพื้นที่ ---

2795 5.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลักกรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท)เป้าหมาย ตัวชี้วัด256125622563256425652561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงินมำตรกำรที่ 1 เฝ้ำระวังโรคติดต่อน ำโดยแมลงอื่นๆ 1.28 1.28 1.28 3.85 กรมควบคุมโรค 1.1 กำรพัฒนำระบบข้อมูลกำรเฝ้ำระวังสครับไทฟัส กตม. สคร. สสจ. 0.25 0.25 0.25 0.75 กรมควบคุมโรค มีระบบเฝ้ำระวังที่ครอบคลุมทั้งด้ำนคน เชื้อโรค พำหะน ำโรค และรังโรค ที่มีประสิทธิภำพ และทุกภำคส่วนสำมำรถน ำไปใช้ประโยชน์ มีระบบข้อมูลเฝ้ำระวังโรคที่สำมำรถน ำไปใช้ประโยชน์ในกำรเฝ้ำระวัง ควบคุม ป้องกันโรคไ1.1.1 กำรพัฒนำระบบฐำนข้อมูล /////1.1.2 เฝ้ำระวังเชื้อในพำหะ/รังโรคสครับ /////1.1.3 จัดท ำช่องทำงในกำรเผยแพร่ข้อมูลให้หน่วยงำนเครือข่ำยทุกภำคส่วนสำมำรถน ำไปใช้ประโยชน์ได้ ///

280มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลักกรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท)เป้าหมาย ตัวชี้วัด256125622563256425652561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน1.1.4 สอบสวนโรคผู้ป่วยเสียชีวิตจำกโรคสครับไทฟัสทุกรำย //1.2 กำรเฝ้ำระวังโรคลิชมำเนีย กสคร. สสจ. ปศุสัตว์จังหวัด 0.7 0.7 0.7 2.21 กรมครสมีระบบเฝ้ำระวังทั้งด้ำนคน พำหะ รังโรคที่สำมำรถน ำไปใช้ประโยชน์ในกำรเตือน เพื่อกำรควบคุมโรคโรคให้ต่ ำกว่ำเกณฑ์ก ำหนด มีระบบข้อมูลเฝ้ำระวังโรคที่สำมำรถน ำไปใช้ประโยชน์ในกำรเฝ้ำระวัง ควบคุม ป้องกันโรคไ1.2.1 ค้นหำผู้ติดเชื้อเพิ่มเติมหลังจำกมีกำรพบผู้ป่วยรำยใหม่ /////1.2.2 เฝ้ำระวังพำหะ/รังโรคในพื้นที่ที่ยังมีผู้ป่วยระหว่ำงกำรรักษำ /////1.2.3 ควบคุมโรคในพื้นที่ที่พบผู้ป่วยรำยใหม่ /////1.3 เฝ้ำระวังแมลงและสัตว์ขำข้อที่เป็นปัญหำสำธำรณสุขในประเทศไทย ///กตม. สคร. 0.3 0.3 0.3 0.9 กรมควบคุมโรค เพื่อให้มีฐำนข้อมูลของแมลงและสัตว์ขำข้อที่เป็นปัญหำสำธำรณสุขในประเทศ มีฐำนข้อมูลของแมลงและสัตว์ขำข้อที่เป็นปัญหำสำธำรณสุขในประเทศ

2817 มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลักกรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท)เป้าหมาย ตัวชี้วัด256125622563256425652561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงินมาตรการที่ 2 กำรพัฒนำศักยภำพของห้องปฏิบัติกำรเพื่อกำรเฝ้ำระวังโรค กตม. 0.6 0.6 0.6 1.8 กรมคร. สำมำรถเป็นศูนย์อ้ำงอิงทำงห้องปฏิบัติกำรเพื่อเฝ้ำระวังโรคในระดับส่วนกลำง ควำมส ำเร็จของห้องปฏิบัติการที่สำมำรถยืนยันเชื้อสครับไทฟัส (ปี 63 ด้ำนบุคลำกร ปี 64 เรื่องเครื่องมือ อุปกรณ์ ระบบ แนวทำงกำรตรวจ ปี 65 สำมำรถตรวจยืนยันเชื้อสครับไทฟัสได้) 2.1 ปรับปรุงห้องปฏิบัติกำรของกองโรคติดต่อน ำโดยแมลง ให้เป็นศูนย์อ้ำงอิงทำงห้องปฏิบัติกำร ส ำหรับสครับไทฟัส   2.2 พัฒนำศักยภำพของบุคลำกรทำงห้องปฏิบัติกำรส ำนักโรคติดต่อน ำโดยแมลง   

282มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลักกรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท)เป้าหมาย ตัวชี้วัด256125622563256425652561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงินมาตรการที่ 3 กำรพัฒนำกลไก แนวทำงกำรสื่อสำรควำมเสี่ยง กส.สื่อสำร สคร. สสจ. 1.37 0.28 0.28 1.95 กรมควบคุมโรค สื่อสำรควำมเสี่ยงถึงกลุ่มประชำกรเสี่ยงเพื่อกำรป้องกัน และลดอัตรำป่วยและตำย มีกลไก และแนวทำงกำรสื่อสำรควำมเสี่ยง เพื่อให้หน่วยงำนเครือข่ำยน ำไปใช้ 3.1 จัดท ำประเด็นสื่อสำร เพื่อกำรสื่อสำรให้ตรงกับกลุ่มเป้ำหมำย 3.2 จัดท ำสื่อที่เหมำะสมกับบริบทพื้นที่  3.3 สร้ำงและพัฒนำช่องทำงกำรสื่อสำร   3.4 พัฒนำศักยภำพบุคลำกรด้ำนกำรสื่อสำรควำมเสี่ยงทุกระดับ    มาตรการที่ 4 กำรพัฒนำกลไกกำรจัดกำรวิจัย นวัตกรรม และเทคโนโลยีด้ำนกำรเฝ้ำระวัง ป้องกันแลละควบคุมโรคติดต่อน ำโดยแมลงอื่น ๆ ///กนว. กตม. สคร. มหำวิทยำลัย AFRIM 1.23 1.231.233.69 กรมควบคุมโรค มีระบบกำรจัดกำรวิจัย นวัตกรรม และ เทคโนโลยี ด้ำนกำรเฝ้ำระวัง ป้องกันและควบคุมโรค มีกรอบ ทิศทำง และแผนกำรวิจัย และ มีฐำนข้อมูลสำรสนเทศงำนวิจัยที่สำมำรถน ำไปใช้ประโยชน์

2839 มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลักกรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท)เป้าหมาย ตัวชี้วัด256125622563256425652561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงินมาตรการที่ 5 กำรติดตำม นิเทศงำนโรคติดต่อน ำโดยแมลงอื่นๆ /////3.15 2.83 2.55 8.53 กรมควบคุมโรค มีกำรติดตำม นิเทศ ประเมินผลเพื่อพัฒนำงำน มีกำรปรับปรุง พัฒนำงำน จำกกำรติดตำม นิเทศ ประเมินผล 6.แผนติดตามประเมินผลระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงานโครงการหลักเป้าหมายวิธีการติดตามประเมินผลกรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผลปี พ.ศ. 22222มาตรการที่ 1 เฝ้าระวังโรคน าโดยแมลงอื่นๆ อัตรำป่วยโรคสครับไทฟัสน้อยกว่ำค่ำมัธยฐำนย้อนหลัง 5 ปี ดึงข้อมูลจ ำนวนป่วยจำกรำยงำน 506 เพื่อหำอัตรำป่วยโรคสครับไทฟัสต่อแสนประชำกร ปีละครั้งปีละครั้งปีละครั้งปีละครั้งปีละครั้งอัตรำป่วยตำยของผู้ป่วยโรคสครัปไทฟัสน้อยกว่ำ ร้อยละ 0.5 ดึงข้อมูลจ ำนวนป่วยตำยจำกรำยงำน 506 เพื่อหำร้อยละของกำรป่วยตำยจำกโรคสครับไทฟัส ปีละครั้งปีละครั้งปีละครั้งปีละครั้งปีละครั้งคงอุบัติกำรณ์โรคลิชมำเนียชนิด visceral รำยใหม่ < 1:10,000 ดึงข้อมูลจ ำนวนป่วยโรคลิชมำเนียชนิด visceral leishmania จำกรำยงำน506 เพื่อหำอัตรำป่วยต่อหมื่นประชำกรในอ ำเภอที่พบผู้ป่วยรำยใหม่ ปีละครั้งปีละครั้งปีละครั้งปีละครั้งปีละครั้ง

284มาตรการ/แผนงานโครงการหลักเป้าหมายวิธีการติดตามประเมินผลกรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผลปี พ.ศ. 22222มาตรการที่ 2 พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการควำมส ำเร็จของกำรพัฒนำห้องปฏิบัติกำรที่สำมำรถยืนยันเชื้อสครับไทฟัส ควำมก้ำวหน้ำของกำรพัฒนำห้องปฏิบัติกำร ปีละครั้งปีละครั้งปีละครั้งปีละครั้งปีละครั้งมาตรการที่ 3 พัฒนากลไกแนวทางการสื่อสารความเสี่ยงพัฒนำกลไกแนวทำงกำรสื่อสำรควำมเสี่ยง ควำมก้ำวหน้ำของกำรพัฒนำกลไกแนวทำงกำรสื่อสำรควำมเสี่ยง ปีละครั้งปีละครั้งปีละครั้งปีละครั้งปีละครั้ง7.ผู้รับผิดชอบแผนงาน1.แพทย์หญิงชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์ เบอร์โทรศัพท์ 02 590 3145 ผู้อ ำนวยกำรกองโรคติดต่อน ำโดยแมลง E-mail: [email protected] 2.นำงสำวศันสนีย์ โรจนพนัส เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3271 หัวหน้ำกลุ่มโรคติดต่อน ำโดยแมลงอื่น ๆ และตอบโต้ภำวะฉุกเฉิน Email: [email protected]

2851 1.สถานการณ์โรคเท้าช้าง ปัจจุบันได้รับการประกาศว่าสามารถก าจัดได้แล้วในประเทศไทย (กันยายน 2560) ซงมาตรการหลักึ่ในการด าเนินงานก าจัดนั้น ได้มุ่งเน้นไปที่ตัดการแพร่โรคในคนมากกว่าการควบคุมในยุงพาหะ ส าหรับประเทศไทย ไม่มีการพบผู้มีพยาธิโรคเท้าช้างชนิด Wuchereria bancrofti ในคนไทยมาตั้งแต่ปีพ.ศ.2553 ในขณะที่การพบผู้มี ไมโครฟิลาเรย ชนด ีิBrugia malayi นั้น ยังคงมีการพบอย่างต่อเนื่องในจังหวัดนราธิวาส แต่ในจ านวนที่ต่ ากว่าเกณฑ์ การก าจัดขององค์การอนามัยโลก ปัจจุบัน (มนาคม 2553) จ านวนผู้ป่วยคนไทยที่พบพยาธิฯ คงค้างทะเบียนอยู่ระหว่างีการรักษามเพียงในจังหวัดนราธิวาส 17 ราย โรคเท้าช้างยังเป็นอีกโรคหนึ่งที่กอให้เกิดความพการถาวร ในผู้ที่ไม่ได้รับการี่ิรักษาครบถ้วนซึ่งพบได้ในอดีต จึงท าให้ยังคงมีผู้ปรากฏอาการขาโต ที่ยังคงความพการถาวร จ านวน 92 ราย (มีนาคม ิ2563) ใน 6 จังหวัด คือ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พทลุง ปัตตานี และนราธิวาส ซึ่งส่วนใหญ่แล้ว ัเป็นผู้สูงอายุ ในผู้พการบางรายยังคงพบว่ามีอาการอักเสบเฉียบพลันจากการติดเชื้อจุลินทรีย์อื่นๆอยู่ จากการดูแลตนเองิที่ไม่ถูกต้อง นอกจากนี้ยังพบโรคเท้าช้างในกลุ่มคนต่างด้าวที่มาจากประเทศแพร่โรค ที่ส่วนใหญ่แล้วนั้นจะเป็นคนต่างด้าวชาวพม่า เนื่องจากมีพรมแดนติดต่อกันเป็นแนวยาว และมีนโยบายอนุญาตให้มีการจ้างงานจากประเทศเพอนบ้าน ื่โดยข้อมูลการเฝ้าระวังคนพม่าในประเทศไทยนั้นยังพบผู้พบพยาธิ/แอนติเจนโรคเท้าช้างอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะลดลงมากในระยะหลัง เนื่องจากผลการจ่ายยากลุ่มในอดีต และประเทศพม่าได้ด าเนินงานก าจัดครอบคลุมพื้นที่แพร่โรคทั้งหมด 2.พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยงจากขอมลการเฝาระวังกอนการประกาศการกาจดโรคเทาช้าง และการเฝาระวังหลงการประกาศ จะพบว่า ู้้่ั้้ัพื้นที่แพร่โรคเดิมในจังหวัดนราธิวาส ยังคงเป็นพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการกลับมาแพร่โรคได้ (ข้อมูล ณ มีนาคม 2563)3.เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ป (2561 2565)ี-เป้าหมายการรักษาระดับการตัดการแพร่โรคนั้น เป็นพนธะสัญญาต่อการก าจัดโรคเท้าช้างระดับโลกที่ต้องัด าเนินการเฝ้าระวังหลังการประกาศการก าจัดต่อ โดยที่องค์การอนามัยโลกยังไม่ได้มีการก าหนดช่วงเวลาที่แน่นอนไว้ เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมายbaselineค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ.25612562256325642565เป้าหมาย: รักษาระดับการตัดการแพร่โรคเท้าช้าง ให้อยู่ในเกณฑ์การก าจัดโรคตัวชี้วัด: อัตราการพบแอนติเจน/พยาธิโรคเท้าช้างต่ ากว่าร้อยละ 1 <1% <1% <1% <1% <1% แผนงานป้องกันควบคุมโรคเท้าชาง้

2864.มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปีและหน่วยงานผู้ด าเนินการมาตรการ/Service Provider ส่วนกลางสคร.เขตสสจ.รพ.PCCชุมชน/ต าบลมาตรการที่ 1 การเฝ้าระวังโก าหนดกรอบกิจกรรม ด าเนินการ -เฝ้าระวังในคน/พาหะ/รังโรคในพื้นที่แพร่โรคเดิม -เฝ้าระวังในคน/พาหะในพื้นที่ที่มีพม่าสูง 5 จังหวัด - เฝ้าระวังโรคร่วมกับสคร. - ด าเนินงานสอบสวน ควบคุมโรคตามผลการเฝ้าระวัง เพื่อไม่ให้เกิดการแพร่โรค ให้การรักษา รพ.สต./อสม. - ติดตามจ่ายยาผู้พบพยาธิฯที่พบจากการเฝ้าระวัง ให้ได้รับยาครบขนาด -ร่วมกับสคร.ในการเฝ้าระวัง (เจาะโลหิตค้นหา)- ป้องกันตนเอง จากโรค -ให้ความร่วมมือในการเจาะโลหิตเฝ้าระวังโรคในคน แมวรังโรคมาตรการที่ 2 ลดอัตราการพบโรคเท้าช้างในกลุ่มคนต่างด้าวที่มาจากประเทศแพร่โรค ก าหนดกรอบกิจกรรม ด าเนินการ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลจ่ายยากลุ่มในคนต่างด้าวที่มาจากประเทศแพร่โรค-ตรวจสุขภาพ/จ่ายยากลุ่มในระบบการตรวจ ประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว -ติดตามรักษาในผู้พบพยาธิโรคเท้าช้าง ตรวจสุขภาพ/จ่ายยากลุ่มในระบบการตรวจ ประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวรพ.สต./อสม. จ่ายยากลุ่มคนต่างด้าวที่ไม่ได้ผ่านระบบคัดกรอง -เจ้าของกิจการ แจ้งรพ.สต./อสม.หากมีลูกจ้างต่างด้าวมาใหม่ สงสัยว่ามาจากประเทศแพร่โรคเท้าช้าง-ประชาชน/ท้องถิ่นช่วยกันท าลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงร าคาญ มาตรการที่ 3 ลดความทุกข์ทรมานของผู้ปรากฏอาการโรคเท้าช้างก าหนดกรอบกิจกรรม ด าเนินการ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล ให้การดูแลผู้ปรากฏอาการโรคเท้าช้าง - นิเทศ ติดตาม สถานบริการสาธารณสุขที่ให้การดูแลผู้ปรากฏอาการ ให้การดูแลรักษาในกรณีที่ต้องเข้ารับการรักษาในรพ. - สอนให้ผู้พิการจากโรคเท้าช้าง ให้สามารถดูแลตนเอง - ดูแลรักษาผู้พิการจากโรคเท้าช้าง หากมีการติดเชื้อจากจุลินทรีย์อื่น ญาติผู้พิการได้รับการสอนเพื่อช่วยเหลือผู้พิการให้ดูแลตนเอง อย่างถูกต้อง ไม่มีอาการแทรกซ้อนจากภาวะความพิการ

2873 5.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลักกรอบระยะเวลาปี พ.ศ.ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วมวงเงิน (ล้านบาท)เป้าหมายตัวชี้วัด256125622563256425652561 2562 2563 2564 2565 รวมแหล่งเงินมาตรการที่ 1 เฝ้าระวังโรคกตม. สปคม. สคร. (ศตม. นคม.) 12.3 12.3 12.3 37.1 กรมควบคุมโรค มีระบบเฝ้าระวังทั้งด้านคน ยุงพาหะ รังโรคที่สามารถน าไปใช้ประโยชน์ในการเตือน เพื่อควบคุมโรคให้ต่ ากว่าเกณฑ์ก าหนด มีข้อมูลเฝ้าระวังโรคเท้าช้าง 1.1 เฝ้าระวังเชื้อในคน /////1.2 เฝ้าระวังยุงพาหะ /////1.3 เฝ้าระวังแมวรังโรค (เฉพาะพื้นที่ B. malayi)/////1.4 พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือข่ายห้องปฏิบัติการในการตรวจวินิจฉัยและให้ค าปรึกษาโรคเท้าช้างเพื่อการเฝ้าระวัง ///0.4 0.4 0.4 1.2 กรมควบคุมโรค มาตรการที่ 2 ลดอัตราการพบโรคเท้าช้างในกลุ่มคนต่างด้าวที่มาจากประเทศแพร่โรค14.2 14.2 14.2 42.7 สกรมควบคุมโรค ลดอัตราการพบพยาธิโรคเท้าช้าง ในคนต่างด้าวจากประเทศแพร่โรคเท้าช้าง เน้น พม่า ร้อยละความครอบคลุมของการจ่ายยากลุ่มโรคเท้าช้างในกลุ่มต่างด้าวพม่า

288มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลักกรอบระยะเวลาปี พ.ศ.ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วมวงเงิน (ล้านบาท)เป้าหมายตัวชี้วัด256125622563256425652561 2562 2563 2564 2565 รวมแหล่งเงิน2.1 การจ่ายยากลุ่มโรคเท้าช้าง/////กบรส. สสจ. รพ.ที่รับตรวจสุขภาพคนต่างด้าว กทม. 14 14 14 42 กรมควบคุมโรค กทม. 2.2 การจ่ายยากลุ่มคนพม่าในพื้นที่พักพิงชั่วคราวผู้ลี้ภัยจากการสู้รบ จ านวน 9 แห่งใน 4 จังหวัด; แม่ฮ่องสอน ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี ////สสจ. กตม. (สนับสนุนยา) 0.23 0.23 0.23 0.7 สป. ก.มาตรการที่ 3 ลดความทุกข์ทรมานของผู้ปรากฏอาการโรคเท้าช้างสป. กตม. สคร. 0.22 0.72 0.22 1.18 สป.ก.ผู้ปรากฏอาการโรคเท้าช้างได้รับการดูแลรักษาเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากภาวะความพิการ อัตราการพบผู้มีอาการอักเสบเฉียบพลันจากการติดเชื้อ จุรินทรีย์อื่น ๆ 3.1 ให้การดูแลรักษาผู้ปรากฏอาการโรคเท้าช้าง (92 รายใน 6 จังหวัด: ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง ปัตตานี นราธิวาส) /////3.2 การประเมินสถานบริการสาธารณสุขที่ให้การดูแลรักษาผู้พิการจากโรคเท้าช้าง //

2895 มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลักกรอบระยะเวลาปี พ.ศ.ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วมวงเงิน (ล้านบาท)เป้าหมายตัวชี้วัด256125622563256425652561 2562 2563 2564 2565 รวมแหล่งเงิน3.3 การอบรมฟืนฟูส าหรับสถานบริการที่ให้การดูแลผู้พิการจากโรคเท้าช้าง ////3.4 การสนับสนุนชุดสาธิตการดูแลผู้พิการจากโรคเท้าช้าง /////6.แผนติดตามประเมินผลระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงานโครงการหลักเป้าหมายวิธีการติดตามประเมินผลกรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผลปี พ.ศ.22222มาตรการที่ 1 เฝ้าระวังโรค1.1 เฝ้าระวังเชื้อในคนอัตราการพบ แอนติเจน/ไมโครฟิลาเรีย น้อยกว่าร้อยละ 1 ผลการส ารวจการเฝ้าระวังในคน อัตราการตรวจพบแอนตเจนโรคเทาช้าง (พื้นที่ิ้การติดเชือชนิด ้W) = จ านวนผู้ที่ตรวจพบแอนติเจน*100/จ านวนเจาะโลหิตทั้งหมด อัตราการตรวจพบไมโครฟลาเรีย (พื้นที่การติดิเชื้อชนิด B.m) = จ านวนผู้ที่ตรวจพบไมดครฟิลาเรีย*100/จ านวนเจาะโลหิตทั้งหมดปีละครั้งปีละครั้ง ปีละครั้ง ปีละครั้ง ปีละครั้ง 1.2 เฝ้าระวังยุงพาหะอัตราการแพร่เขื้อในยุงพาหะโรคเท้าช้าง น้อยกว่าร้อยละ 1 ผลการเฝ้าระวัง อัตราการแพร่เชื้อในยุง = จ านวนยุงที่พบพยาธิตัวอ่อนโรคเท้าช้างระยะ L3*100/จ านวนยุงทั้งหมดที่ผ่าปีละครั้งปีละครั้ง ปีละครั้ง ปีละครั้ง ปีละครั้ง

290มาตรการ/แผนงานโครงการหลักเป้าหมายวิธีการติดตามประเมินผลกรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผลปี พ.ศ.222221.3 เฝ้าระวังแมวรังโรค (เฉพาะพื้นที่ B. malayi)อัตราการพบไมโครฟิลาเรียในแมวรังโรคเท้าช้าง ชนิด Brugia malayi น้อยกว่าร้อยละ 1 ผลการเฝ้าระวังรังโรคในสัตว์ อัตราการตรวจพบไมโครฟิลาเรีย = จ านวนแมวที่ตรวจพบไมดครฟิลาเรีย*100/จ านวนแมวที่ได้รับเจาะโลหิตทั้งหมด ปีละครั้งปีละครั้ง ปีละครั้ง ปีละครั้ง ปีละครั้ง มาตรการที่ 2 ลดอัตราการพบโรคเท้าช้างในกลุ่มคนต่างด้าวที่มาจากประเทศแพร่โรคความครอบคลุมของการจ่ายยากลุ่มในต่างด้าวที่มาจากประเทศแพร่โรคเท้าช้าง >80% รายงานผลการตรวจสุขภาพ/จ่ายยากลุ่มในระบบการตรวจ ประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวของสนง.ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ความครอบคลุมของการจ่ายยากลุ่มโรคเท้าช้าง = จ านวนคนต่างด้าวพม่าที่ได้รับการจ่ายยากลุ่ม*100/จ านวนคนต่างด้าวพม่าทั้งหมดที่ได้รับการตรวจสุขภาพ ปีละครั้งปีละครั้ง ปีละครั้ง ปีละครั้ง ปีละครั้ง มาตรการที่ 3 ลดความทุกข์ทรมานของผู้ปรากฏอาการโรคเท้าช้างอู ้ีเฉียบพ ลันจากการติดเอจุรินทรีย์อื่น ๆ ไม่เกินร้อยละ 5 ติดตามประเมินผลโดยสถานบริการสาธารณสุขที่ให้การดูแลรักษา อัตราการพบอาการอักเสบเฉียบพลันจากการติดเชื้อจุลินทรีย์อื่น ๆในผู้ปรากฏอาการเท้าช้าง = จ านวนผู้ปรากฏอาการเท้าช้างที่มีอาการอาการอักเสบเฉียบพลัน *100/จ านวนผู้ปรากฏอาการเท้าช้างทั้งหมด ปีละครั้งปีละครั้ง ปีละครั้ง ปีละครั้ง ปีละครั้ง

2917 7.ผู้รับผิดชอบแผนงาน1. แพทย์หญิงชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์ เบอร์โทรศัพท์ 02 590 3145 ผู้อ านวยการกองโรคติดต่อน าโดยแมลง E-mail: [email protected] 2. นางสาวศันสนีย์ โรจนพนัส เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3271 หัวหน้ากลุ่มโรคติดต่อน าโดยแมลงอื่น ๆ และตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน Email: [email protected]

2921 1. สถานการณ์ 1.1 ประเทศไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศที่มีวัณโรครุนแรง องค์การอนามัยโลกได้จัดกลุ่มประเทศที่มีภาระโรควัณโรคสูง (High Burden Country Lists) เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ (1) กลุ่มที่มีจ านวนและอตราป่วยวัณโรคสูง (2) กลุ่มที่มีจ านวนและอตราป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี สูง และ ัั(3) กลุ่มที่มีจ านวนและอตราป่วยดื้อยาหลายขนานสูง ซึ่งประเทศไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศ ที่มีปัญหาวัณโรคสูง ัทั้ง 3 กลุ่มดังกล่าว 1.2 ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายสู่การยุติวัณโรค ป พ.ศ. 2558 (2015) องค์การอนามัยโลกจึงได้ก าหนดยุทธศาสตร์ยุติวัณโรค (The End TB Strategy) ีโดยมีตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายส าคัญดังนี้ (1) ลดอุบัติการณ์วัณโรค (Incidence) ให้ต่ ากว่า 10 ต่อแสนประชากรภายในปี พ.ศ. 2578 (2035) (2) ลดจ านวนผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิตลงร้อยละ 95 เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2558 (2015) (3) ไม่มีผู้ป่วยวัณโรคและครอบครัวที่ได้รับผลกระทบค่าใช้จ่ายจากการดูแลรักษาวัณโรค (อ้างอิง : Stop TB Partnership, UNOPS “The Paradigm Shift – Global Plan to End TB 2016 – 2020”, 2015) 1.3 ประเทศไทยต้องเร่งรัดการลดลงของอุบัติการณ์วัณโรคจากรายงานวัณโรคระดับโลกปี 2562 โดยองค์การอนามัยโลก (WHO, Global TB report 2019) ไดคาดประมาณ้ทางระบาดวิทยาว่าประเทศไทยมีผู้ป่วยวัณโรครายใหมประมาณ 106,000 ราย หรือคิดเป็น 153 ตอประชากรแสนคน ่่แต่จากผลการด าเนินงานปีงบประมาณ 2561 มีผลการค้นหาและขึ้นทะเบียนรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ า จ านวน 85,029 ราย คิดเป็นอัตราการค้นหาและรักษาครอบคลุมร้อยละ 80 (85,029/106,000) และมีผลส าเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ าที่ขึ้นทะเบียนรักษาในปงบประมาณ 2560 รอยละ 84 แม้จะมีแนวโน้มผลการี้ด าเนินงานดีขึ้นตามล าดับ แต่ยังต่ ากว่าเป้าหมายที่จะน าไปสู่การยุติปัญหาวัณโรค จึงจ าเป็นต้องเร่งรัดการด าเนินงาน และติดตามประเมินความก้าวหน้าของแผนงานอย่างต่อเนื่องเพอปรับปรุงมาตรการ รวมทั้งด าเนินมาตรการเสริมอย่างมีื่ประสิทธิภาพ ในการส่งผลต่อการลดลงของอุบัติการณ์วัณโรค วัณโรคดื้อยาหลายขนานเป็นปัญหาส าคัญเนื่องจากมีค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง (ประมาณ 150,000 บาท ต่อราย) เมื่อเทียบกับวัณโรคที่ไม่ดื้อยา (ประมาณ 2,200 บาทตอราย) ในขณะที่อัตรารักษาหายต่ า ประเทศไทยได้ด าเนินงาน่บริหารจัดการวัณโรคดื้อยา (Programmatic Management of Drug-Resistant Tuberculosis : PMDT) ในปี 2555 เพอให้การด าเนินงานวัณโรคดื้อยาของประเทศด าเนินงานอย่างมีระบบ และปัจจุบันจะมีการเร่งรัดการด าเนินงานบริหารื่จัดการวัณโรคดื้อยา แต่การด าเนินงานในภาพรวมยังไม่ประสบความส าเร็จเท่าที่ควร ในปี 2560 มีการส่งตรวจวินิจฉัย แผนงานป้องกันควบคุมวัณโรค

293เชื้อดื้อยา จ านวน 24,470 ราย และตรวจพบเป็นวัณโรคดื้อยา MDR/RR-TB 851 ราย และวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก (XDR-TB) จ านวน 8 ราย และในปี 2561 มีการส่งตรวจวินิจฉัยเชื้อดื้อยาจ านวน 25,045 ราย ตรวจพบเป็นวัณโรคดื้อยา MDR/RR-TB 910 ราย และวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก (XDR-TB) จานวน 21 ราย ผู้ติดเชื้อเอชไอวีเสี่ยงต่อการป่วยด้วยการติดเชื้อวัณโรคมากกว่าคนปกติ 20 – 37 เท่า และวัณโรคเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตในผู้ติดเชื้อเอชไอวี ดังนั้นการทราบว่าผู้ป่วยวัณโรคมีการติดเชื้อเชื้อเอชไอวีร่วมด้วยหรือไม่เป็นสิ่งส าคัญเพอลดอตราเสียชีวิตระหว่างการรักษาวัณโรค ในปี 2560 มีผู้ป่วยวัณโรคที่ได้รับการตรวจติดเชื้อเอชไอวี จ านวน 65,971ราย ื่ัจากผู้ป่วยวัณโรคที่ขนทะเบียนรักษาทั้งหมด 82,008 ราย โดยตรวจพบการตดเชือเอชไอวี จานวน 7,130 ราย คิดเป็นร้อยละ ึ้ิ้10.8 โดยผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวได้รับยาต้านไวรัส (ARV) จานวน 4,577ราย คิดเป็นร้อยละ 64.1 ปี 2561 มีผู้ป่วยวัณโรคที่ได้รับการตรวจติดเชื้อเอชไอวี จ านวน 67,099 ราย จากผู้ป่วยวัณโรคทขึ้นทะเบียนรักษาทั้งหมด 85,029 ราย โดยตรวจพบการ ี่ติดเชื้อเอชไอวี จ านวน 6,780 ราย คิดเป็นร้อยละ 10 ได้รับยาต้านไวรัส (ARV) จานวน 5,391ราย คิดเป็นร้อยละ 79.5 1.4 การด าเนินการตามแผนปฏิบัติการระดับชาติด้านการต่อต้านวัณโรค สู่การยุติวัณโรค ประเทศไทยได้จัดท าแผนปฏิบัติการระดับชาติด้านการต่อต้านวัณโรค พ.ศ. 2560-2564 โดยสอดคล้องกับการกับทิศทางยุทธศาสตร์ยุติวัณโรค ขององค์การอนามัยโลก เพอเป็นแนวทางในการด าเนินงานป้องกัน ดูแลรักษา ื่และควบคุมวัณโรคในส่วนภาครัฐ และเอกชน ทั้งองค์กรในประเทศและนานาชาติของประเทศไทย โดยมีมาตรการหลักในการบรรลุเป้าหมายสู่การยุติวัณโรคเพอ(1) เร่งรัดการค้นหาและวินิจฉัยในประชากรกลุ่มเปราะบางและกลุ่มเสี่ยงวัณโรคื่และขึ้นทะเบียนรักษาให้มีความครอบคลุม (Treatment Coverage) ไม่ต่ ากว่าร้อยละ 90 ของจ านวนผู้ป่วยที่คาดประมาณจากอบัติการณ์ (2) ดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคที่ตรวจพบทุกราย โดยมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางของการดูแล (Patient ุcentered care) ให้มีอตราความส าเร็จการรักษาไม่ต่ ากว่าร้อยละ 90 โดยเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี วันที่ 12 กันยายน ั2560 ในปี พ.ศ.2563 ได้จดทาแผนปฏิบัติการระดับชาติ ด้านการต่อต้านวัณโรค (ทบทวน พ.ศ.2563) พ.ศ. ั2564 – 2566 โดยทบทวนและปรับปรุงแผนปฏิบัติการระดับชาติด้านการต่อต้านวัณโรค พ.ศ. 2560 - 2564 เพอให้การื่ด าเนินงานวัณโรคของประเทศทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ ความรู้ทางวิชาการ และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง อกทั้งเป็นการขยายเวลาแผนปฏิบัติการระดับชาติ ด้านการต่อต้านวัณโรค ให้สอดคล้องช่วงเวลาของแผนย่อยของแผนียุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข (พ.ศ. 2561 – 2580)

2943 2. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง ข้อมูลจาก: www. //tbcmthailand.ddc.moph.go.th 3 มิถุนายน 2563 3. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง เป้าหมายเพื่อพจารณาค้นหาเชิงรุก โดยการคัดกรอง (TB Screening) ด้วยการถ่ายภาพรังสีทรวงอกทันทีิเมื่อพบกลุ่มเสี่ยงครั้งแรก เพื่อน าเข้าสู่การวินิจฉัยและรักษาโดยเร็ว ( Early diagnosis and treatment) ถ้าครั้งแรกตรวจไม่พบให้ตรวจติดตามอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง 1. กลุ่มผู้สัมผัสวัณโรค ผู้สัมผัสร่วมบ้านและผู้สัมผัสใกล้ชิด หากตรวจไมพบครั้งแรก ติดตามคัดกรองด้วยการถ่ายภาพรังสีทรวงอก่ทุก 6 เดือน ใน 2 ปีแรก 2. กลุ่มที่มีโรคร่วม 2.1 ผู้ติดเชื้อเอชไอว ี2.2 ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ าตาลไม่ได้ ที่มีค่า ประกอบด้วย HbA1C ≥ 7 FBS ≥ 140 2.3 ผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง (CKD) 2.4 ผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) 2.5 กลุ่มที่มีโรคร่วมหรือที่มีภาวะเสี่ยงอื่น ๆ เช่น ผู้ป่วยโรคพษสุราเรื้อรัง(Alcoholism) โรคปอดจากฝุ่นหินิ(Silicosis) เป็นต้นร้อยละการค้นหาและรักษาวณโรค ปี 2562 ัร้อยละผลการรักษาผู้ป่วยวณโรครายจังหวัด ปี 2561 ั

2953. กลุ่มประชากรเสี่ยง 3.1 ผู้ต้องขังในเรือนจ า3.2 บุคลากรสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ทุกระดับในสถานพยาบาลที่จัดบริการผู้ป่วย 3.3 แรงงานต่างชาติ3.4 กลุ่มเสี่ยงประชากรอื่น ๆ เช่น ผู้อาศัยในชุมชนแออัดเขตเมือง ผู้เร่ร่อนไร้ที่อยู่ เป็นต้น4. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ป (2561-2565)ีเป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เป้าหมาย 1 ความครอบคลุมการคัดกรองขึ้นทะเบียน ตัวชี้วัด : ผลการค้นหาและขึ้นทะเบียนรักษาครอบคลุมจ านวนผู้ป่วยวัณโรคที่คาดประมาณ (ร้อยละ) 74 82.5 85 87.5 90 90 เป้าหมาย 2 ผลส าเร็จการรักษา ตัวชี้วัด : ผลส าเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ า (ร้อยละ) 83 86 87 88 90 90

2965 5.มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผู้ด าเนินการ มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. สสจ. สสอ. รพ. เรือนจ า อปท. PCC ชุมชน/ต าบล มาตรการที่ 1 เร่งรัดค้นหา และขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรค และวัณโรคดื้อยา คัดกรองเชิงรุก ในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย พัฒนา ปรับปรุงและถ่ายทอดรูปแบบและแนวทางการค้นหาเพื่อคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสียงเปาหมาย ่้ร่วมพัฒนาปรับปรุงและถ่ายทอด รูปแบบและแนวทางการค้นหาเพื่อคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคในประชากรกลุ่มเสียง ่ร่วมพัฒนา-ปรับปรุงและถ่ายทอดรูปแบบและแนวทางการค้นหาเพื่อคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคในประชากรกลุ่มเสียง ่เร่งรัดค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเ่้เร่งรัดค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเ่้ร่วมด าเนินการและสนับสนุนเร่งรัดค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง เป้าหมาย ร่วมด าเนินการและสนับสนุนเร่งรัดค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง เป้าหมาย ร่วมด าเนินการและสนับสนุนเร่งรัดค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง เป้าหมาย พัฒนานวัตกรรม และถ่ายทอดแนวทางการคัดกรอง วณโรค โดยใช้ัปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในการอ่านภาพถ่ายรังสีทรวงอก ถ่ายทอดแนวทางการคัดกรอง วณโรค โดยใช้ัปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในการอ่านภาพถ่ายรังสีทรวงอก ถ่ายทอดแนวทางการคัดกรอง วณโรค โดยใช้ัปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในการอ่านภาพถ่ายรังสีทรวงอก น าเทคโนโลยีการคัดกรองวณโรค โดยัใช้ปัญญา ประดิษฐ์ (AI) ในการอ่านภาพถ่ายรังสีทรวงอก สนับสนุนทาง ด้านวิชาการในการเร่งรัดคัดกรองเชิงรุกในสนับสนุนทาง ด้านวิชาการในและประสานงานการเร่งรัดคัดสนับสนุนทาง ด้านวิชาการในและประสานงานการเร่งรัดคัดประสานงานการเร่งรัดคัดกรองเชิงรุกในเรือนจ า เร่งรัดคัดกรองเชิงรุกในเรือนจ า ตามโครงการราชทัณฑ์ปันสุข เร่งรัดคัดกรองเชิงรุกในเรือนจ า ตามโครงการราชทัณฑ์ปันสุข

297มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. สสจ. สสอ. รพ. เรือนจ า อปท. PCC ชุมชน/ต าบล เรือนจ า ตามโครงการราชทัณฑ์ปันสุข ท าความดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ กรองเชิงรุกในเรือนจ า ตามโครงการราชทัณฑ์ปันสุข ท าความดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ กรองเชิงรุกในเรือนจ า ตามโครงการราชทัณฑ์ปันสุข ท าความดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ตามโครงการราชทัณฑ์ปันสุข ท าความดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ท าความดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ท าความดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ เร่งรัดการขึ้นทะเบียนรักษาในสถานพยาบาลทุกแห่ง ทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุขผลักดันและขับเคลื่อนกลไกการบังคับใช้ พรบ. โรคติดต่อ พ.ศ.2558 เพื่อการก ากับการรายงานและขึ้นทะเบียนรักษาผู้ป่วยวัณโรค บังคับใช้และสนับสนุนกลไกภายใต้ พรบ. โรคติดต่อ พ.ศ.2558 เพื่อการก ากับการรายงานและขึ้นทะเบียนรักษาผู้ป่วยวัณโรค บังคับใช้และสนับสนุนกลไกภายใต้ พรบ. โรคติดต่อ พ.ศ.2558 เพื่อการก ากับการรายงานและขึ้นทะเบียนรักษาผู้ป่วยวัณโรค บังคับใช้และสนับสนุนกลไกภายใต้ พรบ. โรคติดต่อ พ.ศ.2558 เพื่อการก ากับการรายงานและขึ้นทะเบียนรักษาผู้ป่วยวัณโรค รายงานและขึ้นทะเบียนรักษาผู้ป่วยวัณโรค มาตรการที่ 2 การตรวจวินิจฉัยที่รวดเร็วและได้มาตรฐาน ตรวจวินิจฉัยด้วยวิธีที่รวดเร็ว พัฒนาแนวทางการตรวจวัณโรคนอกปอดด้วยวิธีPhenotypic สนับสนุนและถ่ายทอด แนวทางการตรวจวัณโรคนอกปอดด้วยวิธีPhenotypic สนับสนุนและถ่ายทอด แนวทางการตรวจวัณโรคนอกปอดด้วยวิธีPhenotypic ประสานงานและส่งเสริมแนวทางการตรวจวัณโรคนอกปอดด้วยวิธีPhenotypic ไตรวจวัณโรคนอกปอดด้วยวิธีPhenotypic ไปใ

2987 มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. สสจ. สสอ. รพ. เรือนจ า อปท. PCC ชุมชน/ต าบล สนับสนุนวิชาการการตรวจวินิจฉัยวัณโรคและวัณโรคดื้อยาด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยและรวดเร็ว สนับสนุนวิชาการการตรวจวินิจฉัยวัณโรคและวัณโรคดื้อยาด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยและรวดเร็ว สนับสนุนวิชาการการตรวจวินิจฉัยวัณโรคและวัณโรคดื้อยาด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยและรวดเร็ว ประสานงานและส่งเสริมการตรวจวินิจฉัยวัณโรคและวัณโรคดื้อยาด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยและรวดเร็ว ตรวจวินิจฉัยวัณโรคและวัณโรคดื้อยาด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยและรวดเร็ว พัฒนาคุณภาพการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลักดันและส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการในการวินิจฉัยวัณโรค ให้แก่หน่วยงานเครือข่าย สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการในการวินิจฉัยวัณโรค ให้แก่หน่วยงานเครือข่าย สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการในการวินิจฉัยวัณโรค ให้แก่หน่วยงานเครือข่าย สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการในการวินิจฉัยวัณโรค ให้แก่หน่วยงานเครือข่าย พัฒนาคุณภาพห้องปฏิบัติการในการวินิจฉัยวัณโรค พัฒนาแนวทางการประกันคุณภาพการตรวจวินิจทางห้องปฏิบัติการวัณโรค ประเมินผลการประกันคุณภาพการตรวจวินิจทางห้อง ปฏิบัติการวัณโรค สนับสนุนการประเมินผลการประกันคุณภาพการตรวจวินิจทางห้อง ปฏิบัติการวัณโรค ด าเนินการตามแนวทางการประกันคุณภาพการตรวจวินิจทางห้องปฏิบัติการวัณโรค

299มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. สสจ. สสอ. รพ. เรือนจ า อปท. PCC ชุมชน/ต าบล พัฒนาแนวทางการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการขั้นสูงในด้านการตรวจหาล าดับเบสของผู้ป่วย Pre XDR/ XDR-TB เพื่อใช้ในการวางแผนการคุ่ระบาดของโรค สนับสนุนการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการขั้นสูงในด้านการตรวจหาล าดับเบสของผู้ป่วย XDR-TB สนับสนุนการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการขั้นสูงในด้านการตรวจหาล าดับเบสของผู้ป่วย XDR-TB สนับสนุนการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการขั้นสูงในด้านการตรวจหาล าดับเบสของผู้ป่วย XDR-TB สนับสนุนการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการขั้นสูงในด้านการตรวจหาล าดับเบสของผู้ป่วย XDR-TB มาตรการที่ 3 การรักษาที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และรักษาอย่างต่อเนื่อง ดูแลรักษาตามมาตรฐานการควบคุม วัณโรคของประเทศไทย พัฒนาและเผยแพร่คู่มือ แนวทางการดูแลรักษาและป้องกันควบคุมวัณโรคและวัณโรคดื้อยาประเทศไทย ร่วมพัฒนาและเผยแพร่คู่มือ แนวทางการดูแลรักษาและป้องกันควบคุมวัณโรคและวัณโรคดื้อยาประเทศไทยร่วมพัฒนาและเผยแพร่คู่มือ แนวทางการดูแลรักษาและป้องกันควบคุมวัณโรคและวัณโรคดื้อยาประเทศไทยน าคู่มือ แนวทางการดูแลรักษาและป้องกันควบคุมวัณโรคและวัณโรคดื้อยาประเทศไทยไปใช้ในการด าเนินงานน าคู่มือ แนวทางการดูแลรักษาและป้องกันควบคุมวัณโรคและวัณโรคดื้อยาประเทศไทยไปใช้ในการด าเนินงานน าคู่มือ แนวทางการดูแลรักษาและป้องกันควบคุมวัณโรคและวัณโรคดื้อยาประเทศไทยไปใช้ในการด าเนินงาน น าคู่มือ แนวทางการดูแลรักษาและป้องกันควบคุมวัณโรคและวัณโรคดื้อยาประเทศไทยไปใช้ในการด าเนินงาน น าคู่มือ แนวทางการดูแลรักษาและป้องกันควบคุมวัณโรคและวัณโรคดื้อยาประเทศไทยไปใช้ในการด าเนินงาน จัดท าแนวทางและสนับสนุนวิชาการการติดตามและบริหารเชิงรุกด้านความปลอดภัยในสนับสนุนวิชาการการติดตามและบริหารเชิงรุกด้านความปลอดภัยในการใช้ยารักษาวัณโรคดื้อยาสนับสนุนวิชาการการติดตามและบริหารเชิงรุกด้านความปลอดภัยในการใช้ยารักษาวัณโรคดื้อยาด าเนินการ บริหารเชิงรุกด้านความปลอดภัยในการใช้ยารักษาวัณโรคดื้อยา

3009 มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. สสจ. สสอ. รพ. เรือนจ า อปท. PCC ชุมชน/ต าบล การใช้ยารักษาวัณโรคดื้อยารายการใหม่เชิงรุก(aDSM) รายการใหม่เชิงรุก(aDSM) รายการใหม่เชิงรุก(aDSM) รายการใหม่เชิงรุก(aDSM) ประสานความร่วมมือการดูแลรักษาแผนงานวัณโรคและแผนงานเอดส์ ในบูรณาการท างาน ในการดูแลผู้ป่วย ประสานความร่วมมือการดูแลรักษางานวัณโรคและงานเอดส์ ในบูรณาการท างาน ในการดูแลผู้ป่วย ประสานความร่วมมือการดูแลรักษางานวัณโรคและงานเอดส์ ในบูรณาการท างาน ในการดูแลผู้ป่วย ร่วมมือการดูแลรักษาคลินิกวัณโรคและคลินิกเอดส์ ในบูรณาการท างาน ในการดูแลผู้ป่วย กลไก Case management team รวบรวมและถอดบทเรียนผลการด าเนินงาน การวิเคราะห์และก าหนดมาตรการ ดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคโดยทีมสหวิชาชีพและชุมชน และ ทบทวนการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคที่เสียชีวิต วิเคราะห์และก าหนดมาตรการ ดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคโดยทีมสหวิชาชีพและชุมชน และ ทบทวนการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคที่เสียชีวิต (Death case conference) วิเคราะห์และก าหนดมาตรการ ดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคโดยทีมสหวิชาชีพและชุมชน และ ทบทวนการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคที่เสียชีวิต (Death case conference) วิเคราะห์และก าหนดมาตรการ ดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคโดยทีมสหวิชาชีพและชุมชน และ ทบทวนการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคที่เสียชีวิต (Death case conference) วิเคราะห์และก าหนดมาตรการ ดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคโดยทีมสหวิชาชีพและชุมชน และ ทบทวนการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคที่เสียชีวิต (Death case conference)

301มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. สสจ. สสอ. รพ. เรือนจ า อปท. PCC ชุมชน/ต าบล (Death case conference) พัฒนาแนวทางและมาตรฐานการดูแลรักษาผู้ป่วยโดยผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Centered Care) มีพี่เลี่ยง (DOT) ถ่ายทอดและติดตามการดูแลตามแนวทางและมาตรฐานการดูแลรักษาผู้ป่วยโดยผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Centered Care) มีพี่เลี่ยง (DOT) ถ่ายทอดและติดตามการดูแลตามแนวทางและมาตรฐานการดูแลรักษาผู้ป่วยโดยผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Centered Care) มีพี่เลี่ยง (DOT) ถ่ายทอดและติดตามการดูแลตามแนวทางและมาตรฐานการดูแลรักษาผู้ป่วยโดยผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Centered Care) มีพี่เลี่ยง (DOT) ดูแลรักษาผู้ป่วย ตามแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Centered Care) มีพี่เลี่ยง (DOT) ดูแลรักษาผู้ป่วย ตามแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Centered Care) มีพี่เลี่ยง (DOT) ดูแลรักษาผู้ป่วย ตามแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Centered Care) มีพี่เลี่ยง (DOT) ดูแลรักษาผู้ป่วย ตามแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Centered Care) มีพี่เลี่ยง (DOT) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการบริการสุขภาพของสถานพยาบาล ถ่ายทอดการประเมินการประกันคุณภาพ การป้องกัน และดูแลรักษาวัณโรคในโรงพยาบาล (QTB) และเรือนจ า (QTBP) ประเมินการประกันคุณภาพ การป้องกัน และดูแลรักษาวัณโรคในโรงพยาบาล (QTB) และเรือนจ า (QTBP) สนับสนุนประเมินการประกันคุณภาพ การป้องกัน และดูแลรักษาวัณโรคในโรงพยาบาล (QTB) และเรือนจ า (QTBP) รับประเมินการประกันคุณภาพ การป้องกัน และดูแลรักษาวัณโรคในโรงพยาบาล (QTB)) รับประเมินการประกันคุณภาพ การป้องกัน และดูแลรักษาวัณโรคในเรือนจ า (QTBP) มาตรการที่ 4 การป้องกันการติดเชื้อและป่วยเป็นวัณโรค การค้นหา วินิจฉัย และรักษาการติดเชื้อวัณโรคระยะพัฒนาและถ่ายทอด แนวทางการวินิจฉัยถ่ายทอด แนวทางการวินิจฉัยและรักษาการติดร่วมค้นหา ผู้ติดเชื้อและค้นหา ผู้ติดเชื้อและรักษาการติด

30211 มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. สสจ. สสอ. รพ. เรือนจ า อปท. PCC ชุมชน/ต าบล แฝงและการให้ยาป้องกันในกลุ่มเสี่ยง และรักษาการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง เชื้อวัณโรคระยะแฝง รักษาการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง เชื้อวัณโรคระยะแฝง สนับสนุนทางด้านวิชาการ การตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง สนับสนุนทางด้านวิชาการ การตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง สนับสนุนทางด้านวิชาการ การตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง ตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ก ากับและติดตามการด าเนินงานผู้ติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง ร่วมพัฒนาระบบและด าเนินการเฝ้าระวัง ก ากับและติดตามการด าเนินงานผู้ติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง ร่วมพัฒนาระบบและด าเนินการเฝ้าระวัง ก ากับและติดตามการด าเนินงานผู้ติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง สนับสนุนด าเนินการเฝ้าระวัง ก ากับและติดตามการด าเนินงานผู้ติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง เฝ้าระวัง ก ากับและติดตาม ผู้ติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง จัดระบบการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในโรงพยาบาล และชุมชนสนับสนุนวิชาการและการบริหารจัดการ แพร่กระจายเชื้อวัณโรคในสถานพยาบาลและชุมชน ถ่ายทอดวิชาการและการบริหารจัดการ แพร่กระจายเชื้อวัณโรคในสถานพยาบาลและชุมชน ถ่ายทอดวิชาการและการบริหารจัดการ แพร่กระจายเชื้อวัณโรคในสถานพยาบาลและชุมชน สนับสนุนและด าเนินการบริหารจัดการ แพร่กระจายเชื้อวัณโรคในสถานพยาบาลและชุมชน ด าเนินการบริหารจัดการ แพร่กระจายเชื้อวัณโรคในสถานพยาบาลและชุมชน ด าเนินการบริหารจัดการ แพร่กระจายเชื้อวัณโรคในเรือนจ า สนับสนุนและด าเนินการบริหารจัดการ แพร่กระจายเชื้อวัณโรคในชุมชน ด าเนินการบริหารจัดการ แพร่กระจายเชื้อวัณโรคในชุมชน

303มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. สสจ. สสอ. รพ. เรือนจ า อปท. PCC ชุมชน/ต าบล มาตรการที่ 5 สนับสนุนการด าเนินงานป้องกันควบคุมวัณโรค พัฒนาการก ากับติดตาม และประเมนผล นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานวัณโรค นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานวัณโรค นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานวัณโรค รับการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานวัณโรค รับการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานวัณโรค พัฒนาระบบและแนวทาง การส่งต่อผู้ป่วยวัณโรค เพื่อการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง ร่วมพัฒนาระบบและสนับสนุนการตามแนวทาง การส่งต่อผู้ป่วยวัณโรค สนับสนุนการด าเนินการการส่งต่อผู้ป่วยวัณโรค สนับสนุนการด าเนินการการส่งต่อผู้ป่วยวัณโรค ด าเนินการการส่งต่อผู้ป่วยวัณโรค ก าหนดแนวทาง และหลักเกณฑ์การก ากับติดตามประเมินผลของแผนปฏิบัติการประจ าปี ร่วมก าหนดและถ่ายทอดแนวทาง และหลักเกณฑ์การก ากับติดตามประเมินผลของแผนปฏิบัติการประจ าปี ถ่ายทอดและด าเนินการตามแนวทาง และหลักเกณฑ์การก ากับติดตามประเมินผลของแผนปฏิบัติการประจ าปี รับการถ่ายทอดการตามแนวทาง และหลักเกณฑ์การก ากับติดตามประเมินผลของแผนปฏิบัติการประจ าปี รับการถ่ายทอดการตามแนวทาง และหลักเกณฑ์การก ากับติดตามประเมินผลของแผนปฏิบัติการประจ าปี ประเมิน และทบทวนการด าเนินงานแผนงานวัณโรค ร่วมประเมิน และทบทวนการด าเนินงานแผนงานวัณโรค ร่วมประเมิน และทบทวนการด าเนินงานแผนงานวัณโรค ร่วมประเมิน และทบทวนการด าเนินงานแผนงานวัณโรค ร่วมประเมิน และทบทวนการด าเนินงานแผนงานวัณโรค ร่วมประเมิน และทบทวนการด าเนินงานแผนงานวัณโรค ร่วมประเมิน และทบทวนการด าเนินงานแผนงานวัณโรค ร่วมประเมิน และทบทวนการด าเนินงานแผนงานวัณโรค

30413 มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. สสจ. สสอ. รพ. เรือนจ า อปท. PCC ชุมชน/ต าบล โดยผู้เชี่ยวชาญจากองค์การอนามัยโลก โดยผู้เชี่ยวชาญจากองค์การอนามัยโลก โดยผู้เชี่ยวชาญจากองค์การอนามัยโลก โดยผู้เชี่ยวชาญจากองค์การอนามัยโลก โดยผู้เชี่ยวชาญจากองค์การอนามัยโลก โดยผู้เชี่ยวชาญจากองค์การอนามัยโลก โดยผู้เชี่ยวชาญจากองค์การอนามัยโลก โดยผู้เชี่ยวชาญจากองค์การอนามัยโลก ประสานความร่วมมือการด าเนินงานวัณโรคระหว่างประเทศ ร่วมประสานความร่วมมือการด าเนินงานวัณโรคระหว่างประเทศ ร่วมประสานความร่วมมือการด าเนินงานวัณโรคระหว่างประเทศ ร่วมประสานความร่วมมือการด าเนินงานวัณโรคระหว่างประเทศ พัฒนาระบบฐานข้อมูลวัณโรค ของประเทศ พัฒนา และปรับปรุงระบบข้อมูลและการใช้ประโยชน์จากข้อมูลวัณโรค (ก ากับติดตาม ระบบข้อมูลและการใช้ประโยชน์จากข้อมูลวัณโรค (ก ากับติดตาม ระบบข้อมูลและการใช้ประโยชน์จากข้อมูลวัณโรค (ใช้งานใน ระบบข้อมูลและการใช้ประโยชน์จากข้อมูลวัณโรค (พัฒนาบุคลากรและเครือข่ายวัณโรค จัดท าแผนปฏิบัติการระดับชาติเพื่อการพัฒนาบุคลากรด าเนินงานวัณโรค ร่วมจัดท าแผนปฏิบัติการระดับชาติเพื่อการพัฒนาบุคลากรด าเนินงานวัณโรค ร่วมจัดท าแผนปฏิบัติการระดับชาติเพื่อการพัฒนาบุคลากรด าเนินงานวัณโรค ร่วมจัดท าแผนปฏิบัติการระดับชาติเพื่อการพัฒนาบุคลากรด าเนินงานวัณโรค ร่วมจัดท าแผนปฏิบัติการระดับชาติเพื่อการพัฒนาบุคลากรด าเนินงานวัณโรค

305มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. สสจ. สสอ. รพ. เรือนจ า อปท. PCC ชุมชน/ต าบล จัดท าหลักสูตรและฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านวัณโรค ฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านวัณโรค ฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านวัณโรค รับการอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านวัณโรควณโรค ัรับการอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านวัณโรควณโรค ั รับการอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านวัณโรควณโรค ัรับการอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านวัณโรควณโรค ัสนับสนุนทีมสอบสวนวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก สนับสนุนทีมสอบสวนวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก สนับสนุนทีมสอบสวนวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก สนับสนุนทีมสอบสวนวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก สนับสนุนทีมสอบสวนวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก สนับสนุนทีมสอบสวนวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก สนับสนุน ช่วยเหลือทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ส่งเสริม สนับสนุน กลไกการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจ สังคม และจิตใจของผู้ป่วยวัณโรค และครอบครัว ส่งเสริม สนับสนุน กลไกการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจ สังคม และจิตใจของผู้ป่วยวัณโรค และครอบครัว ส่งเสริม สนับสนุน กลไกการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจ สังคม และจิตใจของผู้ป่วยวัณโรค และครอบครัว ส่งเสริม สนับสนุน กลไกการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจ สังคม และจิตใจของผู้ป่วยวัณโรค และครอบครัว ส่งเสริม สนับสนุน กลไกการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจ สังคม และจิตใจของผู้ป่วยวัณโรค และครอบครัว พัฒนากลไกทางด้านนโยบายและกฎหมาย สนับสนุนทางด้านวิชาการ และก ากับติดตามการป้องกันควบคุมวัณโรคและวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดสนับสนุนทางด้านวิชาการ และก ากับติดตามการป้องกันควบคุมวัณโรคและวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดสนับสนุนทางด้านวิชาการ และก ากับติดตามการป้องกันควบคุมวัณโรคและวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดสนับสนุนทางด้านวิชาการ และก ากับติดตามการป้องกันควบคุมวัณโรคและวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดด าเนินการตามแนวทางการป้องกันควบคุมวัณโรคและวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก ภายใต้พรบ. ด าเนินการตามแนวทางการป้องกันควบคุมวัณโรคและวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก ภายใต้พรบ. ด าเนินการตามแนวทางการป้องกันควบคุมวัณโรคและวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก ภายใต้พรบ.

30615 มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. สสจ. สสอ. รพ. เรือนจ า อปท. PCC ชุมชน/ต าบล รุนแรงมาก ภายใต้พรบ. โรคติดต่อ พ.ศ.2558 รุนแรงมาก ภายใต้พรบ. โรคติดต่อ พ.ศ.2558 รุนแรงมาก ภายใต้พรบ. โรคติดต่อ พ.ศ.2558 รุนแรงมาก ภายใต้พรบ. โรคติดต่อ พ.ศ.2558 โรคติดต่อ พ.ศ.2558 โรคติดต่อ พ.ศ.2558 โรคติดต่อ พ.ศ.2558 ขับเคลื่อนโยบายยุติวัณโรคของประเทศไทย ผ่านกลไกคณะอนุกรรมการเร่งรัดยุติวัณโรค และระดับกระทรวงสาธารณสุข ถ่ายทอดนโยบายยุติวัณโรคของประเทศไทย ผ่านกลไกคณะอนุกรรมการเร่งรัดยุติวัณโรค และระดับกระทรวงสาธารณสุข ถ่ายทอดนโยบายยุติวัณโรคของประเทศไทย ผ่านกลไกคณะอนุกรรมการเร่งรัดยุติวัณโรค และระดับกระทรวงสาธารณสุข ด าเนินการตามนโยบายยุติวัณโรคของประเทศไทย ผ่านกลไกคณะอนุกรรมการเร่งรัดยุติวัณโรค และระดับกระทรวงสาธารณสุข ด าเนินการตามนโยบายยุติวัณโรคของประเทศไทย ผ่านกลไกคณะอนุกรรมการเร่งรัดยุติวัณโรค และระดับกระทรวงสาธารณสุข จัดท าแผนปฏิบัติการระดับชาติด้านการต่อต้านวัณโรค(ฉบับที่ 2) ร่วมทบทวนและจัดท าแผนปฏิบัติการระดับชาติด้านการต่อต้านวัณโรค(ฉบับที่ 2) ร่วมทบทวนและจัดท าแผนปฏิบัติการระดับชาติด้านการต่อต้านวัณโรค(ฉบับที่ 2) ร่วมทบทวนและจัดท าแผนปฏิบัติการระดับชาติด้านการต่อต้านวัณโรค(ฉบับที่ 2) ร่วมทบทวนและจัดท าแผนปฏิบัติการระดับชาติด้านการต่อต้านวัณโรค(ฉบับที่ 2) ร่วมทบทวนและจัดท าแผนปฏิบัติการระดับชาติด้านการต่อต้านวัณโรค(ฉบับที่ 2) ร่วมทบทวนและจัดท าแผนปฏิบัติการระดับชาติด้านการต่อต้านวัณโรค(ฉบับที่ 2) ร่วมทบทวนและจัดท าแผนปฏิบัติการระดับชาติด้านการต่อต้านวัณโรค(ฉบับที่ 2) ร่วมทบทวนและจัดท าแผนปฏิบัติการระดับชาติด้านการต่อต้านวัณโรค(ฉบับที่ 2) พัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม จัดท า พัฒนาแผนการด าเนินงานงานวิจัย และนวัตกรรม เพื่อร่วมจัดท า พัฒนาแผนการด าเนินงานงานวิจัย และนวัตกรรม เพื่อร่วมจัดท า พัฒนาแผนการด าเนินงานงานวิจัย และนวัตกรรม เพื่อร่วมจัดท า พัฒนาแผนการด าเนินงานงานวิจัย และนวัตกรรม เพื่อร่วมจัดท า พัฒนาแผนการด าเนินงานงานวิจัย และนวัตกรรม เพื่อร่วมจัดท า พัฒนาแผนการด าเนินงานงานวิจัย และนวัตกรรม เพื่อ

307มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. สสจ. สสอ. รพ. เรือนจ า อปท. PCC ชุมชน/ต าบล ป้องกันควบคุมและดูแลรักษาวัณโรค ของประเทศ ป้องกันควบคุมและดูแลรักษาวัณโรค ของประเทศ ป้องกันควบคุมและดูแลรักษาวัณโรค ของประเทศ ป้องกันควบคุมและดูแลรักษาวัณโรค ของประเทศ ป้องกันควบคุมและดูแลรักษาวัณโรค ของประเทศ ป้องกันควบคุมและดูแลรักษาวัณโรค ของประเทศ ส่งเสริม สนับสนุนและเผยแพร่งานวิจัย และนวัตกรรม เพื่อป้องกันควบคุมและดูแลรักษาวัณโรค ส่งเสริม สนับสนุนและเผยแพร่งานวิจัย และนวัตกรรม เพื่อป้องกันควบคุมและดูแลรักษาวัณโรค ส่งเสริม สนับสนุนและเผยแพร่งานวิจัย และนวัตกรรม เพื่อป้องกันควบคุมและดูแลรักษาวัณโรค พัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม เพื่อป้องกันควบคุมและดูแลรักษาวัณโรคควบคุมและดูแลรักษาวัณโรค พัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม เพื่อป้องกันควบคุมและดูแลรักษาวัณโรค พัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม เพื่อป้องกันควบคุมและดูแลรักษาวัณโรค พัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม เพื่อป้องกันควบคุมและดูแลรักษาวัณโรค สื่อสารและเสริมสร้างความรอบรู้ ความเข้าใจ และลดการตีตรา ศึกษา/ส ารวจ/วิเคราะห์ ความรู้ พฤติกรรม ความพึงพอใจ การตีตรา (Stigma) เพื่อพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพและพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ศึกษา/ส ารวจ/วิเคราะห์ ความรู้ พฤติกรรม ความพึงพอใจ การตีตรา (Stigma) เพื่อพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพและพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ถ่ายทอด/เผยแพร่ความรู้เพื่อเพื่อพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพและพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ถ่ายทอด/เผยแพร่ความรู้เพื่อพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพและพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ถ่ายทอด/เผยแพร่ความรู้เพื่อพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพและพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ถ่ายทอด/เผยแพร่ความรู้เพื่อพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพและพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ถ่ายทอด/เผยแพร่ความรู้เพื่อพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพและพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ถ่ายทอด/เผยแพร่ความรู้เพื่อพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพและพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ถ่ายทอด/เผยแพร่ความรู้เพื่อพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพและพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม ความรู้ วิชาการ ปรับปรุง ผลิต และเผยแพร่ ถ่ายทอด/เผยแพร่ความรู้และเทคโนโลยี ถ่ายทอด/เผยแพร่ความรู้ถ่ายทอด/เผยแพร่ความรู้ถ่ายทอด/เผยแพร่ความรู้ถ่ายทอด/เผยแพร่ความรู้ถ่ายทอด/เผยแพร่ความรู้ถ่ายทอด/เผยแพร่ความรู้

30817 มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. สสจ. สสอ. รพ. เรือนจ า อปท. PCC ชุมชน/ต าบล และผลิตสื่อต้นแบบ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการสื่อสาร ความเสี่ยงภัยสุขภาพจากวัณโรค สื่อต้นแบบที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ ตามสื่อต้นแบบ และเทคโนโลยีตามสื่อต้นแบบ และเทคโนโลยีตามสื่อต้นแบบ และเทคโนโลยีตามสื่อต้นแบบ และเทคโนโลยีตามสื่อต้นแบบ และเทคโนโลยีตามสื่อต้นแบบ และเทคโนโลยีตามสื่อต้นแบบ

3096.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 1 เร่งรัดค้นหา และขึ้นทะเบียนรักษา - ส านักวัณโรค - สคร.1-12 - สปคม 0.35 0.47 5.8 5.8 5.8 18.22 เงินงบประมาณ แนวทางการค้นหาเพื่อคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคในประชากรกลุ่มเสี่ยง ตามมาตรฐานแผนงานวัณโรค ระดับความส าเร็จของการพัฒนาแนวทางการค้นหาเพื่อคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคในประชากรกลุ่มเสี่ยง ตามมาตรฐานแผนงานวัณโรค มาตรการที่ 2 การตรวจวินิจฉัยที่รวดเร็วและได้มาตรฐาน - ส านักวัณโรค - สคร.1-12 - สปคม 0027 26.5 24.3 77.8 เงินงบประมาณ ค้นพบผู้ป่วยวัณโรคอย่างรวดเร็วและได้มาตรฐาน ร้อยละผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจวินิจฉัยด้วยวิธีการ Molecular มาตรการที่ 3 การรักษาที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และรักษาอย่างต่อเนื่อง - ส านักวัณโรค - สคร.1-12 - สปคม 2.47 2.92 20.8 20.4 17.9 64.49 เงินงบประมาณ ผู้ป่วยวัณโรคได้รักษาที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และรักษาอย่างต่อเนื่อง ร้อยละผลส าเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรค มาตรการที่ 4 การป้องกันการติดเชื้อและป่วยเป็นวัณโรค - ส านักวัณโรค - สคร.1-12 - สปคม 004.48 5.98 8.38 18.84 เงินงบประมาณ จ านวนผู้ได้รับการคัดกรองวัณโรคระยะแฝง 1.ร้อยละของผู้สัมผัสได้รับการคัดกรองวัณโรคระยะแฝง 2.ร้อยละของผู้ป่วยวัณโรคระยะแฝงได้รับยา มาตรการที่ 5 สนับสนุนการด าเนินงานป้องกันควบคุมวัณโรค - ส านักวัณโรค - สคร.1-12 - สปคม 6.97 4.19 51 50 50 162.16 เงินงบประมาณ การขับเคลื่อนโยบายยุติวัณโรคของประเทศไทย ผ่านกลไกระดับความส าเร็จของการขับเคลื่อนโยบายยุติวัณโรคของประเทศ

31019 มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน คณะอนุกรรมการเร่งรัดยุติวัณโรค ไทย ผ่านกลไกคณะอนุกรรมการเร่งรัดยุติวัณโรค รวมงบประมาณ 9.87.7109109106341.5

3117. แผนการติดตามประเมินผล ระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการที่ 1 เร่งรัดค้นหา และขึ้นทะเบียนรักษา 1. ผลการค้นหา และขึ้นทะเบียนรักษาคลอบคุลมจ านวนผู้ป่วยวัณโรคที่คาดประมาณ ประเมินผลในพื้นที่ 2. ผลส าเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ า 1. ผ่านระบบโปรแกรม NTIP 2. นิเทศ ติดตามมาตรการที่ 2 การตรวจวินิจฉัยที่รวดเร็วและได้มาตรฐาน มาตรการที่ 3 การรักษาที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และรักษาอย่างต่อเนื่อง มาตรการที่ 4 การเฝ้าระวัง ป้องกันการติดเชื้อวัณโรค มาตรการที่ 5 สนับสนุนการด าเนินงานป้องกันควบคุมวัณโรค 8. ผู้รับผิดชอบแผนงาน 1. แพทย์หญิงผลิน กมลวัทน์ เบอร์โทรศัพท์ 02 212 2279 ผู้อ านวยการกองวัณโรค E-mail: [email protected]

3121 1. สถานการณ์ ปัจจุบันปัญหาการพบเชื้อก่อโรคที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะเพมสูงขึ้น ในขณะที่ยาปฏิชีวนะ ซึ่งใช้ในการป้องกัน ิ่และรกษาการติดเชือแบคทีเรียและจุลชีพอนๆ กลับมีประสิทธิภาพลดลง เหตุผลหลักเนื่องจากมการใช้ยาปฏิชีวนะ ั้ื่ีเกินความจ าเป็น ท าให้เชื้อแบคทีเรียมีพฒนาการดื้อยาได้อย่างรวดเร็ว ประกอบกับบริษัทผู้ผลิตยาไม่มีแรงจูงใจในการผลิตยาัต้านจุลชีพชนิดใหม่ๆ ท าให้ทุกประเทศทั่วโลก (รวมทั้งประเทศไทย) ตกอยู่ในภาวะเข้าสู่ยุคหลังยาปฏิชีวนะ (post-antibiotic era) หากไม่รีบแก้ไขปัญหานี้คาดการณ์ว่า ในปี พ.ศ. 2593 ทั่วโลกจะมีคนเสียชีวิตจากปัญหาเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพประมาณ 10 ลานคน โดยประเทศในทวีปเอเชียจะได้รบผลกระทบมากทสด อาจเสียชีวิตมากที่สุดสูงถึง ้ัี ุ่4.7 ลานคน ด้วยเหตุผลต่างๆที่กลาวมา ในเดอนสงหาคม 2559 คณะรฐมนตรของประเทศไทยได้มีมติ คอ 1) ลดการปวยจาก้่ืิัีื่เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพลงร้อยละ 50 2) ลดปริมาณการใช้ยาตานจุลชีพสาหรับมนุษยลดลง ร้อยละ 20 3) ลดการใช้ยาต้าน ้์จุลชีพส าหรับสัตว์ร้อยละ 30 4) ประชาชนมีความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและใช้ยาต้านจุลชีพเหมาะสมเพมขึ้นร้อยละ 20 ิ่5) มีระบบจัดการการดื้อยาที่มีสมรรถนะตามเกณฑ์มาตรฐานสากล คณะกรรมการนโยบายจัดการเชื้อดื้อยาแห่งชาติจึงให้ความเห็นชอบในหลักการ จากการประชุมเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2560 ให้มีกระบวนการจัดท านโยบายการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในสถานพยาบาล ครอบคลุมทั้งโรงพยาบาล และสถานพยาบาลประเภทผู้ป่วยนอก ดังนี้1. ระดมความคิดเห็นและหารืออย่างมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน เพอพฒนานโยบายสาธารณะที่สามารถื่ัดาเนินการไดจริงในการจัดการเชือดอยาต้านจุลชีพในสถานพยาบาลอยางบรณาการ โดยกาหนดมาตรฐาน ขนตอน ้้ื ู้่ั ้และระยะเวลาด าเนินงานตามความพร้อมของแต่ละภาคส่วน2. ให้ส่วนราชการที่มีสถานพยาบาลในสังกัดโดยเฉพาะกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงกลาโหม กรุงเทพมหานคร ฯลฯ ให้ความส าคัญและถือเป็นนโยบายเร่งด่วน และด าเนินงานตามมาตรฐานการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในสถานพยาบาลอย่างบูรณาการ และมีการติดตามประเมินผลเป็นระยะๆ 3. ให้การจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในสถานพยาบาล เป็นส่วนหนึ่งของระบบประเมินรับรองคุณภาพ ของสถานพยาบาล 4. ให้พิจารณารูปแบบการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในสถานพยาบาลประเภทผู้ป่วยนอก โดยสมัครใจแผนงานการบริหารจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR)

3132. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง ข้อมูลจากระบบ IC Surveillance ปงบประมาณ 2562 เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพที่เป็นปัญหาส าคัญ ได้แก่ ีAcinetobacter baumanni (anitratus), Klebsiella pneumonia, Pseudomonas aeruginosa, Staphylococcus aureus ะ Escherichia coliแล ซึ่งภาพรวมของเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ เชื้อที่พบทั้งหมด 12,050 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100 เมื่อจ าแนกจ านวนครั้งของการพบเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพที่เป็นปัญหาส าคัญ พบมากที่สุด ได้แก่ เขต 6 เขต 4 และ เขต 1 คิดเป็นร้อยละ 15.1 , 13.3 และ 11.2 ตามล าดับ สามารถน าเสนอด้วยแผนที่ประเทศไทย ดังนี้ ตารางแสดงเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพที่รายงานใน IC Surveillance Program ปีงบประมาณ 2562 เขตสุขภาพ เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพที่พบ ปีงบประมาณ 2562 ครั้ง (ร้อยละ) ครั้ง (ร้อยละ)Acinetobacter baumanni (anitratus)Klebsiella pneumonia Pseudomonas Staphylococcaeruginosa us aureus Escherichia coli อื่นๆ 1 760 274 71 2 213 25 1345 (11.2) 2 430 218 43 0 162 13 866 (7.2) 3 104 57 19 0 38 8 226 (1.9) 4 726 415 93 2 339 32 1607 (13.3) 5 520 314 179 0 237 16 1266 (10.5) 6 820 511 143 2 324 21 1821 (15.1) 7 559 202 59 0 101 26 947 (7.9) 8 468 240 90 1 119 13 931 (7.7) 9 720 196 117 0 106 6 1145 (9.5) 10 118 65 21 0 32 0 236 (2.0) เขต 1 เชื้อดื้อยา ร้อยละ11.2 เขต 5 เชื้อดื้อยา ร้อยละ10.5 เขต 6 เชื้อดื้อยา ร้อยละ15.1 เขต 4 เชื้อดื้อยา ร้อยละ13.3 เขต 8 เชื้อดื้อยา ร้อยละ 9.5 แบ่งเขตบริการสุขภาพ ● 1 8 ●● 2 ● 9 ● 3 ●10 ● 4 ●11 ● 5 ●12 ● 6 ● 13 ●สคร.7

3143 3. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ปี (2561-2565)3.1 เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระดับประเทศ ในระยะ 10 ปี, 15 ปี และ 20 ปี (ถ้ามี) ให้ระบุเพิ่มด้วย 3.2 เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระดับประเทศ ในระยะ 5 ปี จากเปาหมายทคณะรฐมนตรของประเทศไทยได้มีมติทั้ง 5 ข้อ แผนงานป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อได้รับมอบหมาย ้ี่ัีในการด าเนนงานเพอสอดรบนโยบายดังกลาวใน 2 สวนคอ การลดการป่วยจากเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ และด าเนินการร่วมกับิื ่ั่่ืหนวยงานภายนอกในการลดการใช้ยาตานจลชีพในมนษย รวมถงการสงเสรมใหประชาชนมีความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและมีการใชุุ้่้์ึ่ิ้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมเพมขึ้น จึงได้มีการก าหนดเป้าหมายในการด าเนินงาน ดังนี้ ิ่เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 อัตราการป่วยจากเชื้อดื้อยาลดลง ค่าพื้นฐาน ร้อยละ 20 ร้อยละ 30 ร้อยละ 50 ร้อยละ 50 11 550 308 66 2 116 17 1059 (8.8) 12 180 188 19 0 59 2 448 (3.7) 13 58 33 9 1 51 1 153 (1.3) ภาพรวม6,013 3,021 929 10 1,897 180 12,050 (100)

3154.มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผู้ด าเนินการ มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง เขต/สคร./สสจ รพ. 1. การพัฒนาขีดความสามารถ ของบุคลากรด้านโรคติดเชื้อ - อบรมให้ความรู้กับบุคลากรสาธารณสุข - สนับสนุนการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ เพื่อรองรับนโยบาย National Integrated AMR Management Hospital ทั้งจ านวนและ competency - สนับสนุนให้มีการจัดท า National clinical practice guideline เพื่อใช้เป็นมาตรฐานอ้างอิงให้กับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ - สนับสนุนให้มีการพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อเพิ่มทักษะการปฏิบัติด้านการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล 2. การก ากับ ติดตาม ประเมินผลการจัดการ เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ ในสถานพยาบาล - ประสานงานและติดตามการบันทึกข้อมูล - พัฒนาระบบเฝ้าระวังการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ ในสถานพยาบาล (IC Surveillance Program) - รวบรวมข้อมูลและจัดท ารายงานอัตราการป่วยจาก เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพภาพรวมประเทศและรายเขต บริการสุขภาพ- ประสานงานและติดตามการบันทึกข้อมูล - รวบรวมข้อมูลของโรงพยาบาลในเครือข่าย และส่งข้อมูลย้อนกลับให้โรงพยาบาล ในเขตบริการสุขภาพ/ส านักงานป้องกันควบคุมโรค - เป็นเครือข่ายในการพัฒนาเครื่องมือในการประเมินผลลัพธ์และผลกระทบขั

3165 5.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 1 การพัฒนาขีดความสามารถ ของบุคลากรด้านโรคติดเชื้อบุได้รับการอบรมด้านการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคตดตอส าคญ ิ่ัครอบคลุมถึงการเป็นผู้นิเทศและให้ค าปรึกษาด้านโรคติดเชื้อ > 300 คโครงการอบรมหลักสูตรระยะสั้นขั้นพื้นฐานส าหรับแพทย์ พยาบาล และนักเทคนิคการแพทย์ ครั้งที่ 12-16√√√√√สถาบันบ าราศนราดูร -500,000500,000 500,000 500,000 เงินงบประมาณและเงินลงทะเบียน บุคลากรสาธารณสุข ร้อยละของบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมตามโครงการที่ก าหนดไว้ โครงการอบรมหลักสูตรพยาบาลควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล ปีที่ 4-8 √√√√√สถาบันบ าราศนราดูร -1,400,000 เงินลง ทะเบียน บุคลากรสาธารณสุข ร้อยละของบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมตามโครงการที่ก าหนดไว้

317มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน โครงการสัมมนาระดับชาติ เรื่องการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลครั้งที่ 15-19 √√√√√สถาบันบ าราศนราดูร -2,500,000 2,400,000 2,500,000 2,500,000 เงินงบประมาณ กรม คร .และเงินลงทะเบียน บุคลากรสาธารณสุข บุคลากกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมสัมมนาตามโครงการที่ก าหนดไว้ โครงการสื่อสารนโยบายแนวทางการด าเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อและเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาล √500,000เงินบ ารุง สผู้บริหารหรือผู้รับผิดชอบงาน IPC ร้อยละความส าเร็จของการสื่อสารนโยบาย แนวทาง การด าเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ และเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาล มาตรการที่ 2 การก ากับ ติดตามประเมินผล การจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ ในสถานพยาบาล1.กิประเมนผลการิด าเนินงานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อดื้อยาตานจลชีพใน ุ้โรงพยาบาลอย่างน้อย 12 แห่ง

3187 มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน 2.อัตราการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาลลดลงจากป ี2563 ร้อยละ 20 โครงการพัฒนาและปรับปรุงระบบการเฝ้าระวังการติดเชื้อ ในโรงพยาบาล√√√√√สถาบันบ าราศนราดูร -1,200,000 1,200,000 1,200,000 1,563,000 1,500,000งบประมาณกรม คร. รพ.ทั่วประเทศ ร้อยละของ รพศ. รพท. รพช. มีการกรอกข้อมูลอัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลผ่าน web base โครงการประเมินและพัฒนาแนวทางการปฏิบัติด้านการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล √√√√√สถาบันบ าราศนราดูร -500,000600,000 500,000 500,000 เงินงบประมาณ คู่มือแนวทาง แนวทางการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในสถานพยาบาล โครงการประชุม NICC √√√√√สถาบันบ าราศนราดูร -150,000200,000 200 200 เงินบ ารุง สบร. คณะอนุกรรมการโรคติดเชื้อ ภายใต้คณะอนุกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติด จ านวนครั้งในการประชุมคณะ อนกรรมการ ุโรคติดเชื้อ ในคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ

3196. แผนติดตามประเมินผล ระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงาน โครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการที่ 1 การพัฒนาขีดความสามารถ ของบุคลากรด้านโรคติดเชื้อ บุคลากรสาธารณสุข -ประเมินความรู้ -ประเมินความพึง พอใจตอการอบรม ่√√√√√มาตรการที่ 2 การก ากับ ติดตามประเมินผล การจัดการเชื้อดื้อยา ต้านจุลชีพในสถานพยาบาล รพ.ทั่วประเทศ - ก ากับติดตาม การลงข้อมูล - ประเมินความพึง พอใจต่อระบบ √√√√√7. ผู้รับผิดชอบแผนงาน 1. นายแพทย์อภิชาต วชิรพันธ์ เบอร์โทรศัพท์ 02 590 3480 ผู้อ านวยการสถาบันบ าราศนราดูร E-mail: [email protected] 2. นายแพทย์วีรวัฒน์ มโนสุทธิ เบอร์โทรศัพท์ 02 590 3421 รองผู้อ านวยการสถาบันฝ่ายป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ และเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาล E-mail: [email protected]

3201แผนการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเอดส์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2569 สรุปตามมติการประชุมผู้บริหารกองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์วันที่ 20 พฤษภาคม 2563ส่วนที่ 2 แผนงานด้านการป้องกัน ควบคุมเอชไอวี/เอดส์ (จุดเน้นเอดส์) เป้าหมายการลดโรคและตัวชี้วัดตามเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2563 - 2569เป้าหมายการลดโรคตัวชี้วัดแผนงานผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (Baseline) ค่าเป้าหมายการลดโรค รายปี 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 1.ลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ลงเหลือ <1,000 ราย ภายในปี 2573 1.1ร้อยละการติดเชื้อเอชไอวีในหญิงรับบริการฝากครรภ์ อายุ 15-24 ปี (ค่ามัธยฐาน) 0.27 0.48 00.36 ≤≤≤≤≤≤≤1.2 อัตราป่วยโรคหนองใน ในกลุ่มอายุ 15-24 ปี 5660.7 6652.05 45.11 38.17 31.23 24.29 20.82 1.3 อัตราป่วยโรคซิฟิลิสในกลุ่มอายุ 15-24 ปี 1226.7 437.44 31.20 27.04 22.88 18.72 14.56 12.48 2.ลดการเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีลงเหลือ < 4,000 ราย ภายในปี 2573 จำนวนผู้ติดเชื้อฯในระบบบริการที่เสียชีวิต (ข้อมูลจากNAP) N/A 1119,800 9,300 8,867 8,300 7,800 7,400 7,000 3.ลดการตีตราและเลือกปฏิบัติลงจากปี 2557 ร้อยละ 90 ภายในปี 2573 (จาก 58.6 เหลือ 5.86) ร้อยละของประชาชนในสังคม ชุมชน ที่มีทัศนคติเลือกปฏิบัติต่อประเด็นที่เกี่ยวเนื่องจากเอชไอวี/เอดส์ 5(<= 31(ของปี2557)

3212 of 3แผนการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเอดส์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2569 สรุปตามมติการประชุมผู้บริหารกองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์วันที่ 20 พฤษภาคม 2563 แนวทางการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมเอชไอว/เอดส์ระดับประเทศ ปี 2564 ี(จุดเน้น)มาตรการที่ 1 พัฒนา เร่งรัดและ บูรณาการงานป้องกัน ในกลุ่มประชากรเป้าหมาย และประชากรทั่วไปฯตัวชี้วัดมาตรการ ค่าเป้าหมาย ป 2564 ี1.ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันฯเชิงรุก ได้รับบริการคัดกรอง STIs ร้อยละ 70 2.ร้อยละการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดในกลมเยาวชน (นร.อาชีวะ)ุ่ร้อยละ 85 กิจกรรมหลัก 1.1 การสร้างเสริมความรอบรู้ HL (HIV literacy ) 1.2 การควบคุมป้องกันในประชากรเป้าหมาย และประชากรทั่วไปฯ 1.3 การกำจัดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก 1.4 ผลักดันให้มีการใช Rapid test Screening Syphilis ในการให้บริการเชิงรุก ้1.5 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ถุงยางอนามัย

3223 of 3แผนการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเอดส์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2569 สรุปตามมติการประชุมผู้บริหารกองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์วันที่ 20 พฤษภาคม 2563 มาตรการที่ 2 พัฒนาระบบบริการ การวินิจฉัยรักษา และติดตามให้ได้คุณภาพมาตรฐานตัวชี้วัดมาตรการ ค่าเป้าหมาย ป 2564 ีร้อยละของผู้รับการวินิจฉัยว่าติดเชื้อเอชไอวีได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ ร้อยละ 90 กิจกรรมหลัก 2.1 การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานระบบบริการของ HIV โดยผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง มาตรการที่ 3 เร่งรัดการลดการตีตราและเลือกปฏิบัติและจัดการสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการดำเนินงาน ตัวชี้วัดมาตรการ ค่าเป้าหมาย ป 2564 ีร้อยละของจังหวัดที่มีกลไกการส่งเสริมคุ้มครองสิทธิด้านเอดสระดับจังหวัด ์ร้อยละ 80 กิจกรรมหลัก 3.1 การส่งเสริมการใช้แนวปฏบัติแห่งชาติฯ ิ3.2 การลดการตีตราและเลือกปฏิบัติในสถานบริการสุขภาพและชุมชน 3.3 การพัฒนากลไกการดำเนินงานเพื่อคุ้มครองสิทธิด้านเอดส ์3.4 การสร้างกระแสสังคม เพื่อลดการตีตราและเลือกปฏิบัติ ฯ มาตรการที่ 4 พัฒนากลไกระบบสนับสนุนด้านการบริหารจัดการ ด้านข้อมูล และการวิจัยด้านเอดส์ตัวชี้วัดมาตรการ ค่าเป้าหมาย ป 2564 ีร้อยละของจังหวัดที่มีโครงการยุติปัญหาเอดส์โดยใช้งบประมาณในพื้นที่ ร้อยละ 50 กิจกรรมหลัก 4.1 การพัฒนากลไกการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการยุติปัญหาเอดสในทุกระดับ ์ (เขต/จังหวัด/อำเภอ ชุมชน) 4.2 การพัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ฯ และการนำไปใชประโยชน์เชิงยุทธศาสตร์ ้4.3 การพัฒนาระบบติดตาม ประเมินผลเพื่อตอบสนองนโยบายการยุติปัญหาเอดส์ 4.4 การพัฒนา นวัตกรรม และงานวิจัยเพื่อสนับสนุนการยุติปญหาเอดส์ ั4.5 การพัฒนาความร่วมมือด้านนโยบายและวิชาการ การป้องกันและการดูแลรักษาระหว่างประเทศ

323 ร่าง 9 แผนการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคไวรัสตับอักเสบ ชนิดบี และ ซี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2569 1ส่วนที่ 3 แผนงานด้านการป้องกัน ควบคุมโรคไวรัสตับอักเสบ บี และ ซีเป้าหมายการลดโรคและตัวชี้วัดตามเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2563 - 25693.1 โรคไวรัสตับอักเสบ บี เป้าหมายการลดโรคไวรัสตับอักเสบ บี ตัวชี้วัดแผนงานผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (Baseline) ค่าเป้าหมายการลดโรค รายปี 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 ลดการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี รายใหม่ ลง 90% ร้อยละของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี รายใหม่ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี0.104 (ปี2557) N00<0.1 <0.1 <0.1<0.1<0.1<0.13.2 โรคไวรัสตับอักเสบ ซี เป้าหมายการลดโรค โรคไวรัสตับอักเสบ ซี ตัวชี้วัดแผนงานผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (Baseline) ค่าเป้าหมายการลดโรค รายปี 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 ลดการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี รายใหม่ ลง 80% ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ในกลุ่มประชาชนทั่วไป(ร้อยละ)NN0.88ลดลงร1ปีที่ผ่านมา ลดลง ร้อยละ 10 จผลดลง ร1ปีที่ผ่านมาลดลง ร1ปีที่ผ่านมาลดลง ร1จผลดลง ร1ปีที่ผ่านมาลดลง ร10 จากปีที่ผ่านมา

324 2 of 3ร่าง 9 แผนการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคไวรัสตับอักเสบ ชนิดบี และ ซี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2569 2ร่าง แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี ระดับประเทศ (จุดเน้น) มาตรการ 1 ส่งเสริมการป้องกันและควบคุมโรคไวรัสตับอักเสบ บี และ ซีตัวชี้วัดมาตรการค่าเป้าหมาย ป 2564 ี1.ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มีปริมาณไวรัสตับอักเสบ B สูง และ/หรือ HBeAg เป็นบวก ที่ได้รับยาต้านไวรัส TDF ร้อยละ 95 2.ร้อยละของทารกแรกเกิดที่มารดาติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ร้อยละ 95 กิจกรรมหลัก 1. กำจัดการถ่ายทอดโรคไวรัสตับอักเสบ บี จากแม่สลูก ู่2. ส่งเสริมการเข้าถึงวัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบที่จำเป็น 3. ยกระดับการบริการทางสาธารณสุขให้ปลอดภัยจากไวรัสตับอักเสบ 4. ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี ในประชาชนทั่วไป 5. พัฒนาการสื่อสารความเสี่ยง เพื่อสร้างเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรค

325 3 of 3ร่าง 9 แผนการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคไวรัสตับอักเสบ ชนิดบี และ ซี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2569 3มาตรการ 2 เพิ่มการเข้าถึงการตรวจคัดกรองและรักษาโรคไวรัสตับอักเสบ บี และ ซีตัวชี้วัดมาตรการค่าเป้าหมาย ป 2564 ีประชากรกลุ่มเสี่ยง ได้รับการตรวจคัดกรองโรคไวรัสตับอักเสบ ซี *85,400 คน * ประชากรกลุ่มเสี่ยง = กลมประชาชนทั่วไป 20,000 คน กลุ่ม PWID 5,400 คน ผู้ต้องขัง 60,000 คน (ข้อมูลตามคำขอขาขึ้นปี 2564) ุ่กิจกรรมหลัก 1. สนับสนุนให้การตรวจคัดกรองโรคไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี บรรจุอยู่ในชุดสิทธิประโยชน์ 2. ส่งเสริมการค้นหาผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี ในประชากรกลุ่มเป้าหมาย 3. ตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาและรักษาผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี เรื้อรัง และให้วัคซีนป้องกัน HBV แก่ผู้ไม่มีภมิคุ้มกัน ู4. พัฒนาและขับเคลื่อนระบบบริการให้เชื่อมโยงระบบคัดกรอง การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไวรัสตับอักเสบเรื้อรังและป้องกันการตดเชื้อฯ ซ้ำ ิมาตรการ 3 พัฒนาระบบข้อมูลโรคไวรัสตับอักเสบ บีและซี เพื่อการเฝ้าระวังโรคและติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัดมาตรการค่าเป้าหมาย ป 2564 ีข้อมูลสารสนเทศ HBV และ HCV 1 ฐานข้อมูล กิจกรรมหลัก 1 พัฒนาระบบข้อมูลโรคไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี จากฐานข้อมูลเดิม 2. พัฒนาการใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูลโรคไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี

3261แผนการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สรุปตามมติการประชุมผู้บริหารกองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์วันที่ 21 พฤษภาคม 2563 1ส่วนที่ 1 แผนงานด้านการป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เป้าหมายการลดโรคและตัวชี้วัดตามเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2563- 2569 เป้าหมายการลดโรคระดับแผนงานตัวชี้วัดความสำเร็จแผนงานข้อมูลพื้นฐานผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (Baseline) เป้าหมายการลดโรครายปี 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 1.อัตราป่วยด้วยโรคหในปี 2573 ทุกกลุ่มอายุ เหลือ <=3 /ประชากรแสนรอัตราป่วยด้วยโรคหนองใน (ทุกกลุ่มอายุ) 111113.23 11.03 9.56 8.09 6.62 5.15 4.41 2.อัตราป่วยด้วยโรคซิฟิลิส ในปี 2573 -ทุกกลุ่มอายุ เหลือ <= 1/ประชากรแสนร-ทารกแรกเกิด < 50 /เด็กเกิดมีชีพแสนร2.1 อัตราป่วยด้วยโรคซิฟิลิส (ทุกกลุ่มอุ5.90 7.60 1111.88 9.90 8.58 7.26 5.94 4.62 3.96 2.2 อัตราป่วยด้วยโรคซิฟิลิส ในทารกแรกเกิด 15.01 23.76 42.04 8 74

3272 of 3 แผนการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สรุปตามมติการประชุมผู้บริหารกองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์วันที่ 21 พฤษภาคม 2563 2 แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดตอทางเพศสัมพันธ์ระดับประเทศ ปี 2564 ่(จุดเน้น)มาตรการที่ 1 พัฒนา เร่งรัดและ บูรณาการงานป้องกัน ในกลุ่มประชากรเป้าหมาย และประชากรทั่วไปฯตัวชี้วัดมาตรการ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ป 2564 ี1.ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันฯเชิงรุก ได้รับบริการคัดกรอง STIs ร้อยละ 70 2.ร้อยละการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดในกลมเยาวชน (นร.อาชีวะ)ุ่ร้อยละ 85 กิจกรรมหลัก 1. การกำจัดเชื้อฯ แม่สู่ลูก (congenital Syphilis )1.1 จังหวัด Eliminate congenital Syphilis 1) บรณาการ STIs กับHIV ทุกระดับ (กลไกและงาน) ู 2) ผลักดันชุดสิทธิประโยชน์การคัดกรองและรักษาซิฟิลิสในคู่ของหญิงตั้งครรภ ์3) พัฒนาทีม verify ข้อมูลและสอบสวนโรค ระดับโรงพยาบาล (รพ.ศ./รพ.ท.) และสร้าง Node ระดับเขต 4) พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการวินิจฉัยและรักษา Syphilis in pregnancy and Congenital Syphilis 2. การสร้างเสริมความรอบรู้ STIs literacy

3283 of 3 แผนการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สรุปตามมติการประชุมผู้บริหารกองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์วันที่ 21 พฤษภาคม 2563 3 3. การควบคุมป้องกัน ในประชากรเป้าหมาย และประชากรทั่วไปฯ 3.1 เร่งรัดคัดกรอง STIs ใน ประชากรกลุ่มเสี่ยง และผู้สัมผัส 1) คัดกรอง Syphilis โดยใช้ Rapid test 2) พัฒนาการคัดกรองหนองใน ในกลุ่มประชากรหลัก 3.2 รณรงค์การส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัย เพิ่มจุดกระจายถุงยาง และ Mapping Condom Point มาตรการที่ 2 พัฒนาระบบ บริการ การวินิจฉัยรักษา และติดตามให้ได้คุณภาพมาตรฐานตัวชี้วัดมาตรการ ค่าเป้าหมาย ป 2564 ีร้อยละของหน่วยบริการที่จัดบริการโรคติดต่อทางเพศสัมพันธได้ตามมาตรฐาน ์ร้อยละ 80 กิจกรรมหลัก 2.1 พัฒนาคุณภาพระบบบริการ STIs 2.2 เพิ่ม STIs clinic ในพื้นที่ High burden 2.3 สร้างและพัฒนาบุคลากร STIs-Co ในสถานบริการทุกระดับ 2.4 พัฒนาความเข้มแข็งของ Center Of Excellence (COE) มาตรการท 3 พัฒนากลไกระบบสนับสนุนด้านการบริหารจัดการ ด้านข้อมูล และการวิจัยด้าน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ี่,, ตัวชี้วัดมาตรการ ค่าเป้าหมาย ป 2564 ีร้อยละของจังหวัดที่มีการขับเคลื่อนกลไกการดำเนินงานโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ร้อยละ 80 กิจกรรมหลัก 3.1 การพัฒนากลไกการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการยุติปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในทุกระดับ (เขต/จังหวัด/อำเภอ ชุมชน) 3.2 ส่งเสริมการนำข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ไปใช้ประโยชน์ทุกระดับ 3.3 การพัฒนาระบบติดตาม ประเมินผลเพื่อตอบสนองนโยบายการยุติปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 3.4 การพัฒนา นวัตกรรม และงานวิจัยเพื่อสนับสนุนการยุติปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 3.5 การพัฒนาความร่วมมือด้านนโยบายและวิชาการ การป้องกันและการดูแลรักษาระหว่างประเทศ

3291 ๑. สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ/ ปัญหา/ พื้นที่เสี่ยง/ กลุ่มเสี่ยง ประเทศไทย ได้มีการปรับปรุงมาตรการทางกฎหมาย ในการจัดการกับปัญหาด้านโรคติดต่อและภัยสขภาพที่สำคัญ โดยการุตราพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เมอวันที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ มีผลใชบังคับตั้งแต่ ื่้วันที่ ๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เปนตนมา เพื่อใช้ทดแทนฉบับเดิมที่ใชบังคับมานานถึง ๓๕ ปี ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๓ เพื่อให้สอดคลองกับ็้้้สถานการณปัจจุบัน ปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำที่โลกต้องเผชิญอยู่ ในระยะ ๑๐ – ๒๐ ปีที่ผานมาและโรคติดต่ออื่นๆ ที่กลับมา์่เป็นปัญหา โดยมความสอดคล้องกับกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๘ (International Health Regulations 2005) ีการขบเคล่อนการดำเนินการตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยกรมควบคุมโรคในฐานะเลขานุการคณะกรรมการโรคตดตอัืิ่แห่งชาติได้ผลักดันการดำเนินงานในระดับชาติผานคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ระดับพื้นที่มคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด ่ีคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร และคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ รวมถึงมีหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ ทำหน้าทีเฝ้าระวังและสอบสวนโรค ป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาด การขบเคลื่อนการดำเนินงาน่ัตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สอดคลองกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ ที่รัฐบาลได้จัดทำขึ้น้เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาประเทศในระยะยาว ในด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ให้คนไทยมสขภาวะที่ดี ีุซึ่งสอดคล้องตามแผนแมบทย่อย การพัฒนาและสร้างระบบรับมือปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำที่เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ่การยกระดับสมรรถนะตามกฎอนามยระหว่างประเทศฯ โดยใช พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นเครื่องมือที่สำคัญ โดยการพัฒนาั้ระบบบริการและระบบบริหารจัดการสุขภาพ ให้ประชาชนได้รับความคุ้มครองด้านสุขภาพ ปลอดภัยจากโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง และโรคระบาด สถานการณโรคติดต่อติดต่ออุบัติใหมที่ยังเป็นปัญหา โดยองค์การอนามยโลก (WHO) ได้เผยแพร่สถานการณโรคติดต่อ์่ั์อันตรายตามประกาศกระทรวงสาธารณสข ณ วันที่ ๑๘ มถุนายน ๒๕๖๓ โรคติดเชอไวรัสอีโบลา (Ebola virus disease-EVD) ในุิื้สาธารณรฐประชาธิปไตยคองโก พบผป่วย ๓,๔๖๓ ราย เสียชวิต ๒,๒๘๐ ราย โรคไข้เหลือง (Yellow fever) ในประเทศกาบอง, ัู ้ีประเทศโตโก, ประเทศเอธิโอเปีย, ประเทศซูดานใต, ประเทศอูกานดา พบผป่วย ๙๗ ราย เสียชีวิต ๔ ราย โรคทางเดนหายใจู้ ้ิตะวันออกกลาง หรือโรคเมอร์ส (Middle East Respiratory Syndrome – MERS) ในประเทศซาอุดอาระเบีย พบผ้ปวย ๑๕ ราย ิู่เสียชวิต ๕ ราย โดยมการตดตามสถานการณอย่างใกล้ชิดและเสนอมาตรการดำเนินงานเฝาระวังป้องกันและควบคุมโรค ผ่านีีิ์้คณะกรรมการด้านวิชาการและคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ จากการระบาดของโรคติดเชอไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด 19 ื้ซึ่งเป็นโรคติดต่ออุบัติใหม่ ที่แพร่จากคนสู่คน ผ่านการได้รับฝอยละอองที่ออกมาจากปากและจมูกของผู้ติดเชื้อไปสู่คนที่ใกล้ชิด โรคนี้มีการระบาดไปอย่างรวดเร็ว และมความรุนแรงมาก ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. ๒๕๖๓ องค์การอนามยโลก (WHO) จึงไดประกาศใหเป็นโรคีั้้ระบาดทั่วโลก (Pandemic) ประเทศไทยไดประกาศเป็นโรคติดต่ออันตรายลำดับที่ ๑๔ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมอวันที ้ื ่่๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ รวมจำนวนทั้งสิน ๑๔ โรค สถานการณการระบาดของโรคโควิด 19 ทั่วโลก เมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๓ ม ์ีผตดเชอ ๘ ลานราย เสยชวิต ๔ แสนราย กว่า ๒๑๐ ประเทศ ๒ เขตบริหารพิเศษ ๑ นครรัฐ ประเทศที่พบผป่วยมากที่สด คือ ู ้ิื ้้ีีูุ้สหรัฐอเมริกา บราซิล รัสเซีย อินเดีย และ สหราชอาณาจักร ตามลำดับ ประเทศไทยพบผติดเชอสะสม ๓,๑๓๕ ราย (ตดเชอในู้ื้ิื ้ประเทศ ๒,๔๔๓ ราย, ตดเชอจากตางประเทศ ๖๙๒ ราย) มผเสยชวิต ๕๘ ราย การดำเนินการของประเทศไทย ภายใต พ.ร.บ. ิื ้่ีู ้ีี้โรคตดตอ พ.ศ. ๒๕๕๘ ไดมีการกำหนดนโยบาย วางระบบ แนวทางปฏิบัตตางๆ ในการแก้ไขสถานการณ์ระบาดของโรคโควิด 19 ิ่้ิ่ได้อาศัยกลไกของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่มอำนาจหน้าที่โดยตรงในการกำหนดีนโยบาย วางระบบ แนวทางปฏิบัติต่างๆ ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ โดยกรมควบคุมโรค ฐานะสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ มีบทบาทในการเสนอนโยบายฯ เข้าที่ประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ เพื่อขอมติเห็นชอบนโยบาย แนวทางปฏิบัติฯ ให้หน่วยงานต่างๆ รวมทั้ง คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด และคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร นำไปปฏิบัติในพื้นที่ จากการประชมคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ที่ผานมา จำนวน ๖ ครั้ง มการเสนอนโยบาย แนวทางปฏิบัติ ุ่ีหรือข้อกฎหมาย เข้าที่ประชม ๑๖ เรื่อง มติเห็นชอบ ๑๔ เรื่อง (ร้อยละ ๘๗.๕๐) จำแนกเป็นเรองนโยบาย ระบบ แนวทางปฏิบัต ุื ่ิจำนวน ๕ เรอง (ระบบการกักกัน (Quarantine) ผ้เดนทางระหว่างประเทศ/ ในประเทศ กรณีสงสัยตดเช้อไวรสโคโรนา 2019, ื ู่ิิืัการขับเคลื่อนการดำเนินการตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘

3302 แนวปฏิบัตการเฝ้าระวังโรคตดเช้อไวรสโคโรนา 2019 ในประชากรกล่มเส่ยง และสถานทเส่ยง, ฯลฯ) และอนุบัญญัติ ตาม พ.ร.บ. ิิืัุีี ่ีโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ จำนวน ๑๑ ฉบับ (ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อและอาการสำคัญของโรคติดต่ออันตราย (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๓, ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ทองที่นอกราชอาณาจักรที่เป็นเขตติดโรคติดต่ออันตราย กรณโรคติดเชื้อไวรัสโคโร้ีนา 2019, ประกาศกระทรวงสาธารณสข เรื่อง แต่งตั้งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ตาม พ.ร.บ. โรคตดตอ พ.ศ. ๒๕๕๘, ฯลฯ) ุิ่หลงจากที่มมติของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติแลว กรมควบคุมโรคในฐานะเลขานุการคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ัี้ได้ถ่ายทอดชี้แจงแนวทางการดำเนินงานผ่านคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร และหน่วยงานเครือข่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ ผลติดตามการดำเนินงานตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่ผานมา พบว่า การจัดทำร่างอนุบัญญัติตาม พ.ร.บ. ่โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ จำนวน ๑๔ ฉบับ อย่ระหว่างเสนอคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ, การจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมูโรคติดต่อ (Communicable Disease Control Unit-CDCU) ทุกอำเภอหรือเขต รอยละ ๙๔.๖๑ (๘๗๘/๙๒๘ อำเภอ), การแต่งตั้ง้คณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก (เฉพาะด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ) ร้อยละ ๕๑.๔๗ (๓๕/๖๘ ด่าน) เมื่อพิจารณาคำสงั่แต่งตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU), การแต่งตั้งคณะทำงานประจำชองทางเข้าออก ของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด ่และ คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร พบว่า องค์ประกอบ และบทบาทหน้าทในการดำเนินงานยังไม่ครอบคลุม ครบถวน ี ่้ตามเจตนารมณของกฎหมาย, สำหรับการจัดทำแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝาระวัง ์้หรือโรคระบาด ในเขตพื้นที่จังหวัด ส่วนใหญ่จะดำเนินการในรูปแบบแผนบูรณาการจังหวัด กล่าวโดยสรป เหตการณ์ของโรคติดเชอไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 ซึ่งเป็นโรคติดต่ออันตราย ก่อใหเกิดความุุื้้เจ็บป่วย ๘ ล้านรายทั่วโลก มีผเสียชวิต ๔ แสนราย ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสงคมอย่างรุนแรง การรับมือการระบาดของโรคโคู้ีัวิด 19 ถือเป็นบททดสอบสำคัญในการนำ พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ มาใช้อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อแก้ไขปัญหาและควบคุมไม่ให้เกิดการแพร่กระจายของโรคติดต่อเพิ่มสงขึ้น อยางไรก็ตาม การดำเนินการตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ยังคงมสวนที่ต้องู่ี่ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ไมว่าจะเป็นการออกอนุบัญญัติ, การสนับสนุนให้เกิดนโยบาย การวางระบบ หรือแนวทางปฏิบัติต่างๆ เพื่อ่การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ โดยผานมติคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ, การส่งเสริม สนับสนุน นโยบายฯ ให้เกิดการ่นำไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมภายใต้กลไกการบริหารจัดการของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดจังหวัด และคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร, การเสริมสร้างสมรรถนะช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศให้มีความพร้อมรับมือสถานการณฉุกเฉินด้านสาธารณสข ์ุรวมถึง การเพิ่มศักยภาพของหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) ให้สามารถดำเนินการเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออันตราย หรือโรคระบาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. พื้นที่เป้าหมาย/กลุ่มเป้าหมาย ๒.๑ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด ๒.๒ คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร ๒.๓ คณะทำงานช่องทางเข้าออก (PoE) ๒.๔ หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) ๓. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๑-๒๕๖๕) เป้าหมายลดโรค (ระดับประเทศ)ไม่มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคติดต่ออันตราย ใน Generation 2

3313 เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ เป้าหมาย ๑ มี นโยบาย หรือ ระบบ หรือ หรือแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ หรืออนุบัญญัติ ที่ออกตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ผ่านมติคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ตัวชี้วัดใหม่ปี ๖๔ ตัวชี้วัดที่ ๑.๑ ร้อยละของนโยบาย หรือ ระบบ หรือ แนวทางปฏิบัติ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ ที่ผ่านมติคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ - - - ร้อยละ ร้อยละ ๘๐ ๘๕ ร้อยละที่ ๑.๒ จำนวนอนุบัญญัติ ที่ผ่านมติคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ (๑๔ ฉบับ) ๗ ฉบับ ๗ ฉบับ เป้าหมาย ๒ จังหวัด/ กรุงเทพมหานคร ดำเนินการ ตามนโยบาย หรือ ระบบ หรือ แนวทางปฏิบัติ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ ตัวชี้วัดใหม่ปี ๖๔ ตัวชี้วัดที่ ๒.๑ ร้อยละของจังหวัด หรือ กรุงเทพมหานคร สามารถดำเนินการตามนโยบาย ระบบ และแนวทางปฏิบัติ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคโควิด 19 ที่คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติกำหนด ตัวชี้วัดใหม่ปี ๖๔ - - ร้อยละ ร้อยละ ๘๐ ๘๕ ตัวชี้วัดที่ ๒.๒ จังหวัดมีแผนปฏิบัติการและแผนเผชิญเหตุ เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 ที่ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด /คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร ตัวชี้วัดใหม่ปี ๖๔ - - ร้อยละ ๑๐๐ - เป้าหมาย ๓ ช่องทางเข้าออก ประเทศ มีแผนเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ตัวชี้วัดที่ ๓.๑ ร้อยละของช่องทางเข้าออกประเทศ มีแผนเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข (๖๘ ด่าน ตามประกาศ ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ) - - ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ๔๒.๖๕ ๘๐ ๘๕ เป้าหมาย ๔ หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ สามารถดำเนินการเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่ออันตราย หรือโรคระบาด ตัวชี้วัดที่ ๔.๑ ร้อยละของหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ สามารถดำเนินการเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่ออันตราย หรือโรคระบาด - - - ร้อยละ ร้อยละ ๘๐ ๘๕ ๔. มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่สำคัญ ในระยะ ๕ ปี และหน่วยงานผู้ดำเนินการ (ปรับตารางได้ตามจริง) มาตรการ/ Service Provider สวนกลาง ่สคร./ สปคม. สสจ./ กทม. รพ. PCC/ สสอ. เป้าหมาย ๑ มี นโยบาย หรือ ระบบ หรือ หรือแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ หรืออนุบัญญัติ ที่ออกตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ผ่านมติคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ มาตรการที่ ๑ สนับสนุน การพัฒนา นโยบาย มาตรการ นโยบาย ระบบ หรือแนวทางปฏิบัติในการ ป้องกัน และควบคุม- จัดทำข้อเสนอ ดำเนินงานเฝ้าระวัง - จัดทำข้อเสนอ นโยบาย มาตรการ ดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุม- จัดทำข้อเสนอ นโยบาย มาตรการ ดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และ- -

3324 มาตรการ/ Service Provider สวนกลาง ่สคร./ สปคม. สสจ./ กทม. รพ. PCC/ สสอ. เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อหรือ อนุบัญญัติ ที่ออกตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ โรคติดต่อ - บริหารจัดการประชุม - เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ/ คณะกรรมการด้านวิชาการตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ดำเนินงานในระดับโรคติดต่อ กรรมการโรคติดต่อจังหวัด/ กรุงเทพมหานคร เพื่อ โรคติดต่อจังหวัด/ ขับเคลื่อนการจังหวัด ควบคุมโรคติดต่อ - บริหารจัดการประชุมคณะกรรมการกรุงเทพ เป้าหมาย ๒ จังหวัด/ กรุงเทพมหานคร ดำเนินการ ตามนโยบาย หรือ ระบบ หรือ แนวทางปฏิบัติ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ มาตรการที่ ๒ สนับสนุนการดำเนินการ ของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด/กทม. - ถ่ายทอด นโยบาย หรือ ระบบ หรือ แนวทางปฏิบัติ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ ให้แก่ แนวทางปฏิบัติ ในคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด/ กทม. - สนับสนุนงบประมาณ โรคติดต่อจังหวัด ในการดำเนินการให้แก่ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด/ กทม. - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การดำเนินการ - เยี่ยมเสริมพลง ัคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด/ กทม. - ประสานและสนับสนุนการดำเนินการ นโยบาย หรือ ระบบ หรือ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ป้องกัน และและควบคุมโรคติดต่อ ควบคุมโรคติดต่อ ให้แก่ คณะกรรมการเขตรับผิดชอบ - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การดำเนินการ - เยี่ยมเสริมพลง ัคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด/ กทม. - ดำเนินการตาม นโยบาย หรือ ระบบ หรือ แนวทางปฏิบัติ ในการเฝ้าระวัง ในพื้นที่ - ติดตามการดำเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ - รายงานผลการดำเนินการนโยบาย แนวทางปฏิบัติ แนวทางปฏิบัติ หรือ ระบบ หรือ แนวทางปฏิบัติ ในการเฝาระวัง ้ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ ในพื้นที่ - ดำเนินการตาม นโยบาย หรือ ระบบ หรือ แนวทางปฏิบัติ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ - รายงานผลการดำเนินการนโยบาย หรือ ระบบ หรือ ในการเฝ้าระวัง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ - ดำเนินการตาม นโยบาย หรือ ระบบ หรือ แนวทางปฏิบัติ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ - รายงานผลการดำเนินการนโยบาย หรือ ระบบ หรือ ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ เป้าหมาย ๓ ช่องทางเข้าออกประเทศ มีแผนเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข มาตรการที่ ๓ ส่งเสริมการจัดทำแผนเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข - สร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่คณะทำงาน ปฏิบัติการจัดทำแผนช่องทางโดย - จัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน - จัดทำหลักสูตร E-learning - จัดประชุมเชิงเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขในพื้นที่ - ติดตามผลการ- ร่วมจัดทำแผนฯ - ดำเนินการตามแผนฯ - รายงานผลการดำเนินการฯ - ร่วมจัดทำแผนฯ - ดำเนินการตามแผนฯ - ร่วมจัดทำแผนฯ - ดำเนินการตามแผนฯ

3335 มาตรการ/ Service Provider สวนกลาง ่สคร./ สปคม. สสจ./ กทม. รพ. PCC/ สสอ. - สนับสนุนงบประมาณ ดำเนินการฯ ในการดำเนินการ - ติดตามผลการดำเนินการ เป้าหมาย ๔ หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ สามารถดำเนินการเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่ออันตราย หรือโรคระบาด มาตรการที่ ๔ สนับสนุนการดำเนินการของหน่วย หน่วยปฏิบัติการ ปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) - จัดทำคู่มือ แนวทาง การดำเนินการของควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) - สนับสนุน คู่มือ แนวทาง การดำเนินการของหน่วยปฏิบัติการ ควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) - สนับสนุนงบประมาณ (CDCU) ในการดำเนินการของหน่วยปฏิบัติการ ควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) - ติดตาม/ เยี่ยมเสริมพลัง หน่วยปฏิบัติการ ควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) - ร่วมจัดทำคู่มือ แนวทาง การดำเนินการของหน่วยปฏิบัติการ ควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) - สนับสนุน คู่มือ แนวทาง การดำเนินการของหน่วยปฏิบัติการ ควบคุมโรคติดต่อ - ติดตาม/ เยี่ยมเสริมพลัง หน่วยปฏิบัติการ ควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) - ร่วมจัดทำคู่มือฯ - ติดตามการดำเนินการของพื้นที่ - รายงานผลการดำเนินการฯ - ดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ - รายงานผลการดำเนินการฯ - ดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ - รายงานผลการดำเนินการฯ

3346๕. มาตรการ/ แผนงาน/ โครงการ/ กิจกรรมหลัก ระยะ ๕ ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ รวม แหล่งเโครงการขับเคลื่อนการดำเนินการตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๑ จัดทำข้อเสนอ นโยบาย มาตรการ ดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ ผ่านคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ๑.๒ บริหารจัดการประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ/ คณะกรรมการด้านวิชาการ ตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ /////สนง.เลขานุการคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาต ิ๑๑๑๑๑๗กคร. มีกลไกการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ที่มีความเชื่อมโยงในระดับชาติ และระดับพื้นที่ จำนวนนโยบาย/ มาตรการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ โรคติดต่ออันตราย และโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ๑.๓ สนับสนุน การดำเนินการของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด/ คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร /////สสจ./ หน่วยงานใน คกก.โรคติดต่อจ๙๙๙๙๙๔๕.๖ สป.สธ. ๑.๔ การจัดทำคู่มือ แนวทาง สื่อการเรียนรู้ เพื่อสนับสนุน การ/////สนง.เลขานุการคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ/ ๐๐๐๐๐๑กคร -เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ/ หน่วยปฏิบัติการควบคุม-จำนวน คู่มือ แนวทาง แนวทาง สื่อการเรียนรู้ เพื่อสนับสนุน การ

3357มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ รวม แหล่งเดำเนินการ ตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำนัก/ สถาบัน วิชาการ/ สคร. โรคติดต่อ/ คณะทำงานช่องทางเข้าออกประเทศ สามารถปฏิบัติงานได้ตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ดำเนินการ ตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๕ ถ่ายทอดแนวทาง และสรุปบทเรียนการดำเนินงานตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ///สนง.เลขานุการคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ/ สคร. ๐๐๐๒กคร - ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้ และเข้าใจแนวทางการดำเนินงานตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ - รายงานการสรุปบทเรียนการดำเนินงาน - ร้อยละของผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้และเข้าใจแนวทางการดำเนินงานตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ - จำนวนหน่วยงานที่มีการใช้ประโยชน์จากการสรุปบทเรียนการดำเนินงาน ๑.๖ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ให้กับกลุ่มเป้าหมาย ///สนง.เลขานุการคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ/ สคร. ๐๐๐๐กคร กลุ่มเป้าหมาย ได้รับความรู้เกี่ยวกับ พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ร้อยละของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับความรู้เกี่ยวกับ พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘

3368๖. แผนการติดตามประเมินผล ระยะ ๕ ปี (ระดับมาตรการ/แผนงาน/โครงการหลัก) มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปีพ.ศ. ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ การขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ -คณะกรรมการโรคติดต่อจ-คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร -คณะทำงานช่องทางเข้าออก (-หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) ผ่านระบบติดตามประเมินผลการดำเนินงานตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ (//ims.ddc.moph.go.th/main.php) /////๗. ผู้รับผิดชอบแผนงาน PM แผนงานโรค ได้แก่ หน่วยงานสังกัดกรมควบคุมโรคที่เกี่ยวข้อง ชื่อ-สกุล นายแพทย์โสภณ เอี่ยมศิริถาวร ผู้อำนวยการกองโรคติดต่อทั่วไป นางสุพินดา ตีระรัตน์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ กองโรคติดต่อทั่วไป นายจิรวรรธ ประมวลเจริญกิจ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กองโรคติดต่อทั่วไป เบอร์โทรศัพท์ ๐ ๒๕๙๐ ๓๑๗๐ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ [email protected]

กลุ่มแผนงานโรคไม่ติดต่อ (NCD)3

3391. สถานการณกลุมโรคไมตดตอ (NCDs) ถูกยกระดับเปนวาระทางการเมืองทสำคัญระดับโลก โดยสมชชาองคการิี ่ัสหประชาชาติไดจัดประชุมสมัชชาสหประชาชาติวาดวยการปองกันและควบคุมโรคไมติดตอระหวางผูนำระดับสูงของประเทศและรับรอง “ประกาศปฏิญญาการเมอง วาดวยการปองกันและควบคุมโรคไมติดตอ (Political Declaration)” ืนำมาซ่งการกำหนด 9 เปาหมายระดบโลกในการควบคุมปญหาโรคไมตดตอ (NCDs) ภายในป 2568 ซงประเทศไทย ึัิึ่ไดทำการรับรอง 9 เปาหมายดังกลาวใหเปนเปาหมายของประเทศ การลดความชุกของโรคเบาหวานและความดนโลหิตสูงเปนสองในเปาหมายหลักท่สำคัญและมี 5 เปาหมายในการัีดำเนินงานลดปจจัยเสี่ยงท่เก่ยวของกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ไดแกการบริโภคเกลือ/โซเดียม การบริโภคยาสูบ ีีเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล ภาวะน้ำหนักเกินและอวน การมีกิจกรรมทางกายที่ไมเพียงพอ ซึ่งมีรายละเอียดเปาหมายดงตารางัเปาหมาย ป 2553 ป 2557 เปาหมาย ป 2568 1. ความชุกของน้ำตาลในเลือดสูง/โรคเบาหวานในประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป : ไมเพิ่มขึ้น (รอยละ) 6.9* 8.9 6.9 2. ความชุกของภาวะความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป : ลดลงรอยละ 25 (รอยละ) 21.4* 24.7 16.05 3. ความชุกของภาวะน้ำหนักเกินและอวน ในประชากรอายุ 15 ปขนไป : ึ้ไมเพิ่มขึ้น (รอยละ) 34.7* 37.5 34.7 4. ความชุกของการมีกิจกรรมทางกายที่ไมเพียงพอในประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป : ลดลงรอยละ 10 (รอยละ) 18.5* 19.2 16.65 5. คาเฉลี่ยปริมาณการบริโภคเกลือ/โซเดียมในประชากร : ลดลงรอยละ30 (มิลลิกรัม/วัน) 3,264* No report 2,285 6. ความชุกของการบริโภคยาสูบในประชากรที่มีอายุมากกวา15 ปขึ้นไป : ลดลงรอยละ 30 (รอยละ) 21.4 (ป 2554) 19.1 (ป 2560) 14.98 7. ความชุกของการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลในระดับที่เปนอนตรายตอัสุขภาพ ลดลงรอยละ 10 : 7.1 ความชุกของประชาชนอายุ 15 ปขึ้นไปที่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลอยางหนัก (รอยละ) 14 12 (ป 2560) 10 7.2 ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอลตอหัวประชากรตอปของประชากรอายุตั้งแต 15 ปขึ้นไป (ลิตร) 7.13 (ป2554) 7.11 (ป 2559) 6.39 อางอง :ิ International Health Policy Program, Ministry of Public Health. NCDs situation report volume 2: Kickoff to the Goals; 2016. Updated by DDC, MoPH แผนงานโรคไมติดตอ(DM HT)

340จากรายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรางกาย ครั้งท 5 (พ.ศ. 2557) พบวา โรคความดนโลหิตสูงี่ัในคนไทยอายุ 15 ปขนไปมประมาณ 13 ลานคน เพศชายมากกวาเพศหญิง และผูปวยเพมขนตามอายุ ทงนี้พบมากทสุด ึ้ีิ่ึ้ั้ี่ในภาคเหนือ รองลงมาเปนภาคใต ภาคกลาง กรุงเทพฯ และภาคตะวันออกเฉยงเหนือ โรคเบาหวานในคนไทยอายุ 15 ปขนไป ีึ ้มประมาณ 4.8 ลานคน ทีพบมากทสุดในประเทศไทย คอ เบาหวานชนิดท 2 และสวนใหญมกพบในชวงวัยกลางคนจนถงี่ี ่ืี ่ัึผูสูงอายุ เพศหญิงมากกวาเพศชาย และพบมากที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และพบนอยที่สุดในภาคใต ซงโรคเบาหวานและความดนโลหิตสูงมปจจัยเสี่ยงหลักทำใหเกดโรค มาจากพันธุกรรม และพฤติกรรมสุขภาพึ่ัีิไดแก การรับประทานอาหารเสี่ยง คือ การรับประทานอาหารทมีเกลือโซเดียมสูง อาหารหวานเกิน มันเกน การมีกิจกรรมี่ิทางกายทไมเพยงพอ การบริโภคเครืองดมทมแอลกอฮอล การสูบบุหรี และนำไปสูการเปลี่ยนแปลงทางรางกายคือ ี ่ี่ื ่ี ่ี่น้ำหนักเกน อวน ไขมันในเลือดผิดปกติ และน้ำตาลในเลือดสูง ิอยางไรก็ตามขอมูลจาก Health Data Center (HDC) ซงเปนฐานขอมลของการเขาถงบริการในระบบสาธารณสุข ึ ่ูึพบวาในป 2561 มผูปวยโรคเบาหวานมารับบริการประมาณ 2.9 ลานคน โรคความดนโลหิตสูงประมาณ 6.62 ลานคน เทานันีั้และผูปวยรอการยืนยันวินิจฉยโรคความดันโลหิตสูงประมาณ 0.7 ลานคน รวมทงสิ้น 7.32 ลานคน จากสถตการปวยดงกลาวัั ้ิิัจะเห็นวายังมผูปวยโรคเบาหวานและความดนโลหิตสูงทไมถกบันทกในระบบของกระทรวงสาธารณสุขอกจำนวนมาก ซงอาจีัี ่ูึีึ ่เปนผูปวยทเขารับการรักษาในสถานพยาบาลนอกสังกดกระทรวงสาธารณสุขและเอกชน รวมถึงผูปวยทรูวาปวยแตไมไดเขารับี่ัี่การรักษา และผูทยังไมรูตววาเปนโรค นอกจากนียังพบวาผูปวยโรคเบาหวานและความดนโลหิตสูงรายใหม จำนวน 3 และ 7.6 ี ่ั้ัแสนคน ตามลำดบ ซงรอยละ 90 ของผูปวยมาจากประชาชนทวไปทมความเสียง เชน ภาวะน้ำหนักเกนและอวน ไขมนในเลือดัึ ่ั่ี ่ี่ิัผิดปกต ระดบน้ำตาลในเลือดสูง เปนตน จึงนำไปสูการกำหนดมาตรการเพอลดความเสียงและลดการปวยจากโรคเบาหวานิัื ่่และความดนโลหิตสูง โดยมมาตรการดงนี ัีั้1. มาตรการลดความเสี่ยงในประชาชน 2. มาตรการคัดกรองคนหาผูปวยรายใหม 3. มาตรการดูแลรักษาผูปวย ลดภาวะแทรกซอน 2. พื้นที่เสี่ยง/กลุมเสยง ี่2.1 เปาหมายการพฒนาระบบั2.1.1 การดำเนินงาน NCD clinic plus มกลุมเปาหมายหลัก คอ ทก รพศ. รพท. และ รพช. ผานเกณฑีืุประเมินในระดับดีขึ้นไป และเนนหนักในสถานบริการสาธารณสุขที่ยังไมผานเกณฑ 2.1.2 โรงพยาบาลเคมนอย อรอย (3) ด มกลุมเปาหมายหลัก คอ ทก รพศ. รพท. ตองดำเนินงานผานเกณฑ็ีีืุทกำหนดไว ี ่2.1.3 สงเสริมและสนับสนุนใหเกดการปองกันควบคมโรคไมตดตอ รวมกบเครือขาย เชน อปท. สถานิุิัประกอบการ โรงเรียน

3412.1.4 การพฒนาศกยภาพบุคลากรและเครือขายดานการปองกนควบคมโรค NCDs 4.0 ในรูปแบบออนไลน ัััุมกลุมเปาหมายหลัก คอ ทมสหสาขาวิชาชีพ ไดแก พยาบาล นักโภชนาการ นักกายภายบำบัด นักวิชาการสาธารณสุข แพทยีืีแผนไทย เภสัชกร 2.2 เปาหมายการปองกนควบคุมโรคไมติดตอั (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และปจจัยเสียง) ่โดยมุงเนนการลดสิ่งแวดลอมที่เสี่ยง เพิ่มสิ่งแวดลอมและสินคาที่เปนมิตร 2.2.1 กลุมเสี่ยง 2.2.2 กลุมสงสัยปวย 2.2.3 กลุมปวย 3. เปาหมายเปาหมาย/ตัวชีวัดเปาหมาย ้baseline คาเปาหมาย ป พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เปาหมาย 1 การพัฒนาระบบบรการ ิตัวชี้วัด 1 รอยละของโรงพยาบาลที่มีการดำเนินงาน NCD clinic plus ผานเกณฑในระดับดีขึ้นไป 64 60 70 75 80 เปาหมาย 2 การปองกันควบคุมโรคไมติดตอ ตัวชวัด 1 รอยละของการคัดกรอง DM/HT ในี้ประชาชนอายุ 35 ปขึ้นไป DM=86.47 HT=86.99 90 90 90 90 ตัวชี้วัด 2 รอยละของกลุมสงสัยปวยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบไดรับการวัดความดันโลหิตที่บาน 26.80 30 40 50 60 ตัวชวัด 3 รอยละของผูปวยเบาหวานรายใหมจากกลุมี้เสี่ยงเบาหวาน 1.89 2.05 1.95 1.85 1.75 ตัวชี้วัด 4 รอยละของผูปวยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไดดี 26.91 40 40 40 40 ตัวชี้วัด 5 รอยละของผูปวยความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไดดี 41.74 50 50 50 50 ตัวชีวัด 6 รอยละของผูปวยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง้ที่ขึ้นทะเบียนไดรับการประเมินโอกาสเสี่ยงตอโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) 86.23 85 87.5 90 95 ตัวชี้วัด 7 รอยละการดำเนินงานโรงพยาบาลเค็มนอย อรอย (3) ดี - 100 (83 แหง รพ.ระดับ A กับ S) 80 (94 จาก117 แหง รพ.ระดับ A ,S และM1) - -

342เปาหมาย/ตัวชีวัดเปาหมาย ้baseline คาเปาหมาย ป พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 ตัวชี้วัด 8 รอยละการตรวจติดตามกลุมสงสัยปวยโรคเบาหวาน - - 60 - - ตัวชี้วัด 9 รอยละการตรวจติดตามกลุมสงสัยปวยโรคความดันโลหิตสูง - - 60 - -

3435. กลไกการบริหารจัดการแผนเพื่อใหแผนบรรลุผลตามวัตถุประสงค/เปาหมายมาตรการ/Service Provider สวนกลาง สสสจ. รพ. Pชุมชน/ตำบล มาตรการที 1่ การนำขับเคลื่อนนโยบายและสรางพันธมิตรความรวมมือ (Policy and Advocacy) 1. ขับเคลือนแผนการ่ปองกันและควบคุมโรคไมติดตอ 5 ป (พ.ศ. 2560 – 2564) 2. ขับเคลือนนโยบายแผน่ยุทธศาสตรลดการบริโภคเกลือและโซเดียม ในป2568 3. ขับเคลื่อนการเพื่อสรางสินคาและบริการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 1. รวมขับเคลื่อนแผนการปองกันและควบคุมโรคไมติดตอ 5 ป (พ.ศ. 2560 – 2564) 2. รวมขับเคลื่อนนโยบายแผนยุทธศาสตรลดการบริโภคเกลือและโซเดียม ในประเทศไทย พ.ศ. 2559– 2568 3. ขับเคลื่อนการเพื่อสรางสินคาและบริการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 1. สนับสนุนการดเกี่ยวของกับการขับเคลื่อนนโยบายแผนยุทธศาสตรฯ 2. ดำเนินการเพื่อสรางสินคาและบริการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 1. สนับสนุนการด่เกี่ยวของกับการขับเคลื่อนนโยบายแผนยุทธศาสตรฯ 2. ดำเนินการเพื่อสรางสินคาและบริการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 1. สนับสนุนการดเกี่ยวของกับการขับเคลื่อนนโยบายแผนยุทธศาสตรฯ 2. ดำเนินการเพื่อสรางสินคาและบริการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 1. สนับสนุนการดเกี่ยวของกับการขับเคลื่อนนโยบายแผนยุทธศาสตรฯ 2. ดำเนินการเพื่อสรางสินคาและบริการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม มาตรการที 2 ่สลดความเสี่ยง (Promotion and R1. พัฒนาเครื่องมือ องคความรู ตามประเด็นโรคและปจจัยเสี่ยง โรคไมติดตอ และสนับสนุนใหกับเครือขาย2. รณรงค สื่อสารความเสี่ยงตามปปฏิทิน3. ขับเคลื่อนความรวมมือ1. รณรงค สื่อสารความเสี่ยงตามปปฏิทิน 2. สนับสนุนเครือขายในการจัดกิจกรรมรณรงค และการสื่อสารความเสี่ยง3. สนับสนุนวิชาการและติดตามการดำเนินงานชุมชนลดเสียง ลดโรคไม่1. รณรงค สื่อสารความเสี่ยงตามปปฏิทิน 2. สนับสนุนอำเภอ รพ. และเครือขาย ในการจัดกิจกรรมรณรงค และการสื่อสารความเสี่ยง3. สนับสนุนให สสอ. รพ./รพ.สต. และ อปท. มีการ1. รณรงค สื่อสารความเสี่ยงตามปปฏิทิน 2. สนับสนุน PCC และเครือขายในการจัดกิจกรรมรณรงค และการสื่อสารความเสี่ยง3. สนับสนุนขอมูลส1. รณรงค สื่อสารความเสี่ยงตามปปฏิทิน 2. จัดกิจกรรม/สนับสนุนชุมชน อบต. เทศบาลในการรณรงค และการสื่อสารความเสี่ยง3. สนับสนุนขอมูลส1. รวมจัดกิจกรรมสรางเสริมสุขภาพลดเสี่ยง การคัดกรอง รณรงค และสื่อสารใหความรู สรางความตระหนัก 2. จัดทำแผนงาน/โครงการขอสนับสนุนงบประมาณในการ

344มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สสสจ. รพ. Pชุมชน/ตำบล ระหวางหนวยงานภาคีเครือขายที่เกี่ยวของ 4. พัฒนาศักยภาพการดำเนินงานชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไมติดตอใหแกเจาหนาที่สาธารณสุข และเครือขายที่เกี่ยวของ 5. จัดกิจกรรมแลกเปลียน่เกเสียง ลดโรคไมติดตอ ่ติดตอ 4. พัฒนาศักยภาพการดำเนินงานชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไมติดตอใหแกเจาหนาที่สาธารณสุข และเครือขายในเขตรับผิดชอบ 5. แลกเปลี่ยนเรียนรู/ ถอดบทเรียน และปชุมชนลดเสียง ลดโรคไม่ติดตอในระดับเขต ดำเนินงานชุมชนลดเสี่ยง ล4. สนับสนุนวิชาการและติดตามการดำเนินงานชุมชนลดเสียง ลดโรคไม่ติดตอ 5. พัฒนาศักยภาพการดำเนินงานชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไมติดตอใหแกเจาหนาที่สาธารณสุข และเครือขายในพื้นที่ร6. รวมกับ สคร. ในการปชุมชนลดเสียง ลดโรคไม่ติดตอองคความรูการปองกันควบคุมโรคไมติดตอ 4. รวมกับ สสอ. อปท. รพ.สต. ชุมชน/หมูบาน และภาคีเครือขายในการดำเนินงานชุมชนลดเสี่ยง ล5. พัฒนาศักยภาพการดำเนินงานชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไมติดตอใหแกเจาหนาที่สาธารณสุข และเครือขายในพื้นที่รความรูการปองกันควบคุมโรคไมติดตอ 4. รวมกับ สสอ. อปท. ชุมชน/หมูบาน และภาคีเครือขายในการดำเนินงานชุมชนลดเสียง ลดโรคไม่ติดตอ 5. พัฒนาศักยภาพการดำเนินงานชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไมติดตอใหแก แกนนเครือขายที่เกี่ยวของ ดำเนินงานชุมชนลดเสี่ยง ล3. ขับเคลื่อนมาตรการชุมชน/ธรรมนูญสุขภาพ/ขอตกลงของชุมชน 4. รวมกับ อปท. โรงเรียน สถานประกอบการ ศาสนสถาน และภาคีเครือขายในการดำเนินงานชุมชนลดเสียง ลดโรคไม่ติดตอ 5. สรางแกนนำสุขภาพชุมชนและสนับสนุนใหไดรับการพัฒนาศักยภาพกลดเสียง ลดโรคไมติดตอ ่6. ถอดบทเรียน/ถายทอดความรู สรางเครือขาย และพัฒนานวัตกรรม มาตรการที 3 ่เสริมสมรรถนะของระบบบริการสุขภาพ(Health System) 1. พัฒนาเครื่องมือ/รูปแบบ/นวัตกรรม การบูรณาการการคัด1. สนับสนุนเครื่องมือ/รูปแบบ/นวัตกรรม การบูรณาการการคัดกรอง 1. สนับสนุนเครื่องมือ/งบประมาณ/รูปแบบ/นวัตกรรมการบูรณาการ1. สราง/สนับสนุน นวัตกรรมเพื่อแกไขปญหาและพัฒนางาน1. สนับสนุนเครื่องมือ/รูปแบบ/นวัตกรรม การบูรณาการการคัดกรอง 1. ใหความรูแกนนำส

345มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สสสจ. รพ. Pชุมชน/ตำบล กรอง และลดความเสี่ยงดานโรคไมติดตอ ในหนวยงานตาง ๆ 2. พัฒนาศักยภาพเจาหนาที่ในการปองกันควบคุมโรคไมติดตอ 3. สนับสนุนงบประมาณใหกับเครือขายและลดความเสี่ยงดานโรคไมติดตอ ใหกับเครือขาย 2. พัฒนาศักยภาพเจาหนาที่ในการปองกันควบคุมโรคไมติดตอ 3. สนับสนุนงบประมาณใหกับเครือขายการคัดกรอง และลดความเสียงดานโรคไมติดตอ ่ใหกับเครือขาย 2. พัฒนาศักยภาพเจาหนาที่ในการปองกันควบคุมโรคไมติดตอ ดานโรคไมติดตอ 2. พัฒนาศักยภาพทีมสหวิชาชีพในการปองกันควบคุมโรคไมติดตอ และลดความเสี่ยงดานโรคไมติดตอ ใหกับเครือขาย 2. พัฒนาทีมหมอครอบครัว พัฒนาศักยภาพเจาหนาที่ในการปองกันควบคุมโรคไมติดตอ มาตรการที 4 ่การเฝาระวังและติดตามประเมินผล (Surveillance and M&E) 1. เฝาระวัง กำกับ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานปองกันควบคุมโรคไมติดตอในระดับประเทศ แ2. พัฒนาเครื่องมือ/แนวทาง/รูปแบบ/กลไกกประเมินผลการปองกันควบคุมโรคไมติดตอ (พัฒนา template รขอมูลตามองคประกอบ 5 ม1. เฝาระวัง กำกับ ติดตามประเมินผล การดำเนินงานปองกันควบคุมโรคไมติดตอในระดับ จังหวัด2. พัฒนากลไก รูปแบบ นวัตกรรม ดานการเฝาระวัง ติดตามและประเมินผลการปองกันควบคุมโรคไมติดตอระดับเขต 3. สนับสนุนวิชาการเครื่องมือ/แนวทาง/รูปแบบ/กลไกการเฝาระวัง ติดตามและประเมินผลการ1. เฝาระวัง กำกับ ติดตามการดำเนินงานปองกันควบคุมโรคไมติดตอในระดับจังหวัดและอำเภอ2. พัฒนากลไก รูปแบบ นวัตกรรม ดานการเฝาระวัง ติดตามและประเมินผลการปองกันควบคุมโรคไมติดตอระดับจังหวัด 3. สนับสนุนวิชาการเครื่องมือ/แนวทาง/รูปแบบ/กลไกการเฝาระวัง ติดตามและประเมินผลการ1. เฝาระวัง กำกับ ติดตามการดำเนินงานปองกันควบคุมโรคไมติดตอในเครือขาย2. พัฒนากลไก รูปแบบ นวัตกรรม ดานการเฝาระวัง ติดตามและประเมินผลการปองกันควบคุมโรคไมติดตอระดับพื้นที่ โดยนำเสนอผานเ3. สนับสนุนวิชาการเครื่องมือ/แนวทาง/รูปแบบ/กลไกการเฝา1. เฝาระวัง และปปองกันควบคุมโรคไมติดตอ2. พัฒนากลไก รูปแบบ นวัตกรรม ดานการเฝาระวัง ติดตามและประเมินผลการปองกันควบคุมโรคไมติดตอระดับจังหวัด 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากรการเฝาระวัง ติดตามและประเมินผลการปองกันควบคุมโรคไม1. เฝาระวัง และประเมินผลการดำเนินงานปองกันควบคุมโรคไมติดตอ

346มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สสสจ. รพ. Pชุมชน/ตำบล สจัดทำรายงานสถานการณโรคไมติดตอระดับประเทศ) 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากรการเฝาระวัง ติดตามและประเมินผลการปองกันควบคุมโรคไมติดตอ 4. สนับสนุนงบประมาณใหกับเครือขาย ปองกันควบคุมโรคไมติดตอ 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากรการเฝาระวัง ติดตามและประเมินผลการปองกันควบคุมโรคไมติดตอ 5. สนับสนุนงบประมาณใหกับเครือขายปองกันควบคุมโรคไมติดตอ 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากรการเฝาระวัง ติดตามและประเมินผลการปองกันควบคุมโรคไมติดตอ 5. สนับสนุนงบประมาณใหกับเครือขาย ระวัง ติดตามและประเมินผลการปองกันควบคุมโรคไมติดตอ 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากรการเฝาระวัง ติดตามและประเมินผลการปองกันควบคุมโรคไมติดตอ 5. สนับสนุนงบประมาณใหกับเครือขาย ติดตอ

3476. มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ป มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน มาตรการที 1 การนำขับเคลือนนโยบายและสรางพันธมิตรความรวมมือ (Policy and Advocacy) ่่โครงการพัฒนานโยบาย และปรับสิ่งแวดลอมที่เปนมิตรตอสุขภาพ เพือการลดการบริโภคเกลือและโซเดียมในโรงพยาบาล (โรงพยาบาลเค็มนอย อรอย (3) ดี) ่กิจกรรมที่ 1ประชุมราชการเพื่อวางแนวทางการดำเนินงานเพื่อการ ลในโรงพยาบาล (โรงพยาบาลเค็มนอย อรอย (3) ดี) √กองโรคไมติดตอ 0.01 --0.01 กเพื่อใหโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขปรับปรุงสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการลโซเดียม ทำใหประชาชนสามารถเขาบริการและสินคาที่เปนมิตรตอสุขภาพ ลดความเสี่ยงตอการเกิดโรคความดันโลหิตสูง ป 2563 - รอยละ 80 ของ A S M1 มีการดำเนินงานโรงพยาบาลเค็มนอย อรอย (3) ดี กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผูปฏิบัติงานเพื่อลดโรคไมติดตอและปจจัยเสียง (โรงพยาบาล่เค็มนอย อรอย (3) ดี) √ 1. กองโรคไมติดตอ 2. ผูเชี่ยวชาญ --1.0 --1.0 กกิจกรรมที่ 3 จัดซื้อชุดตรวจสอบความเค็มในตัวอยางอาหาร (Salt Meter) √--กองโรคไมติดตอ --0.2 --0.2 ก

348มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน กิจกรรมที่ 4 จัดจางผลิตแนวทางการดำเนินงานเพื่อการลดกในโรงพยาบาล (โรงพยาบาล เค็มนอย อรอย (3) ดี) √กองโรคไมติดตอ 0.2 --0.2 กกิจกรรมที่ 5 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานการดำเนินงานเพื่อการลดการบริโภคเกลือและโซเดียมในโรงพยาบาล (โรงพยาบาลเค็มนอย อรอย (3) ดี) √กองโรคไมติดตอ --0.07 --0.07 กกิจกรรมที 6่ งบประมาณการดำเนินงานเพือ่พัฒนาศักยภาพผูปฏิบัติงานเพื่อการลดการบริโภคเกลือและโซเดียมในโรงพยาบาล (โรงพยาบาลเค็มนอย อรอย (3) ดี) √--1. กองโรคไมติดตอ -ปองกันควบคุมโรค --3.6 --3.6 ก

349มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน มาตรการที 2 สงเสริมสุขภาพและลดความเสียง (Promotion and Risk Reduction)่่โครงการสือสารประชาสัมพันธเพื่อปองกันควบคุมโรคไมติดตอเรือรัง ่้กิจกรรมที 1่ พัฒนาเนื้อหาสื่อเพื่อการปองกันควบคุมโรคไมติดตอเรื้อรัง 1. แตงตั้งที่ปรึกษาและ คณะทำงาน 2. ประชุมปรึกษาหารือเพื่อพัฒนาสื่อเพื่อการปองกันควบคุมโรคไมติดตอเรื้อรัง √-√√√1. กองโรคไมติดตอ 2. ผูเชี่ยวชาญ 0.01 -0.01 0.01 0.01 0.03 กเพื่อใหความรู สรางความตระหนักในการปองกันควบคุมโรค ไมติดตอในประชาชน คมีผลการประเมินการรับรู และการปฏิบัติตนเพื่อปองกันควบคุมโรคไมติดตอในประชาชนคนไทยเพิ่มขึ้น (ตัวชี้วัดรวมสำนักสื่อสารและพัฒนาพฤติกรรมสกิจกรรมที 2 ่พัฒนาและผลิตสื่อเพื่อการปองกันควบคุมโรคไมติดตอเรื้อรัง เชน แผนพับ โปสเตอร Info graphic วิดิทัศน √√√√√กองโรคไมติดตอ 1.45 -1.10 003กกิจกรรมที 3่ สนับสนุนสื่อใหกับกลุมเปาหมาย √√√√√กองโรคไมติดตอ ---กิจกรรมที 4่ งบประมาณในการดำเนินงานจัดกิจกรรมรณรงควันความดัน√-√--กองโรคไมติดตอ --3.90 --3.90 ก

350มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน โลหิตสูงโลกแตละเขตสุขภาพ (ป 2563 เทานัน) ้กิจกรรมที 5่ จางเหมาจัดกิจกรรมรณรงควันสำคัญตามปปฏิทิน เชน วันความดันโลหิตสูงโลก วันเบาหวานโลก วันหัวใจโ√-√กองโรคไมติดตอ --2.00 --2กกิจกรรมที 6่ เพื่อสรุปผลการดำเนินงาน √-√√√1. กองโรคไมติดตอ 2. ผูเชี่ยวชาญ --0.01 0.01 0.01 0.03 กโครงการชุมชนลดเค็ม ลดโรคไตเรือรัง ้กิจกรรมที 1่การวิจัยตนแบบชุมชนลดเค็ม ลดโรคไตเรื้อรัง √-1. กองโรคไมติดตอ 2. เครือขายลดบริโภคเค็ม 3. สมาคมวิฃาชีพ 4. ตัวแทนจากชุมชนลดเค็มตนแบบ 0.80 ---0.80 ป 2562 เงินนอกงบประมาณ (CCS) เพื่อใหเกิดชุมชนที่มีการดกโซเดียม เพือลดโรคไม่ติดตอ ดวยกลไกการมีสวนรวมของชุมชน ป 2563 ขยายผลในพื้นที่นำนำรอง CBI 33 แหง ป 2564 1. ตำบลที่มีการดำเนินงานชุมชมลดเค็ม ลดโรค อยางนอย 1 ตำบลตอจังหวัด

351มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาเพื่อกำหนดรูปแบบการดำเนินงานชุมชนลดเค็ม ลดโรคไตเรื้อรัง ที่ขยายผลจากงานวิจัยตนแบบ -√--1. กองโรคไมติดตอ 2. เครือขายลดบริโภคเค็ม 3. สมาคมวิฃาชีพ 4. ตัวแทนจากชุมชนลดเค็มตนแบบ -0.02 --0.02 ก2. รอยละของประชาชนในตำบลที่มีความรอบรูสเกลือและโซเดียม เพิ่มขึ้น ป 2565 1. รอยละ 50 ของตำบลในจังหวัด มีการดำเนินงานชุมชมลดเค็ม ล2. รอยละของประชาชนในตำบลที่มีความรอบรูสุขภาพ เรื่องการลดเกลือและโซเดียม เพิ่มขึ้น กิจกรรมที 2่ การขับเคลื่อนขยายผลการดำเนินงานรูปแบบชุมชนลดเค็ม ลดโรคไตเรื้อรัง - การประชุมเชิงปฏิบัติการ รวมกับกลุมเปาหมายและผูเกี่ยวของ -√--1. กองโรคไมติดตอ 2. ผูรับผิดชอบ สสจ.ทุกแหง 3. ผูแทนจาก อปท. 1.05 --1.05 กกิจกรรมที 3่พัฒนาสื่อและเครื่องมือเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานชุมชนลดเค็ม ลดโรคไตเรื้อรัง √√-ก0.55 0.55 -1.10 ก

352มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน กิจกรรมที 4่ งบประมาณในการดำเนินงานชุมชนลดเค็ม ลดโรคไตเรื้อรัง 1. งบประมาณเพื่อขยายผลการดำเนินงานใหครอบคลุมทุกจังหวัด 2. งบประมาณเพื่อพัฒนาศักยภาพ และติดตามป√√√3.80 1.30 1.30 6.40 กกิจกรรมที 5่ แลกเปลียนเรียนรู่และคนหาแบบอยางที่ดี (Best Practice) ในการดำเนินงาน √-√0.30 -0.30 0.60 กโครงการชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไมติดตอเรื้อรัง (CBI NCDs) กิจกรรมที 1่ รดไมติดตอเรื้อรัง (CBI NCDs) √√√√√1. กองโรคไมติดตอ 2. คณะที่ปรึกษาโ0.03 0.03 0.03 0.05 0.05 0.19 กขับเคลื่อนการดำเนินงานปองกันควบคุมโรคไมติดตอเรื้อรัง โดยใชชุมชนเปนฐาน (CBI NCDs): ชุมชนลดเสียง ลดโรคไมติดตอ ่รอยละของจังหวัดที่มี การดำเนินงาน CBI NCDs อยางนอย 1 ตป 2563 – 35 ป 2564 – 45 กิจกรรมที 2่ จัดจางผลิตสื่อสิงพิมพ/สือการเรียนแบบ่่√√√√√- กองโรคไมติดตอ 0.15 0.15 0.15 0.15 0.15 0.75 ก

353มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน ออนไลนการดำเนินงานชุมชน ลดเสียง ลดโรคไมติดตอเรื้อรัง ่(CBI NCDs) และขยายพื้นที่ดำเนินการ CBI-NCDs ใหครอบคลุมทุกจังหวัด ป 2565 – 55 กิจกรรมที 3 ่การประชุม เชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสำหรับ สคร. สสจ. อปท. และเครือขายที่เกี่ยวของเปาหมาย √√√√√1. กองโรคไมติดตอ 2. สคร.1-12 1.50 1.20 1.20 1.20 1.20 6.30 กกิจกรรมที 4่ เชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไมติดตอเรื้อรังในพืนที้่เปาหมาย √-√√√1. กองโรคไมติดตอ 2. สคร.1-12 3. สสจ. 4. อปท. 5. รพ.สต. 6. แกนนำชุมชน 0.28 -0.31 0.35 0.35 1กกิจกรรมที่ 5 ลงพื้นที่ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไมติดตอเรื้อรัง (CBI NCDs) √√√√√1. กองโรคไมติดตอ 2. สคร.1-12 3. คณะที่ปรึกษา -0.25 0.25 0.25 0.25 1.00 ก

354มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน กิจกรรมที่ 6 สนับสนุนเครื่องมือ/อุปกรณการดำเนินงานชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไมติดตอเรื้อรัง (CBI NCDs) (เครื่องตรวจวัดความเค็มและความหวานในตัวอยางอาหาร เครืองทดสอบสมรรถภาพปอด) ่√√√√√1. กองโรคไมติดตอ 2. สคร.1-12 -0.25 0.25 0.50 กโครงการเพิมการเขาถึงการวัดความดันโลหิตในทีสาธารณะ่่กิจกรรมที่ 1จัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิตที่สามารถสงขอมูล สูระบบภายนอกได√√กองโรคไมติดตอ -0.50 -0.50 ก(งบลงทุน) เพื่อใหประชาชนรโลหิตของตนเองเพิมขึน ่้รวมถึงกลุมประชาชนที่มีภาวะความดันโลหิตสูงไดรับการติดตาม วินิจฉัยและรับการรักษา 1.มีจุดบริการวัดความดสป 2562 = 10 จุด ป 2563 = 60 จุด 2.ประชาชนผูที่มีระดับความดันโลหิตสูงรดันโลหิตของตนเองเพิมขึน (ขอมูลNHES) ่้กิจกรรมที่ 2 ประชุมราชการหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อติดตั้งจุดบริการวัดความดันโลหิตในสถานที่สาธารณะ√√กองโรคไมติดตอ - -กิจกรรมที่ 3 ติดตามและส√√√√กองโรคไมติดตอ --

355มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ การดำเนินงานเพือลดโรค CVD CKD สำหรับเจาหนาทีในระดับ รพ.สต. ดำเนินการในป 2562่่กิจกรรมที่ 1 แตงตั้งที่ปรึกษาและคณะทำงานในการพัฒนาเนื้อหาการเรียนรูการอบรมพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานเพื่อปองกันโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD) โรคไตเรื้อรัง (CKD) สำหรับบุคลากรในระดับโต-√-กเพือพัฒนาศักยภาพ่เจาหนาที่ในระดับโสปองกันควบคุมโรคหัวใจและหลอดเลือด และโรคไตเรื้อรัง ความพึงพอใจตอเนื้อหาการอบรมพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานเพื่อปองกันโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) โรคไตเรื้อรัง (CKD) สำหรับบุคลากรในระดับโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล(รพ.สต.) และบุคลากรที่เกี่ยวของ (รอยละ 70) กิจกรรมที่ 2 ประชุมราชการเพื่อพัฒนาเนื้อหาการอบรมพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานเพื่อปองกันโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD) โรคไตเรื้อรัง (CKD) สำหรับบุคลากรในระดับโ-√--0.01 -0.01 ก

356มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน ตกิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานเพื่อปองกันโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD) โรคไตเรื้อรัง (CKD) สำหรับบุคลากรในระดับโรงพยาบาลส-√1.4 -1.4 กกิจกรรมที่ 4 สรุปผลการด-√---กกิจกรรมใหมที่ 5 จางเหมาจัดทำวเพื่อปองกันโรคไมติดตอสำหรับบุคลากรในระดับโรงพยาบาลส- √- ---0.02 - --0.02 กมาตรการที 3 เสริมสมรรถนะของระบบบริการสุขภาพ (Strengthen Health System)่โครงการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงาน NCD Clinic Plus กิจกรรมที่ 1 พัฒนาระบบการร√√√1. กองโรคไมติดตอ --0.10 0.20 0.20 0.50 กเพื่อพัฒนาการดำเนินงาน NCD Clinic รอยละของโรงพยาบาลที่มีการดำเนินงาน NCD

357มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน NCD Clinic Plus แบบออนไลน 2. สมาคมโรค/มหาวิทยาลัย/สคุณภาพสPlus ในโรงพยาบาลใหผานเกณฑในระดับดีขึ้นไClinic Plusผานเกณฑในระดับดีขึ้นไป ป 2563– 70 ป 2564 – 75 ป 2565 – 80 กิจกรรมที่ 2 เพื่อพัฒนาการดำเนินงาน NCD Clinic Plus ผานสื่ออิเล็กทรอนิกส √√√√√1. กองโรคไมติดตอ 2. สำนักงานปองกันควบคุมโรค 3. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด -0.20 0.20 0.40 กกิจกรรมที 4่ จัดทำแนวทางการดำเนินงาน NCD Clinic Plusออนไลน √√√√1. กองโรคไมติดตอ 2. สำนักงานปองกันควบคุมโรค 3. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด -0.50 0.30 0.80 กกิจกรรมที 5 ่ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานปองกันควบคุม√√กองโรคไมติดตอ -0.07 0.10 0.20 0.20 0.57 ก

358มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน โรคไมติดตอและเยียมเสริมพลัง่กิจกรรมที 6 ่แตงตั้งคณะกรรมการ และคณะทำงานเพื่อคัดเลือก NCD Clinic Plus A√√√√√1. กองโรคไมติดตอ 2. สมาคมโรค/มหาวิทยาลัย 3. HDC ---กิจกรรมที 7 ่ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการดำเนินงานและคัดเลือก NCD Cระดับประเทศผานระบบ C√√√√1. กองโรคไมติดตอ 2. สำนักงานปองกันควบคุมโรค 3. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 4. สถานบริการ ส-1.64 1.80 0.30 0.30 4.04 กโครงการอบรมและพัฒนาศักยภาพผูรับผิดชอบงานโรคไมติดตอ กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาศักยภาพในการจัดบริการตามรูปแบบการบริการปองกันควบคุมโรคเบาหวาน ความดัน√√-1. กองโรคไมติดตอ 2. ราชวิทยาลัยที่เกียวของ ่32-5กถายทอดรูปแบบและพัฒนาศักยภาพใหทีมสหวทDHS ไดรับการพัฒนาศักยภาพการบริการปองกันควบคุม

359มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน โลหิตสูง สูการพัฒนาคุณภาพช1. ประชุมราชการ/ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสนับสนุนการด2. จัดหาและสนับสนุนสื่อใหความรู 3. อบรมพัฒนาศักยภาพ 4. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูฯ 3. สมาคมวิชาชีพ 4การศึกษา 5. ผูรับผิดชอบงานสารสนเทศ โโลหิตสูง กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาศักยภาพสำหรับบุคลากรและเครือขาย ดานการปองกัน ควบคุมโรค NCDs 4.0 1. Basic Course2. Intermediate Course3. Advance Course√√√1. กองโรคไมติดตอ 2. ราชวิทยาลัยที่เกียวของ ่3. สมาคมวิชาชีพ 4. สถาบัน การศึกษา 5. ผูรับผิดชอบงานสารสนเทศ --10.77 1.00 3.27 กเพื่อการพัฒนาศักยภาพกควบคุมโรคไมติดตอระดับตางๆ ป 2563 มีหลักสูตรระดับ Basic Cสมรรถนะการจัดการโดันโลหิตสูง แบบออนไลน ป 2564-25651. มีหลักสูตร ฯ ระดับ Basic , Intermediate

360มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน และ Advance Course2. พัฒนาทีมผูใหบริการผูปวย NCD ใหมีความรู ทักษะ เจตคติที่ดีปม3. ทีมผูใหบริการสามารถพัฒนาภาคีเครือขายสุขภาพ/กลุมเปาหมาย โครงการพัฒนาระบบการปองกันควบคุมโรคความดันโลหิตสูงในประเทศไทยกิจกรรมที 1 ่ปคณะกรรมการที่ปรึกษาเชิงยุทธศาสตร เรื่อง การดูแลโรคความดันโลหิตสูง (Strategic Technical Advisory Group on H-√√-0.02 0.02 --0.04 เงินนอกงบ ประมาณ (CCS) เพื่อพัฒนาระบบการปองกันควบคุมโรคความดสาธารณะและในโรงพยาบาล 1. รอยละของประชาชนผูที่มีระดับความดันโลหิตสูงรับทราบสถานะความดันโลหิตของตนเองเพิมขึ้น (ขอมูล่N2. มีรูปแบบการติดตามภาวะความดันโลหิตสูง

361มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน กิจกรรมที 2 ่1. ประชุมราชการเพื่อปรึกษาแดันโลหิตในสถานที่สาธารณะ 2. ประชุมราชการพัฒนารูปแบบบริการการปองกันควบคุมโรคความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาล 3. จางเหมาผลิตสื่อประชาสัมพันธการปองกันโรคความดันโลหิตสูงในที่สาธารณะ 4. จางเหมาผลิตสติ๊กเกอรและจัดซื้อวัสดุอุปกรณอื่น ๆ สำหรับก-√--0.05 -0.05 เงินนอกงบ ประมาณ (CCS) ของผูที่ปวยที่มารับบริการในโรงพยาบาล ภายในป 2563 กิจกรรมที 3่ ปรึกษาหารือพิจารณาตัวชี้วัดเพือติดตามประเมินผลการ่ดำเนินงานปองกันควบคุมโรคไมติดตอ-√--0.05 -0.05 เงินนอกงบ ประมาณ (CCS)

362มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน กิจกรรมที 4่ ปรึกษาหารือพิธีลงนามบันทึกขดำเนินงานวัดความดันโลหิตในที่ส-√0.02 -0.02 เงินนอกงบ ประมาณ (CCS) กิจกรรมที่ 5 จางเหมาผลิตสื่อประชาสัมพันธการปองกันโรคความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาล √--0.04 --0.04 เงินนอกงบ ประมาณ (CCS) โครงการพัฒนาคุณภาพบริการและสนับสนุนการดำเนินงานดานโรคไมติดตอ กิจกรรมที่ 1 แตงตั้งคณะที่ปรึกษาและคณะทำงานเพื่อพัฒนาคุณภาพบริการและสนับสนุนการดำเนินงานดานโรคไมติดตอ√ --กองโรคไมติดตอ --กเพื่อกำหนดทิศทาง และแนวทางการพัฒนาคุณภาพบริการและสนับสนุนการดำเนินงานดานโรคไมติดตอ ตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการและการดำเนินงานดานโรคไมติดตอ กิจกรรมที่ 2 ปปรึกษาหารือเพื่อพัฒนาคุณภาพบริการและสนับสนุนการดำเนินงานดานโรคไมติดตอ √กองโรคไมติดตอ --0.1 0.05 -0.15 ก

363มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน กิจกรรมที่ 3 คณะกรรมการที่ปรึกษาเชิงยุทธศาสตร เรื่องการดูแลโรคความดันโลหิตสูง (Strategic Technical Advisory Group on H-√--0.07 -0.07 กโครงการพัฒนาคุณภาพการบริการในผูปวยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงกิจกรรมที่ 1. แตงตั้งคณะที่ปคุณภาพการติดตามผูปวยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุมที่ควบคุมไมได -√-กองโรคไมติดตอ ----กเพื่อพัฒนาแนวทางการใหความรู การปฏิบัติตนของผูปวยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสความพึงพอใจของผูใชงาน e-book สื่อวิดีทัศน (VDO Clip) แนวทางการติดตามผูปวยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (รอยละ 80) กิจกรรมที่ 2. ประชุมราชการเพื่อพัฒนากรอบเนื้อหาแนวทางการผลิตสื่อ E-book และ สื่อวิดีทัศน(VDO Clip) สำหรับ-√-กองโรคไมติดตอ -0.15 -0.15 ก

364มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน ผูปวยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม และผูปวยที่ควบคุมไมได กิจกรรมที่ 3 จางเหมา จางเหมาออกแบบและผลิต E-book แนวทางสำหรับดูแลผูปวยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง -√-กองโรคไมติดตอ -0.05 -0.05 กกิจกรรมที 4 ่จางเหมาผลิตสื่อวิดีทัศน(VDO Clip) ความรูที่จำเปนสำหรับผูปวยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม -√-กองโรคไมติดตอ -1.0 -1.0 กกิจกรรมที่ 5. จางเหมาผลิตสื่อวิดิทัศน(VDO Clip) แนวทผูปวยเบาหวานที่ควบคุมไมไดและผูปวยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไมได -√-กองโรคไมติดตอ -0.5 -0.5 ก

365มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน กิจกรรมที่ 6 เผยแพร ประชาสัมพันธเครื่องมือ เชน การประชาสัมพันธบนเวบไซตกองโรคไมติดตอ -√-กองโรคไมติดตอ ----กกิจกรรมที่ 7 สรุปผลการด-√-กองโรคไมติดตอ ----กมาตรการที 4่การเฝาระวังและติดตามประเมินผล (Surveillance and M&E)โครงการประเมินผลครึงแผนงานการลดการบริโภคเกลือและโซเดียมในประเทศไทย พ.ศ. 2559 – 2568 ่กิจกรรมที่ 1 การกำหนดกรอบและวัตถุประสงคที่ตองการในการติดตามประเมินผลครึ่งแและโซเดียมในประเทศไทย พ.ศ. 2559 - 2568 √--1. กองโรคไมติดตอ 2. ผูเชี่ยวชาญ จาก สมาคมวิชาชีพและสถาบันการศึกษา --0.01 --0.01 กมีผลการประเมินผลครึ่งแผนงานการลดการบริโภคเกลือและโซเดียมในประเทศไทย พ.ศ. 2559 – 2568 กิจกรรมที่ 2 กประเมินผลครึงแผนงานการลด่การบริโภคเกลือและโซเดียมในประเทศไทย พ.ศ. 2559 – 2568 รวมกับผูเชี่ยวชาญ √--1. กองโรคไมติดตอ 2. ผูเชี่ยวชาญ จาก สมาคมวิชาชีพและสถาบันการศึกษา --0.50 --0.50 ก

366มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน กิจกรรมที่ 3 กติดตามประเมินผลครึงแผนงาน่การลดการบริโภคเกลือและโซเดียมในประเทศไทย พ.ศ. 2559 – 2568 √--0.01 0.01 กโครงการพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศโรคไมติดตอ ปงบประมาณ 2564 - 2565กิจกรรมที 1 ่พัฒนาระบบการจัดการขอมูลโรคหัวใจและหลอดเลือด และตัวชี้วัด (เพิมเติม) 9 Global target่-√√กองโรคไมติดตอ -0.80 0.80 1.60 ก1. ระบบขอมูลสแรายงานสถานการณโรคไมติดตอ 2วิเคราะหขอมูลสต3. รายงานสถานการณโรคไมติดตอประจำป 4. บุคลากรที่ผาน1ขอมูลสารสนเทศโรคไมติดตอและสวนแสดงผลรเพิ่มปละ 1 โรค 2. รายงานผลการวิเคราะหขอมูลสตระดับเขต 12 เขต 3. บุคลากรผานการอบรม การพัฒนากิจกรรมที่ 2 ติดตามและประเมินผลระบบขอมูลส- - - √√กองโรคไมติดตอ - - - 0.09 0.09 0.18 กกิจกรรมที่ 3 วสถานการณโรคไมติดตอประจำป-√√กองโรคไมติดตอ -0.43 0.43 0.43 กกิจกรรมที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ-√√- กองโรคไมติดตอ ---0.83 0.90 0.83 ก

367มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน บุคลากรสารสนเทศ เสริมสรางทักษะองคความรู และการจัดการขอมูลโรคไมติดตอหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสศักยภาพบุคลากรสารสนเทศฯ อยางนอยครบ 12 เขต โครงการติดตามประเมินผลแผนยุทธศาสตรการปองกันและควบคุมโรคไมติดตอ 5 ป ระดับชาติ (พ.ศ.2560 – 2564)กิจกรรมที 1 ่สงบประมาณการดำเนินงานกำกับตอดตามและประเมินผลแผนฯ ใหแกคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผนฯ ยุทธศาสตรที่ 1- 6 - - - √- กองโรคไมติดตอ/คณะทำงานติดตามประเมินผลแผน/คขับเคลื่อนแผนฯยุทธศาสตรที่ 6 ---2-2กเพื่อขับเคลื่อนการติดตามและประเมินผลแตละยุทธศาสตรภายใตแผนฯ ขขับเคลื่อนยุทธศาสตร กิจกรรมที 2 ่พัฒนากลไกการขับเคลื่อนและติดตามและประเมินผลแผนฯ- √√√√กองโรคไมติดตอคณะทำงานติดตามประเมินผลแอขับเคลื่อนแผนฯยุทธศาสตรที่ 6 - - 0- - 0CCS-NCD เพื่อพัฒนากลไกการขับเคลื่อนและติดตามประเมินผล รูปแบบการขับเคลือน่และติดตามประเมินผล

368มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน กิจกรรมที 3 ่ปคณะทำงานติดตามประเมินผลแผนฯ -√√√√กองโรคไมติดตอ/คณะทำงานติดตามประเมินผลแผน/คขับเคลื่อนแผนฯยุทธศาสตรที่ 6 -0-000CCS-NCD /เพือกำหนดกรอบแล่แผนการติดตามประเมินผล แผนการติดตามและประเมินผล โครงการการติดตามและประเมินผลแผนงานโรคไมติดตอ กิจกรรมที่ 1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูการติดตามและประเมินผลการปองกันควบคุมโรคไมติดตอในระดับพื้นที่ -√√√กองโรคไมติดตอ 0.1 -0.5 0.6 กเพื่อพัฒนาความรวมมือเครือขายแลสมรรถนะใหบุคลากรในการติดตามและประเมินผลการปองกันควบคุมโรคไมติดตอ -แนวปฏิบัติที่ดีในการติดตามและประเมินผล กิจกรรมที 2่ พัฒนาศักยภาพบุคลากรดานการติดตาม และประเมินผลแผนงานโรคไมติดตอ √√-กองโรคไมติดตอ 10.5 ---1กเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรดานการติดตาม และประเมินผลแผนงานงความรูและความพึงพอใจของผูเขารับการพัฒนาศักยภาพ

369มกิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาป ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน กิจกรรมที 3่ พัฒนาแนวทางกปองกันและควบคุมโรคไมติดตอ สำหรับผูจัดการแผนงานและโครงการโรคไมติดตอ √√-กองโรคไมติดตอ --0.1 0.1 -0.2 กเพื่อเปนแนวทางการติดตามและประเมินผลการปองกันโรคไมติดตอ ความพึงพอใจของผูใช กิจกรรมที่ 4 ประเมินสมรรถนะการปองกันควบคุมโรคไมติดตอระดับจังหวัด-√√กองโรคไมติดตอ -000กเพื่อทราบสถานการณการบริหารจัดการและกจังหวัด รกิจกรรมที่ 5 สนับสนุนงบประมาณใหกับสคร.√√√กองโรคไมติดตอ -00--1.38 กเพื่อขับเคลื่อนการติดตามและประเมินผล รดกิจกรรมที่ 6 จัดทำและเผยแพรผลการดำเนินงานปองกันควบคุมโรคไมติดตอและการบาดเจ็บ√√√√√กองโรคไมติดตอ 000001.0 กเพื่อเผยแพรผลการดำเนินงานปองกันควบคุมโรคไมติดตอและการบาดเจ็บ ความพึงพอใจของผูใช 

3707. แผนการติดตามประเมินผลระยะ 5 ป มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เปาหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล 2561 2562 2563 2564 2565 โครงการพัฒนาคุณภาพ เพื่อพัฒนาการการดำเนินงาน NCD Clinic Plus ดำเนินงาน NCD Clinic Plus ในโรงพยาบาลใหผานเกณฑในระดับดีขึ้นไป ติดตามผลการประเมินคุณภาพ NCD Clinic Plus ผาน สคร. √√√√โครงการพัฒนาระบบการปองกันควบคุมโรคความดันโลหิตสูงในประเทศไทย เพื่อพัฒนาระบบการปองกันควบคุมโรคความดันโลหิตสูงในสถานที่สาธารณะและ ระดับความดันโลหิตสูง ในโรงพยาบาล 1. ติดตามผลการรับทราบระดับความดันโลหิตของประชาชนผูที่มีจากขอมูล NHES 2. ติดตามการพฒนาัรูปแบบบริการการปองกันควบคุมโรคความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาล √√√√โครงการเพมการเขาถึงิ่การวัดความดันโลหิตใน รับทราบสถานะความที่สาธารณะ เพื่อใหประชาชนดันโลหิตของตนเองเพิ่มขึ้น รวมถึงกลุมประชาชนที่มีภาวะ ความดันโลหิตสูงไดรับ โลหิตของประชาชนผูที่มีการติดตาม วินิจฉัย และรับการรักษา 1. การจัดตั้งจุดบริการวัดความดันโลหิตในสถานที่สาธารณะ 2. ติดตามผลการรับทราบระดับความดันระดับความดันโลหิตสูง จากขอมูลNHES √√√√โครงการสื่อสารประชาสัมพันธเพื่อปองกันควบคุมโรคไมติดตอเรื้อรัง เพื่อใหความรู สรางความตระหนักในการปองกันควบคุมโรคไมติดตอ ติดตามผลการประเมินการรับรู และการปฏิบัติตนเพื่อปองกันควบคุมโรคไมติดตอ √√√√√โครงการพัฒนานโยบาย เพื่อใหโรงพยาบาลในและปรับสิ่งแวดลอมที่เปนมิตรตอสุขภาพ เพื่อ สาธารณสุขปรับปรุงการลดการบริโภคเกลือและโซเดียมในสังกัดกระทรวงสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการลดการบริโภค1. ติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนนโยบายผานคณะกรรมการอำนวยการฯ 2. การจัดเวที- √√

371มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เปาหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล 2561 2562 2563 2564 2565 โรงพยาบาล (โรงพยาบาลเค็มนอย อรอย (3) ดี) เกลือและโซเดียม ทำใหประชาชนสามารถเขาบริการและสินคาที่เปนมิตรตอสุขภาพ ลดความเสี่ยงตอการเกิดโรคความดันโลหิตสูง แลกเปลียนเรียนรู ่โครงการชมชนลดเค็ม ุลดโรคไตเรื้อรัง ทุกจังหวัด มีอยางนอย 1. ติดตามประเมินผล1 ตำบลดำเนินงานตามรูปแบบชมชนลดุเค็ม ลดโรคไตเรื้อรัง ท 2. การจัดเวที่พัฒนาจากงานวิจัยตนแบบ การดำเนินงาน โดยผูรับผิดชอบจาก สคร. ีแลกเปลียนเรียนรู ่√โครงการอบรมและพัฒนาศักยภาพผูรับผิดชอบงานโรคไมติดตอ เพอการพฒนาื ่ัศักยภาพการดำเนินงานปองกันควบคุมโรคไมติดตอระดับตางๆ √√√√√โครงการพฒนารูปแบบัแนวทางการปองกันโรคไตระยะเริมตน (CKD ่ระยะ 1-2) ในผูปวยเบาหวานและความดันโลหิตสูงระดับปฐมภูมิ(Simple CKD Clinic) ระยะเริ่มตน รูปแบบแนวทางการดำเนินงานที่เหมาะสม การดำเนินงาน โดยและสอดคลองกับบริบทของสถานบริการระดับปฐมภูมิในการปองกันโรคไต1. ติดตามประเมินผลผูรับผิดชอบจาก สคร. 2. การจัดเวทีแลกเปลียนเรียนรู ่- - - √√โครงการปองกันควบคุม แนวทางการปองกันโรคไมติดตอเรื้อรัง โดยใชชุมชนเปนฐาน: ชมชน เรื้องรัง โดยใชชุมชนุลดเสียง ลดโรคไมติดตอ เปนฐาน (CBI NCDs) โดยใชชุมชนเปนฐาน ่เรื้อรัง (CBI NCDs) ควบคุมโรคไมติดตอขององคกรปกครองสวนทองถิ่น รายงานสรุปผล การปองกันควบคุม โรคไมติดตอเรื้องรัง (CBI NCDs) √√√√√โครงการประเมินผลครึ่ง รายงานผลการติดตาม แนวทางการติดตามแผนงานการลดการประเมินผลครึ่งประเมินผลโดย- - √- -

372มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เปาหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล 2561 2562 2563 2564 2565 บริโภคเกลือและโซเดียม แผนงานการลดการในประเทศไทย พ.ศ. 2559 – 2568 บริโภคเกลือและโซเดียมในประเทศไทย พ.ศ. 2559 - 2568 ผูเชี่ยวชาญ โครงการพัฒนาคุณภาพ เพื่อกำหนดทิศทาง บริการและสนับสนุนการดำเนินงานดานโรคไมติดตอ และแนวทางการพัฒนาคุณภาพบริการ ดำเนินงานดาน และสนับสนุนการดำเนินงานดานโรคไมติดตอ ตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการและการโรคไมติดตอ - - √√- โครงการพัฒนาคุณภาพ เพื่อพัฒนาแนวการบริการในผูปวยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ทางการใหความรู การ พึงพอใจของผูใชงาน ปฏิบัติตนของผูปวยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รายงานประเมินความe-book สื่อวิดีทัศน (VDO Clip) แนวทางการติดตามผูปวยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง - - - √- 8. ผูรับผิดชอบแผนงาน 1. แพทยหญิงศศิธร ตั้งสวัสดิ์ เบอรโทรศพท 0 2590 3893 ัผูอำนวยการกองโรคไมติดตอ E-mail : [email protected] 2. แพทยหญงจุรีพร คงประเสริฐ ิเบอรโทรศพท 0 2590 3893 ัรองผูอำนวยการกองโรคไมติดตอ E-mail : [email protected]

3731 1. สถานการณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลเปนปจจัยเสี่ยงสำคัญตอสุขภาพของประชากร ทำใหเกิดโรคและการเจ็บปวยกวา 230 ชนิด ตาม ICD-10 (หรือบัญชีการจำแนกโรคและปญหาสุขภาพฯ เพื่อขอมูลทางสถิติระหวางประเทศฉบบัทบทวนครั้งที่ 10) เชน โรคความผิดปกติของการใชแอลกอฮอล (alcohol use disorder) โรคตบแข็ง โรคตับออนอักเสบ ัโรคไมติดตอ (NCDs) โรคมะเร็งหลากหลายชนิด โดยเฉพาะมะเร็งชองปาก มะเร็งตับออน โรควัณโรค การฆาตัวตาย ความรุนแรงจากการทำรายรางกาย โรคลมชัก เปนตน ขอมูลภาระโรคและการบาดเจ็บจากผลกระทบจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลในระดับโลกป พ.ศ. 2559 พบวา เครื่องดื่มแอลกอฮอลเปนปจจยเสี่ยงทางสุขภาพในลำดับที่ 7 ของัการตายและพิการของประชากรทั้งหมด และเปนปจจัยเสี่ยงอันดับหนึ่งของประชากรกลุมอายุ 15-49 ป โดยมีคนเสียชีวติดวยโรคและการบาดเจ็บที่เกี่ยวของกับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลประมาณ 3 ลานคนตอป ป (คิดเปน 5.3% ของการเสียชีวิตทั้งหมดทั่วโลก) สำหรับประเทศไทย รายงานภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทยในป 2557 พบวา การเสพติดเครื่องดื่มแอลกอฮอลเปนสาเหตุสำคัญของการสูญเสียปสุขภาวะของประชากรไทยนับรวมเปน 434,248 ป หรือประมาณรอยละ 3 ของภาระโรคทั้งหมด โดยเฉพาะในกลุมประชากรไทยที่มีอายุ 15-29 ป ซึ่งเกิดการสูญเสีย สุขภาวะสูงถึงรอยละ 12 ในเพศชายและรอยละ 14 ในเพศหญิง นอกจากนี้ ขอมูลการบริโภคแอลกอฮอลตอหัวประชากรตอป (อายุ 15 ปขึ้นไป) ป 2540 - 2560 พบวา เมื่อป 2542 ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอลตอหัวประชากรตอป ลดลง อาจเปนเพราะผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจ (ตมยำกุง) ระหวางป 2540 – 2542 และหลังจากป 2542 มีแนวโนมมากขึ้น และเมื่อป 2551 ไดมีการประกาศใช พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล พ.ศ. 2551 ทำใหปริมาณการบริโภคแอลกอฮอลตอหัวประชากรตอป มีแนวโนมที่ลดลง แตเมื่อป 2557 กลับมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น (ยกเวนป 2561 ที่ลดต่ำลงเนื่องจากเปนชวงแสดงความอาลัย) (รูปที่ 1) และจากขอมูลสำรวจพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลในชวงป พ.ศ. 2550 - 2560 พบวา ภาพรวมความชุกของนักดื่มในชวงกวา 16 ป ที่ผานมานั้นคอนขางคงที่ โดยทิศทางเพิ่มขึ้นเล็กนอย คือ จากรอยละ 32.7 ในป 2544 เปนรอยละ 34.0 ในป 2558 และลดลงอยางเห็นไดชัดในป 2560 ซึ่งมีนักดมื ่ปจจุบัน (current drinker) หรือผูที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลในรอบ 12 เดือนที่ผานมาจำนวน 15.89 ลานคน หรือคิดเปนรอยละ 28.4 ของประชากรไทยอาย 15 ปขึ้นไป โดยเปนนักดื่มชายมากกวานักดื่มหญิง 4.5 เทา (รอยละ 47.5 และ ุ10.6 ตามลำดับ) หากจำแนกตามอายุ ชวงอายุ 15 - 19 ป พบวาแนวโนมความชุกของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลกลับมีทิศทางเพิ่มขึ้นจากรอยละ 12.9 ในป 2550 เปนรอยละ 19.4 ในป 2558 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 50.4 และลดลงในป 2560 เชนกัน (รูปที่ 2) อันเนื่องมาจากรัฐบาลของความรวมมือใหงดจัดงานรื่นเริงตาง ๆ และไวทุกขเปนเวลา 1 ป ซึ่งหนวยงานตาง ๆ และประชาชนสวนใหญหันมาทำกิจกรรมจิตอาสาทำความดีถวายเปนพระราชกุศล อยางไรก็ตาม การมี พ.ร.บ.ดังกลาวน ก็เปนอีกหนึ่งเครื่องมือที่จะชวยปรับเปลี่ยนสังคม แบบแผนวัฒนธรรมการดื่มใหกับเยาวชนไทย ี้แผนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล

374ซึ่งอาจตองใชเวลาในการปรับเปลี่ยนไปอีกระยะหนึ่ง ถึงแมจะมีพระราชบัญญัตนมาแลวถึง 10 ป แตความชุกของการิี้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลในเยาวชนลดลงเพียงเล็กนอยเทานั้น แตถาหากเราไมมีเครื่องมือนี้ความชุกของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลในเยาวชนอาจเพิ่มขึ้นมากกวานี้ก็เปนได อยางไรก็ตาม มาตรการที่เหมาะสมและควรผลักดันใหเกิดในทุกพื้นที่คือ การควบคุมการเขาถึงโดยการไมอนุญาตใหมีรานขายสุราในรัศมีรอบสถานศึกษาซึ่งเปนการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดลอม และสิงสำคัญคือ บุคลากรในสถาบันการศึกษาทุกแหงควรเปนตัวอยางที่ดีใหกับเยาวชน ่ภาพที่ 1 ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอลตอหวประชากรตอป (อายุ 15 ปขึ้นไป) ป พ.ศ. 2540 - 2562 ัที่มา : 1. ปริมาณการจำหนายเครื่องดื่มแอลกอฮอล กรมสรรพสามิต 2. จำนวนประชากรตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ภาพที่ 2 แสดงความชกการบริโภคเครื่องดมแอลกอฮอลของประชากร ป พ.ศ. 2550 - 2560 (รอยละ) ุื ่พ.ร.บ.ควบคุมเครองดมแอลกอฮอล พ.ศ. 2551 ื่ื ่มีผลใชบังคับ

3753 2. พื้นที่เสี่ยง/กลุมเสี่ยง ความชุกของผูบริโภคในประชากร อายุ 15 ปขึ้นไป (รอยละ) ป 2560 (ขอมูล ณ ธนวาคม 2561) ัที่มา : การสำรวจพฤติกรรมการสูบบหรี่และการดื่มสุราของประชาชน พ.ศ.2560 สำนักงานสถิติแหงชาต ุิ3. เปาหมาย3.1 เปาหมายการลดโรคและภยสุขภาพ ระดบประเทศ ในระยะ 10 ป, 15 ป และ 20 ป (ถามี) ใหระบุเพิ่มดวย ัั3.2 เปาหมายการลดโรคและภยสุขภาพ ระดับประเทศ ในระยะ 5 ป ัเปาหมาย/ตัวชี้วัดเปาหมาย baseline คาเปาหมาย ป พ.ศ. 2560 2562 2563 2564 2565 เปาหมาย 1 ลดปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล ตัวชี้วัด 1 ปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลตอประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป (ลิตรแอลกอฮอลบริสุทธิ์ตอคนตอป) 7.33 6.68 6.61 6.54 6.48 เปาหมาย 2 ปองกันนักดื่มหนาใหม ตัวชี้วัด 2 ความชุกของผูบริโภคแอลกอฮอลในประชากรผูใหญ อายุ 15 ปขึ้นไป (รอยละ) 28.4 - 27 - - ตัวชี้วดมาตรการที่ 1 ขับเคลื่อนกลไกการดำเนินงานัควบคุมเครื่องดมแอลกอฮอลื่จำนวนจังหวัดที่มีการรายงานผลการดำเนินงานเขามาในระบบฯ (จังหวัด) 52 (ป 2562) - - 77 77 เขตสุขภาพพื้นที่เสี่ยงสูง (อัตราการดมเครื่องดื่มแอลกอฮอลในประชากร ื่อายุ 15 ปขึ้นไป ≥28) 1 เชียงราย เชียงใหม นาน พะเยา แพร ลำปาง ลำพูน (7 จังหวด) ั2 พิษณุโลก เพชรบูรณ สุโขทัย อุตรดิตถ (4 จังหวัด) 3 กำแพงเพชร ชัยนาท (2 จังหวด) ั4 นนทบุรี ปทุมธานี ลพบุรี (3 จังหวัด) 5 ประจวบคีรีขันธ (1 จังหวัด) 6 จันทบุรี ชลบุรี ตราด สมุทรปราการ สระแกว (5 จังหวัด) 7 กาฬสินธุ ขอนแกน มหาสารคาม รอยเอ็ด (4 จังหวัด) 8 นครพนม สกลนคร หนองคาย หนองบัวลำพู อุดรธานี (5 จังหวด) ั9 นครราชสีมา สุรินทร (2 จังหวัด) 10 อำนาจเจรญ อุบลราชธานี (2 จังหวัด) ิ

376เปาหมาย/ตัวชี้วัดเปาหมาย baseline คาเปาหมาย ป พ.ศ. 2560 2562 2563 2564 2565 ตัวชี้วดมาตรการที่ 2 สนับสนุนการคัดกรองและับำบัดรักษาผดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลูประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปที่มารับบริการในสถานพยาบาลไดรับการคัดกรองและบำบัดรักษาผูมีปญหาการดื่มสุรา (แหลงขอมูล : HDC กระทรวงสาธารณสุข) (รอยละ) N/A N/A 40 45 - ตัวชี้วดมาตรการที่ 3 บังคับใชกฎหมายและการทำใหัสิ่งแวดลอมปลอดเครื่องดมแอลกอฮอลื่จำนวนจังหวัดที่มีจัดการเรื่องรองเรียนในระบบ TAS ภายใน 60 วัน นับจากไดรับเรื่อง (จังหวัด) N/A (ตัวชี้วัดใหม) N/A N/A 77 - ตัวชี้วดมาตรการที่ 4 สนับสนุนการดำเนินงานัสถานศึกษาปลอดเครื่องดมแอลกอฮอลื่สถานศึกษาผานเกณฑการประเมนตนเองของิสถานศึกษาปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล (รอยละ) N/A (ตัวชี้วัดใหม) N/A N/A 50 - ตัวชี้วดมาตรการที่ 5 มาตรการการพัฒนาชุมชนเพือั่ควบคุมเครื่องดมแอลกอฮอล ื่แกนนำนำความรูที่ไดไปขับเคลื่อนสื่อสารความเสี่ยงและภัยสุขภาพในชุมชน (รอยละ) N/A (ตัวชี้วัดใหม) N/A N/A 50 -

37754. กลไกการบริหารจัดการแผนเพือใหแผนบรรลุผลตามวัตถุประสงค/เปาหมาย่มPสวนกลาง สคร. เขต สสจ. รPชุมชน/ตำบล 1. ขับเคลื่อนกลไกการดำเนินงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล 1. จัดประชุมคณะกรรมการระดับชาติ 2 คณะ 2. จัดประชุมคณะอนุกรรมการและคณะทำงานที่เกี่ยวของ 3. จัดทำขอมูลเชิงวิชาการ เพือใหขอเสนอแนะตอ่คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลและคณะกรรมการนโยบายเครื่องดื่มแอลกอฮอลแหงชาติ 4. ติดตามผลการดำเนินงานระดับจังหวัด และรายงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลและคณะกรรมการนโยบายเครื่องดื่มแอลกอฮอลแหงชาติทราบและใหขอเสนอแนะ 1. ผลักดันใหจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบประชุมคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลจังหวัด อยางนอยปละ 2 ครั้ง 2. พัฒนาระบบฐานขอมูลเกี่ยวกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลในระดับเขตและจังหวัด 3. ติดตามผลการดคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลจังหวัดและรายงานผลมายังสวนกลาง 1. กำกับใหจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบจัดประชุมคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลจังหวัด อยางนอยปละ 2 ครั้ง 2. ติดตามผลการดำเนินงานของคณะกรรมการควบคุมเครื่องดืมแอลกอฮอล่จังหวัด 1. จัดประชุมคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลจังหวัด อยางนอยปละ 2 ครั้ง 2. รายงานผลการดและสวนกลางทุก ไตรมาส ดำเนินการตคณะกรรมการระดับจังหวัดมอบหมาย 2. สนับสนุนการคัดกรองและบำบัดรักษาผูดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล 1. ประสานและสนับสนุนหนวยงานที่เกี่ยวของ เพือการ่พัฒนาระบบบริการการคัดกรองบำบัด รักษา สงตอและติดตามชวยเหลือผูมีปญหา1. ขับเคลื่อนกลไกการพัฒนาระบบบริการการคัดกรองบำบัด รักษา สงตอและติดตามชวยเหลือ1. กำกับ ติดตาม การดำเนินงานคัดกรองและบำบัดรักษาผูดื่มสุราในจังหวัดที่เปนพื้นที่รับผิดชอบ 1.ประสาน สนับสนุนสถานบริการสาธารณสุขและชุมชนในการพัฒนาระบบบริการการคัดกรองบำบัด รักษา สงตอและติดตาม1. สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ 1กรองการดื่มสุรา ( ASSIT 7 คำถาม) 1กรองการดื่มสุราในผูที่มีอายุ 15 ปขึ้นไป ที่เขารับบริการ และให1และติดตามชวยเหลือผูมีปญหาการดื่มสุราที่ผานการ

378มPสวนกลาง สคร. เขต สสจ. รPชุมชน/ตำบล การดื่มสุรา รวมถึงสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพเจาหนาที่ในการปฏิบัติงานในสถานบริการและชุมชน 2. พัฒนาหลักสูตรสำหรับพัฒนาศักยภาพเจาหนาที่ สาธารณสุข ในระดับ รพ.สต. ใหมีการคัดกรองบำบัดแบบสั้นสงตอและติดตามชวยเหลือผูมีปญหาการดื่มสุราในชุมชน 3. ติดตามและประเมินผล 3.1 การจัดบริการคัดกรอง บำบัดรักษาและสงตอผูดื่มสุราสำหรับสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ 3.2 การรายงานขอมูลคัดกรอง บำบัดรักษาฯในระบบ 43 แฟม (Special PP) ผูมีปญหาการดื่มสุราในสถานบริการและชุมชน 2. ประสาน สนับสนุน ติดตาม รายงานผล และประเมินผลการดำเนินงานคัดกรองและบำบัดรักษาผูดื่มสุราในจังหวัดที่เปนพื้นที่รับผิดชอบ 3. รายงานผลการดำเนินงานคัดกรองและบำบัดรักษาผูดื่มสุราระดับจังหวัดตอผูตรวจราชการ 2. สนับสนุน รับทราบปญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน สรุปปญหาการดำเนินงานของพื้นที่จังหวัดที่รับผิดชอบ 3. จัดระบบเครือขายการบำบัดและสงตอผูมีปญหาการดื่มสุราในเครือขายระดับเขต ชวยเหลือผูมีปญหาการดื่มสุราสำหรับสถานบริการและชุมชน และหนวยงานเครือขายที่เกี่ยวของ 2.จัดระบบเครือขายการบำบัดและสงตอผูมีปญหาการดื่มสุราในจังหวัดทีเปน่พื้นที่รับผิดชอบและไปยังหนวยบริการที่มีศักยภาพในลำดับถัดไปเปนเครือขายระดับเขต 3. พัฒนาศักยภาพเจาหนาที่ รพ.สต. และ อสม. ในการคัดกรองบำบัดรักษาแบบสั้น สงตอ และติดตามชวยเหลือผูมีปญหาการดื่มสุราในชุมชน 4. ติดตามและรายงานผลตอผูอำนวยการเขตสุขภาพ นจังหวัดและผูวาราชการจังหวัด 4.1 การดำเนินงานคัดกรองและบำบัดรักษาผูดื่มสุราแกผูทีมารับบริการ ่ไดแก 1) คลินิกผูปวยนอก (OPD) เชน คลินิกโรคเรื้อรัง จิตเวช อายุร กรรม ฝากครรภ 2) หอผูปวยใน (IPD) 3) แผนกฉุกเฉินและอุบัติเหตุ (ER) 4) ผูมารับบริการที่มีอายุ 15 ปขึ้นไปและตองการคัดกรองการดื่มสุรา 1.2 ใหการบำบัด รักษา สงตอผูมีปญหาการดื่มสุรา 1.3 ลงขอมูลการคัดกรอง บำบัดรักษาและสงตอ ในระบบรายงาน 43 แฟม (Special PP)1.4 ดำเนินงานดานบำบัด รักษา สงตอการบำบัดแบบสัน้หรือสงตอเพื่อเขารับการรักษา 2. ลงขอมูลการคัดกรอง บำบัดรักษาและสงตอ ในรแฟม (Special PP)3. ติดตามการดูแลผูมีปญหาการดื่มสุราเปนไปตามระบบบริการการคัดกรองบำบัด รักษา สงตอและติดตามชวยเหลือผูมีปญหาการดื่มสุราในสถานบริการและชุมชนบำบัดรักษาและกลับสูชุมชน2.สนับสนุนการดำเนินงานเพื่อแกปญหาผูติดสุราในชุมชนตามบริบทของชุมชน

3797มPสวนกลาง สคร. เขต สสจ. รPชุมชน/ตำบล สำหรับสถานบริการและชุมชน 4.2 ขอมูลการคัดกรอง บำบัดรักษาฯในระบบ 43 แฟม (Special PP) 5. รายงานผลการดำเนินงานใหคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลจังหวัดทราบและติดตามชวยเหลือผูมีปญหาการการดื่มสุรารวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่3. บังคับใชกฎหมายและการทำใหสิ่งแวดลอมปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล 1. เฝาระวังและบังคับใชกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล 2. รวมดำเนินการกับ สคร. / สสจ. กรณีความผิดที่มีความยุงยาก ซับซอน หรือมีอิทธิพลในพื้นที่ หรือกรณีพื้นที่รองขอ 3. ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินการตามเรื่องรองเรียน 4. จัดทำสำนวนคดีและเปนพยานในชันศาล ้5. สื่อสารประชาสัมพันธใหสวนราชการและประชาชนทั่วไปรับทราบและปฏิบัติตาม1. ตรวจสอบการกระทำความผิดตามที่ไดรับเรื่องรองเรียนรวมกับ สสจ. 2. ติดตามผลการตรวจสอบจาก สสจ. และแจงผลใหสวนกลางทราบ 3. เฝาระวังและบังคับใชกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลรวมกับ สสจ. หรือตามที่ สสจ. รองขอ 4. พัฒนาศักยภาพพนักงานเจาหนาที่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบในการกำกับ ติดตาม การจัดการขอรองทุกขจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบและผลการบังคับใชกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลในพื้นที่ที่รับผิดชอบ 1. ตรวจสอบการกระทำความผิดตามที่ไดรับเรื่องรองเรียน และแจงผลการดำเนินงานผานระบบ TAS ภายใน 60 วันนับจากวันที่ไดรับเรื่องรองเรียน 2. ดำเนินการตรวจเตือน ประชาสัมพันธ เฝาระวังและบังคับใชกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล จังหวัด/อำเภอ 3. พัฒนาศักยภาพพนักงานเจาหนาที่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล 1. สื่อสารปใหรานคา ผูประกอบการ และประชาชนทั่วไปรับทราบและปฏิบัติตามกฎหมายคเครื่องดื่มแอลกอฮอล 2กระทำความผิดตามกฎหมายค

380มPสวนกลาง สคร. เขต สสจ. รPชุมชน/ตำบล กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล 6. พัฒนาศักยภาพพนักงานเจาหนาที่ ทั้งในระดับเขตและในระดับพื้นที่ (กรณีรองขอ) 7. พัฒนาระบบเฝาระวังการกระทำผิดกฎหมายควบคุมผลิตภัณฑยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล (TAS) 8. สื่อสารประชาสัมพันธขอกฎหมายใหกับรานคา ผูประกอบการ ผานระบบ E-Learning ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล 5. สื่อสารประชาสัมพันธใหสวนราชการและประชาชนทั่วไปรับทราบและปฏิบัติตามกฎหมายควบคุมเครืองแอลกอฮอล ่6. สื่อสารประชาสัมพันธขอกฎหมายใหกับรานคา ผูประกอบการ 4. รายงานผลการดำเนินงานใหคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลจังหวัดทราบ เครื่องดื่มแอลกอฮอลในระบบ TAS 2. สนับสนุนการใชงานรสื่อสารประชาสัมพันธใหรานคา ผูประกอบการ รับทราบและปฏิบัติตามกฎหมายคเครื่องดื่มแอลกอฮอล ผานระบบ E-Learning 4. สนับสนุนการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล 1. ประสาน สนับสนุนการดำเนินงานตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการฯ ใหสอดคลองตามกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลในเขตโซนนิ่งรอบสถานศึกษา 1. สนับสนุนการดำเนินงานตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการฯ ใหสอดคลองตามกฎหมายควบคุมเครื่องดื่ม1. กำกับติดตามความกาวหนาของการดำเนินงานตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการฯ ใกฎหมายควบคุม1. ประสานกับศึกษาธิการจังหวัดใหดำเนินงานตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการฯ ใหสอดคลองตามกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลในเขตโซนนิ่งรอบสถานศึกษา

3819มPสวนกลาง สคร. เขต สสจ. รPชุมชน/ตำบล 2. พัฒนาสถานศึกษาปลอดบุหรี่ - สุรา ตามเกณฑที่ก3. จัดทำระบบบริการแบบออนไลน ชวยสนับสนุนการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดบุหรี่ - สุรา ตามเกณฑที่กแอลกอฮอลในเขตโซนนิง่รอบสถานศึกษา 2. พัฒนาสถานศึกษาปลอดบุหรี่ - สุรา ตามเกณฑที่กำหนด และรวมขับเคลื่อนดวยระบบบริการแบบออนไลน เครื่องดื่มแอลกอฮอลในเขตโซนนิ่งรอบสถานศึกษา 2. กำกับ ติดตามความกาวหนาพัฒนาสถานศึกษาปลอดบุหรี่ - สุรา ตามเกณฑที่กำหนด2. ติดตามประเมินผลและดำเนินงานพัฒนาสถานศึกษาปลอดบุหรี่ - สุรา ตามเกณฑที่กำหนด 3. สนับสนุนและรวมพัฒนาแกนนำเยาวชน รูปแบบการเฝาระวังและนวัตกรรมสถานศึกษาปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล 4. รายงานผลการดำเนินงานใหคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลจังหวัดทราบ 5. มาตรการการพัฒนาชุมชนเพื่อควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล 1. พัฒนาแนวทางการสรางเครือขายปองกันปญหาสุราและยาสูบ 1. สนับสนุน และเปนที่ปรึกษาการดำเนินงาน 2. กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน 1. กำกับ ติดตามความกาวหนาของเครือขายปองกันปญหาสุราและยาสูบ1. สนับสนุน ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน 2. รายงานผลการดำเนินงานใหคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลจังหวัดทราบ 1. สนับสนุนการดำเนินงานคัดกรอง รักษา ติดตาม และประเมินผลการบำบัดรักษาผูมีปญหาจากการดื่มสุราและย2. รายงานผลการดำเนินงาน 1. วิเคราะหและศึกษาขอมูลปญหาสุราและยาสูบของชุมชน 2. จัดทำแผนบูรณาการการควบคุมสุราและยาสูบ เพื่อแกไขปญหาให

382มPสวนกลาง สคร. เขต สสจ. รPชุมชน/ตำบล สพื้นที่ 3. วางแผนแบบมีสวนรวมของชุมชนในการปองกันปญหาสุราและยาสูบ 4. ติดตามประเมินผลการดเพือการ ลด ่ละ เลิก การดื่มและการสูบ

38311 5. มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ป มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิด ชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน มาตรการที 1 มาตรการขับเคลื่อนกลไกการดำเนินงานควบคุมเครื่องดื่ม่แอลกอฮอลจำนวนจังหวัดที่มีการรายงานผลการดำเนินงานเขามาในระบบฯ (77 จังหวัด) โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลกิจกรรมหลัก 1.1 ประชุมคณะกรรมการ อนุกรรมการ และคณะทำงานทำงาน     สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล 111115งบประมาณ และ สสส. นการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล จำนวนการจัดประชุมคณะกรรมการนโยบายเครื่องดื่มแอลกอฮอลแหงชาติ / คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล อยางนอยปละ 2 ครั้ง กิจกรรมหลักที่ 1.2 จัดทำแผนปฏิบัติการดานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล พ.ศ. 2564 - 2569   สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล และผูมีสวนไดสวนเสีย ภาครัฐ และภาคประชาสังคม 3สสส. แผนปฏิบัติการดานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล พ.ศ. 2564 - 2569 จำนวนแผนปฏิบัติการดานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล พ.ศ. 2564 - 2569

384มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิด ชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน กิจกรรมหลัก 1.3 ติดตามผลการดำเนินงาน และขับเคลือนใหจังหวัดใน่พื้นที่รับผิดชอบจัดประชุมคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลจังหวัด     สำนักงานปองกันควบคุมโรคที 1 – 12 ่และสถาบันปองกันควบคุมโรคเขตเมือง 000000สสส. การติดตามและรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบมาใหสวนกลางทราบทุกไตรมาส รายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบมาใหสวนกลางทราบทุกไตรมาส กิจกรรมหลัก 1.4 จัดทำขอมูลเชิงวิชาการ เพือให่ขอเสนอแนะตอคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลและคณะกรรมการนโยบายเครื่องดื่มแอลกอฮอลแหงชาติ     สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล ศูนยวิจัยปญหาสุรา และหนวยงานวิชาการที่เกี่ยวของ 000001งบประมาณ และ สสส. ขอเสนอแนะ เชิงวิชาการเพื่อสนับสนุนการออกนในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล รายงานการจัดทำขอเสนอแนะเชิงวิชาการเพื่อสนับสนุนการออกนโยบาย/ มาตรการในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล อยางนอยปละ 1 เรือง ่มาตรการที่ 2 สนับสนุนการคัดกรองและบำบัดรักษาผูดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล รอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปที่มารับบริการในสถานพยาบาลไดรับการคัดกรองและบำบัดรักษาผูมีปญหา

38513 มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิด ชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน การดื่มสุรา (แหลงขอมูล : HDC กระทรวงสาธารณสุข) (รอยละ 4โครงการคัดกรองและบำบัดรักษาผูดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลกิจกรรมหลัก 2.1 พัฒนาศักยภาพเจาหนาที่สาธารณสุข ผลักดันและสนับสนุนสถานบริการสาธารณสุขในการคัดกรอง ผูดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล เพื่อใหการบำบัดรักษาผูที่มี่ความเสี่ยงสูง ติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล และสงตอผูที่มีภาวะทางจิต/ทางกายซ้ำซอน     สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล /สคร. 1-12 และ สสจ.ทุกแหง 113331งและ สสส. เจาหนาที่สาธารณสุข มีความรู ความเขาใจในการคัดกรอง บำบัดรักษาผูที่มี่ความเสี่ยงสูง ติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล และสงตอผูที่มีภาวะทางจิต/ทางกายซ้ำซอน รอยละ 80 ของผูผานการพัฒนาศักยภาพมีความรู ความเขาใจในการคัดกรอง บำบัดรักษาผูที่มี่ความเสี่ยงสูง ติดเครื่องดืมแอลกอฮอล และ่สงตอผูที่มีภาวะทางจิต/ ทางกายซ้ำซอน กิจกรรมหลัก 2.2 ติดตามและประเมินผลการพัฒนาพัฒนาศักยภาพเจาหนาที่สาธารณสุข     สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล /-00002งและ สสส. การติดตามและรายงานการคัดกรอง บำบัดรักษาผูดื่มรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบมาใหสวนกลางทราบทุกไตรมาส

386มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิด ชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน การจัดบริการและรายงานผลการคัดกรอง บำบัดรักษาผูดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล และสงตอผูที่มีภาวะทางจิต/ทางกายซ้ำซอน สคร. 1-12 และ สสจ.ทุกแหง เครื่องดื่มแอลกอฮอล แกิจกรรมหลัก 2.3 พัฒนาหลักสูตรเสริมสรางศักยภาพเจาหนาที่สาธารณสุข ในหนวยบริการและรพ.สต. ใหมีการคัดกรองบำบัดแบบสั้นสงตอและติดตามชวยเหลือผูมีปญหาการดื่มสุราในชุมชน  สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล /เครือขายหนวยบริการ/เครือขายหนวยงานที่เกี่ยวของ 001งและ สสส. เจาหนาที่สาธารณสุข ในหนวยบริการและรพ.สต. มีความรู ความเขาใจในการคัดกรองบำบัดแบบสั้น สงตอและติดตามชวยเหลือผูมีปญหาการดื่มสุราในชุมชน รอยละ 80 ของผูผานการพัฒนาศักยภาพมีความรู ความเขาใจในการคัดกรองบำบัดแบบสั้น สงตอและติดตามชวยเหลือผูมีปญหาการดื่มสุราในชุมชน มาตรการที 3 มาตรการบังคับใชกฎหมายและการทำใหสิ่งแวดลอมปลอดเครื่องดื่ม่แอลกอฮอลจำนวนจังหวัดที่มีจัดการเรื่องรองเรียนในระบบ TAS ภายใน 60 วัน นับจากไดรับเรอง (77 จังหวัด) ื ่โครงการพัฒนากฎหมายและกลไกการบังคับใชกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล

38715 มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิด ชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน กิจกรรมหลัก 3.1 พัฒนาปรับปรุงกฎหมายใหมีความทันสมัย (เชน ขยายเขต โซนนิ่ง วิธีการขาย การโฆษณา)     สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล งแสสส. ผูประกอบการ รานคา ประชาชนทั่วไป จำนวนรางอนุบัญญัติ ที่ผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ กิจกรรมหลัก 3.2 ตรวจเตือน เฝาระวัง ประชาสัมพันธและบังคับใชกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล     สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล สคร. 1-12 สปคม. และ สสจ. 111115งและ สสส. ผูประกอบการ รานคาปฏิบัติตามกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล จำนวนการเฝาระวังและบังคับใชกฎหมายควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล อยางนอย 1 ครัง / เดือน ้กิจกรรมหลักที่ 3.3 ตรวจสอบการกระทำผิดกฎหมายตามเรื่องรองเรียน     สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล สคร. 1-12 สปคม. และ สสจ. 111115งและ สสส ตรวจสอบการกระทำผิดกฎหมายตามเรื่องรองเรียน ครบถวน ทันเวลา ตรวจสอบการกระทำความผิดตามที่ไดรับเรื่องรองเรยน และีแจงผลใหผูรองเรียนทราบ (ภายใน 60 วัน) (รายงานในระบบ TAS) รอยละ 100 กิจกรรมหลักที่ 3.4 จัดทำสำนวนคดีและเปนพยานในชันศาล ้    สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล 000000สสส. การดำเนินคดีและติดตามพยานเพื่อดำเนินคดีใน ชั้นศาล 5 ครั้ง/ป การดำเนินคดีและติดตามพยานเพื่อดำเนินคดีในชั้นศาล 5 ครั้ง/ป

388มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิด ชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน กิจกรรมหลักที่ 3.5 พัฒนาระบบเฝาระวังการกระทำผิดกฎหมายควบคุมผลิตภัณฑยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล (TAS)   สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล 111005สสส. ระบบเฝาระวังการกระทำผิดกฎหมายควบคุมผลิตภัณฑยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล (TAS) จำนวนระบบเฝาระวังการกระทำผิดกฎหมายควบคุมผลิตภัณฑยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล (TAS) กิจกรรมหลักที่ 3.6 สื่อสารประชาสัมพันธใหรานคา ผูประกอบการ รับทราบและปฏิบัติตามกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล ผานระบบ E-Learning    สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล สคร. 1-12 สปคม. และ สสจ. 01103งและ สสส. - ผูประกอบการมีความพร- ระบบ E- Learning ที่มีประสิทธิภาพ การกระทำผิดตาม พรบ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล พ.ศ.2551 ของรานคาปลีกลดลงรอยละ10 ภายในป 2565 (ปทีฐาน 2563) ่มาตรการที 4 มาตรการสนับสนุนการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดเครื่องดื่ม่แอลกอฮอล รอยละ 50 ของสถานศึกษาผานเกณฑการประเมินตนเองของสถานศึกษาปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล โครงการขับเคลื่อนสถานศึกษาปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอลกิจกรรมหลัก 4.1 สนับสนุนความรูและพัฒนาระบบการจัดการ เพื่อ   สำนักงานคณะกรรมการควบคุม00001งและ สสส. สถานศึกษาดำเนินการตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ รอยละ 50 ของสถานศึกษาผานเกณฑการประเมินตนเอง

38917 มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิด ชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน สถานศึกษาปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอลและปจจัยเสียง่ดานสุขภาพ เครื่องดื่มแอลกอฮอล สคร. 1-12 และ สปคม. เรื่อง มาตรการปองกันและแกไขปญหาบุหรี่แบบออนไลนของสถานศึกษาปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล มาตรการที 5 มาตรการการพัฒนาชุมชนเพื่อควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล่รอยละ 50 ของแกนนำ นำความรูที่ไดไปขับเคลื่อนสื่อสารความเสี่ยงและภัยสุขภาพในชุมชน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกแกนนำ เพื่อสรางมาตรการชุมชนปองกัน ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลกิจกรรมหลัก 5.1 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรใหเกิดแกนนำ ในการเสริมความรู สนับสนุนการขับเคลื่อนการดำเนินงาน สื่อสารความเสี่ยงและภัยสุขภาพ สำหรับการสรางมาตรการชุมชนในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล   2114งและ สสส. แกนนำในพื้นที่ที่ไดรับการพัฒนาศักยภาพ สามารถดำเนินการสนับสนุนการขับเคลื่อนมาตรการชุมชนในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลไดดวยตนเอง รอยละ 50 ของแกนนำนำความรูที่ไดไปขับเคลื่อนสื่อสารความเสี่ยงและภัยสุขภาพในชุมชน

3906. แผนติดตามประเมนผล ระยะ 5 ปิมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เปาหมาย วธีการติดตามิประเมนผล ิกรอบระยะเวลาของการตดตามประเมนผล ป พ.ศ. ิิ2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการที่ 1 ขับเคลื่อนกลไกการดำเนินงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล มนโยบาย/ ีมาตรการในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล 1. ระบบ ESM 2. การนิเทศ ติดตาม มาตรการที่ 2 สนับสนุนการคัดกรองและบำบัดรักษาผูดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล เจาหนาที่สาธารณสุข มีความรู ความเขาใจในการคัดกรอง บำบัดรักษาผูที่มี่ความเสี่ยงสูง ติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล และสงตอผูที่มีภาวะทางจิต/ทางกายซ้ำซอน 1. การนิเทศ ติดตาม 2. ระบบ 43 แฟม (PP Special) มาตรการที่ 3 บังคับ ผูประกอบการ ใชกฎหมายและการทำใหสิ่งแวดลอมปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล รานคาปฏิบัติตามกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล 1. การนิเทศ ติดตาม 2. ระบบ TAS มาตรการที่ 4 สนับสนุนการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล สถานศึกษาปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล 1. ระบบ ESM 2. การนิเทศ ติดตาม มาตรการที่ 5 พัฒนามาตรการชุมชนเพื่อควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล ชุมชนมีมาตรการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล 1. ระบบ ESM 2. การนิเทศ ติดตาม 

39119 7. ผูรับผิดชอบแผนงาน 1. นายนิพนธ ชินานนทเวช เบอรโทรศัพท 0 2591 9314, 0 2590 3035 ตอ 101 E-mail : [email protected] 

3921. สถานการณ 1.1. สถานการณภาพรวมของประเทศ จากการศึกษาภาระโรคจากปจจัยเสี่ยงของประชากรไทย พ.ศ. 2557 โดยที่ภาระโรคจากมะเร็งและโรคหัวใจและหลอดเลือดเปนผลของการสูญเสียที่สำคัญจากการสูบบุหร่ ทั้งนี้ปจจัยเสี่ยงอันดับแรกที่กอใหเกิดภาระโรคีมากที่สุดในเพศชาย ไดแก เครื่องดื่มแอลกอฮอล คิดเปนรอยละ 12.0 ของการสูญเสียปสุขภาวะทั้งหมดในเพศชาย รองลงมาคือ บุหรี/ยาสูบ ความดันโลหิตสูง ซึ่งทำให สูญเสียปสุขภาวะรอยละ 11.7 และ 7.5 ของการสูญเสียปสุขภาวะ่ทั้งหมดในเพศชาย การสูบบุหรี่/ยาสูบ ซึ่งเปนสาเหตุของการเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยวของถึง 55,000 ราย หรือรอยละ 11.2 ของจำนวนการเสียชีวิตทั้งหมด การสูบบุหรี่สงผลใหเกิดการเสียชีวิตดวยโรคมะเร็งสูงสุด คือ 20,863 คน (รอยละ 38 ของการการเสียชีวิตจากบุหรี่ทั้งหมด) ตามดวยโรคหัวใจ 14,011 คน (รอยละ 26) และ โรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง 13,964 คน (รอยละ 26) %) (ขอมูลปพ.ศ. 2557 โดยโครงการ BOD (Burden of Disease))จากการประมาณการความสูญเสียทางเศรษฐศาสตรจากโรคที่เกิดจากการสูบบหรี่ ในปพ.ศ. 2552 (Disease Attributed to Smoking) พบวา ุคาใชจายทั้งหมดที่เกิดจากความสูญเสียทางเศรษฐศาสตรเทากับ 74,884 ลานบาท (คำนวณเปนความสูญเสีย 42 บาท ตอบุหรี่ 1 ซอง) หรือ 0.78% ของ GDP ขอมูลการสำรวจของสำนักงานสถิติแหงชาติในป พ.ศ.2560 พบวาประชากรไทยอาย 15 ปขึนไปบริโภคุ้ยาสูบ 10.7 ลานคน (รอยละ 19.1) เมื่อพิจารณาการบริโภคยาสูบของประชากรไทยอายุ 15 ปขึ้นไปในรอบ 30 ปที่ผานมา (พ.ศ.2534-2560) พบวามีแนวโนมลดลง กลาวคือ ประชากรไทยอายุ 15 ปขึ้นไปที่บริโภคยาสูบในป พ.ศ.2534 มีจำนวนผูสูบ 12.26 ลานคน (รอยละ 32) ลดลงเปน 10.7 ลานคน (รอยละ 19.1) ในป พ.ศ.2560 มีอัตราลดลงเฉลี่ยรอยละ 0.5 ตอป อัตราการสูบบุหรี่ของเยาวชน ในชวงป 10 ปที่ผานมา (พ.ศ. 2547 – 2557) พบวา อัตราการสูบบุหรีมีแนวโนม่เพิ่มขึ้น จากรอยละ 6.58 เปนรอยละ 9.7 โดยในป พ.ศ.2558 อัตราการบริโภคยาสูบลดลงจากป 2557 คิดเปนรอยละ 7.92 และกลับเพิ่มขึ้นอีกครั้งในป 2560 คิดเปนรอยละ 9.7 และอายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบกลับมีแนวโนมลดลงจาก 18.5 ป เปน 18 ป อีกทั้งยังพบวาผลิตภัณฑยาสูบรูปแบบใหมที่เขาถึงเยาวชนเพิ่มขึ้น โดยอุตสาหกรรมยาสูบ เนนการใชกลยุทธสื่อออนไลน social marketing ที่เขามาเปนสวนสำคัญ ซึ่งกฎหมายปจจุบันยังไมสามารถดำเนินการได และกลุมเยาวชนยังขาดความเขาใจและตระหนักถึงพิษภยของยาสูบที่ถูกตอง สวนการไดรับควันบุหรี่มือสองในที่สาธารณะ จากการสำรวจัของสานักงานสถิติแหงชาติ พบวา มีการพบเหนการสูบบุหรีในสถานที่สาธารณะจากการสำรวจโดยรวมสูง รอยละ 80.60 ็่เมื่อเปรียบเทียบจากการสำรวจ 3 รอบ กับครังที่ผานมา พ.ศ. 2554 2557 และ 2560 พบวาการพบเห็นการสูบบุหรี่ใน้สถานที่สาธารณะแตละประเภทลดลงเล็กนอยแมวาจะมีการบังคับใชกฎหมายและกำหนดเขตปลอดบุหรี่ 100% โดยเฉพาะรานอาหาร/ภตตาคาร , ตลาดสด/ตลาดนัด ที่พบวายังมีการละเมิดกฎหมาย ัแผนงานปองกันควบคุมการบริโภคยาสูบ

3931.2 สถานการณรายภาค ภาพที่ 1 อัตราการสูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปขึ้นไป พ.ศ.2534-2558 จำแนกตามภาค ที่มา : สำนักงานสถิติแหงชาติจากการสำรวจรายพื้นที่ พบวาภาคที่มีอัตราการสูบบุหรี่สูง ในระหวางป พ.ศ. 2534 - 2539 ไดแก ภาคเหนอ ืภาคตะวนออกเฉียงเหนือ ภาคใต รองลงมาคือ ภาคกลางและกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้อัตราการสูบบุหรี่ในแตละภูมิภาคัของประเทศไทยมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่องในชวง 10 ปแรก (ป 2534 – 2547) สอดคลองกับแนวโนมสถานการณภาพรวมของประเทศ และมีแนวโนมชะลอตัวในชวง 10 ปหลัง (ป 2550– 2560) โดยเฉพาะภาคใต และกรุงเทพมหานคร ที่มีอัตราการสูบเพิ่มสูงขึ้นในปพ.ศ. 2554 และ 2557 ปจจุบัน ( พ.ศ. 2560 ) พบวาภาคใตยังมีอัตราการสูบบุหรี่ที่สูงที่สุด รองลงมาเปนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคกลางและกรุงเทพมหานครตามลำดับ จากการดำเนินการควบคุมยาสูบจะเห็นไดมาตรการควบคุมยาสูบของประเทศไทย มีประสิทธิผลในพื้นที่ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวนออกเฉียงเหนือ ั1.3 สถานการณรายเขตสุขภาพ จากการเปรียบเทียบอัตราการสูบบุหร่ประชากรไทยอายุ 15 ปขึ้นไป รายเขตสุขภาพ ป 2550, 2554, ี2557, 2560 พบวา เขตสุขภาพที่มีแนวโนมลดลงสอดคลองกับภาพรวมของประเทศ ไดแก เขตสุขภาพที่ 1, 3, 5, 6, 7 และ 9 เขตสุขภาพทีมีอัตราการสูบบุหรี่คอนขางคงที่ บางปเพิ่มขึ้นหรือลดลงชา ๆ ไดแก เขตสุขภาพที่ 2, 4, 8, และ่กรุงเทพมหานคร เขตสุขภาพที่มีอัตราการสูบบุหรี่สูงและมีอัตราการลดตำ ไดแก เขตสุขภาพที่ 10, 11, 12, ดังภาพที่ 2 ่จากอัตราการบริโภคยาสูบของเยาวชนอายุ 15-18 ป, 15-19 ป จำแนกตามเขตบริการสุขภาพ เทียบคากับเปาหมายระดับประเทศ (ไมเกินรอยละ 8.5) พบวา มีเขตสุขภาพที่มีอัตราการบริโภคยาสูบของเยาวชนอายุ 15-18 ป สูงกวาคาเปาหมาย จำนวน 5 เขต ไดแก เขต 6,7, 8, 9, 11, 12 และกรุงเทพมหานคร ซึ่งสวนใหญอยูในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนอ ืและภาคใต ดังภาพที่ 3 01020304025342539254425472550255225542556255725582560กทม.กลางเหนืออีสานใต(รอยละ)

394ภาพที่ 2 อัตราการสูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 5 ปขึ้นไป พ.ศ. 2550 2554 2557 2560 จำแนกตามภาค ภาพที่ 3 อัตราการสูบบุหรี่ของเยาวชนไทย อาย 15 - 18 ป ุพ.ศ. 2550 2554 2557 2560 จำแนกตามภาค 1.4 สถานการณการไดรับควันบุหรี่มือสอง จำแนกตามเขตสุขภาพ การไดพบเห็น/ไดกลิ่น/เห็นกนบุหรี่ ในสถานที่สาธารณะ จำแนกตามเขตสุขภาพ พบวา เขตสุขภาพที่พบสูงกวารอยละ 80 จำนวน 7 เขต ไดแก เขต 3, 4, 5, 6, 8, 11 และ 12 ซึ่งสะทอนใหเห็นวาควรเพิ่มมาตรการการดำเนินงานในสวนของการบังคับใชกฎหมายคุมครองสุขภาพของผูไมสูบบุหรี่ใหเขมขนมากขึ้น เพื่อคุมครองสุขภาพของประชาชนที่ไมสูบบุหรี่ ดงภาพที่ 4 ัภาพที่ 4 รอยละของการไดพบเหน/ไดกลิ่น/เห็นกนบุหรี่ ในสถานทีสาธารณะ จำแนกตามเขตสุ ็่1.5 สถานการณดานกลยทธทางการดลาดและการโฆษณา ุ1.5.1 พบกลยทธการตลาดของบริษัทบุหรี่โดยใชสิ่งของที่มีเครื่องหมายบุหรี่และการโฆษณาบุหรี่บนุอินเตอรเน็ต 1.5.2 เคยเห็นการโฆษณา/ปายสงเสริม/กระตุนใหมีการสูบบหรี่มากที่สุดที่รานขายบุหรี่โดยการตั้งวางุซองบุหรี่ รองลงมา ไดแก บนอินเตอรเน็ต เมื่อพิจารณาการเคยเห็นการสงเสริมการขายบุหรี่ พบวาสวนใหญจะเห็นในสิ่งของ เสื้อผาที่มีตรา รองลงมาคือการโฆษณาทางอินเตอรเน็ต และการใหตัวอยางบุหรี่เปนของฟรี โดยพบมากในเขต 12, 11, 6 และ 8 ตามลำดับ ดังภาพที่ 5 และเมื่อพิจารณาการเห็นการโฆษณาหรือปายที่สงเสริม/ กระตนใหมีการสูบบุหรี่ตามที่ตาง ๆ พบวา สวนใหญจะุ0.00%5.00%10.00%15.00%20.00%25.00%30.00%35.00%ประเทศ123456789111กรุงเทพ2550255425572560(รอยละ) 7277.983.682.385.783.673.584.97579.482.587.577.880.157.662.366.965.868.666.958.867.96063.5667062.264.1050100123456789101112กรุงเทพ ประเทศBaseline รอยละการพบเห็น/ไดกลิน/ เห็นกนบุหรี่ในสถานที่สาธารณะป 2554่คาเปาหมาย25610 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20ประเทศ123456789111กรุงเทพ2550 2554 2557 2560(รอยละ)

395เห็นการโฆษณาผานรานขายบุหรี่ โดยเฉพาะในเขตภาคเหนือและภาคกลาง รองลงมาคืออินเตอรเนต และในผับบาร โดย็พบมากในเขต 2 , 4 ,6 ,5 และ 3 ตามลำดบ ดงภาพที่ 6 ััภาพที่ 5 การเคยเห็นการสงเสริมการขายบุหรี่ แยกตามรายเขต ภาพที่ 6 การเห็นการโฆษณาหรือปายที่สงเสริม/กระตุน ใหมีการสูบบุหรี่ตามที่ตาง ๆ แยกตามรายเขต2. พื้นที่เสี่ยง/กลุมเสี่ยง ภาพที่ 7 ความชุกของการสูบบหรีุ่ของประชากรไทยอายุ 15 ปขึ้นไป (รอยละ) ที่มา : การสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดมสุราของประชาชน ื่พ.ศ.2560 สำนักงานสถิติแหงชาต ิ0.000.501.001.502.002.50สคร1สคร2สคร3สคร4สคร5สคร6สคร7สคร8สคร9สคร10สคร11สคร12สคร13- ใหบุหรี่ฟรีเปนของตัวอยาง- มีของแถมหรือลดราคาของอืน่- เสื้อผาหรือสิ่งของใดๆ ที่มีตรา/- การโฆษณาบหรีทางอินเทอรเนต/ ุ่็- การใหทุนสนับสนุนกิจกรรมชวยเหลือ- ที่อื่น (ระบุ) เชน พริตตี้ขายบุหรี่ เขตสุขภาพ (อัตราการบริโภคยาสูบ พื้นที่เสี่ยงสูง กลุมอายุ 15-18 ป ≥ รอยละ 10) 1 2 พิษณุโลก 3 กำแพงเพชร 4 สระบุรี นนทบุรี 5 ประจวบคีรีขันธ 6 จันทบุรี ตราด ระยอง สระแกว สมุทรปราการ 7 รอยเอ็ด 8 อุดรธานี หนองบัวลำภู 9 บุรีรัมย สุรินทร 10 ยโสธร 11 นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา ภูเก็ตสุราษฏรธานี 12 สงขลา ตรัง พัทลุง เขตสุขภาพพื้นที่เสี่ยงสูง กลุมอายุ 15 ปขึ้นไป (อัตราการบริโภคยาสูบ ≥ รอยละ 20) 1 ลำพูน 2 เพชรบูรณ อุตรดตถ ิ3 กำแพงเพชร 4 นครนายก นนทบุร ี5 ประจวบคีรีขันธ เพชรบุรี สมุทรสาคร 6 ตราด สระแกว 7 กาฬสินธุ รอยเอด ็8 อุดรธานี หนองบัวลำภู สกลนคร บึงกาฬ 9 นครราชสีมา สุรินทร 10 อบลราชธานี อำนาจเจรญ ยโสธร ุิ11 นครศรีธรรมราช กระบี่ ชุมพร พงงา ัระนอง สุราษฏรธานี 12 นราธิวาส สงขลา ตรัง ปตตานี พทลุง ัยะลา สตล ู0.005.0010.00สคร1สคร3สคร5สคร7สคร9สคร11 สคร13- รานขายบุหรี่ เชน การตั้งวางซองบุหรี่ - อินเทอรเนต/สือสังคมออนไลน็่- ผับ บาร หรือคาราโอเกะ- ที่อื่นๆ (ระบุ) (เชน โทรทัศน/โทรทัศนการเหนการโฆษณาบหรีชนดใหมๆ ็ุ่ิ

3963. เปาหมายจากเปาหมายขององคการอนามัยโลกในเรื่องโรคไมติดตอเรื้อรังระดับโลก (9 Voluntary Global NCD targets for 2010-2025 ) ที่ตองการให ในป พ.ศ. 2568 ลดการบริโภคยาสูบลงไมนอยกวารอยละ 30 จากขอมูลป 2553 (ค.ศ.2010) อัตราการบริโภคยาสูบในประชากรไทยอายุ 15 ปขึนไปตองไมเกินรอยละ 14.7 ในป พ.ศ. 2568 สำนก้ัควบคุมการบริโภคยาสูบจึงไดกำหนดเปาหมายรายปซึ่งลดทอนมาจากเปาหมายระดับโลก ดังน ี้3.1 ลดอัตราการสูบบุหรี่ปจจุบันของประชากรไทย อาย 15 ปขึ้นไป (โดยรวม) ใหลดลงจากรอยละ 19.1 ในป ุพ.ศ.2560 เหลือ 17 ในป พ.ศ. 2564 3.2 อัตราการสูบบุหรี่ในกลุมวัยรุนอายุ 15 – 19 ป เกินไมรอยละ 8 ในป 2564 สำหรับการสูบบหรี่ในวัยรุนนน ุั ้เนื่องจากป 2544 – 2557 มีแนวโนมที่สูงขึ้น โดยในป พ.ศ. 2560 อยูที่รอยละ 9.7 ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 5 จึงตั้งเปาไมเพิ่มขึ้น 3.3 ลดอัตราการไดรับควันบุหรี่มือสองของประชาชน ลดลงรอยละ 35 ในป 2564 จากป 2557 (อัตราการไดรับควันบุหรี่มือสองของประชาชนที่มีแนวโนมสูงขึ้น ซึ่งเปาหมายของแผนยุทธศาสตรการควบคุมยาสูบแหงชาติฉบับที่สอง พ.ศ. 2559 – 2562 กำหนดเปาหมายอัตราการไดรับควันบุหรี่ของประชาชนลดลงรอยละ 25 จากป 2557 ภายในป 2562 เฉลียลดลดรอยละ 5 ตอป) ่เปาหมาย/ตวชีวัดเปาหมาย ั้baseline คาเปาหมาย ป พ.ศ. (รอยละ) 2560 2562 2563 2564 2565 1. ความชุกการสูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปขึ้นไป (รอยละ) 19.1 18.0 17.5 17.0 16.5 2. ความชุกการสูบบุหรี่ในกลุมวัยรุน อายุ 15-19 ป (รอยละ) 9.7 8.5 8.5 8 8 3. อัตราการพบเห็นการสูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะ (รอยละ) 65.0 60.0 55.0 50.0 45.0 4. ตัวชี้วัดตามเปาหมาย คาเปาหมายอตราการสูบบุหรี่ปจจุบันของประชากรไทย จำแนกรายเขตสุขภาพ อายุ 15 ปขึ้นไป (พ.ศ. 2562 – 2565) ัและคาเปาหมายอัตราการสูบบุหรี่ในกลุมวยรุนอาย 15-19 ป จำแนกรายเขตสุขภาพ (พ.ศ. 2562 – 2565) ัุ เขต Baseline 2560คาเปาหมาย ป พ.ศ. (รอยละ) ประชากรไทย อายุ 15 ปขึ้นไป Baseline 2560 คาเปาหมาย ป พ.ศ. (รอยละ) กลุมวัยรุนอายุ 15-19 ป 2562 2563 2564 2565 2562 2563 2564 2565 1 16.1 15.515.2 14.9 14.6 5.66 5.3 5.1 4.9 4.7 2 18.6 17.617.1 16.6 16.1 7.35 7.0 6.8 6.6 6.4 3 17.8 17.216.9 16.6 16.3 7.29 6.9 6.7 6.5 6.3 4 18.4 17.416.9 16.4 15.9 7.19 6.8 6.6 6.4 6.2 5 17.9 17.317 16.7 16.4 6.43 6.0 5.8 5.6 5.4 6 16.6 1615.7 15.4 15.1 10.5 9.3 8.7 8.1 7.5 7 19.8 18.818.3 17.8 17.3 8.51 7.7 7.3 6.9 6.5 8 22.6 20.619.6 18.6 17.6 8.99 8.2 7.8 7.4 7.0 9 21 1918 17 16 13.03 11.8 11.2 10.6 10.0

397 เขต Baseline 2560คาเปาหมาย ป พ.ศ. (รอยละ) ประชากรไทย อายุ 15 ปขึ้นไป Baseline 2560 คาเปาหมาย ป พ.ศ. (รอยละ) กลุมวัยรุนอายุ 15-19 ป 2562 2563 2564 2565 2562 2563 2564 2565 10 21.2 19.218.2 17.2 16.2 8.11 7.3 6.9 6.5 6.1 11 25.1 23.122.1 21.1 20.1 14.1 12.9 12.3 11.7 11.1 12 23.9 21.920.9 19.9 18.9 9.61 8.8 8.4 8.0 7.6 กทม 15.4 14.814.5 14.2 13.9 9.38 8.6 8.2 7.8 7.4 ประเทศ 19.1 18.0 17.5 17.0 16.5 9.7 8.5 8.0 8.0 8.0 5. มาตรการ ตัวชี้วัดและชุดกิจกรรมมาตรการ/ตวชี้วัด ัพื้นที่/กลุมเปาหมาย ชุดกิจกรรม มาตรการที่ 1 พฒนากลไก นโยบาย/กฎหมาย สรางความรวมมือ ในการควบคุมการบริโภคยาสูบ ัตัวชี้วดที่ 1.1ั จำนวนรางกฎหมาย/อนุบัญญัติ/นโยบายสาธารณะ /มาตรการ/ระบบการติดตามประเมินผล เพอควบคุมื่ยาสูบ สถานที่สาธารณะ/สถานประกอบการ/ผูประกอบการ/ธุรกิจยาสูบ/ประชาชน/เยาวชน 1. พัฒนานโยบาย กฎหมาย อนุบัญญัติ มาตรการทสำคัญี่ในการควบคุมยาสูบ 2. พัฒนาระบบติดตามประเมินผลการดำเนินงานเพื่อควบคุมยาสูบ ตัวชี้วดที่ 1.2ั รอยละของการเกิดกลไกการ ผูขับเคลื่อนการควบคุมยาสูบควบคุมยาสูบระดับจังหวัด และอำเภอ ในระดับจังหวัด อำเภอ/ จังหวัด อำเภอ ในเขตรับผิดชอบของ สคร. 1.ขับเคลื่อนแผนยทธศาสตรฯสูการปฏิบัติระดับพื้นท ุี่2.พัฒนาโครงสรางการดำเนินงานระดับพื้นท ี่3.พัฒนากลไกการควบคุมยาสูบระดับอำเภอ 4.พัฒนากลไกความรวมมอในการดำเนินงานควบคุมืยาสูบในทุกภาคสวนและทุกระดบ(สวนภูมิภาค ทองถิ่น ัและชุมชน) ตัวชี้วดที่ 1.3ั จังหวดมีแผนการดำเนินัควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล สอดคลองตามแผนยุทธศาสตรการควบคุมยาสูบ และเครื่องดื่มแอลกอฮอล ผูขับเคลื่อนการควบคุมยาสูบในระดับจังหวัด อำเภอ/ จังหวัด อำเภอ ในเขตรับผิดชอบของ สคร. 1.แตงตั้งคณะกรรมการอำนวยการ/คณะทำงาน ระดับจังหวัดระดับพื้นที่มีโดยมีการบูรณาการกับแอลกอฮอล ฯ 2.ประชุมคณะกรรมการควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล /คณะกรรมการอำนวยการ/คณะทำงานเพื่อวางแผน ติดตาม ควบคุมกำกับการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA ระดับจังหวัด/ระดับพื้นท ี่3.จัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานยาสูบและควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลรวมกับภาคีเครือขายที ่เกี่ยวของ ฯ 4.พัฒนาใหเกิดกระบวนการดำเนินงานของประชาคมในอำเภอ ชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตัวชี้วดที่ 1.4 ัมแผนปฏิบัติการโดยการมีีสวนรวมของภาคีเครือขาย และมรอยละีการดำเนินการตามแผน ผูขับเคลื่อนการควบคุมยาสูบในระดับจังหวัด อำเภอ/ จังหวัด อำเภอ ในเขตรับผิดชอบของ สคร.ตัวชี้วดที่ 1.5ั จังหวัดมีการจัดการระบบขอมูลของจังหวัด (รอยละ) ผูขับเคลื่อนการควบคุมยาสูบในระดับจังหวัด อำเภอ/ จังหวัด อำเภอ ในเขตรับผิดชอบของ สคร.การจัดทำระบบฐานขอมูลทเกี่ยวของกับยาสูบในระดับี่จังหวัด 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรดานขอมูลของผูเสพยาสูบในระดับจังหวัด 2. การสำรวจขอมูล/ปจจัยที่เกี่ยวของกับยาสูบ

398มาตรการ/ตวชี้วัด ัพื้นที่/กลุมเปาหมาย ชุดกิจกรรม 3. เชื่อมโยงฐานขอมูลการทำงานของทุกหนวยงาน มาตรการท 2 พัฒนาระบบเฝาระวัง และการสื่อสารความเสี่ยง/การจัดการความรูในการปองกัน ควบคุมการบริโภคยาสูบ ี ่ตัวชี้วดที่ 2.1ั มระบบเฝาระวังเพื่อควบคุมียาสูบระดับชาติ/เขต/จังหวดัผูรับผิดชอบงานควบคุมยาสูบพื้นที่ที่มอัตราการสูบบุหรี่ ีเสี่ยงสูงในเขตรับผิดชอบของ สคร พัฒนาระบบเฝาระวังเพื่อเฝาระวังสถานการณที่สงผลตอการบริโภคยาสูบ 1. พัฒนาระบบการบริหารจัดการฐานขอมูลการเฝาระวังระดับชาติ คลอบคลุม 5มิต ิ2. การพยากรณการบริโภคยาสูบตามรายเขตสุขภาพ 3. การพัฒนาระบบการดำเนินการรองเรียนผลิตภัณฑยาสูบผิดกฎหมายจากการเฝาระวังผลิตภัณฑยาสูบ 4. การพัฒนาระบบการดำเนินการรองเรียนการละเมดิกฎหมายยาสูบฉบับใหม ตัวชี้วดที่ 2.2ั รอยละของเขต จังหวัด ทมี่ีฐานขอมูลในระดบพื้นที่ สำหรับใชวางแผน 2. 12 เขตบริการสุขภาพ ัและดำเนินการเฝาระวัง 1. สคร.1-12 3. สสจ.77 จว 1.การจัดทำระบบฐานขอมูลที่เกี่ยวของกับยาสูบ 2.พัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรดานขอมูลของผูเสพยาสูบในระดับเขต 3.การสำรวจขอมูล/ปจจัยที่เกี่ยวของกับยาสูบ 4.พัฒนาระบบการบริหารจัดการเพอเชื่อมโยงฐานขอมูลื่การทำงานของทุกหนวยงาน ตัวชี้วดที่ 2.3ั จำนวนผลิตภัณฑ/มาตรการ 1. สคร.1-12 นำไปสูการพัฒนาการเฝาระวังเพื่อควบคุมยาสูบ ทั้งในกลุมเสี่ยง และประชาชนทั่วไป 3. สสจ.77 จว 2. 12 เขตบริการสุขภาพ การสรางและพัฒนาองคความรูเพื่อนำไปสูการพัฒนาการเฝาระวังควบคุมยาสูบ ทั้งในกลุมเสี่ยง และประชาชนทั่วไป 1. การศึกษาวิจัยปจจัยที่สงผลตอแนวโนมในการบริโภคยาสูบในวัยรุนหญิง 2. พัฒนาการวิจัยเพื่อควบคุมนักสูบหนาใหมในเพศหญิง (สาเหตุในการสูบที่แตกตางจากเพศชาย) 3. พัฒนาองคความรูดานผลิตภัณฑยาสูบชนิดใหม ตัวชี้วดที่ 2.4ั รอยละการรับรูของประชาชนที่เกี่ยวของกับการควบคุมยาสูบ 1. วัยรุน / ประชาชนทัวไป . พัฒนาการประชาสัมพันธกฎหมาย หรือโทษ พษภัย ่2. จังหวัดในเขตรับผิดชอบของ สคร. 1ิและกลยุทธในการทำตลาดของยาสูบ 2. ใหสุขศึกษาประชาสัมพันธ 3. จัดกิจกรรม/ดำเนินการสื่อสารเพอควบคุมการบริโภคื่ยาสูบ 4. สรางความตระหนักและการรณรงค ในกลุมเสี่ยง 5. สรางกระแสสังคม/สรางจิตสำนึกใหเปนเยาวชนปลอดยาสูบในรปแบบตางๆ ูมาตรการท 3 การปองกันมิใหเกิดผเสพยาสูบรายใหมและปกปองเยาวชนจากกลยุทธของอุตสาหกรรมยาสูบี ู่ตัวชี้วดที่ 3.1ั จำนวนกฎหมาย อนุบัญญัติที่เอื้อตอการปองกันการเขาถึงผลิตภัณฑยาสูบของนักสูบหนาใหม สถานที่สาธารณะ/สถานประกอบการ/ผูประกอบการ/ธุรกิจยาสูบ/ประชาชน/เยาวชน พัฒนากฎหมายใหเออตอการปองกันการเขาถึงผลิตภัณฑื้ยาสูบของนักสูบหนาใหม 

399มาตรการ/ตวชี้วัด ัพื้นที่/กลุมเปาหมาย ชุดกิจกรรม ตัวชี้วดที่ 3.2ั รอยละของจำนวนโรงเรยนที 1. โรงเรียนในพนที่รับผิดชอบี่รวมดำเนินการโรงเรียนปลอดบุหรี่ดำเนินการตาม 7 มาตรการ (ขยายประถม อาชีวะ) ื้ของ สคร. 2. กลุมวัยรุน 3. พื้นทในชุมชนที่มีความ ี่เสี่ยงสูง ของเยาวชนในการบริโภคยาสูบ 4. เยาวชนในสถานศึกษา อาย 2. ขับเคลื่อนมาตรการโรงเรียนปลอดบุหรี่ ุ15-18 ป 5. ในพื้นที่ชุมชนที่มีความเสี่ยง ปลอดบุหรี่ตามมาตรการสถานศึกษาปลอดบุหรี่ สูงของเยาวชนในการบริโภคยาสูบ การขับเคลื่อนการดำเนินการโรงเรียน/สถานศึกษาปลอดบุหรี่แบบองครวม (5 แทงของ ก.ศธ.) ครอบคลุมตามเปาหมายทกำหนด ี่1. ผลักดันใหเกิดการขับเคลื่อนในเชิงนโยบายครอบคลุมทุกระดับชั้น/พื้นที่และสถานศึกษาในสังกัดภาครัฐ เพื่อใหสถานศึกษาปลอดบุหรี่ 3. ติดตามประเมนผลการดำเนินงานสถานศึกษาเปนเขติ3.1พัฒนาแนวทาง/มาตรฐาน/ขยายเปาหมายการดำเนินงานในกลุมนักเรียนเพอปองกันและลดจำนวนนักื่เสพหนาใหม 3.2ขับเคลื่อนภาคีเครือขาย/สรางความรู ความเขาใจ ความตระหนักเกี่ยวกับโทษ พิษ ภัยรวมไปกับการปรับพฤติกรรมในเยาวชน เพื่อการลด เลิกการสูบบุหรี่ 3.3พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาใหสามารถใหคำปรึกษาการเลิกบุหรี่เบื้องตน และสงตอสถานบริการ 3.4ติดตามการดำเนินสถานศึกษาตนแบบในการใหบริการเลิกบุหรี่และการสงตอตามแนวทางที่กำหนด ตัวชี้วดที่ 3.3ั รอยละของโรงเรียนที่รวมดำเนินโครงการโรงเรียนปลอดบุหรี่มีอัตราการสูบบุหรี่ของนักเรียนลดลง ตัวชี้วดที่ 3.4 ัรอยละโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาทเขารวมโครงการ มีี่ผูประกอบการซงดำเนินธุรกิจนอกึ่สถานศึกษา หรือที่เกี่ยวของกับกลุมเยาวชน เยาวชน ในเขตโชนนิ่งปฏิบัติตามกฎหมาย 1. สถานที่สาธารณะ/สถานประกอบการ/ผูประกอบการ/ธุรกิจยาสูบ/ประชาชน/2. สคร.1-12 3. สสจ.77 จว 1.เฝาระวังควบคุมและบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของกับผูประกอบการซงดำเนินธุรกิจในและนอกสถานศึกษาหรือึ่ที่เกี่ยวของกับกลุมเยาวชน โดยชุดปฏิบัติการบังคับใชกฎหมายของจังหวัด 2.พัฒนาศักยภาพทีมปฏิบัติการบังคับใชกฎหมายของจังหวัดเพื่อดำเนินการเฝาระวังและบังคับใชกฎหมาย ตัวชี้วดที่ 3.5ั อตราการสูบบุหรี่ของัเยาวชนลดลง 1. ประชาชน/เยาวชน 2. สคร.1-12 3. สสจ.77 จว ขับเคลื่อนภาคีเครือขาย/สราง ความรู ความเขาใจ ความตระหนักเกี่ยวกับโทษ พษ ภัยรวมไปกับการปรับิพฤติกรรมในเยาวชน เพื่อการลด เลิกการสูบบุหรี่ ตัวชี้วดที่ 3.6ั รอยละรานคาบุหรี่/สุรารอบ 1. รานคา/ผูประกอบการ/สถานศึกษาปฏิบัติตามทกฎหมายกำหนด ี่ธุรกิจยาสูบ/ประชาชน/เยาวชน 2. สคร.1-12 3. สสจ.77 จว เฝาระวังและบังคับใชกฎหมายทเกี่ยวของกับี่ผูประกอบการซงดำเนินธุรกิจในและรอบสถานศึกษา ึ่มาตรการท 4 การทำใหสิ่งแวดลอมปลอดควันบุหรี่ ี ่ตัวชี้วดที่ 4.1ั รอยละของสถานที่สาธารณะ ผูไดรับผลกระทบจากควันปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย หนวยงาน / สถานที่สาธารณะ ปลอดบุหรี่ 1. ศาสนสถานปลอดบุหร ี ่บุหรี่มือสอง โดยเฉพาะเดก ็และสตร/ ี1. พัฒนาการดำเนินงานเพื่อสงเสริมการบังคับใชกฎหมายสถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่

400มาตรการ/ตวชี้วัด ัพื้นที่/กลุมเปาหมาย ชุดกิจกรรม 2. สถานีขนสงปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย 3. รานอาหารปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย 4. ตลาดปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย 5. สถานที่ราชการปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย ผูประกอบการ/สถานที่สาธารณะ 1.1พัฒนาความรวมมือระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของซึ่งกำกับดูแลสถานที่สาธารณะ/สถานที่ทำงานปลอดบุหรี่ ตามกฎหมาย 1.2กำหนดเปาหมายดำเนินการสถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ 1.3จัดทำมาตรฐานสถานที่สาธารณะ/สถานที่ทำงานปลอดบุหรี่ 1.4สนับสนุนใหหนวยงานดำเนินงานสรางสิ่งแวดลอมปลอดบุหรี่ 2. อบรมเพื่อเสริมสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายในสถานที่ทกำหนดใหปลอดควันบุหรี่ ี่3. เสริมสรางความรูแก ผูรับผิดชอบ/ผูดูแล สถานที่สาธารณะ เรื่องการจัดสถานที่ใหเปนเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมายกำหนด 4. เปดตัวสถานที่ทองเที่ยว/สถานที่สาธารณะเปนเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย ตัวชี้วดที่ 4.2ั จำนวนพื้นที่ที่มีนโยบาย/มาตรการสรางสิ่งแวดลอมปลอดควันบุหรี่ในชุมชน (จังหวด อำเภอ ตำบล)ั1. สคร.1-12 2. สสจ.77 จว 1. พัฒนาโมเดลอำเภอตนแบบปลอดบุหรี่ จำแนกตามขนาดอำเภอ (นอก/ในเขตเทศบาล)/สรางมาตรการสิ่งแวดลอมปลอดบุหรี่ในชุมชน 2. สรางความตระหนัก ใหประชาชนในการสรางสิ่งแวดลอมใหปลอดบุหรี่ในชุมชน/สรางการมีสวนรวมของประชาชนในการเฝาระวังสิ่งแวดลอม 3. ขยายพื้นที่การดำเนินงานสรางสิ่งแวดลอมปลอดควันบุหรี่ในชุมชน มาตรการท 5 การชวยผเสพใหเลิกยาสูบี ู่ตัวชี้วดที่ 5.1ั รอยละของสถานบริการมีระบบบริการชวยเลิกบุหรี่ครอบคลุมถึงระดับชุมชน รพศ. , รพท. , รพช. 1. จังหวัด ในพื้นที่รับผิดชอบของ สคร. 2. รพศ. ,รพท., รพช , รพสต. 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรใหสามารถใหคำปรึกษาการ1. พัฒนาระบบบำบัดโรคเสพติดยาสูบในสถานบรการิสุขภาพทุกระดับ เลิกบุหรี่ 3. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานคัดกรองและ ลด เลิกการบริโภคยาสูบ ในสถานบริการสุขภาพ (รพศ./รพท./รพช./รพสต.) 4. พัฒนาโมเดล/รูปแบบ การเลิกยาสูบในระดับชุมชน 5. สรางความตระหนัก ใหประชาชนเลิกบุหรี่ 6. ขยายพื้นที่การดำเนินงานพัฒนาการเลิกบุหรี่ในชุมชน ตัวชี้วัดที่ 5.2 รอยละรพ.ระดับจังหวัดและ 1. จังหวัด ในพื้นที่รับผิดชอบอำเภอ มีการใหบริการเลิกบุหรี สุรา โดยผสมผสานในคลินิกโรคไมติดตอ ของ สคร. 2. รพศ. ,รพท., รพช 1. สนับสนุนองคความรูใหแกจังหวัด/ สนับสนุน ใหคำปรึกษาติดตามประเมินผลการดำเนินงานคัดกรองและ ลด เลิกการบริโภคยาสูบ ในสถานบริการสุขภาพ (รพศ./รพท./รพช./รพสต.) ในพื้นท ี่

401มาตรการ/ตวชี้วัด ัพื้นที่/กลุมเปาหมาย ชุดกิจกรรม ตัวชี้วดที่ 5.3ั รอยละของรพ.สต. มีการจัดบริการ/กิจกรรมชวยเลิกบุหรี่ในคลินิกโรคเรื้อรังในชุมชนทั้งเชิงรับและเชิงรุก 1. จังหวัด ในพืนทีรับผิดชอบ 2. พัฒนาศักยภาพขีดความสามารถของ รพ.สต. ในการ้่ของ สคร. 2. รพสต. ชวยเลิกสูบบุหรี่ และเลิกดื่มสุรา 3. พัฒนาศักยภาพ อสม . ผูนำชุมชน ปราชญชาวบานในการชวยเลิกสูบบุหรี่ เลิกดื่มสุรา ในชุมชน 4. สนับสนุนการพฒนาระบบบำบัดโรคเสพตดยาสูบในัิสถานบริการสุขภาพระดับจังหวัดและชุมชน ตัวชี้วดที่ 5.4ั รอยละของผูสูบบุหรี่ของจังหวัดเลิกบุหรี่ไดเพิ่มขึ้น 1. จังหวัด ในพื้นที่รับผิดชอบของ สคร. 2. รพศ. ,รพท., รพช , รพสต. 2. จัดทำฐานขอมูลผูปวยยาสูบและการบำบัดภายในเขต/1. สรางความตระหนัก ใหประชาชนเลิกบุหรี่/ขยายพนทื ้ี ่การดำเนินงานพัฒนาการเลิกบุหรี่ในชุมชน จังหวัด 3. ติดตามและประเมินผลกระบวนการชวยผูเสพใหเลิกยาสูบภายในเขต/จังหวัด 6. กลไกการบริหารจัดการแผนเพื่อใหแผนบรรลุผลตามวตถประสงค/เปาหมาย ัุมาตรการท 1: พัฒนากลไก นโยบาย/กฎหมาย สรางความรวมมือ ในการควบคุมการบริโภคยาสูบ ี ่ตัวชี้วดัมาตรการที ่สำคัญ1. รอยละของการเกิดกลไกการควบคุมยาสูบระดับจังหวัด และอำเภอเกิดกลไกทุกจังหวัด 1.1 ระดับอำเภอรอยละ 10ทุกจังหวัด ในเขตรับผิดชอบ 1.2 เกิดกลไกระดับอำเภออยางนอย 1 อำเภอตอจังหวัด 2. มีการแผนดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล สอดตามแผนยุทธศาสตรการควบคุมยาสูบ และเครื่องดื่มแอลกอฮอลครบทุกจังหวัด 3. มีแผนปฏิบัติการโดยการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย และมีการดำเนินการตามแผนไดไมนอยกวารอยละ 80 4. จังหวัดมีการจัดการระบบขอมูลของจังหวัด อยางนอยรอยละ 50 สสจ. 1. แตงตั้งคณะกรรมการอำนวยการ/คณะทำงาน ระดับจังหวัดระดับพื้นที่มีโดยมีการบูรณาการกับแอลกอฮอล และประสานเชื่อมโยงการดำเนินงานกับชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. ประชุมคณะกรรมการควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล /คณะกรรมการอำนวยการ/คณะทำงานเพื่อวางแผน ติดตาม ควบคุมกำกับการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA ระดับจังหวัด/ระดับพื้นท ี่3. จัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานยาสูบและควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลรวมกับภาคีเครือขายที่เกี่ยวของ ทั้งภาคการศึกษา สรรพสามิต ตำรวจ อปท. และภาคประชาชน เชื่อมโยงกับการดำเนินงานโครงการ 3 ลาน 3 ป 4. พัฒนาใหเกิดกระบวนการดำเนินงานของประชาคมในอำเภอ ชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น 5. ประชุมติดตามความกาวหนาการดำเนินงาน 6. ถอดบทเรียนการดำเนินงาน 7. การจัดทำระบบฐานขอมูลที่เกี่ยวของกับยาสูบในระดับจังหวัด 7.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรดานขอมูลของผูเสพยาสูบในระดับจังหวัด 7.2 การสำรวจขอมูล/ปจจัยที่เกี่ยวของกับยาสูบ 7.3 เชื่อมโยงฐานขอมูลการทำงานของทุกหนวยงาน สคร. 1. การสราง/พัฒนากลไกการควบคุมยาสูบ ระดับเขต 1.1 แตงตั้งคณะทำงานระดับเขต 1.2 ประชุมคณะทำงานระดบเขต ั1.3 นิเทศติดตามการดำเนินงานจังหวัด

402มาตรการท 1: พัฒนากลไก นโยบาย/กฎหมาย สรางความรวมมือ ในการควบคุมการบริโภคยาสูบ ี ่1.4 พัฒนาระบบขอมูลระดับเขต 1.5 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู ถอดบทเรียนการดำเนินงานของจังหวัดในเขตรับผิดชอบ 2. การจัดทำระบบฐานขอมูลที่เกี่ยวของกับยาสูบระดับเขต 2.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรดานขอมูลของผูเสพยาสูบในระดับเขต 2.2 การสำรวจขอมูล/ปจจัยที่เกี่ยวของกับยาสูบ 2.3 เชื่อมโยงฐานขอมูลการทำงานของทุกหนวยงานระดับเขต มาตรการที่ 2 พัฒนาระบบเฝาระวัง และการสือสารความเสียง/การจดการความรูในการปองกนควบคุมการบริโภค่่ััยาสูบ ตัวชี้วัดมาตรการที่สำคัญ1. มีระบบเฝาระวังเพื่อควบคุมยาสูบระดับชาติ/เขต/จังหวัด 2. รอยละของเขต จังหวัด ที่มีฐานขอมูลในระดับพื้นที่ สำหรับใชวางแผนและดำเนินการเฝาระวัง 3. จำนวนผลิตภัณฑ/มาตรการนำไปสูการพัฒนาการเฝาระวงเพื่อควบคุมยาสูบ ทั้งในกลุมเสี่ยง และัประชาชนทั่วไป 4. รอยละการรับรูของประชาชนทีเกยวของกับการควบคุมยาสูบ ่ี ่สสจ. 1. การจัดทำระบบฐานขอมูลการควบคุมยาสูบระดับจังหวด ั2. การสื่อสารสรางความตระหนัก media advocacy (การสรางขาว) ในกรณีใหญ ๆ หรือพื้นที่ดำเนินการยาก 3. ถอดบทเรียนการดำเนินงาน สคร. 1. พัฒนาระบบเฝาระวงเพือเฝาระวังสถานการณที่สงผลตอการบริโภคยาสูบ ั่2. สรางการรับรูและการสื่อสารความเสี่ยง เพื่อการปองกันควบคุมการบริโภคยาสูบ 3. การจัดทำระบบฐานขอมูลการควบคุมยาสูบระดับเขต มาตรการที่ 3 : การเฝาระวง ปองกันมิใหเกิดผูเสพยาสูบรายใหมและปกปองเยาวชนจากกลยุทธของอุตสาหกรรมัยาสูบ ตัวชี้วัดมาตรการที่สำคัญ 1. จำนวนกฎหมาย/ อนุบัญญัติที่เกี่ยวของกับผูเสพยาสูบรายใหมฯ (4 เรื่อง) 2. รอยละของโรงเรียนที่เขารวมโครงการโรงเรียนปลอดบหรี่ที่มีการสูบบุหรี่ของนักเรียนลดลง (ไมนอยุกวารอยละ 30) 3. อัตราการสูบบุหรี่ของเยาวชนลดลง (รอยละ 10 เทียบกบปที่ผานมา) ั4. รอยละของรานคาบุหรี่/สุรารอบสถานศึกษาปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด ป 2562 รอยละ 30 , ป 2563 รอยละ 40 และป 2564 รอยละ 50

403มาตรการที่ 3 : การเฝาระวง ปองกันมิใหเกิดผูเสพยาสูบรายใหมและปกปองเยาวชนจากกลยุทธของอุตสาหกรรมัยาสูบ สสจ. 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาใหสามารถใหคำปรึกษาการเลิกบุหรี่เบื้องตน และสงตอสถานบริการ 2. อบรมเครือขายครู/แกนนำเยาวชนเพื่อปองกันนักสูบหนาใหม สรางความรูความเขาใจเรื่องโทษ-พษภัยิของบุหรี่รูเทาทันกลยุทธของอุตสาหกรรมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล 3. สนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาเปนโรงเรียนปลอดบุหรี่ตามเกณฑที่กำหนด 4. สนบสนน เสริมสรางพัฒนาแกนนำในพื้นที่ใหมีการรณรงค เผยแพรประชาสัมพันธฯ ัุ5. ติดตามการดำเนินสถานศึกษาตนแบบในการใหบริการเลิกบุหรี่และการสงตอตามแนวทางที่กำหนด 6. ขับเคลื่อนมาตรการโรงเรียนปลอดบุหรี่ 7. เฝาระวังและบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของกับผูประกอบการซึ่งดำเนินธรกิจในและรอบสถานศึกษา ุ8. ขับเคลื่อนภาคีเครือขาย/สราง ความรู ความเขาใจ ความตระหนักเกี่ยวกับโทษ พิษ ภัยรวมไปกับการปรับพฤติกรรมในเยาวชน เพื่อการลด เลิกการสูบบุหรี่ 9. พัฒนาโมเดล/รูปแบบและนวัตกรรมเพื่อเฝาระวังเยาวชนจากอุตสาหกรรมยาสูบในพนที่ ื้โรงพยาบาล 1. ใหคำปรึกษาแกบุคลากรทางการศึกษาใหสามารถใหคำปรึกษาการเลิกบุหรี่เบื้องตน และสงตอสถานบริการ 2. ประสานงานสงตอขอมูลเยาวชนที่เสพยาสูบกับสถานศึกษา 3. ใหบริการใหคำปรึกษาเลิกบุหรี่ของเยาวชนในพื้นที่ในกรณีที่สถานศึกษาไมสามารถดำเนินการได รพ.สต. 1. จัดบริการ/กิจกรรมชวยเลิกบุหรี่ในกับเยาวชนในพื้นที่ กรณีที่สถานศึกษาไมสามารถดำเนินการได 2. ประสานงานสงตอขอมูลเยาวชนที่เสพยาสูบกับสถานศึกษา อบต. 1. สงเสริมการสรางกลไกหรือนวัตกรรมเพื่อปกปองเยาวชนจากยาสูบ 2. เฝาระวังกลยุทธของอุตสาหกรรมยาสูบและรานคาในการจำหนายยาสูบแกเยาวชน 3. ขับเคลื่อนการใหความรูเรื่องขอกฎหมายเกี่ยวกับยาสูบแกรานคารอบสถานศึกษา 4. สนับสนนงบประมาณและรวมพัฒนาโมเดล/รูปแบบและนวตกรรมเพือเฝาระวงเยาวชนจากุั่ัอุตสาหกรรมยาสูบในพื้นที่ โรงเรียน/สพม./สพป 1. ดำเนินงานพัฒนาเปนโรงเรียนปลอดบุหรี่ตามเกณฑที่กำหนด 2. เฝาระวังควบคุมและบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของกับผูประกอบการซึ่งดำเนินธุรกิจในและรอบสถานศึกษา 3. พัฒนาแกนนำ เยาวชน /พัฒนาโมเดล/รูปแบบและนวัตกรรมเพื่อเฝาระวังเยาวชนจากอุตสาหกรรมยาสูบ ตำรวจ สรรพสามิต 1. เฝาระวังควบคุมและบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของกับผูประกอบการซึ่งดำเนินธุรกิจในและนอกสถานศึกษา

404มาตรการที่ 3 : การเฝาระวง ปองกันมิใหเกิดผูเสพยาสูบรายใหมและปกปองเยาวชนจากกลยุทธของอุตสาหกรรมัยาสูบ สคร. 1. สนับสนุนการดำเนินงานเฝาระวัง และการบริการลดเลิกยาสูบของเยาวชนเชงรุกในพื้นที่/การิดำเนินการเฝาระวังปองกันควบคุมยาสูบในโรงเรียนปลอดบุหรี่ตามเกณฑที่กำหนด 2. สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพบุคลากร/เจาหนาที่และภาคีเครือขายโรงเรียน/พัฒนาศักยภาพแกนนำครู/เยาวชนเฝาระวังปองกันควบคุมยาสูบในโรงเรียน 3. สนับสนุน พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาใหสามารถใหคำปรึกษาการเลิกบุหรี่เบื้องตน และสงตอสถานบริการในเขตรับผิดชอบของ สคร. 4. ติดตามการดำเนินสถานศึกษาตนแบบในการใหบริการเลิกบุหรี่และการสงตอตามแนวทางทีกำหนด ่5. ขับเคลื่อนภาคีเครือขาย/สรางความรู ความเขาใจ ความตระหนักเกี่ยวกับโทษ พิษ ภัยรวมไปกับการปรับพฤติกรรมในเยาวชน เพื่อการลด เลิกการสูบบุหรี่ 6. พัฒนาการประชาสัมพันธกฎหมาย หรือโทษ พิษภัย และกลยุทธในการทำตลาดของยาสูบ 7. สนับสนุน รวบรวม วเคราะหการพัฒนาโมเดล/รปแบบและนวตกรรมเพือเฝาระวงเยาวชนจากิูั่ัอุตสาหกรรมยาสูบในพื้นที่ 8. ขับเคลื่อนการใหความรูเรื่องขอกฎหมายเกี่ยวกับยาสูบแกรานคารอบสถานศึกษา 9. ตดตามประเมินผลมาตรการปองกนผูเสพยาสูบรายใหมและอัตราการเสพยาสูบของเยาวชนภายในเขต ิั10. การจัดทำระบบฐานขอมูลที่เกี่ยวของกับยาสูบระดับเขต มาตรการที่ 4 : การทำใหสิ่งแวดลอมปลอดควันบุหรี่ตัวชี้วัดมาตรการที่สำคัญ1. รอยละของสถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย 1.1 ศาสนสถานปลอดบุหรี่ ป 2562 รอยละ 70 ป 2563 รอยละ 80 ป 2564 รอยละ 90 1.2 สถานีขนสงปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย ป 2562 รอยละ 70 ป 2563 รอยละ 80 ป 2564 รอยละ 90 1.3 รานอาหารปลอดบหรีตามกฎหมาย ป 2562 รอยละ 40 ป 2563 รอยละ 50 ป 2564 รอยละ 60 ุ่1.4 ตลาดปลอดบหรีตามกฎหมาย ป 2562 รอยละ 70 ป 2563 รอยละ 80 ป 2564 รอยละ 90 ุ่1.5 สถานที่ราชการปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย ป 2562 รอยละ 90 ป 2563 รอยละ 95 ป 2564 ทุกแหง 2. พื้นที่มีนโยบาย/มาตรการสรางสิ่งแวดลอมปลอดควันบุหรี่ในชุมชน(จังหวัด อำเภอ ตำบล) ป 2562 = 10 แหง/จังหวัด ป 2563 = 20 แหง/จังหวัด ป 2564 = 1 แหง/อำเภอ/จังหวัด สสจ. 1. การใหความรูสรางความตระหนัก เฝาระวังสถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ สุราและการบังคับใชฎหมาย 2. จัดเวทีประชาคมเพื่อสรางมาตรการชุมชนเพื่อควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลและยาสูบ 3. ทีมบังคับใชกฎหมายลงพื้นที่ ตรวจเตือนและประชาสัมพันธแนวทางปฏิบัติที่ถูกตองใหกับรานคา/สถานประกอบการ โดยมีการบูรณาการกบแอลกอฮอล ั4. การสือสารสรางความตระหนก media advocacy (การสรางขาว) ในกรณีใหญ ๆ หรือพื้นที่ดำเนินการยาก ่ั5. พัฒนาความรวมมือระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของซึ่งกำกับดูแลสถานที่สาธารณะ/สถานทีทำงานปลอด่บุหรี่ ตามกฎหมาย 5.1 กำหนดเปาหมายดำเนินการ

405มาตรการที่ 4 : การทำใหสิ่งแวดลอมปลอดควันบุหรี่5.2 จัดทำมาตรฐานสถานทีสาธารณะ/สถานที่ทำงานปลอดบุหรี ่่5.3 สนับสนุนใหหนวยงานดำเนนงานสรางสิ่งแวดลอมปลอดบุหรี่ ิ6. สนับสนุนการขยายพื้นที่การดำเนินงานสรางสิ่งแวดลอมปลอดควันบุหรี่ในชุมชน 7. พัฒนาโมเดล/รูปแบบและนวัตกรรมพื้นที่ตนแบบปลอดบุหรี่ ระดับอำเภอจำแนกตามขนาดอำเภอ (นอก/ในเขตเทศบาล) โรงพยาบาล 1.สนับสนุนการดำเนินงานสถานที่ราชการปลอดบุหรี่ รพ.สต. 1.สนับสนุนการดำเนินงานสถานที่ราชการปลอดบุหรี่ อบต. 1. เปดตัวสถานที่ทองเที่ยว/สถานที่สาธารณะเปนเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย 2. ขยายพื้นที่การดำเนินงานสรางสิ่งแวดลอมปลอดควันบุหรี่ในชุมชนและเฝาระวังการสูบบุหรี่ในพื้นที่สาธารณะ 3. พัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสรางสิ่งแวดลอมปลอดควันบุหรี่ในชุมชน 4. สนับสนุนงบประมาณและรวมพัฒนาโมเดล/รูปแบบและนวัตกรรมพื้นที่ตนแบบปลอดบุหรี่ ระดับชุมชน ตำรวจ สรรพสามิต การบูรณาการกับแอลกอฮอล 1. พื้นที่ ตรวจเตือนและประชาสัมพันธแนวทางปฏิบัติที่ถูกตองใหกับรานคา/สถานประกอบการ โดยมีสคร. 1. สงเสริมสนบสนุนการ พัฒนาโมเดลอำเภอตนแบบปลอดบุหรี่ จำแนกตามขนาดอำเภอ (นอก/ในเขตัเทศบาล)/สรางมาตรการสิ่งแวดลอมปลอดบุหรี่ในชุมชน 2. สนับสนุนการสรางความตระหนัก ใหประชาชนในการสรางสิ่งแวดลอมใหปลอดบุหรี่ในชุมชน/สรางการมีสวนรวมของประชาชนในการเฝาระวังสิ่งแวดลอม 3. เฝาระวง ตดตามประเมินผลมาตรการการดำเนินงานการทำใหสิงแวดลอมปลอดบุหร่ ัิ่ีมาตรการที่5 : การชวยผูเสพใหเลิกยาสูบ ตัวชี้วัดมาตรการที่สำคัญ1. รอยละของประชาชนผูเสพยาสูบที่เขาถึงการใหคำปรึกษาการเสพยาสูบผานชองทางตางๆ เพิ่มขึ้น 1.1 รอยละของสถานบริการมีระบบบริการชวยเลิกบุหรี่ครอบคลุมถึงระดับชุมชน 1.1.1 รพศ.,รพท.,รพช. รอยละ 100 1.1.2 รพ.สต. ป 2562 รอยละ 40 ป 2563 รอยละ 50 ป 2564 รอยละ 60 1.1.3 ชุมชนตนแบบเลิกบุหรี่ ป 2562 : 3 แหง/จังหวัด ป 2563 : 5 แหง/จังหวัด ป 2564 : 7 แหง/จังหวัด 2. รอยละของประชาชนผูเสพยาสูบที่เขาถึงการใหคำปรึกษาการเสพยาสูบผานชองทางตาง ๆ เพมขึ้นรอยละ ิ่30 ภายในป 2564 3. รอยละของ รพ.ระดับจังหวัดและอำเภอ มีการใหบริการเลิกบุหรี่ สุรา โดยผสมผสานในคลินิกโรคไมตดตอ (รอยละ 50) ิ4. รอยละของ รพ.สต. มีการจัดบริการ/กิจกรรมชวยเลิกบหรี่ในคลินกโรคเรื้อรังในชมชน ทั้งเชิงรับหรือเชิงรุก ุิุ(รอยละ 50) 5. รอยละของผูสูบบุหรี่ของจังหวัดเลิกบุหรี่ไดเพิ่มขึ้น (รอยละ 50)

406มาตรการที่5 : การชวยผูเสพใหเลิกยาสูบ สสจ. 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากรของสถานบริการสุขภาพใหสามารถใหคำปรึกษาผูเสพติดยาสูบใหเลิกเสพยาสูบในระดบชมชน ัุ2. สนับสนุน ใหคำปรึกษา ติดตามประเมินผลการดำเนินงานคัดกรองและ ลด เลิกการบริโภคยาสูบ ในสถานบริการสุขภาพ (รพศ./รพท./รพช./รพสต.) 3. พัฒนาศักยภาพขีดความสามารถของ รพ.สต. ในการชวยเลิกสูบบุหรี่ และเลิกดื่มสุรา 4. พัฒนาศักยภาพ อสม . ผูนำชุมชน ปราชญชาวบานในการชวยเลิกสูบบุหรี่ เลิกดื่มสุรา ในชุมชน โดยการเชือมโยงการดำเนินงานกับโครงการ 3 ลาน 3 ป เลิกบุหรี่ทั่วไทยเทิดไทองคราชัน ่5. สนับสนุนการพัฒนาระบบบำบัดโรคเสพติดยาสูบในสถานบริการสุขภาพระดับจังหวัดและชุมชน 6. กระตุนและสนับสนุนการพัฒนาโมเดล/รูปแบบและนวัตกรรม การเลิกยาสูบในระดบชุมชน ั7. สรางความตระหนัก ใหประชาชนเลิกบหรี่/ขยายพื้นที่การดำเนินงานพัฒนาการเลิกบุหรี่ในชุมชน ุ8. จัดทำฐานขอมูลผูปวยยาสูบและการบำบัดภายในจังหวด ั9. ติดตามและประเมินผลกระบวนการชวยผูเสพใหเลิกยาสูบภายในจังหวัด โรงพยาบาล 1.พัฒนาการดำเนินงานเลิกสูบบุหรี่ เลิกดื่มสุราในคลินิก NCD คุณภาพ 2.พัฒนาระบบบำบัดโรคเสพตดยาสูบในสถานบริการสุขภาพระดับชมชน/การลงขอมูลในระบบ 43 แฟม ิุ3.ใหบริการใหคำปรึกษาเลิกบุหรี่ของประชาชนในพื้นที่ 4.พัฒนาโมเดล/รูปแบบและนวตกรรม การเลิกยาสูบในโรงพยาบาล ัรพ.สต. 1. จัดบริการ/กิจกรรมชวยเลิกบุหรี่ในคลินิกโรคเรื้อรัง ใน รพ.สต./การลงขอมูลในระบบ 43 แฟม 2. ใหบริการใหคำปรึกษาเลิกบุหรี่ ใน รพ.สต. และลงใหบริการเชิงรุกในชุมชน 3. พัฒนาศักยภาพ อสม.ในการใหคำปรึกษาเลิกบุหรี่ 4. พัฒนาโมเดล/รูปแบบและนวัตกรรม การเลิกยาสูบในชุมชน อบต. 1. สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาศักยภาพ อสม. ใหกับ รพ.สต. 2. อบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำของแตละพื้นที่ดำเนินงานโดยมีการบูรณาการกับแอลกอฮอล ทั้งในสวนแกนนำภาคประชาชน อสม. เครือขายระดบอำเภอ เพือรวมในการดำเนินงาน ั่3. สนับสนุนงบประมาณและรวมพัฒนาโมเดล/รูปแบบและนวัตกรรม การเลิกยาสูบในระดับชุมชนสคร. 1. พัฒนากลไกระดับเขตสุขภาพเพือสงเสริม สนับสนุนการพัฒนาระบบบำบัดผูเสพติดยาสูบตามมาตรฐาน่และตดตาม ิ2. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานควบคุมยาสูบในสถานบริการสาธารณสุขระดับชุมชน 3. สนับสนุนองคความรูใหแกจังหวัดในการสรางเสริมความรูใหแกสถานประกอบการในการดำเนินงานควบคุมยาสูบ 4. ดำเนินการพัฒนาศักยภาพบุคลากรใหสามารถใหคำปรึกษาการเลิกเสพยาสูบ 5. สนบสนน ใหคำปรึกษา ติดตามประเมินผลการดำเนินงานคัดกรองและ ลด เลิกการบริโภคยาสูบ ในัุสถานบริการสุขภาพ (รพศ./รพท./รพช./รพสต.) ในพื้นที่ 6.จัดทำฐานขอมูลผูปวยยาสูบและการบำบัดภายในเขต

4077. มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ป มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมายตัวชีวัด ้2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน มาตรการที่ 1 พัฒนากลไก นโยบาย/กฎหมาย สรางความรวมมือ ในการควบคุมการบริโภคยาสูบ 1.1 การพัฒนา/ขับเคลื่อนนโยบาย และการติดตามประเมินผลการดำเนินงานควบคุมยาสูบ (งบประมาณ) 1.1.1 ประชุมคณะกรรมการควบคุมผลิตภัณฑยาสูบแหงชาติ √√√กลุมยุทธศาสตร/ทุกกลุม 0002งบ ประมาณ กำหนด/ขับเคลื่อน/ติดตามประเมินผลนโยบาย/มาตรการ เพื่อขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตรฯ นปรับปรุงกฎหมาย และมาตราการที่เกี่ยวของกับการดำเนินงานควบคุมยาสูบ 1.1.2 ประชุมคณะอนุกรรมการภายใตคณะกรรมการควบคุมผลิตภัณฑยาสูบแหงชาติ √√√กลุมยุทธศาสตร/ทุกกลุม 0001งบ ประมาณ ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตรการคแหงชาติ ความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตรการควบคุมยาสูบแหงชาติ 1.1.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู/ ถอดบทเรียนการดำเนินงานควบคุมยาสูบระดับเขตและจังหวัด ตามแผนยุทธศาสตรการควบคุมยาสูบแหงชาติ √√√กลุมยุทธศาสตร/ทุกกลุม 0002งบ ประมาณ แลกเปลี่ยน การดำเนินงานควบคุมยาสูบระดับเขตและจังหวัด บทเรียนการดำเนินงานควบคุมยและจังหวัด 1.1.4 การพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการควบคุมยาสูบในระดับเขตและจังหวัดอยางมีประสิทธิภาพ √√√กลุมยุทธศาสตร/ทุกกลุม 0001งบ ประมาณ เพิ่มศักยภาพใหกับ ผูดำเนินงานควบคุมยาสูบ บดำเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

408มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมายตัวชีวัด ้2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน 1.1.5 ติดตามการดำเนินงานควบคุมยาสูบระดับเขตและจังหวัดภาพรวม √√√กลุมยุทธศาสตร/ทุกกลุม 0001งบ ประมาณ กำกับ ติดตาม ใหดำเนินงานเปนไปตามเปาหมายแผนยุทธศาสตรและแผนปฏิบัติราชการ รายงานการติดตาม ผลการดำเนินงาน 1.2 การขับเคลื่อนกลไกการดำเนินงานควบคุมยาสูบ (สสส.)1.2.1 ประชุมคณะกรรมการ/ คณะอนุกรรมการตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการควบคุมย√กลุมยุทธศาสตร/ทุกกลุม 22สสส. กำหนด/ขับเคลื่อน/ติดตามประเมินผลนโยบาย/มาตรการ เพื่อขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตรฯ นปรับปรุงกฎหมาย และมาตราการที่เกี่ยวของกับการดำเนินงานควบคุมยาสูบ 1.2.2 การจัดทำ/ประเมินผลแผนยุทธศาสตรและการติดตามประเมินผล √กลุมยุทธศาสตร/ทุกกลุม 44สสส. ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตรการคแหงชาติ ความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตรการควบคุมยาสูบแ1.2.3 พัฒนาระบบฐานขอมูลเพื่อการเฝาระวัง และควบคุมกำกับ ติดตามประเมินผลตามแผนยุทธศาสตรฯ เพื่อควบคุมยาสูบ √กลุมยุทธศาสตร/ทุกกลุม 22สสส. ใชเปนระบบในการเฝาระวัง ควบคุม กำกับ ติดตาม ระบบฐานขอมูลเพื่อการเฝาระวัง และควบคุมกำกับ ติดตามประเมินผลตามแผนยุทธศาสตรฯ

409มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมายตัวชีวัด ้2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน ในทุกระดับ 1.3 การขับเคลื่อน สรางความตระหนักรู และยินยอมปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยการควบคุมยาสูบเพื่อลดการบริโภคยาสูบ (งบประมาณ) 1ปฏิบัติการ/อบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพขั้นสูงสำหรับพนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑยาสูบ พ.ศ. 2560 ในการดำเนินงานควบคุมยาสูบแบบหวังผล√กลุมพัฒนาและบังคับใชกฎหมาย 00งบ ประมาณ บุคลากรในหนวยงานที่เกียวของ เพือเพิม่่่ขีดความสามารถในการควบคุมยาสูบ ภายใต พรบ.ควบคุมผลิตภัณฑยาสูบ พ.ศ. 2560 บุคลากรและผูเกี่ยวของกับการดำเนินงานควบคุมยาสูบในหนวยงานราชการสวนกลาง และสวนภูมิภาคมีความรู ความเขาใจเพิ่มขึ้น ในสาระสำคัญของ พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑยาสูบ พ.ศ. 2560 1.3.2 ทบทวนและพัฒนากฎหมาย และสรางความเขมแข็ง มาตรการควบคุมยาสูบ√กลุมพัฒนาและบังคับใชกฎหมาย 11งบประมาณรายงานผลการสำรวจ/ขอคิดเห็นและประชาพิจารณกฎหมายควบคุมยาสูบ 1.4 การบังคับใชกฎหมายควบคุมผลิตภัณฑยาสูบ (สสส.)1.4.1 การพัฒนาบุคลากร √กลุมพัฒนาและบังคับใชกฎหมาย 44สสส. พัฒนาศักยภาพบุคลากรหลักสูตรบุคลากรในหนวยงานที่

410มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมายตัวชีวัด ้2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการควบคุมยาสูบ รูปแบบ E-Training ในหนวยงานที่เกียวของ เพือเพิม่่่ขีดความสามารถในการควบคุมยาสูบ ภายใต พ.ร.บ. ควบคุมผลิตภัณฑยาสูบ พ.ศ. 2560 เกี่ยวของ มีองคความรูเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑยาสูบ พ.ศ. 2560 1.4.2 การปรับปรุงกฎหมายและกลไกการขับเคลื่อนมาตรการทางกฎหมายเพื่อการควบคุมยาสูบสูการปฏิบัติ √กลุมพัฒนาและบังคับใชกฎหมาย 11สสส. ปรับปรุงกฎหมาย/มาตรการทางกฎหมายใหสอดคลองกับสกมาตรการทางกฎหมายที่ผานการทบทวน 1.4.3 การขับเคลื่อนการดสถานที่สาธารณะใหปลอดควันบุหรี่ √กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ/ กลุมสื่อสาธารณะ 00สสส. สรางความรวมมือภาคีเครือขาย เพือใหสถานที่่สควันบุหรี่ สถานที่สาธารณะปลอดควันบุหรี่ตามกฎหมาย 1.4.4 การรณรงค สรางความรู ความเขาใจในประเด็นที่เกี่ยวของกับกฎหมาย/มาตรการการควบคุมยาสูบของประเทศ √กลุมสื่อสารส10สสส. เพื่อใหประชาชนเกิดความตระหนักโทษพิษภัย และมาตรการทางกฎหมาย ประชาชนรับทราบพื้นที่ที่หามสูบบุหรี่

411มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมายตัวชีวัด ้2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน 1.5 การพัฒนาความรวมมือระหวางประเทศ (สสส.)1.5.1 การประชุมคณะผูแทนไทย/หรือการประชุมอื่นที่เกี่ยวของ √กลุมพัฒนาและบังคับใชกฎหมาย /กลุมที่เกี่ยวของ 00สสส. เพื่อหารือการดำเนินงานควบคุมยาสูบ ตามกรอบอนุสัญญาวาดวยการค(WHO FCTC) กรอบแนวทางการดำเนินงานควบคุมยาสูบ ตามกรอบอนุสัญญาวาดวยการควบคุมยาสูบ (WHO FCTC) 1.5.2 ประชุมรัฐภาคีตามกรอบอนุสัญญาวาดวยการควบคุมยาสูบขององคการอนามัยโลก √กลุมพัฒนาและบังคับใชกฎหมาย /กุลมที่เกี่ยวของ 11สสส. เพื่อพัฒนาความรวมมือระดับนานาชาติ และเพิม่ขีดความสามารถในการควบคุมยาสูบ รายงานการพัฒนาการดำเนินงานควบคุมยาสูบ ตามกรอบอนุสัญญาวาดวยการควบคุมยาสูบ (WHO FCTC) 1.5.3 การเขารวมประชุม/อบรม/ฝกอบรม/สัมมนา/คณะผูเชี่ยวชาญ/คณะทำงาน/การนำเสนอผลงานวิชาการ/การดำเนินการตามอนุสัญญา WHO-FCTC ในฐานะรัฐภาคี และการประชุม/การพัฒนาความรวมมือระดับ√กลุมพัฒนาและบังคับใชกฎหมาย /กลุมที่เกี่ยวของ 11สสส. เพื่อแลกเปลี่ยนการดำเนินงาน และเรียนรูการดำเนินงานควบคุมยนานาชาติ รายงานสรุปการ เขารวมแลกเปลี่ยนการดำเนินงานค

412มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมายตัวชีวัด ้2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน นานาชาติที่เกี่ยวของกับการควบคุมการบริโภคยาสูบ มาตรการที 2 พัฒนาระบบเฝาระวัง และการสื่อสารความเสี่ยง/การจัดการความรูในการปองกันควบคุมการบริโภคยาสูบ ่2.1 โครงการพัฒนารูปแบบการเฝาระวังปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของสำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ 2.1.1 พัฒนารูปแบบการเฝาระวังเพื่อควบคุมยาสูบระดับพื้นที่√√กลุมพัฒนาวิชาการ 00งบ ประมาณ เพื่อพัฒนารูปแบบการเฝาระวังในระดับพื้นที่ และเพือขยายผลใน่พื้นที่อื่น ตนแบบการเฝาระวังฯ จำนวน 2 ชุมชน 2.1.2 พัฒนาระบบกลไกเฝาระวังตรวจสอบ วิเคราะหความเสียง และผลกระทบ่ของเหตุการณจากการเฝาระวังควบคุมการบริโภคยาสูบ √√√กลุมพัฒนาวิชาการ 0001งบ ประมาณ เพื่อเฝาระวังสถานการณการครายงานการวิเคราะหส2.2 โครงการพัฒนา เสริมสรางความรู/ทักษะดานการปฏิบัติงาน และการจัดการความรูเพื่อการดำเนินงานควบคุมยาสูบ 2.2.1 การพัฒนาและเสริมสรางความรูของบุคลากรเพื่อการดำเนินงานค√√√กลุมพัฒนาวิชาการ 0001งบ ประมาณ เพือเสริมสราง่ความรุใหแกบุคลากรที่ดำเนินงานควบคุมยาสูบ บุคลากรที่เขารวมมีความรู ทักษะเพิ่มขึ้น

413มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมายตัวชีวัด ้2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน 2.2.2 จัดทำคลังความรู เพื่อการดำเนินงานควบคุมยาสูบ√√กลุมพัฒนาวิชาการ 000งบ ประมาณ เพื่อจัดทำคลังความรู/ชุดขอมูลเพือใชในการ่ดำเนินงาน มีคลังความรูเพื่อการดำเนินงานค2.2.3 ศึกษาวิจัย/จัดทำชุดความรู เพื่อการควบคุมผลิตภัณฑยาสูบ √√กลุมพัฒนาวิชาการ 001งบ ประมาณ เพือจัดทำวิจัย/ชุด่ความรูเพื่อการควบคุมผลิตภัณฑยาสูบ เผยแพรใหประชาชนรับทราบขอมูล วิจัย/ชุดความรูเพื่อการควบคุมผลิตภัณฑยาสูบ จำนวน 1 เรือง ่2.3 การพัฒนานโยบาย วิชาการและจัดการความรู (สสส.) 2.3.1 การศึกษาและการจัดการความรู การแลกเปลี่ยนเรียนรู และการจัดการความรูเพื่อการพัฒนางานควบคุมยาสูบ √22สสส. เพือแลกเปลียนและ ่่เก็บชุดความรู เพื่อใชในการพัฒนางานคบทเรียนการแลกเปลี่ยนความรู เพือใชในการ่พัฒนางานควบคุมยาสูบ 2.4 การรณรงค ประชาสัมพันธ เพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบ 2ประชาสัมพันธ งานวันงดสูบบุหรี่โลก √√√กลุมสื่อสารส2226งบ ประมาณ รณรงค เผยแพร และประชาสัมพันธ เพื่อปองกันควบคุมยาสูบเนื่องในวันงดสูบบุหรี่โลก 1. รณรงค เผยแพร และประชาสัมพันธ เพื่อปองกันควบคุมยาสูบเนื่องในวันงดสูบบุหรี่โลก จำนวน 1 เรือง/ป ่

414มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมายตัวชีวัด ้2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน 2. เครือขายที่รวมดำเนินการสื่อสารประชาสัมพันธเพื่อการควบคุมยาสูบ และรวมรณรงคเนื่องในวันงดสูบบุหรี่โลก จำนวน 10 หนวยงาน 2.4.2 ผลิตสือเพือสนับสนุน ่่การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตรการควบคุมยาสูบแหงชาติ/มาตรการ/กฎหมายอนุบัญญัติเกี่ยวกับพ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑยาสูบ ในรูปแบบสือ เชน ่สิงพิมพ,สื่อประกอบการ่แนะนำ-สอน/ชุดนิทรรศการเกี่ยวกับโทษ พิษภัยผลกระทบจากการบริโภคผลิตภัณฑยาสูบ, สื่อมัลติมีเดีย โดยเผยแพรทางชองทางตาง ๆ ที่เหมาะสม เปนตน √กลุมสื่อสารส22สสส. เพื่อใชเปนสื่อรณรงค เผยแพร และปการปองกันควบคุมยาสูบเนื่องในวันงดสูบบุหรี่โลก สนับสนุนสื่อใหแกพื้นที่เพื่อ การขับเคลื่อนแผนยการควบคุมยาสูบแมาตรการ/กฎหมายอนุบัญญัติเกี่ยวกับพ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑยาสูบ มาตรการที่ 3 การปองกันมิใหเกิดผูเสพยาสูบรายใหม และปกปองเยาวชนจากกลยุทธของอุตสาหกรรมยาสูบ

415มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมายตัวชีวัด ้2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน 3.1 การพัฒนาศักยภาพเยาวชนและบุคลากร เพื่อพัฒนารูปแบบ/แนวทาง และการติดตามการดำเนินการสถานศึกษาปลอดบุหรี่ (งบประมาณ)3.1.1 ประชุมกำกับ ติดตาม/ประเมินผล การขับเคลือนนโยบาย่สถานศึกษาปลอดบุหรี่ ระดับอาชีวศึกษา √กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 00งบประมาณ1. ขับเคลือน่สถานศึกษาปลอดบุหรี่ระดับอาชีวศึกษา 2. จัดทำหลักสูตรเพื่อนที่ปรึกษาสูการปฏิบัติในพื้นที่สถานศึกษา 1. มีการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดบุหรี่ครอบคลุมในระดับอาชีวศึกษา ป 2563 รอยละ 22. (ราง) หลักสูตรเพื่อนที่ปรึกษา จำนวน 1 เรือง ่3ถายทอดรูปแบบและพัฒนาศักยภาพบุคลากร (เพื่อนที่ปรึกษา) เพื่อการดำเนินการสื่อสาร ความเสี่ยง √กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 00งบ ประมาณ 3.2 การขับเคลื่อนนโยบาย/พัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาปลอดบุหรี่สูความยั่งยืน (งบประมาณ)3.2.1 พัฒนา/ปรับปรุง หลักสูตรเพื่อนที่ปรึกษา เพื่อการดำเนินงานในสถานศึกษาปลอดบุหรี่ √กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 0งบ ประมาณ 1. ขับเคลือน ่และพัฒนาเครื่องมือใสถานศึกษาปลอดบุหรี่เขาสูกลไกการดำเนินงานของสถานศึกษา 1. หลักสูตรเพื่อนที่ปรึกษา จำนวน 1 เรือง ่2. จำนวนสถานศึกษาที่นำเครื่องมือไปใชในการดำเนินการ3.2.2 จัดทำ/ผลิต หลักสูตรเพือน ่ที่ปรึกษา √กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 0งบ ประมาณ

416มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมายตัวชีวัด ้2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน 2. ขยายผลการขับเคลื่อนสถานศึกษาปลอดบุหรี่สูสถนศึกษาทุกสังกัด ระดับต่ำกวาอุดมศึกษา สถานศึกษาปลอดบุหรี่ 3. มีการขับเคลื่อนสถานศึกษาปลอดบุหรี่ในสถานศึกษาสังกัดองคกร 3.2.3 ขับเคลื่อนเชิงนโยบายเพือนำคูมือสถานศึกษา่ปลอดบุหรี่แบบบูรณาการ และหลักสูตรเพื่อนที่ปรึกษาไปใชในหนวยงานสถานศึกษา √กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 0งบ ประมาณ 3.2.4 ขับเคลื่อนการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดบุหรี่ในสถานศึกษา สังกัดองคกรปกครองทองถิ่น (ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก) √กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 0งบ ประมาณ ปกครองทองถิ่น (ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก) ป 2564 รอยล4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดบุหรี่ในระดับอาชีวศึกษา ป 23.2.5 ขับเคลื่อนการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดบุหรี่ ในสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษา √กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 0งบ ประมาณ 3.3 การขับเคลื่อนการดำเนินงานสถานศึกษา (มหาวิทยาลัย) ปลอดบุหรี่ ในระดับอุดมศึกษา (งบประมาณ)3.3.1 ขับเคลื่อนเชิงนโยบายเพื่อการดำเนินงานสถานศึกษา(มหาวิทยาลัย) ปลอดบุหรี่ √กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 00งบ ประมาณ ขับเคลื่อนสถานศึกษาปลอดบุหรี่สู 1ขับเคลื่อนการดำเนินงานระดับ อุดมศึกษาปลอดบุหรี่

417มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมายตัวชีวัด ้2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน สถานศึกษาทุกสังกัด ในระดับ อุดมศึกษา 3.3.2 พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาเพื่อกาวสูมหาวิทยาลัยปลอดบุหรี่ √กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 00งบ ประมาณ (มหาวิทยาลัยปลอดบุหรี่) 2สถานศึกษาที่เขารวมการขับเคลื่อนการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดบุหรี่ในระดับ อุดมศึกษา 3.3.3 ติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนสถานศึกษา(มหาวิทยาลัย) ปลอดบุหรี่ √กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ/กลุมที่เกี่ยวของ 00งบ ประมาณ 3.4 การพัฒนาโมเดล/รูปแบบและนวัตกรรมเพือเฝาระวังเยาวชนจากกลยุทธอุตสาหกรรมยาสบ (งบประมาณ)ู่3.4.1 การพัฒนาโมเดล/รูปแบบและนวัตกรรมเพือ่เฝาระวังเยาวชนจากอุตสาหกรรมยาสูบ √√กลุมพัฒนาวิชาการ 001งบ ประมาณ เพื่อจัดทำ/พัฒนาโมเดล/รูปแบบที่ชระวัง โมเดล/รูปแบบและนวัตกรรมเพื่อเฝาระวังเยาวชนจากอุตสาหกรรมยาสูบ 3.4.2 ติดตามประเมินผลโมเดล/รูปแบบและนวัตกรรมเพื่อเฝาระวังเยาวชนจากอุตสาหกรรมยาสูบ √√กลุมพัฒนาวิชาการ 000งบ ประมาณ เพื่อติดตามการดำเนินงานพัฒนาโมเดลระดับพื้นที่ รายงานผลการดำเนินงานการพัฒนาโมเดล/รูปแบบและนวัตกรรมเพื่อเฝาระวังเยาวชนจากอุตสาหกรรมยาสูบ

418มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมายตัวชีวัด ้2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน 3.5 การเสริมสรางประสิทธิภาพเครือขายในการขับเคลื่อนการดำเนินงานควบคุมยาสูบ และรูเทาทันกลยุทธอุตสาหกรรมยาสูบ เพื่อการปองกันนักสูบหนาใหม 3.5.1 อบรม/ประชุมเสริมสรางประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู การดำเนินงานควบคุมยาสูบในสถานศึกษาสูความยั่งยืน และถายทอดเครืองมือใน่การขับเคลื่อนการดกลุมเปาหมายสำคัญในระดับพื้นที่ √กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 22สสส. พัฒนาการดำเนินงานในควบคุสยาสูบในสถานศึกษา 1. มีเครืองมือใน่การขับเคลื่อนการดำเนินงานควบคุมยาสูบในสถานศึกษาระดับพื้นที่ จำนวน 2 เรื่อง 2. จำนวนสถานศึกษาที่ไดรับการถายทอดเครื่องมือสถานศึกษาปลอดบุหรี่ 3.5.2 ผลิตและสนับสนุนเครื่องมือเพื่อการดำเนินงานค√กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 00สสส. พื้นที่มีเครื่องมือในการดำเนินงาน สถานศึกษาปลอดบุหรี่ จที่ไดรับเครื่องมือในการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดบุหรี่ มาตรการที 4 การทำใหสิ่งแวดลอมปลอดควันบุหรี่่4.1 การขับเคลื่อนองคกรปกครองสวนทองถิ่น เพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบ (งบประมาณ)4.1.1 ประชุมคณะทำงานจัดทำ/พัฒนาคูมือ/ √กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 00งบ ประมาณ พัฒนาคูมือ/แนวทางการดำเนินงานคูมือ/แนวทางการดำเนินงานควบคุม

419มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมายตัวชีวัด ้2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน แนวทางการดำเนินงานควบคุมยาสูบในองคกรปกครองสวนทองถิ่น คองคกรปกครองสวนทองถิ่น ยาสูบในองคกรปกครองสวนทองถิ่น จำนวน 1 เรื่อง 4.1.2 ประชุม/อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อถายทอดคูมือ/แนวทางการดองคกรปกครองสวนทองถิ่น เพือนำไปสูความครอบคลุม่และเปนไปในทิศทางเดียวกัน √กลุมพัฒนาและขับเคลือนฯ ่00งบ ประมาณ มดำเนินงานควบคุมยาสูบใน อปท. และสามารถถายทอด/ขขับเคลื่อนการดำเนินงานได มีเครืองมือในการ่ขับเคลื่อนการดำเนินงานควบคุมยาสูบในองคกรปกครองสวนทองถิ่น 4.1.3 ประชุมเชิงนโยบายเพื่อขับเคลื่อน/ผลักดัน มาตรการควบคุมยาสูบสูการปองคกรปกครองสวนทองถิ่น (Local Performance Assessment : LPA) √กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 00งบ ประมาณ สรางความรวมมือการขับเคลื่อน/ผลักดัน มาตรการควบคุมยาสูบสูการประเมินประสิทธิภาพขององคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรปกครองสวนทองถิ่น (Local Pการใชมาตรการคการประเมินประสิทธิภาพ 4.2 การพัฒนามาตรฐานสถานทีทำงาน เพื่อสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรคอุบัติเหตุ และภัยอื่น ๆ (งบประมาณ)่4.2.1 การวิเคราะหผูมีสวนไดสวนเสียและความจำเปน√กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 00งบ ประมาณ เพื่อวิเคราะห/รับฟงความคิดเห็นของผูมีรายงานการวิเคราะห

420มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมายตัวชีวัด ้2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน ในการจัดทำมาตรฐานวัด เพื่อเอื้อตอการปองกันโรค ภัยสุขภาพ และการมีสุขภาวะที่ดี สวนได สวนเสีย และความจำเปนในการจัดทำมาตรฐานสถานทีทำงานฯ ่ผูมีสวนไดสวนเสีย และความจำเปนในการจัดทำมาตรฐานสถานที่ทำงานฯ จ่4.2.2 แตงตั้งและประชุมคณะอนุกรรมการ/คณะทำงานทบทวนขอมูลและมาตรฐานที่มีอยู ในการจัดทำมาตรฐานวัด เพือเอือ่้ตอการปองกันโรค ภัยสุขภาพ และการมีสุขภาวะที่ดี √√√กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 0001งบ ประมาณ เพื่อใหเกิดการทบทวนขอมูลและมาตรฐานเพื่อเอื้อตอการปองกันโรค ภัยสุขภาพ คณะทำงานทบทวนขอมูลและมาตรฐานเพื่อเอื้อตอการปองกันโรค ภัยสุขภาพ และการมีสุขภาวะที่ดี 4.2.3 การพัฒนามาตรฐานวัด เพือเอือตอการปองกัน่้โรคภัยสุขภาพ และการมีสุขภาวะที่ดี √√√กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 0002งบ ประมาณ มาตรฐานสถานที่ทำงานฯ เพือเอื้อตอ่การปองกันโรค ภัยสุขภาพ และการมีสุขภาวะที่ดี จำนวนมาตรฐานสถานทีทำงานฯ ่เพื่อเอื้อตอการปองกันโรค ภัยสุขภาพ และการมีสุขภาวะที่ดี จำนวน 3 เรื่อง 4.2.4 ดำเนินการนำรองและทดสอบมาตรฐานวัด เพื่อเอื้อตอการปองกันโรค ภัย√√√กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 0000งบ ประมาณ เพือทดลองใช่มาตรฐานสถานที่ทำงานฯ จำนวนรายงานผลการทดสอบ

421มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมายตัวชีวัด ้2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน สุขภาพ และการมีสุขภาวะที่ดี มาตรฐานสถานที่ทำงานฯ 1 เรือง ่4.2.5 พัฒนาศักยภาพวัดตนแบบ/รองผูใชมาตรฐานฯ ใหเกิดความรู ความเขาใจ และนำมาตรฐานไปปฏิบัติในองคกรไดอยางถูกตอง √√√กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 0000งบ ประมาณ เพือพัฒนาศักยภาพ่วัดตนแบบ จำนวนหนวยงานตนแบบที่ไดรับการพัฒนาศักยภาพ 1,911 แหง 4.2.6 ขับเคลื่อนการดำเนินงานเชิงบูรณาการภายใตแผนแมบท ตามยุทธศาสตรชาติ โดยสงเสริมบทบาทการมีสวนรวมของภาคสวนตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ในการนำมาตรฐานไปใช √√√กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 1113งบ ประมาณ การดำเนินงาน เชิงบูรณาการในระดับพื้นที่ ทุก สคร. ดำเนินงาน เชิงบูรณาการ ในระดับพื้นที่ 4.2.7 การติดตามและประเมินผล √√√กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 0000งบ ประมาณ ปมาตรฐานไปปฏิบัติ ความครอบคลุม ประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการลจำนวนรายงานปมาตรฐานไปปฏิบัติ ความครอบคลุม ประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการลดโรคฯ จ่

422มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมายตัวชีวัด ้2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน 4.3 การขับเคลื่อนศาสนสถาน (มัสยด) เพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบ (งบประมาณ)ิ4.3.1 ประชุมเชิงนโยบาย เพื่อขับเคลื่อนแนวทางการดำเนินงานในศาสนสถาน (มัสยิด) ปลอดบุหรี ่√กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 00งบ ประมาณ 1. ขับเคลื่อนการดำเนินงาน ศาสนสถานปลอดบุหรี่ 2. พัฒนาศักยภาพผูนำศาสนา (มัสยิด) ดานการควบคุมยาสูบและกฎหมายที่เกี่ยวของ 1กาดำเนินงาน ศาสนสถานปลอดบุหรี่ (มัสยิด) 2. จำนวนศาสนสถาน (มัสยิด) ที่เขารวมดำเนินการ ศาสนสถานปลอดบุหรี่ 4.3.2 ประชุมชี้แจงนโยบาย การควบคุมยาสูบแกผูนำศาสนาจังหวัด (มัสยิด) √กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 00งบ ประมาณ 4.3.3 ติดตาม ประเมินผล √กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 00งบ ประมาณ มาตรการที 5 การชวยผูเสพใหเลิกยาสูบ่5.1 การขับเคลื่อนกลไกการดำเนินงานระบบคัดกรองและบำบัดรักษาผูเสพติดผลิตภัณฑยาสูบใหเลิกเสพในสถานบริการสาธารณสุข (งบประมาณ)5.1.1 ขับเคลื่อนกลไกการดำเนินงานระบบคัดกรองและบำบัดรักษาผูเสพติดผลิตภัณฑยาสูบใหเลิกเสพในสถานบริการสุขภาพระดับ รพ.สต. ในภาพรวม √√√กลุมยุทธศาสตร/ กลุมพัฒนา วิชาการ 0001งบ ประมาณ เพื่อสรางกลไก/พัฒนาระบบการใหบริการบำบัดรักษา ผูเสพติดผลิตภัณฑยาสูบ สถานบริการสุขภาพมีการใหบริการบำบัดรักษา ผูเสพติดผลิตภัณฑยาสูบ 5.2 การสรางแรงจูงใจเพื่อสนับสนุนสินคาที่เปนมิตรตอสุขภาพ (งบประมาณ)

423มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมายตัวชีวัด ้2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน 5.2.1 ขับเคลื่อนนโยบาย มาตรการและมาตรฐานสินคาและบริการที่เปนมิตรตอสุขภาพ (มาตรการในการสรางแรงจูงใจเพื่อใหผูเสพเลิกเสพติดผลิตภัณฑยาสูบ) √กลุมยุทธศาสตร/ กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 00งบ ประมาณ ขยายภาคีเครือขาย/หมาตรการ นโยบายในการสรางแจงจูงใจไปดำเนินงานในพื้นที่ จำนวนหนวยงานที่เขารวมนำมาตรการ นโยบายในการสรางแจงจูงใจไปดำเนินงานในพื้นที่ 5.2.2 สรางและกำหนดมาตรฐาน เกณฑ และขั้นตอนกระบวนการรับรอง สำหรับสินคาและบริการ ที่เปนมิตรตอสุขภาพ (พัฒนาชุดมาตรฐานผลิตภัณฑ เพื่อชวยใหผูเสพเลิกเสพติดผลิตภัณฑยาสูบ) √กลุมยุทธศาสตร/ กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 00งบ ประมาณ พัฒนาชุดมาตรฐานผลิตเพื่อชวยใหผูเสพเลิกเสพติดผลิตภัณฑยาสูบ ชุดมาตรฐานผลิตเพื่อชวยใหผูเสพเลิกเสพติดผลิตภัณฑยาสูบ 5.2.3 ทบทวนและศึกษาผลกระทบทางสุขภาพ การคาและทางเศรษฐกิจจากสินคาและบริการที่เปนมิตรตอสุขภาพ (การศึกษามาตรการในการสรางแรงจูงใจเพื่อใหผูเสพเลิกเสพติดผลิตภัณฑยาสูบ) √กลุมยุทธศาสตร/ กลุมพัฒนาและขับเคลื่อนฯ 00งบ ประมาณ ขอเสนอแนะ เมาตรการทางเลือก และมาตรการสรางแรงจูงใจเพื่อสนับสนุนสินคาและบริการที่เปนมิตรตอสุขภาพ จำนวนรายงานการศึกษาผลกระทบและขอเสนอแนะฯ 5.3 การพัฒนาคุณภาพระบบบริการเลิกยาสูบ (สสส.)

424มโครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบ หลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมายตัวชีวัด ้2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแหลงเงิน 5.3.1 การถอดบทเรียนการบูรณาการชวยเลิกบุหรี่แบบบูรณาการในงาน NCD เพื่อเขาสูงานประจำ 0กลุมยุทธศาสตร/กลุมพัฒนาวิชาการ 00สสส. เพื่อบูรณาการ งานเลิกบุหรี่ ในงาน NCD เพือเขา่สูงานประจำ บทเรียนการบูรณาการชวยเลิกบุหรี่แบบบูรณาการในงาน NCD เพือเขา่สูงานประจำ 5.3.2 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและภาคีตาง ๆ ที่เกี่ยวของที่เปนผูใหบริการเลิกยาสูบ 1กลุมยุทธศาสตร/กลุมพัฒนาวิชาการ 11สสส. เพือทบทวน /่ปรับปรุงคูมือ และพัฒนาเสริมสรางศักยภาพบุคลากร คทบทวน /ปรับปรุง และเสริมสรางศักยภาพใหกับภาคีเครือขาย 5.3.3 การผลักดันรูปแบบการเลิกบุหรี่แบบบูรณาการใน NCD เพื่อเขาสูงานประจำในระดับจังหวัด 1กลุมยุทธศาสตร/กลุมพัฒนาวิชาการ 11สสส. เพือผลักดันงานการ่เลิกบุหรี่แบบบูรณาการใน NCD เพือเขา่สูงานประจำในระดับจังหวัด สถานบริการสุขภาพมีการบูรณาการงานเลิกบุหรี่ในงาน NCD

4258. แผนติดตามประเมินผลระยะ 5 ปมาตรการ/ แผนงาน/โครงการหลัก เปาหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ป พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการที 1่ พัฒนากลไก นโยบาย/กฎหมาย สรางความรวมมือ เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย/กฎหมาย/มาตรการที่เกี่ยวของกับการดำเนินงานควบคุมยาสูบ กำกับติดตามผานการประชุมคณะกรรมการ √√√มาตรการที 2่ พัฒนาระบบเฝาระวัง และการสื่อสารความเสียง/การจัดการ่ความรูในการปองกันควบคุมการบริโภคยาสูบ1. เพื่อพัฒนาระบบเฝาระวัง การจัดการความรูรวมทั้งประชาสัมพันธขอมูลขาวสารตาง ๆ ใหประชาชนรับทราบ 2. เพื่อใหเกิดการรับรูและความเขาใจ รวมถึงการรับทราบในการปองกัน ควบคุมการบริโภคยาสูบ การนิเทศติดตามประเมินผลการดำเนินงาน √√√มาตรการที 3 ่การปองกันมิใหเกิดผูเสพยาสูบรายใหมและปกปองเยาวชนจากกลยุทธของอุตสาหกรรมยาสูบ1. เพือติดตามและประเมินผลการ่นำหลักสูตรเพื่อนที่ปรึกษาสูการปฏิบัติในพื้นที่สถานศึกษา 2. เพื่อใหเกิดการขับเคลื่อนสถานศึกษา (มหาวิทยาลัย)ปลอดบุหรี่ใน ระดับอุดมศึกษา 1. ประสาน สคร. และ สสจ. ในการติดตามประเมินผล 2. ลงพื้นที่เพื่อนิเทศติดตามประเมินผลการดำเนินงาน √√√มาตรการที 4 ่การทำใหสิ่งแวดลอมปลอดควันบุหรี่1. ติดตามประเมินผล Flagship (วัด) แผนยอยที่ 2 การสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการมีสุขภาวะที่ดี โครงการที่ 2.2 การพัฒนามาตรฐานสถานที่ทำงาน 1. การนิเทศติดตามประเมินผลการดำเนินงาน 2. กำกับติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ผาน สคร. และ สสจ. √√√

426มาตรการ/ แผนงาน/โครงการหลัก เปาหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ป พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เพื่อสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรคอุบัติเหตุ และภัยอื่น ๆ 2. ติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนศาสนสถาน (มัสยึด) เพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบ มาตรการที 5 ่การชวยผูเสพใหเลิกยาสูบขับเคลื่อนกลไก/พัฒนาระบบคัดกรองและบำบัดรักษาผูเสพติดผลิตภัณฑยาสูบใหเลิกเสพในสถานบริการสุขภาพ ทุกระดับ 1. การนิเทศติดตามประเมินผลการดำเนินงาน 2. ขอมูลในระบบ 43 แฟม √√√

4279. ผูรับผิดชอบแผนงาน 1. นายแพทยชยนันท สิทธิบุศย เบอรโทรศัพท 02 590 3849 ผูอำนวยการสำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ E-mail : 2. นางสาวฐิติพร กันวิหค เบอรโทรศัพท 02 590 3849 หัวหนากลุมยทธศาสตร ุE-mail : 3. นายชาณัฐ เอื้อกูล เบอรโทรศัพท 02 590 3849 นักวิชาการสาธารณสุข E-mail :

กลุ่มแผนงานโรคจากการบาดเจ็บ (Injury)4

4311. สถานการณ ปญหาอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทยยังคงเปนปญหาสำคัญที่สรางความสูญเสียและคุณภาพชีวิตของประชาชนไทยจากขอมูลการบูรณาการ 3 ฐาน ป 2554 - 2559 มีผูเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนเฉลี่ย 21,200 คน/ป คิดเปน 32.6 ตอประชากรแสนคน หรือวันละ 60 คน/วัน มีผูบาดเจ็บนอนรักษาในโรงพยาบาล ประมาณ 200,000 คน/ป และผูพิการอีกปละ 9,000 คน และแนวโนมของปญหายังอยูในอัตราที่สูงมาก เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่พัฒนาแลว ซึ่งไมเกิน 10 ตอประชากรแสนคน แนวโนมของปญหาอุบัติเหตุทางถนนยังคงทรงตัวไมลดลง ประกอบกับจำนวนยานพาหนะและการสัญจรเพิ่มขน ึ ้ตามการเจริญเติมโตทางเศรษฐกิจ การบังคับใชกฎหมายยังมีขอจำกัดทั้งดานกำลังคนและการใชเทคโนโลยี การดำเนินการ ในระดับพื้นที่ระดับชุมชน/บุคคล ยังมนอย ประชาชนและชุมชนยังไมตระหนัก โดยพจารณาปญหาในประเดนตางๆ ดงนี ีิ็ั้1. ดานบุคคล พบวา ประชาชนยังขาดความตระหนักในความปลอดภัย โดยพิจารณาไดจาก อัตราการสวมหมวกนิรภัยภัยที่ยังนอย มีพฤติกรรมเสี่ยงที่ยังเพิ่มขึ้น การขับรถเร็ว การดื่มแลวขับ รวมถึงคานิยมตางๆที่ไมปลอดภัย การใหเยาวชนนอยกวาอายุ 15 ป ขับขี่รถจักรยานยนต การโดยสารทายกระบะรถบรรทก เปนตน ุ2. ดานการบังคับใชกฎหมาย พบวา การบังคับใชกฎหมายยังมีขอจำกัด ทั้งดานกำลังคนและการใชเทคโนโลยี โดยมีความจำเปนในการแกกฎหมายใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ไดแก การไมชำระคาปรับเชื่อมโยงกับการตอภาษีประจำปหรือการตออายุใบอนุญาตขับรถ การตัดคะแนนใบอนุญาตขับรถ การใชกลอง CCTV สำหรับตรวจจับการฝาสัญญาณไฟจราจร ความเร็ว และการไมสวมหมวกนิรภัย เปนตน ซึ่งกำลังอยูในขั้นตอนการแกกฎหมายทตองใชระยะเวลานาน ี่3. ดานกลไกการดำเนินงานในระดับพื้นที่ การจัดการปญหาในระดับอำเภอถือวามีความเหมาะสมในการดำเนินงานที่สามารถเขาถึงระดับชุมชนและทองถิ่น โดยใชกลไกผานศูนยปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนอำเภอ (ศปถ.อำเภอ) และเชื่อมโยงการทำงานกับศูนยปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนทองถิ่น (ศปถ.ทองถิ่น) และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) แตการดำเนินงานยังไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร โดยเฉพาะอำเภอเสี่ยง มีขอคนพบสำคัญ ดังนี้ 3.1 ดานบุคลากร ยังตองเพิ่มทกษะการจัดการขอมลที่มประสิทธิภาพ สำหรับนำไปสูการวิเคราะหถงรากของัูีึปญหา รวมทั้ง การชี้เปาในระดับทองถิ่น/ชุมชน และการเชื่อมโยงขอมูลสูการสรางมาตรการทหวังผล เปนผลใหมาตรการี ่แกปญหาแบบเดิมๆ ไม Focus กลุมเปาหมาย และเนนรณรงคประชาสัมพนธ และสวนใหญไมประเมนผลมาตรการ ัิ3.2 ดานนโยบายและกลไกการทำงาน พบวา คณะกรรมการ พชอ. มีขอจำกัดการทำงานหากไมเชื่อมโยงกบ ัศปถ.อำเภอ โดยเฉพาะเครือขายในอำเภอทมหนาทโดยตรง และมมมมองวาเปนงานของฝายสาธารณสุข และระดบนโยบายยังี ่ีี ่ีุัไมถูกกระตุนการทำงานในทศทางเดียวกันจากหนวยงานสวนกลาง ทำใหเกดการกำกบตดตามไมตอเนือง ิิัิ่แผนงานปองกันการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนน พ.ศ.2561 - 2565

432ประเทศไทยมีการกำหนดเปาหมายในการดำเนินงานอุบัติเหตุทางถนน คือ การลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตทางถนนใหไดไมเกิน 10 คนตอประชากรแสนคน ภายใน พ.ศ.2563 โดยในสวนของกระทรวงสาธารณสุขไดุกำหนดเปาหมายการดำเนินงานอุบัติเหตุทางถนน ใหสอดคลองกับเปาหมายของประเทศ และสอดคลองเปาหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals หรือ SDGs) โดยหนึ่งในเปาหมายของ SDGs เปาหมายที่ 3 คือ การสรางหลักประกันวา คนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและสงเสริมสวัสดิภาพสำหรับทุกคนในทุกวัย กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ไดรวมกับ สำนักงานตำรวจแหงชาติ และบริษัทกลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จำกด ไดพฒนาการบูรการขอมลการตาย 3 ฐาน ในป 2554 – 2559 พบวา อัตราการเสียชีวิตเพมขึ้นเปน 34.3 ตอแสนััูิ่ประชากร ในป 2554 และเปน 33.5 ตอแสนประชากร ในป 2559 และไดเสนอตอคณะกรรมนโยบายการปองกันและ ลดอุบัติเหตุทางถนนแหงชาติ ใหเปนฐานขอมูลการตายจากอุบัติเหตุทางถนนของประเทศ และมอบหมายใหกระทรวงสาธารณสุขเปนหนวยงานหลักในการประสานหนวยงานทเกยวของดำเนินการปรับฐานขอมลการตายและกำหนดเปาหมายของี ่ี ่ูประเทศ และเสนอใหอยูในแผนมีบทความปลอดภัยทางถนนของประเทศ โดยเปาหมายในระดับประเทศ กำหนดใหลดอัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนนไมเกิน 16.4 ตอประชากรแสนคน ภายในป 2565 (ตามแผนแมบทความปลอดภัยทางถนน 2561- 2565) (ตามภาพที 1) ่ภาพท 1 ี ่แสดงเปาหมายการดำเนินงานการลดอตราตายจากอบัตเหตทางถนน (ตามแผนแมบทความปลอดภัยทางถนน ัุิุป 2561 - 2565) แหลงขอมูล : บูรณาการขอมลการตาย 3 ฐาน (สธ., ตร., บ.กลางฯ) กองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรคู2. พื้นที่เสี่ยง/กลุมเสยง ี่ในป 2562 ไดมีการวิเคราะหขอมูลเพื่อกำหนดพื้นที่เสี่ยงในระดับอำเภอ โดยใชขอมูลการเสียชีวิตจากมรณะบัตร และขอมูลการบาดเจ็บจากโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (43 แฟม) ป 2558-2560 พบวา มอำเภอเสี่ยงสูงมาก (สีแดง) จำนวน 159 อำเภอ และอำเภอเสี่ยงสูง (สีสม) 124 อำเภอ รวมทั้งหมด 283 อำเภอ คิดเปนีรอยละ 32 ของอำเภอทั้งหมดในประเทศ แตครอบคลุมการตายรอยละ 81 และครอบคลุมการบาดเจ็บรอยละ 65 โดยแยกเปนรายเขตสุขภาพ (ตารางที 1) ่34.3 33.6 32.8 32.030.733.525.423.220.918.716.401020304050545556575859606162636465อัตราการตายตอประชากรแสนคนป

433ตารางท 1ี ่ แสดงจำนวนอำเภอเสี่ยงสูงมาก (สีแดง) และอำเภอเสี่ยงสูง (สีสม) แยกเปนรายเขตสุขภาพ (283 อำเภอ) หมายเหตุ : 1. แหลงขอมูล การเสียชีวิตจากมรณบัตรป 2557-2559 ขอมูลการบาดเจ็บจากระบบรายงานแฟมสุขภาพ (43 แฟม) 2. อำเภอเสี่ยงสูงมาก (สีแดง) หมายถึง กลุมอำเภอที่มจำนวนผูเสียชีวิตีและผูบาดเจ็บอยูในกลุมรอยละ 25 อันดับแรกของอำเภอทั้งหมด 3. อำเภอเสียงสูง (สีสม) หมายถึง กลุมอำเภอที่มจำนวนผูเสียชีวิต่ีหรือผูบาดเจ็บ อยางใดอยางหนึ่งอยูในกลุมรอยละ 25 อันดับแรกของอำเภอทงหมด ั ้4. รวมจำนวนอำเภอเสี่ยงท้งหมด 283 อำเภอ คิดเปนรอยละ 32 ของอำเภอทั้งหมด แตครอบคลุมการตายัรอยละ 81 และครอบคลุมการบาดเจ็บรอยละ 65 3. เปาหมาย3.1 เปาหมายระดับประเทศ เปาหมาย/ตัวชีวัดเปาหมาย ้baseline คาเปาหมาย ป พ.ศ. 2560 2562 2563 2564 2565 อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (ตอประชากรแสนคน) 33.1 23.2 20.9 18.7 16.4 แหลงขอมล : บูรณาการขอมลการตาย 3 ฐาน (สธ., ตร., บ.กลางฯ) กองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรคููเขตสุขภาพ อำเภอเสียงสูงมาก ่(สีแดง) อำเภอเสียงสูง ่(สีสม) รวม (อำเภอ) 1 14 11 25 2 9 8 17 3 3 5 8 4 19 11 30 5 24 8 32 6 25 16 41 7 7 15 22 8 8 12 20 9 18 12 30 10 9 6 15 11 14 12 26 12 9 8 17 ผลรวมทังหมด ้159 124 283

4343.2 เปาหมายระดับเขตสุขภาพปงบประมาณ ผลการดำเนินการ2560 เปาหมาย 2561 เปาหมาย2562 เปาหมาย2563 เปาหมาย2564 เปาหมาย2565เปาหมายของประเทศ (ตอประชากรแสนคน)33.14 25.43 23.18 20.92 18.67 16.42เขตสุขภาพที่ 1 36.05 28.37 25.86 23.35 20.83 18.32เขตสุขภาพท 2 ี่33.46 29.34 26.74 24.14 21.54 18.94เขตสุขภาพท 3 ี่36.21 29.85 27.20 24.56 21.91 19.27เขตสุขภาพท 4 ี่38.31 27.31 24.89 22.47 20.05 17.63เขตสุขภาพท 5 ี่40.43 33.57 30.59 27.62 24.64 21.67เขตสุขภาพท 6 ี่49.44 36.73 33.47 30.22 26.96 23.71เขตสุขภาพท 7 ี่28.96 22.08 20.12 18.17 16.21 14.25เขตสุขภาพท 8 ี่29.85 20.35 18.55 16.74 14.94 13.14เขตสุขภาพท 9 ี่31.05 23.21 21.15 19.10 17.04 14.98เขตสุขภาพท 10 ี่29.19 19.72 17.97 16.22 14.48 12.73เขตสุขภาพท 11 ี่37.02 30.47 27.77 25.07 22.37 19.67เขตสุขภาพท 12 ี่25.70 21.06 19.19 17.33 15.46 13.59เขตสุขภาพที 13 (กทม.) ่15.66 11.72 10.68 9.65 8.61 7.57แหลงขอมล : คำนวณเปาหมายจากการบูรณาการขอมูลการตาย 3 ฐาน (สธ., ตร., บ.กลางฯ) กองปองกันการบาดเจ็บ ูกรมควบคุมโรค

4355. กลไกการบริหารจัดการแผนเพื่อใหแผนบรรลุผลตามวัตถุประสงค/เปาหมาย มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สเขต สสจ. สสอ./รพช. Pชุมชน/ตำบล มาตรการที 1 ่มาตรการบริหารจัดการ1. การขับเคลือนนโยบายในระดับ่พื้นที่และระดับประเทศ เพื่อนำไปสูการบูรณาการการทำงานของเครือขายและหนวยงานอืนๆ โดย สสอ./รพช. ่หรือ คปสอ. เปนเลขารวมในศูนยปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนระดับอำเภอ (ศปถ.อำเภอ) โดยมีบทบาทในการขับเคลือนการแกปญหา่อุบัติเหตุทางถนนตลอดทั้งป เชือมโยง่การทำงานของ พชอ. ที่มีอยูในทุกอำเภอมาหนุนเสริมการทำงาน 2. ขับเคลื่อนการดําเนินงานผานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และเชือมโยงกับ ่ศปถ.อําเภอ มุงเนนใหเกิดกลไกการทำงานโดยใชเครื่องมือ D-RTI 1. การขับเคลื่อนนโยบายในระดับพื้นที่และระดับประเทศ 2. ขับเคลื่อนการดําเนินงานผานคคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และเชื่อมโยงกับ ศปถ.อําเภอ มุงเนนใหเกิดกลไกการทำงานโดยใชเครื่องมือ D1. การขับเคลื่อนนโยบายในระดับพืนที ้่2. ขับเคลื่อน/สนับสนุนพื้นที่ ดําเนินงานผานคคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และเชื่อมโยงกับ ศปถ.อําเภอ มุงเนนใหเกิดกลไกการทำงานโดยใชเครื่องมือ D1. การขับเคลื่อนนโยบายในระดับเขต 2. ขับเคลื่อน/สนับสนุนจังหวัด ดําเนินงานผานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และเชื่อมโยงกับ ศปถ.อําเภอ มุงเนนใหเกิดกลไกการทำงานโดยใชเครื่องมือ D1. การขับเคลื่อนนโยบายในระดับจังหวัด 2. ขับเคลื่อน/สนับสนุนอำเภอดําเนินงานผานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และเชื่อมโยงกับ ศปถ.อําเภอ มุงเนนใหเกิดกลไกการทำงานโดยใชเครื่องมือ D1. การขับเคลื่อนนโยบายในระดับอำเภอ 2. ขับเคลื่อนใหอำเภอดําเนินงานผานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และเชื่อมโยงกับ ศปถ.อําเภอ มุงเนนใหเกิดกลไกการทำงานโดยใชเครื่องมือ Dมาตรการที 2 ่มาตรการจัดการขอมูลและการประเมินผล1.ก(สาธารณสุข ตำรวจ และบริษัทกลางฯ) ทั้งในระดับประเทศและระดับ1. บูรณาการขอมูลการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอ1. สนับสนุนการพัฒนาการบูรณาการขอมูลการบาดเจ็บและเสียชีวิตจาก1. เขตสุขภาพมีแผนและสนับสนุนงบประมาณการดําเนินงานในพืนที ้่1. บูรณาการขอมูล 3 ฐาน ระดับจังหวัด (สาธารณสุข ตํารวจ และ1. บูรณาการขอมูลในระดับอำเภอ

436มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สเขต สสจ. สสอ./รพช. Pชุมชน/ตำบล จังหวัด เพื่อใหทราบขนาดปญหาที่แทจริง วิเคราะหสาเหตุปญหา และนำเสนอขอมูลผาน ศปถ.จังหวัด หรือการประชุมสหสาขา สำหรับใชประโยชนในการชีเปา วางแผนงาน ้และประเมินผล 2. พัฒนาระบบรายงานเฝาระวังการบาดเจ็บ (IS Online) โดยสวนกลางพัฒนา software, server, system และจัด training รวมกับโรงพยาบาลเครือขายระดับ A S M1 3บาดเจ็บจากการจราจรทางถนน (4. การประเมินผลมาตรการตาง ๆ ทัง้ในระดับพื้นที่และระดับประเทศ เชน การตรวจแอลกอฮอลในเลือดของผูบาดเจ็บโนโรงพยาบาล มาตรการดานชุมน มาตรการจัดการความเร็ว ฯลฯ ฐานระดับประเทศ(สาธารณสุข ตํารวจ และบริษัทกลางฯ) 2. พัฒนางานสอบสวนการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนน 3. การประเมินผลมาตรการตางๆ ทังใน้ระดับพื้นที่และระดับประเทศ อุบัติเหตุทางถนนจาก 3 ฐาน ระดับจังหวัด 2. พัฒนางานสอบสวนการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในระดับพื้นที่ 3. การประเมินผลม้ระดับพื้นที่ บริษัทกลางฯ) ในระดับจังหวัด 2. พัฒนางานสอบสวนการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนของจังหวัด 3. การประเมินผลมาตรการตาง ๆ ในระดับจังหวัด 2. พัฒนางานสอบสวนการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนของอำเภอ 3. การประเมินผลมาตรการตางๆ ในระดับอำเภอ มาตรการที 3 ่มาตรการปองกันและการขับเคลือน่นโยบาย 1. การขับเคลือนนโยบายการ่แกปญหาการบาดเจ็บและเสียชีวิตจาก1. การขับเคลื่อนนโยบายการแกปญหา2. การขับเคลื่อนนโยบายการแกปญหา1. สนับสนุน นโยบาย และแผนงาน 1. สนับสนุน และมีแผนงาน การขับเคลือน่1. ดำเนินการและจัดทำแผนงานการแกปญหา

437มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สเขต สสจ. สสอ./รพช. Pชุมชน/ตำบล อุบัติเหตุจราจรในกลุมเด็กและเยาวชนอายุต่ำกวา 20 ป ในระดับประเทศ และพัฒนาดานวิชาการและการดำเนินงานในระดับพื้นที่ 2. ขับเคลื่อนมาตรการองคกรความปลอดภัยทางถนนของรถพยาบาล (Ambulance Safety) การบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรในกลุมเด็กและเยาวชนอายุต่ำกวา 20 ป ในระดับประเทศ และพัฒนาดานวิชาการและการดำเนินงานในระดับพื้นที่ 2. ขับเคลื่อนมาตรการองคกรความปลอดภัยทางถนนของรถพยาบาล (การบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรในกลุมเด็กและเยาวชนอายุต่ำกวา 20 ป ในระดับเขต และพัฒนาดานวิชาการและการดำเนินงานในระดับพื้นที่ 2. ขับเคลื่อนมาตรการองคกรความปลอดภัยทางถนนของรถพยาบาล (ในระดับเขต งบประมาณการแกปญหาการบาดเจ็บแอุบัติเหตุจราจรในกลุมเด็กและเยาวชนอายุต่ำกวา 20 ป ในระดับเขต และพัฒนาดานวิชาการและการดำเนินงานในร2. ขับเคลือนมาตรการ่องคกรความปลอดภัยทางถนนของรถพยาบาล (ในระดับเขต นโยบายการแกปญหาการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรในกลุมเด็กและเยาวชนอายุต่ำกวา 20 ป ในระดับจังหวัด และพัฒนาดานวิชาการและการดำเนินงานในระดับจังหวัด 2. ขับเคลื่อนมาตรการองคกรความปลอดภัยทางถนนของรถพยาบาล (ในระดับจังหวัด การบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรในกลุมเด็กและเยาวชนอายุต่ำกวา 20 ป ในระดับอำเภอ และพัฒนาดานวิชาการและการดำเนินงานในระดับอ2. ขับเคลื่อนมาตรการองคกรความปลอดภัยทางถนนของรถพยาบาล (ในระดับอำเภอ มาตรการที 4 ่มาตรการรักษาพยาบาล โดยการพัฒนาคุณภาพการรักษาตามแนวทาง Service Plan Trauma and Emergency ครอบคลุมดานตาง ๆ1. EMS คุณภาพ 2. ER คุณภาพ 3. In-hos คุณภาพ 4. Referral System มีนโยบายการพัฒนาคุณภาพการรักษาตามแTEดานตาง ๆ คือ EMS คุณภาพ ER คุณภาพ IN-hos คุณภาพ และReferral System สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการรักษาตามแTEดานตางๆ คือ EMS คุณภาพ ER คุณภาพ IN-hos คุณภาพ และReferral System พัฒนาคุณภาพการรService Plan Trauma aครอบคลุมดานตางๆ คือ EMS คุณภาพ ER คุณภาพ IN-hos คุณภาพ และReferral S

4386. มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ป มหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน โครงการปองกันและลดการตายจากอุบัติเหตุทางถนนในทศวรรษแหงความปลอดภัยทางถนน 1. กองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค 2. กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 44.72 7.45 18.67 21.22 150.08 ลดอัตราตายของการบาดเจ็บจากออัตราตายของการบาดเจ็บจากอกิจกรรมหลักที 1 ่พัฒนากระบวนการจัดการขอมูลเพือการดำเนินงานและติดตาม่ประเมินผลการปองกันอุบัติเหตุทางถนน     1. กองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค 2. กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงส00.70 0.90 1.1 1.1 4.55 กรม คร. กิจกรรมหลักที 2 ่พัฒนาการสอบสวนการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน และการสังเคราะหความรูจากการสอบสวนพรอมใหขอเสนอเชิงนโยบาย     1. กองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค 2. สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 00.332 0.50 0 .72 0.72 2.52 กรม คร.

439มหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน กิจกรรมหลักที 3 ่ขับเคลื่อนนโยบายการดำเนินงานการปองกันอุบัติเหตุทางถนนในระดับอำเภอ (D-RTI) และระดับทองถิ่น (City RTI)     กองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค 11.09 1.47 3310.16 กรมคร. กิจกรรมหลักที 4่ คณะกรรมการ/ผูเชี่ยวชาญ/คณะทำงาน/นักวิชาการที่เกียวของกับงานปองกันการ่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน     กองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค 0.05 0.06 0.18 0.15 0.20 0.64 กรม คร. กิจกรรมหลักที 5 ่สนับสนุนการดำเนินงานปองกันแถส    1. กองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค 2. กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงส00.19 0.30 0.55 0.55 1.74 กรม คร. กิจกรรมหลักที 6 ่ผลิตสื่อสิ่งพิมพสนับสนุนการดำเนินงานและเผยแพรประชาสัมพันธปองกันอุบัติเหตุทางถนน     กองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค 0.20 0.32 0.50 0.50 0.50 2.02 กรม คร.

440มหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน กิจกรรมหลักที 7 ่การขับเคลื่อนนโยบายการปองกันการบาดเจ็บทางถนนในกลุมเด็กและเยาวชนอายุต่ำกวา 20 ป     กองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค - - - 13.50 4.60 กรม คร. กิจกรรมหลักที 8 ่กสำคัญ ไดแก การบูรณาการขอมูล 3 ฐานในระดับพืนที, การ้่ขับเคลื่อนการใชระบบเฝาระวัง IS Online และ การประเมินผลมาตรการการตรวจแอลกอฮอลในเลือกในผูขับที่ที่เกิดการบาดเจ็บและเสียชีวิต --  กองปองกันการบาดเจ็บกรมควบคุมโรค - - 0.40 0.40 0.50 1.30 กรม คร. กิจกรรมที่ 9 โ่ปลอดภัย มั่นใจไรแอลกอฮอล” การตรวจระดับแอลกอฮอลในเลือดในผูขับขี่ สนับสนุนโดย กองทุนเพื่อความปลอดภัยในการใชรถใชถนน กรมการขนสงทางบก1. กองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค 2. กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงส-69 กปถ. 43.34กปถ. 10.00ก10.00 ก1กปถ./กรมคร

441มหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน 3. สำนักงานตำรวจแหงชาติ กิจกรรมที่ 10 โขับเคลือนกลไกการปองกันการ่บาดเจ็บจากการจราจรในระดับจังหวัด สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) 1. กองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค 2. สำนักงานปองกันควบคุมโรคที่ 1-12 --11.00 11.00 11.00 33.00 สสส. กิจกรรมที 11 ่การขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาศักยภาพพนักงานขับรถโดยสารสาธารณะ (Fit for drive)  1. กองปองกันการบาดเจ็บ 2. กองโรคไมติดตอ 3. สถาบันปองกันควบคุมโรคเขตเมือง 4. กองปองกันโรคการจากประกอบอาชีพ 5. สถาบันเวชศาสตรฟนฟู กรมควบคุมโรค --0.08 0.50 0.50 1.08

442มหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน 6. แพทยสถา 7. กรมการขนสงทางบก กระทรวงคมนาคม กิจกรรมที 12 ่การขับเคลื่อนมาตรการองคกรความปลอดภัยทางถนน กรมควบคุมโรคและกระทรวงสาธารณสุข   1. กองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค 2. เครือขายรถจักรยานตรสกระทรวงสาธารณสุข -0.14 0.30 0.40 0.40 1.24

4437. แผนการติดตามประเมินผล ระยะ 5 ปมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เปาหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ป พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 แผนงานปองกันการบาดเจ็บ อัตราการเสียชีวิตจากการจราจรทางถนน พ.ศ.2561 - 2565 จากการบาดเจ็บทางถนน ตอประชากรแสนคน ขอมูลอัตราตายจากการบาดเจ็บทางถนน ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส (ขอมูลมรณบตร ัจาก สนย.หรือ ขอมูลบูรณาการ) ราย ราย ราย ราย ราย 1. มีการจัดตั้งศูนยปฏิบติการตอบโตภาวะัฉุกเฉิน (SAT/EOC-RTI) ในชวงเทศกาล ทุกจังหวัด - ประเมินเชงิปริมาณผานระบบรายงานออนไลนผานเว็บไซด Quick win ปละ 1 ครั้ง ปละ 1 ครั้ง ปละ 1 ครั้ง ปละ 1 ครั้ง ปละ 1 ครั้ง - ประเมินเชงิคุณภาพจากการสุมศึกษาบางพื้นท ี่ปละ 1 ครั้ง ปละ 1 ครั้ง ปละ 1 ครั้ง ปละ 1 ครั้ง ปละ 1 ครั้ง 2. มีระบบบูรณาการขอมูลการตายจากอุบัติเหตุทางถนน ทุกจังหวัด - กองปองกันการบาดเจ็บ รายงานผลการดำเนินงาน ราย ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ราย ราย ราย ราย 3. มีการนำขอมูลการเฝาระวงและการสอบสวนการับาดเจ็บจากการจราจรไปใชประโยชนและนำเสนอตอ ศปถ.จังหวดทกไตรมาส ัุทุกจังหวัด - ประเมินเชงิปริมาณผานระบบรายงานออนไลนผานเว็บไซด Quick win ปละ 4 ครั้ง ปละ 4 ครั้ง ปละ 4 ครั้ง ปละ 4 ครั้ง ปละ 4 ครั้ง อำเภอเสียง ่- ประเมินเชงิคุณภาพจากการสุมศึกษาบางพื้นท ี่ราย ไตรมาส ราย ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ราย ราย 4. มีการดำเนินงานปองกนัการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนกลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวตระดับิอำเภอ โดยใชแนวทาง (D-RTI และระดับทองถิ่น (City RTI) ทุกจังหวัด -ประเมินเชงปริมาณิผานระบบรายงานออนไลนผานเว็บไซด Quick win ปละ 4 ครั้ง ปละ 4 ครั้ง ปละ 4 ครั้ง ปละ 4 ครั้ง ปละ 4 ครั้ง อำเภอที่สงผลการ -ประเมินเชิงคุณภาพ ไตรมาสท ดำเนินงานเพื่อขอรับการประเมิน ประเมินระดับ สสจ, คุณภาพ จากการลงพื้นที่สคร. และสวนกลาง ี ่4 - ไตรมาสท ี ่4 - ไตรมาสท ี่4

444มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เปาหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ป พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 5. รอยละผูบาดเจ็บที่มีคา Ps score > 0.75เสียชีวิต (ไมเกนรอยละ 1.5%) ิรพ.ระดับ A, S, M1 ประเมินการดำเนินงาน รพ.ระดับ A, S, M1 ปละ 1 ครั้ง ปละ 1 ปละ 1 ครั้ง ครั้ง ปละ 1 ครั้ง ปละ 1 ครั้ง 7. การขับเคลื่อนนโยบายการปองกันการบาดเจ็บทางถนนในกลุมเด็กและเยาวชนอายุต่ำกวา 20 ป ทุกจังหวัด - ประเมินเชงิปริมาณผานระบบรายงาน INJURY SURVEILLAND - - ปละ 3 ครั้ง ปละ 3 ครั้ง ปละ 3 ครั้ง อำเภอเสียงสูงและ - ประเมินเชิง่เสี่ยงสูงมาก คุณภาพ จากการตรวจสอบขอมูลราย CASE ความครบถวน ถกตองจากการสอบสวน ู8.โครงการ “ขับขี่ปลอดภัย มันใจไรแอลกอฮอล” การ่ตรวจระดับแอลกอฮอลในเลือดในผูขับขี่ สนับสนุนโดย กองทุนเพื่อความปลอดภัยในการใชรถใชถนน กรมการขนสงทางบก โรงพยาบาล ทุกแหง จำนวนผูตรวจ แอลกอฮอลในเลือด และผลการตรวจ ปละ 1 ครั้ง 9. โครงการขับเคลื่อนกลไกการปองกันการบาดเจ็บจากการจราจรในระดับจังหวัด สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) - - ปละ 3 ครั้ง ปละ 3 ครั้ง - 8. ผูรับผิดชอบแผนงาน 1. แพทยหญิงศศิธร ตั้งสวัสดิ์ เบอรโทรศพท 08 1717 1486 ัผูอำนวยการกองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค E-mail : [email protected] 2. นางนงนุช ตันติธรรม เบอรโทรศพท 08 9788 3020 ัรองผูอำนวยการกองปองกันการบาดเจ็บ E-mail : [email protected] 3. นพ.วิทูรย อนันกุล ผูอำนวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

4451. สถานการณการจมน้ำเปนสาเหตการเสียชีวิตอนดับ 1 ของเด็กไทย ซงสูงมากกวาทกสาเหตุทงโรคติดเชื้อและไมติดเชื้อ ุัึุ่ั้(1-4)ชวง 10 ปทผานมา (ป พ.ศ. 2553-2562) เราสูญเสียเด็กอายุต่ำกวา 15 ป จากการจมน้ำไปแลวถง 8,394 คน เฉลี่ยปละ ี่ึ839 คน หรือวันละ 2.3 คน อตราการเสียชีวิตตอประชากรแสนคน อยูในชวง 4.9-9.0 ทังนีการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกวา ั(3)้้15 ป เปนสาเหตของความสูญเสียปสุขภาวะ (Disability-Adjusted Life Year: DALY) อนดับท่ 3 ในเดกชาย (DALY = ุัี็26,000 ป) และอันดับที่ 6 ในเด็กหญิง (DALY = 10,000 ป) (5)ในปพ.ศ. 2562 พบวาการจมน้ำมอตราปวยตาย (Case Fatality Rate) เทากบรอยละ 27.4 กลุมประชากรเด็กีััอายุต่ำกวา 15 ปมีสัดสวนสูงถึงรอยละ 16.9 โดยกลุมเด็กอายุ 5-9 ป มีจำนวนการเสียชีวิตสูงท่สุด รองลงไปคือีกลุมเด็กอายุตำกวา 5 ป ทงนี้เม่อเปรียบเทยบกับอัตราตอประชากรเด็กแสนคนพบวากลุมเด็กอายุต่ำกวา 5 ป มีอัตรา่ั ้ืีการเสียชีวิตสูงท่สุด เด็กชายมีอัตราการเสียชีวิตสูงกวาเด็กหญิงประมาณ 2.5 เทาตัว ชวงเดือนเมษายนเปนชวงท่มีีีเด็กจมน้ำเสียชีวิตมากท่สุด รองลงมาคือเดอนมนาคมและเดอนพฤษภาคม แหลงน้ำทมเดกเสียชีวิตจากการตกน้ำ จมน้ำีืีืี ่ี็สูงสุดคือแหลงน้ำตามธรรมชาติบอขุดเพื่อการเกษตร (รอยละ 31.0) (4, 6)ภาพที่ 1 จำนวนและอัตราการเสียชีวิตตอประชากรแสนคนจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกวา 15 ป ป พ.ศ. 2553-2562 แหลงขอมูล : ขอมลมรณบัตร กองยุทธศาสตรและแผนงาน สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข ูวเคราะหิ : กองปองกันการบาดเจ็บ (กลุมปองกันการบาดเจ็บทั่วไป) กรมควบคมโรค กระทรวงสาธารณสุข ุหมายเหตุ : ป พ.ศ. 2562 เปนขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 28 มกราคม 2563 แผนงานปองกันการจมน้ำ

446ภาพที่ 2 อตราการเสียชีวิตตอประชากรแสนคนจากการัจมน้ำของเด็กอายุต่ำกวา 15 ปในประเทศไทย จำแนกราย กวา 15 ป ป พ.ศ. 2562 กับคามัธยฐาน (ป พ.ศ. 2553-กลุมอายุ ป พ.ศ. 2553-2562 แหลงขอมูล : ขอมูลมรณบัตร กองยุทธศาสตรและแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข วเคราะห ิ: กองปองกันการบาดเจ็บ (กลุมปองกันการบาดเจ็บทั่วไป) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ภาพที่ 3 จำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำ2562) จำแนกรายเดอน ืแหลงขอมูล : ขอมลมรณบัตร กองยุทธศาสตรและูแผนงาน สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข วเคราะหิ : กองปองกันการบาดเจ็บ (กลุมปองกันการบาดเจ็บทั่วไป) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข หมายเหตุ : ป พ.ศ. 2562 เปนขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 28 มกราคม 2563 ประเทศไทยเริมมการดำเนินงานปองกนการจมน้ำเมอปลายป 2549 ซงกอนทจะมการดำเนินการ ประเทศไทยมี่ีัื่ึ ่ี ่ีเดกอายุต่ำกวา 15 ปเสียชีวิตจากการจมน้ำเฉลียปละประมาณ 1,500 คน แตภายหลังจากการดำเนินการปองกนพบวา ็่ัเดกไทยจมน้ำเสียชีวิตลดลงรอยละ 63 โดยลาสุด ป พ.ศ. 2562 ประเทศไทยสูญเสียเดกจากการจมน้ำลดลงเหลือ 550 คน ็็ (4)อยางไรก็ตามจำนวนการจมน้ำในกลุมเดกเล็ก (อายุ 0-2 ป) ยังมแนวโนมสูงอยู ท้งท่กลุมนี้เปนกลุมที่ข้นอยูกบการดูแล็ีัีึัของผูปกครอง/ผูดูแลเด็ก ดงนันการใหความรูเก่ยวกบการปองกันการจมน้ำแกผูปกครอง/ผูดแลเดกเมอพาเดกมาฉีดวัคซน ั้ีัู็ื ่็ีโดยบุคลากรทางการแพทยจึงยังคงเปนมาตรการที่สำคัญ ซึ่งองคการอนามัยโลกระบุวาเปนมาตรการที่มีประสิทธิภาพ (7)ปจจัยเสี่ยงที่สำคัญของการจมน้ำประกอบดวย 2 ปจจัยทสำคัญ คือ ี่1. ปจจัยดานบุคคลคอ ตัวเดกเองความเสียงของเดกขนอยูกับสภาพรางกาย พฒนาการ พฤติกรรม ความรู ื็่็ึ ้ัทกษะ และโรคประจำตัวของเด็กแตละคน เชน เด็กอายุต้งแต 9 เดอนข้นไปที่เริ่มคบคลานไดเร็วจะเริ่มมความเสี่ยงตอััืึืีการจมน้ำจากแหลงน้ำในบานหรือรอบ ๆ บาน เด็กอายุ 1 ป จะเริ่มเดินได แตการทรงตัวมกไมด เนื่องจากมวลสารของัีศีรษะยังมสัดสวนสูง จุดศนยถวงอยูสูง จึงทำใหลมในทาท่ศรษะท่มลงไดงายและไมสามารถชวยเหลือตัวเองได ดงนั้นจึงีูีีิัสามารถจมน้ำในถังน้ำ อางน้ำ สระวายน้ำตื้นๆ ได หรือเด็กบางคนรับรูความเสี่ยงแตมีพฤติกรรมชอบเสี่ยง

4472. ปจจัยดานสิงแวดลอม แบงออกเปนดานสิงแวดลอมเชิงกายภาพ เชน การมแหลงน้ำใกลตัวเด็กซงทำใหเดก่่ีึ ่็สามารถเขาถึงไดงาย การไมมีรั้วรอบแหลงน้ำเพื่อแบงแยกเด็กออกจากแหลงน้ำ การออกแบบผลิตภัณฑที่มอันตรายตั้งแตีแรก หรือการออกแบบผลิตภัณฑที่ดีแตขาดการบำรุงรักษา และดานสิงแวดลอมเชิงสังคม เชน สภาพเศรษฐกิจและสังคม ่ครอบครัวท่พอแมตองทำงานหรือตองคดีตาง ๆ ทำใหเด็กขาดผูดแลหลัก ระบบเครือญาติหรือครอบครัวใหญมความีูีออนแอไมสามารถทดแทนได ชุมชนไมมระบบสวัสดการชุมชนทีจะทดแทนการดแลของพอแม เดก/ผูดแล/ชุมชนไมรูสึกวาีิู่็ูเปนความเสี่ยงตอเด็ก ผูชวยเหลือใกลเคียงไมมีความรูในการกชีพ/ปฐมพยาบาลผิดวิธี สถานบริการทางการแพทยใกลูชุมชนไมมความพรอมในการชวยเหลือภาวะฉุกเฉน ระบบประกนสุขภาพ/ประกนสังคม/ประกนภัย ระบบคมครองีิัััุ ผูบริโภคในการรับผิดจากสินคาและบริการอันตราย (8, 9)ท้งนี้เด็กแตละชวงอายุจะมีปจจัยเสี่ยงที่แตกตางกัน เชน กลุมเด็กเล็กมักเกิดจากการขาดความรูและัความตระหนักของผูปกครอง/ผูดูแลเด็ก ทำใหปลอยเด็กทงไวตามลำพัง หรือปลอยใหเด็กอยูกบพทมีอายุไรเรี่ยกันซงไมมิ้ัี่ี่ึ่ีวุฒิภาวะมากพอทจะดแลนอง และการขาดการจัดการสิ่งแวดลอมภายในบานและรอบ ๆ บานทเหมาะสมและปลอดภัย ี ู่ี ่สวนในกลุมเด็กโต สวนใหญมักเกิดจากความคึกคะนอง การไมมีความรูเรื่องความปลอดภัยทางน้ำ การขาดทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ และการขาดทกษะการชวยผูประสบภัยทางน้ำ รวมถงการชวยฟนคืนชีพ (CPR) ดงนั้นเมอเดก ๆ ัึ ัื ่็ชวนกนไปเลนน้ำเปนกลุม เมอมเพอนพลัดตกลงไปในน้ำลึก เดกจะไมรูวิธีการเอาชีวิตรอดในน้ำ แตจะพยายามวายเขาหาฝงัื ่ีื ่็จนหมดแรงและจมน้ำไปกอนที่จะถงฝง ขณะที่เด็กบางคนพยายามชวยเหลือเพื่อนโดยการกระโดดลงน้ำไปชวย ซึ่งเปนวิธีการึชวยเหลือท่ไมถกตอง เพราะจะทำใหถกกอดรัดและจมน้ำไปพรอม ๆ กัน ดังจะเห็นวาในบางกรณีพบการจมน้ำเสียชีวิตีููพรอมกนครังละหลายๆ คน นอกจากนันยังมปจจัยอน ๆ รวมดวยคือ การจัดการสิงแวดลอมบริเวณแหลงน้ำตาง ๆ ั้้ีื ่่เพื่อใหเกิดความปลอดภัย การปองกันการจมน้ำ จำเปนท่จะตองมการดำเนินการในหลายๆ มาตรการพรอมกน เพราะเดกแตละชวงอายุจะมีีีั็ปจจัยเสี่ยงท่แตกตางกัน และมีหลายๆ ปจจัยรวมดวย ซึ่งการดำเนินการเพียงมาตรการเดียว จึงไมทำใหการจมน้ำีเสียชีวิตลดลงมากนัก ดงนันในป 2558 กองปองกนการบาดเจ็บ (แยกออกมาจากกองโรคไมติดตอ) จึงเริ่มดำเนินกลยุทธ ั้ั“ผูกอการด (MERIT MAKER) ปองกนการจมน้ำ” ขึน ผูกอการดีฯ เปนกลยุทธทจะทำใหเกดการดำเนินงานปองกนการจมน้ำีั้ี ่ิัอยางตอเนื่องและทุกมาตรการซึ่งจะครอบคลุมปจจัยเสี่ยงของทั้งเด็กเล็กและเด็กโต และเนนการดำเนินการโดยใชรูปแบบแบบสหสาขา และทรัพยากรทมีอยูในพนท รวมทงการมสวนรวมของชุมชน ซึ่งสอดคลองกับความเห็นในเรืองการปองกันี่ื ้ี ่ั ้ี (10)่การจมน้ำจากผูเชี่ยวชาญระดับโลกในหลายประเทศ นอกจากนั้นมาตรการในแตละองคประกอบของผูกอการดฯ (11)ียังเปนมาตรการที่เปนไปในทิศทางเดียวกันกับขอแนะนำที่องคการอนามัยโลกไดแนะนำไวเมื่อป 2560  (12)ผูกอการดี (MERIT MAKER) คือ กลยุทธการดำเนินงานปองกนการจมน้ำทีครอบคลุมทงการจัดการปจจัยเสียงั่ั ้่ดานตัวบุคคลและสิงแวดลอม โดยผูกอการดี (MERIT MAKER) ประกอบดวย 10 องคประกอบหลัก ซงแตละองคประกอบ่ึ ่คือมาตรการและกลยุทธทสำคัญในการปองกันการจมน้ำ ไดแก นโยบาย การบริหารจัดการ สถานการณและขอมล ี ู่การจัดการแหลงน้ำเสียง การดำเนินการในศนยพฒนาเด็กเล็ก การใหความรู การเรียนการสอนหลักสูตรวายน้ำเพอู่ัื่เอาชีวิตรอด การสอนฝกปฏิบัติการชวยฟนคนชีพ (CPR) การสื่อสารประชาสัมพันธ และการศึกษาวิจัยหรือติดตามื

448ประเมนผล ทงนี้ทมผูกอการด (MERIT MAKER) เกดจากการรวมตัวกันเปนทมขึ้นของเครือขายภาครัฐ (สาธารณสุข ิ(10)ั้ีีิีทองถ่น การศึกษา ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย พัฒนาสังคมฯ ฯลฯ) ภาคเอกชน อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ิจิตอาสา หรือประชาชนทั่วไป เพื่อรวมกันดำเนินการปองกนการจมน้ำ ในองคประกอบตาง ๆ ของผูกอการดี (MERIT MAKER) ัผูกอการดี (MERIT MAKER) แบงออกเปน 3 ระดบ คอ ระดบทอง ระดบเงน และระดับทองแดง ทงนีทีมท่มัืััิั ้้ีีความประสงคจะสมครเปนผูกอการด (MERIT MAKER) ในทกระดับ จะตองสมครผานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) ัีุัโดยในระดับทองแดง สสจ. และทีมประเมินระดับจังหวัดจะเปนผูพิจารณาตัดสิน สวนระดับเงินและระดับทอง สำนักงานปองกนควบคมโรคเขต (สคร.) และทีมประเมนระดับเขตจะเปนผูพิจารณาตัดสิน หลังจากนั้น สคร. จะคดเลือกทีมผูกอการดีัุิั(MERIT MAKER) ระดับเงนและระดับทองทดีทสุดของแตละจังหวัด สงไปยังสวนกลางเพอประกวดหาทีมทดีทสุดในิี่ี่ื ่ี่ี ่ระดบประเทศโดยทีมประเมินสวนกลางจะพิจารณาประเมินจากเอกสาร/หลักฐานท่สงเขามาเปนขั้นแรก การนำเสนอัีของทีมผูกอการดีฯ ที่สงเขาประกวดเปนข้นท่สอง จากนันจะเดินทางไปประเมินเชิงคุณภาพในพื้นที่เพอพิจารณาตัดสิน ัี้ื่จากการดำเนินงานทผานมาตั้งแตป 2558-2561 พบวา มทีมผูกอการดี (MERIT MAKER) ปองกนการจมน้ำ ี่ีัจำนวน 3,484 ทีม ครอบคลุมในทุกจังหวัดทั่วประเทศ โดยแบงเปนระดับทองแดง 3,095 ทีม ระดับเงิน 248 ทม และีระดบทอง 141 ทม ซงมผลทำใหเกดการจัดการแหลงน้ำเสียงใหเกดความปลอดภัย (สรางรัวหรือตดปายคำเตือน และจัดใหมัีึ ่ีิ่ิ้ิีอปกรณชวยคนตกน้ำไวบริเวณแหลงน้ำเสียง) จำนวน 15,501 แหง มการดำเนินงานปองกนการจมน้ำในศนยพฒนาเดกเล็กุ่ีัูั็จำนวน 12,224 แหง สถานบริการสาธารณสุข/ชุมชน/โรงเรียน มีการใหความรูเก่ยวกบการปองกันการจมน้ำเดอนละ 1 ครัง ีัื้จำนวน 12,275 แหง เกิดวิทยากรสอนหลักสูตรวายน้ำเพ่อเอาชีวิตรอด จำนวน 26,596 คน เดกอายุ 6-14 ป ไดเรียนื็หลักสูตรวายน้ำเพอเอาชีวิตรอด จำนวน 578,187 คน คนในชุมชนหรือเด็กไดฝกปฏิบัติการชวยฟนคนชีพ (CPR) จำนวน ื่ื267,536 คน มีการสือสารประชาสัมพันธผานชองทางตาง ๆ จำนวน 12,864 ครั้ง และมีผลการศกษาวิจัยหรือติดตาม่ึประเมนผล จำนวน 476 เรื่อง ิ (13)การสรางทมผูกอการดี (MERIT MAKER) ในพนท จะเริ่มจากการมขอมลในพนทเพอนำไปใชในการผลักดันใหีื้ี่ีูื้ี่ื่ผูบริหารทราบปญหา โดยอาจผลักดนผานการประชุมระดบอำเภอ/ตำบล/หมบาน จากนั้นจัดเวทโดยมหนวยงาน/ผูทเกยวของััู ีีี ่ี่ตามมาตรการในผูกอการด (MERIT MAKER) เพื่อรวมกันหาแนวทางแกไขปญหา เชน ี1. หนวยงานทองถนสนับสนุนงบประมาณและดำเนินงานในองคประกอบเรือง นโยบายการ บริหารจัดการ ศนยิ ่ู่พัฒนาเด็กเล็ก การวายน้ำเพอเอาชีวิตรอด และการสือสารประชาสัมพนธ ื่่ั2. สถานศกษา/โรงเรียนดำเนินงานในองคประกอบเรือง การวายน้ำเพอเอาชีวิตรอด การใหความรู และการศกษาึ่ื ่ึวิจัย/ตดตามประเมนผล ิิ3. ปองกนและบรรเทาสาธารณภัยดำเนินงานในองคประกอบเรือง การจัดการแหลงน้ำเสียง และการวายน้ำเพอเอาั่่ื ่ชีวิตรอด 4. หนวยงานสาธารณสุขดำเนินงานในองคประกอบเรือง สถานการณและขอมล การใหความรู การสอนฝก่ูปฏิบัติการชวยฟนคืนชีพ (CPR) และการศกษาวิจัย/ตดตามประเมนผล ึิิ

4495. ภาคเอกชน/จิตอาสา/ประชาชนทวไป สนับสนุนการดำเนินงานในองคประกอบเรืองการจัดการแหลงน้ำเสียง ั ่่่การใหความรู และการวายน้ำเพอเอาชีวิตรอด ื ่ท้งนี้จากการระดมความคิดเห็นจากหนวยงานระดับพ้นท่ท้งระดับเขต จังหวัด และอำเภอ พบวา สิ่งสำคัญ ัืีัทีจะทำใหการดำเนินงานปองกันการจมน้ำในพนท่ประสบความสำเร็จคอ การสรางเครือขาย เพราะการจมน้ำเกดขึ้นจาก่ื ้ีืิหลายปจจัย จึงตองใหหลากหลายมาตรการ ซงแตละมาตรการมหนวยงานหรือองคกรทรับผิดชอบหลัก ดังนั้นหากเครือขายึ ่ีี ่ในพ้นท่ไมแข็งแรง การดำเนินงานจะขบเคลื่อนไปไดคอนขางยากและเชื่องชา รองลงมาคอการบริหารจัดการ/นโยบาย ืีัืและขอมูล ดังนั้นจะเห็นวา สิ่งสำคัญใน 3 อันดับแรกของการดำเนินงานปองกันการจมน้ำใหประสบความสำเร็จทงดานเครือขาย ดานการบริหารจัดการ/นโยบาย และดานขอมล ลวนแลวแตเปน กลยุทธทอยูใน “แนวทางผูกอการดี ั ้ูี ่(MERIT MAKER)” (14)กลยุทธผูกอการดฯ เปนกระบวนการทนานาประเทศใหความสนใจและชืนชม เพราะสามารถดงเอาชุมชนเขามา ีี่่ึมีสวนรวม และใชทรัพยากรทมีอยูในพนท่ในการดำเนินงาน อยางไรกตามระยะแรกของการดำเนินกลยุทธผูกอการด ี ่ื ้ี็ี(MERIT MAKER) เปนชวงของการดำเนินงานโดยมีจุดมงหมายเพอสรางการรับรูในชุมชน สรางเครือขายในพ้นทและื่ืี ่ขยายผลการดำเนินงานปองกนการจมน้ำในภาพกวาง จึงมผลทำใหเมอตดตามประเมนผลการดำเนินงานผูกอการด ัีื ่ิิี(MERIT MAKER) ในพนทจะพบวา สวนใหญผลทไดจะเปนผลการดำเนินงานในเชิงปริมาณมากกวาเชิงคุณภาพ ดงนันื้ี่ี ่ั้ระยะตอไปของการดำเนินงานผูกอการด (MERIT MAKER) จึงเปนระยะของการพฒนาใหทมเครือขายผูกอการดี (MERIT ีัีMAKER) ในพนทมคุณภาพมากขน ซงกองปองกนการบาดเจ็บไดมีการจัดทำหลักสูตรผูจัดการแผนงานปองกนการจมน้ำ ื้ี่ีึ้ึ่ัั(Drowning Prevention Course for Program Manager) และจัดใหมีการอบรมรมหลักสูตรดงกลาวใหแกบุคลากรัทางดานสาธารณสุขทั้งระดับเขตและระดับจังหวัดทั่วประเทศไปเมื่อเดือนธันวาคม 2562 ถึงเดอนมกราคม 2563 อยางไรืก็ตามยังคงมบุคลากรบางสวนและบุคลากรท่เขามาใหมยังไมไดรับการอบรม รวมท้งมหนวยงานเครือขายทสนใจทจะีีัีี ่ี ่อบรมหลักสูตรดังกลาว ดังนั้นกองปองกนการบาดเจ็บจึงมีแผนทจะจัดทำการอบรมหลักสูตรดังกลาว ใหเปนระบบ ัี ่e-Learning ซึ่งทำใหบุคลากรเครือขายที่สนใจทกระดับ สามารถเขามาศกษาเรียนรูเพมเติมเกี่ยวกับการปองกันการจมน้ำุึิ่ได นอกจากนั้นเนื่องจากการจมน้ำเสียชีวิตในกลุมเด็กอายุตำกวา 2 ปมแนวโนมเพมขน จึงควรเนนการสือสาร่ีิ่ึ้่ประชาสัมพนธในชุมชนเพ่อใหผูปกครอง/ผูดูแลเด็กเกดความตะหนัก และหันมาจัดใหมพนทเลนทปลอดภัย/คอกก้นเด็กัืิีื ้ี ่ี ่ัใหแกเด็ก ซงสอดคลองกบมตสมชชาสุขภาพแหงชาตเรื่อง การพฒนาพนทเลนสรางเสริมสุขภาวะของเด็กปฐมวันและวัยึ ่ัิัิัื้ี่ประถมศึกษา ท่คณะรัฐมนตรีมมติใหหนวยงานทเก่ยวของรับไปพิจารณาดำเนินการเมอวันท 17 กรกฎาคม 2561 ีีี ่ีื ่ี ่(15)นอกจากนั้นการลดจำนวนการเสียชีวิตของกลุมเด็กเล็กอายุต่ำกวา 5 ปยังเปนเปาหมายที่ระบุไวใน SDGs ประกอบกบการตองปรับเปลียนวิถีชีวิตใหเปนแบบความปกติใหม (New Normal) หลังจากการระบาดของั่ไวรัสโคโรนา (COVID-19) จึงนับเปนโอกาสท่จะทำใหชุมชนเกดความเขมแข็ง และสามารถดูแลจัดการตนเองไดเพมมากีิิ ่ขึ้น ซึ่งสอดรับกับกลยุทธผูกอการด (MERIT MAKER) ทไดกำหนดไว ดังนั้นมาตรการทควรเนนในยุค New Normal กบีี่ี่ัการดำเนินงานปองกันการจมน้ำ จึงควรเนนใหชุมชนรวมสรางทีมผูกอการด (MERIT MAKER) ใหครอบคลุมในระดับีหมูบาน/ตำบล และเนนหนักปองกันกรจมน้ำในเด็กเล็กอายุต่ำกวา 5 ปโดยการจัดใหมีพื้นที่เลนทปลอดภัย เวนระยะหาง ี่

450หรือมีสิ่งกดขวางททำใหเด็กไมสามารถเขาถงแหลงน้ำไดเองตามลำพัง (ทงแหลงน้ำเสี่ยงในบานและในชุมชน) สำหรับในีี่ึั้กลุมเดกโต เนนการนำเทคโนโลยีมาใชในการเรียนการสอนในลักษณะผานสือโตตอบ (Interactive) แบบออนไลน/ ็่Virtual reality/Augmented reality เพ่อใหเดกมความรูเรื่องความปลอดภัยทางน้ำ การเอาชีวิตรอดในน้ำ และวิธีการื็ีชวยเหลือทถกตอง นอกจากนันควรมการสื่อสารประชาสัมพนธ ใหผูปกครอง/ผูดูแลเด็กทนำเดกไปทำกจกรรมทางน้ำ ี ู่้ีัี่็ิ(เชน หาปลา หาหอย เกบผัก) ตองนำอปกรณชวยลอยน้ำสวนบุคคลทหาไดงายใหเด็กสะพายแลงไวที่ตัวตลอดเวลา (เชน ็ุี่ถงแกลลอนพลาสตก) และหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอลกอนหรือขณะทำกจกรรมทางน้ำ รวมทงสอนใหประชาชนในัิิั ้ชุมชนทุกคนมีทักษะการชวยฟนคืนชีพ (CPR) ซึ่งหลายมาตรการอยูภายใตองคประกอบของผูกอการดี (MERIT MAKER) 2. พื้นที่เสี่ยง/กลุมเสยง ี่ เสี่ยงมาก(อัตราตายตอประชากรเด็กแสนคน > 7.5 หรือจำนวนการตายมากกวา 20 คน/ป) เสี่ยงปานกลาง(อัตราตายตอประชากรเด็กแสนคน 5-7.4) เสี่ยงนอย(อัตราตายตอประชากรเด็กแสนคน < 5) ภาพที่ 1 อตราการเสียชีวิตตอประชากรแสนคนจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกวา 15 ปในประเทศไทย จำแนกรายัจังหวัด เฉลี่ย 3 ป (ป พ.ศ. 2560 - 2562) แหลงขอมูล : มรณบัตรกองยุทธศาสตรและแผนงานสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข วเคราะห ิ: กอปองกันการบาดเจ็บ (กลุมปองกันการบาดเจ็บทั่วไป)กรมควบคมโรค กระทรวงสาธารณสุข ุหมายเหตุ : ป พ.ศ. 2562 เปนขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 28 มกราคม 2563 จากคาเฉลี่ยขอมูลการเสียชีวิตจากการจมน้ำ ป พ.ศ. 2560 – 2562 (คาเฉลี่ย 3 ป) พบวา 1. จังหวัดในเขตพื้นที่เสี่ยงมาก (พนทสีแดง) อตราการเสียชีวิตตอประชากรแสนคนมากกวาหรือเทากบ 7.5 หรือื้ี่ััจำนวนคนเสียชีวิตตงแต 20 คนขนไปมีจำนวน 21 จังหวัด ไดแก เพชรบุรี เลย กาฬสินธุ ชัยนาท ตราด นครราชสีมา ั ้ึ ้บุรีรัมย ปราจีนบุรี ปตตานี มุกดาหาร ยโสธร ยะลา ระนอง สกลนคร สตูล สระแกว สิงหบุรี สุโขทย อดรธานี อทยธานี ัุุัและอบลราชธานี ุ

4512. จังหวัดในเขตพ้นทเสี่ยงปานกลาง (พ้นทสีเหลือง) อัตราการเสียชีวิตตอประชากรเด็กแสนคนเทากบ 5 - 7.4 มืี ่ืี ่ัีจำนวน 37 จังหวัด ไดแก กาญจนบุรี กำแพงเพชร ขอนแกน จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชัยภูม ตรัง ตาก นครนายก นครปฐม ินครพนม นครศรีธรรมราช นครสวรรค นราธิวาส บึงกาฬ ประจวบครีขนธ พระนครศรีอยุธยา พะเยา พงงา พัทลุง พิจิตร ีััแมฮองสอน มหาสารคาม รอยเอ็ด ระยอง ราชบุรี ลพบุรี ลำปาง ศรีสะเกษ สงขลา สมทรสงคราม สมทรสาคร สุพรรณบุรี ุุสุราษฎรธานี สุรินทร หนองคาย และอางทอง 3. จังหวัดในเขตพนท่เสี่ยงนอย (พ้นทสีเขียว) อตราการเสียชีวิตตอประชากรเด็กแสนคนนอยกวา 5 มจำนวน 19 ื ้ีืี ่ัีจังหวัด ไดแก กรุงเทพมหานคร กระบี่ เชียงใหม เชียงราย เพชรบูรณ แพร ชลบุรี ชุมพร นนทบุรี นาน ปทุมธานี พษณุโลก ภูเก็ต ลำพูน สมุทรปราการ สระบุรี หนองบัวลำภู อำนาจเจริญ และอุตรดิตถ ิตารางที 1 ่จำนวนและอัตราการเสียชีวิตตอประชากรแสนคนจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกวา 15 ป พ.ศ. 2562 จำแนกรายเขตเขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 สปคม. ประเทศ ทั่วจำนวน(คน) 34 25 23 30 53 62 40 61 50 48 37 67 20 550 อตราการเสียชีวิต ั4.14 4.39 4.90 3.52 6.18 5.67 5.05 6.34 4.35 6.06 4.33 6.13 2.48 4.95 หมายเหตุ: ป พ.ศ. 2562 เปนขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 28 มกราคม 2563 (อาจมีการเปลี่ยนแปลง) 3. เปาหมายเปาหมาย/ตัวชีวัดเปาหมาย ้ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2561-2565) (พ.ศ. 2566-2570) (พ.ศ. 2571-2575) (พ.ศ. 2576-2580) ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุนอยกวา 15 ป < 2.5 < 2.5 < 2.5 < 2.5 ที่มา: แผนยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป ดานสาธารณสุข (พ.ศ. 2560-2579) ฉบับปรับปรุง ครังท 1 (พ.ศ. 2561) ้ี ่4. ตัวชวัดตามเปาหมายี้เปาหมาย/ตัวชีวัดเปาหมาย ้baseline คาเปาหมาย ป พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เปาหมายที่ 1 ลดอัตราการเสียชีวตจากการจมน้ำของเด็กิอายุนอยกวา 15 ป ตอประชากรเด็กแสนคน ตัวชี้วัด 1 อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุนอยกวา 15 ป <6.0 < 4.0 < 3.5 < 3.0 <2.5

4525. กลไกการบริหารจัดการแผนเพื่อใหแผนบรรลุผลตามวัตถุประสงค/เปาหมายมาตรการ/Service Pสวนกลาง สสสจ. Pชุมชน/ตำบล มาตรการที่ 1 การสรางทีมผูกอการดี (MERIT MAKER) ปองกันการจมน้ำ 1. พัฒนาศักยภาพเครือขายการสรางทีม MERIT MAKERและการด2. เวทีสัมมนา MERIT MAKER… Drown no more สานพลังผูกอการดี ปองกันการจมน้ำ ผลักดันการสรางทีม MERIT MAKER ในระดับเขต ผลักดันการสรางทีม MERIT MAKER ในระดับจังหวัด สรางเสริม/สนับสนุน และกระตุนใหเกิดการสรางและพัฒนาทีม MERIT MAKERในพื้นที่รวมกับภาคีเครือขาย ดำเนินกิจกรรมตามองคประกอบMERIT MAKER ในพืนที ้่มาตรการที่ 2 ขับเคลื่อนนโยบาย และติดตามประเมินผล 1. ขับเคลือนดำเนินงานปองกันการ่จ2. ผลักดันใหบุคลากรทุกระดับมีการเรียนหลักสูตรผูจัดการแผนงานปองกันการจมน้ำ ผานระบบ e-L3. ผลักดันใหเกิดการใช คอกกั้นเด็ก/พื้นที่เลนที่ปลอดภัย (Playpen) ในครัวเรือนที่มีเด็กอายุ 04. ผลักดันใหมีพื้นที่เลนที่ปลอดภัยสำหรับเด็กอายุต่ำกวา 5 ป ในชุมชน/ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 5. ผลักดันใหเกิดการเรียน การ1. ขับเคลื่อนดำเนินงานปองกันการจมน้ำในระดับเขต 2. ผลักดันใหบุคลากรในพื้นที่มีการเรียนหลักสูตรผูจัดการแผนงานปองกันการจมน้ำ ผานระบบ e-Learning 3. ผลักดันใหเกิดการใชคอกกั้นเด็ก/พื้นที่เลนที่ปลอดภัย (Playpen) ในครัวเรือนที่มีเด็กอายุ 0-2 ป 4. ผลักดันใหมีพื้นที่เลนที่ป5 ป ในชุมชน/ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 5. ผลักดันใหเกิดการเรียนการ1. ขับเคลื่อนดำเนินงานปองกันการจมน้ำในระดับจังหวัด 2. ผลักดันใหบุคลากรในพื้นที่มีการเรียนหลักสูตรผูจัดการแผนงานปองกันการจมน้ำ ผานระบบ e-Learning 3. ผลักดันใหเกิดการใชคอกกั้นเด็ก/พื้นที่เลนที่ปลอดภัย (Playpen) ในครัวเรือนที่มีเด็กอายุ 0-2 ป 4. ผลักดันใหมีพื้นที่เลนที่ป5 ป ในชุมชน/ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 5. ผลักดันใหเกิดการเรียนการ1. ขับเคลื่อนดำเนินงานปองกันการจมน้ำ 2. สงเสริมและสนับสนุนใหครัวเรือนที่มีเด็กอายุ 0-2 ป มีการใชคอกกั้นเด็ก/พื้นที่เลนที่ปลอดภัย (Playpen) 3. สงเสริมและสนับสนุนให ชุมชน/ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก มีพื้นที่เลนที่ปลอดภัยสำหรับเด็กอายุต่ำกวา 5 ป 4. สงเสริมและสนับสนุนให เกิดการเรียนการสอนวายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดในโรงเรียน 5. ดำเนินการใหประชาชนที่มี1. ขับเคลื่อนดำเนินงานปองกันการจมน้ำ 2. ดำเนินการใหครัวเรือนที่มีเด็กอายุ 0-2 ป มีการใชคอกกั้นเด็ก/พื้นที่เลนที่ปลอดภัย (Playpen) 3. ดำเนินการใหมีพื้นที่เลนที่ป5 ป ในชุมชน/ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 4. สนับสนุนใหเกิดการเรียนการสอนวายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดในโรงเรียน 5. ดำเนินการใหประชาชนที่มีอายุตั้งแต 12 ปขึ้นไปมีความรูเรื่องการปฐมพยาบาล (CPR)

453มาตรการ/Service Pสวนกลาง สสสจ. Pชุมชน/ตำบล สอนวายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดในโรงเรียน 6. ผลักดันใหประชาชนที่มีอายุตั้งแต 12 ปขึ้นไปมีความรูเรื่องการปฐมพ7. ตรวจเยี่ยมเสริมพลังแบบบูรณาการรวมกับหนวยงานทีเกี่ยวของ ่(เชน กรมปองกันฯ, กรมสงเสริม, สพฐ., กรมอนามัย) 8. ประเมินผลการดำเนินงานสอนวายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดในโรงเรียน 6. ผลักดันใหประชาชนที่มีอายุตั้งแต 12 ปขึ้นไปมีความรูเรื่องการปฐมพยาบาล (CPR) ชวยคนจ7. ตรวจเยี่ยมเสริมพลังแบบบเกียวของ และติดตาม/่ประเมินผล สอนวายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดในโรงเรียน 6. ผลักดันใหประชาชนที่มีอายุตั้งแต 12 ปขึ้นไปมีความรูเรื่องการปฐมพยาบาล (CPR) ชวยคนจ7. ตรวจเยี่ยมเสริมพลังแบบบเกี่ยวของ และติดตาม/ประเมินผลอายุตั้งแต 12 ปขึ้นไปมีความรูเรื่องการปฐมพยาบาล (CPR) ชวยคนจมน้ำที่ถูกตอง ชวยคนจมน้ำที่ถูกตอง มาตรการที่ 3 เฝาระวัง/สอบสวนการจมน้ำ เฝาระวังการจมน้ำ เฝาระวังและสอบสวนการจมน้ำ เฝาระวังและสอบสวนการจมน้ำ รวมสอบสวนการจมน้ำ สอบสวนการจมน้ำ มาตรการที่ 4 การสื่อสารประชาสัมพันธ 1. สื่อสารประชาสัมพันธ/ จัดกิจกรรมรณรงคปองกัน การจมน้ำ 2. สื่อสารประชาสัมพันธผานสื่อโตตอบ (Interactive) แบบออนไลน/Virtual reality/ Augmented reality เพื่อปองกันการจมน้ำของเด็กวัยเรียนในยุค New Normal 1. สื่อสารประชาสัมพันธ/จัดกิจกรรมรณรงคปองกันการจ2. สื่อสารประชาสัมพันธผานสื่อโตตอบ (Interactive) แบบออนไลน เพื่อปองกันการจมน้ำของเด็กวัยเรียน ในยุค New Normal 1. สื่อสารประชาสัมพันธ/จัดกิจกรรมรณรงคปองกันการจ2. สื่อสารประชาสัมพันธผานสื่อโตตอบ (Interactive) แบบออนไลน เพื่อปองกันการจมน้ำของเด็กวัยเรียน ในยุค New Normal 1. สื่อสารประชาสัมพันธ/จัดกิจกรรมรณรงคปองกันการจ2. สื่อสารประชาสัมพันธผานสื่อโตตอบ (Interactive) แบบออนไลน เพื่อปองกันการจมน้ำของเด็กวัยเรียน ในยุค New Normal 1. สื่อสารประชาสัมพันธ/จัดกิจกรรมรณรงคปองกันการจ2. สื่อสารประชาสัมพันธผานสื่อโตตอบ (Interactive) แบบออนไลน เพื่อปองกันการจมน้ำของเด็กวัยเรียน ในยุค New Normal

454มาตรการ/Service Pสวนกลาง สสสจ. Pชุมชน/ตำบล 3. ผลิตหนังสือ/เอกสาร/สื่อการปองกันการจมน้ำ 3. ผลิตหนังสือ/เอกสาร/สือการ่ปองกันการจมน้ำ 3. ผลิตหนังสือ/เอกสาร/สื่อการปองกันการจมน้ำ

4556. มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ป มกรอบระยะเวลาป พ.ศ. ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน มาตรการที 1 การสรางทีมผูกอการดี ่(MERIT MAKER) ปองกันการจมน้ำ 5.10 5.10 5.10 15.30 กลเสียชีวิตจาก การจมน้ำ ของเด็กอายุนอยกวา 15 ป อจากการจมน้ำ ของเด็กอายุ นอยกวา 15 ป<2.5 ในป 2565 กิจกรรมที่ 1 พัฒนาศักยภาพเครือขายการดการสรางทีม MERIT MAKER √√สวนกลาง/สคร. กิจกรรมที่ 2 เวทีสัมมนา MERIT MAKER…Drown no more สานพลังผูกอการดี ปองกันการจมน้ำ √√สวนกลาง กิจกรรมที่ 3 ผลักดันการสรางทีม MERIT MAKER √√√√√สคร./สสจ. มาตรการที 2 ขับเคลือนนโยบาย และติดตาม่่ประเมินผล 1.60 1.60 1.60 4.80 กกิจกรรมที่ 1 ขับเคลื่อนดำเนินงานปองกันการจมน้ำ √√√√√สเกิจกรรมที่ 2 ผลักดันใหบุคลากรทุกระดับมีการเรียนหลักสูตรผูจัดการแผนงานปองกันการจมน้ำ ผานระบบ e-Learning √√√√√สเขต/จังหวัด

456มกรอบระยะเวลาป พ.ศ. ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน กิจกรรมที่ 3 ผลักดันใหเกิดการใชคอกกัน้เด็ก/พื้นที่เลนที่ปลอดภัย (Playpen) ในครัวเรือนที่มีเด็กอายุ 0-2 ป √√√√√สเขต/สสจ./PCC/รกิจกรรมที่ 4 ผลักดันใหมีพื้นที่เลนที่ปลอดภัย สำหรับเด็กอายุต่ำกวา 5 ป ในชุมชน/ศูนยพ√√สเขต/สสจ./PCC/รกิจกรรมที่ 5 ผลักดันใหเกิดการเรียนการสอนวายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดในโรงเรียน√√√√√สเขต/สสจ./PCC/รกิจกรรมที่ 6 ผลักดันใหประชาชนที่มีอายุตั้งแต 12 ปขึ้นไปมีความรูเรื่องการปฐมพ√√สเขต/สสจ./PCC/รกิจกรรมที่ 7 ตรวจเยียมเสริมพลังแบบบูรณา่การรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ (เชน กรมปองกันฯ, กรมสงเสริม, สพฐ., กรมอด√√√√√สเขต/สสจ. มาตรการที 3 เฝาระวัง/สอบสวนการจมน้ำ ่3.30 3.30 3.30 9.90 กกิจกรรมที่ 1 เฝาระวังการจมน้ำและสอบสวน การจมน้ำ √√√√√สสสจ./PCC/รพ.

457มกรอบระยะเวลาป พ.ศ. ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) ทศนิยม 2 ตำแหนง เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน มาตรการที 4 การสื่อสารประชาสัมพันธ ่3.30 3.30 3.30 9.90 กกิจกรรมที่ 1 สื่อสารประชาสัมพันธ/จัดกิจกรรมรณรงคปองกันการจมน้ำ√√√√√สสสจ./PCC/รพ./ชุมชน/ตำบล กิจกรรมที่ 2 สื่อสารประชาสัมพันธผานสื่อโตตอบ (Interactive) แบบออนไลน/Virtual reality/Augmented reality เพือปองกันการ่จมน้ำของเด็กวัยเรียนในยุค New Normal √√สสสจ./PCC/รพ./ชุมชน/ตำบล กิจกรรมที่ 3 ผลิตหนังสือ/เอกสาร/สื่อการปองกัน การจมน้ำ √√√√√สวนกลาง/สคร.

4587. แผนการติดตามประเมินผลระยะ 5 ปมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เปาหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการตดตามประเมินผล ป พ.ศ. ิ2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการที่ 1 การสรางทีม ผูกอการดี (MERIT MAKER) ปองกันการจมน้ำ จำนวนทีมผูกอการดี (MERIT MAKER) ปองกันการจมน้ำ การรายงานผลจากจังหวัด, สำนักงานปองกันควบคุมโรคเขต และติดตามประเมินผล เชิงคุณภาพโดยทีมสวนกลาง 1 ครั้ง/ป - 1 ครั้ง/ป 1 ครั้ง/ป 1 ครั้ง/ป มาตรการที่ 2 ขับเคลื่อนนโยบาย จังหวัดมีการเรียนหลักสูตร e-Learning และติดตามประเมินผล - จำนวนบุคลากรในระดับ จากระบบ ผูจัดการแผนงานปองกันการจมน้ำ ผานระบบ e-Learning - - - 1 ครั้ง/ป 1 ครั้ง/ป - รอยละของครัวเรือนที่มีเด็กอายุ 0-2 ป ใชคอกกั้นเด็ก/พื้นที่เลนที่ปลอดภัย (Playpen) การรายงานผลจากจังหวัด และสำนักงานปองกันควบคุมโรคเขต - - - 1 ครั้ง/ป 1 ครั้ง/ป - จำนวนโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนวายน้ำเพื่อเอาชวิตรอด ีการรายงานผลจากจังหวัด และสำนักงานปองกันควบคุมโรคเขต - - - 1 ครั้ง/ป 1 ครั้ง/ป - จำนวนประชาชนที่มีอายุ การรายงานผลจากตั้งแต 12 ปขึ้นไปมีความรู จังหวัด และเรื่องการปฐมพยาบาล (CPR) ชวยคนจมน้ำที่ถูกตอง สำนักงานปองกันควบคุมโรคเขต - - - 1 ครั้ง/ป 1 ครั้ง/ป มาตรการที่ 3 เฝาระวง/สอบสวนัการจมน้ำ รอยละการจมนำ(เสียชีวิต้และไมเสียชวต) ของเด็กทมี สอบสวนโรค ีิี ่การสอบสวน จากแบบเฝาระวัง/1 ครั้ง/ป 1 ครั้ง/ป 1 ครั้ง/ป 1 ครั้ง/ป 1 ครั้ง/ป

4598. ผูรับผิดชอบแผนงาน 1. แพทยหญิงศศิธร ตั้งสวัสดิ์ เบอรโทรศพท 0 2590 3893 ักองปองกันการบาดเจ็บ E-mail : [email protected] 9. เอกสารแนบ 9.1 แหลงขอมูล 9.1.1 สม เอกเฉลิมเกียรติ. ทบทวนวรรณกรรมการจมน้ำของเดก. ครั้งท่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักงาน็ีกิจการโรงพมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก; 2550. ิ9.1.2 สำนักโรคไมตดตอ กรมควบคมโรค. สถานการณการตกน้ำ จมน้ำของเดกในประเทศไทย. ครังท ิุ็้ี ่1. กรุงเทพ: สำนักงานกิจการโรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก; 2552. 9.1.3 สุชาดา เกิดมงคลการ. จำนวน รอยละ และอัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ พ.ศ. 2546 – 2562 [เอกสารไมตีพมพ]. กองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2563. ิ9.1.4 กองยุทธศาสตรและแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข. จำนวนและอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำ พ.ศ. 2552 - 2562 [ไฟลขอมูล]. กรุงเทพฯ: กองยุทธศาสตรและแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข; 2563. 9.1.5 สำนักงานพฒนานโยบายสุขภาพระหวางประเทศ. รายงานภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรัไทย พ.ศ. 2556: การสูญเสียปสุขภาวะ (Disability-Adjusted Life Year: DALY). ครังท่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท เดอะกราฟ้ีโก ซิสเต็มส จำกัด; 2559. 9.1.6 กองระบาดวิทยา. รายงานการเฝาระวังการบาดเจ็บระดับชาติ (Injury Surveillance System: IS) ป พ.ศ. 2560 [ไฟลขอมล]. กรุงเทพฯ: กองระบาดวิทยา กรมควบคมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2561. ูุ9.1.7 World Health Organization.World report on child injury prevention, 2015. 9.1.8 อดิศกดิ์ ผลิตผลการพมพ. การจมน้ำในเดกและการปองกน [Online], Available form: ัิ็ัwww.csip.org, [Accessed 2007 Nov 10]. 9.1.9 สุชาดา เกดมงคลการ, สม เอกเฉลิมเกียรติ และคณะ. หลักสูตรผูจัดการแผนงานปองกันการิจมน้ำ (Drowning Prevention Course for Program Manager). กองปองกนการบาดเจ็บ กรมควบคมโรค; 2563. ัุ9.1.10 สุชาดา เกิดมงคลการ, สม เอกเฉลิมเกียรติ และคณะ. แนวทางประเมินผูกอการดี (Merit Maker) การดำเนินงานปองกันการจมน้ำ (ฉบับปรับปรุง ป 2562). กองปองกนการบาดเจ็บ กรมควบคมโรค; 2563. ัุ9.1.11 World Conference on Drowning Prevention 2015 (WCDP2015). 2015 Nov 4-6; Penang Malasia; 2015. 9.1.12 Preventing drowning: an implementation guide. Geneva: World Health Organization; 2017. Licence: CC BY-NC-SA 3.0 IGO.

4609.1.13 สม เอกเฉลิมเกยรต, สุชาดา เกิดมงคลการ และคณะ. สรุปผลการดำเนินงานผูกอการดี (Merit ีิMaker) ปองกนการจมน้ำ. กองปองกนการบาดเจ็บ กรมควบคมโรค. 2561. ััุ9.1.14 สุชาดา เกดมงคลการ, สม เอกเฉลิมเกยรต และคณะ, สรุปผลการอบรมหลักสูตรผูจัดการแผนงานิีิปองกนการจมน้ำ (Drowning Prevention Course for Program Manager). กองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคมโรค. ัุ2563. 9.1.15 สมชชาสุขภาพแหงชาติ. มติ 10.2 การพฒนาพ้นทเลนสรางเสริมสุขภาวะของเดกปฐมวัยและััืี ่็วัยประถมศึกษา [Online], Available form: //www.samatcha.org/sites/default/files/document/1002_Res_10_3.pdf.

4611. สถานการณการพลัดตกหกลมเปนปญหาสาธารณสุขที่สำคัญและพบบอย จากการสำรวจพบวาทุกปมีผูสูงอายุประมาณ 1 ใน 3 พลัดตกหกลม เมื่อพจารณาตามเพศพบวาผูสูงอายุเพศหญงพลัดตกหกลมสูงกวาเพศชายกวา 1.6 เทา และใชบริการิิรถพยาบาลฉกเฉนดวยสาเหตุพลัดตกหกลมมากถง 140 ครั้ง/วัน ทั้งยังเปนสาเหตุการเสียชีวิตอนดับสองของผูสูงอายุในกลุมุิึัการบาดเจ็บโดยไมไดตั้งใจรองจากอบัติเหตุทางถนน และพบวาโดยสวนใหญหกลมบริเวณนอกบานรอยละ 65 ขณะทขอมูล ุี ่จากการสำรวจยังพบวา ปจจุบันผูสูงอายุยังคงใชชีวิตประจำวันในสิ่งแวดลอมที่ไมปลอดภัย โดยขึ้น - ลงบันไดทุกวัน มากถึงรอยละ 49 เดินบนพื้นบานที่ลื่น รอยละ 31 และมีการดัดแปลงบานใหเหมาะสมกับสภาพรางกาย รอยละ 25 นอนบนเตียงและอยูชั้นลางของบาน รอยละ 60 และยังพบวา บานของผูสูงอายุมีราวจับบริเวณบันได รอยละ 59 ใชโถสวมแบบชักโครกหรือนั่งราบ รอยละ 45 และมีราวจับในหองน้ำและหองนอน รอยละ 15 และรอยละ 6 ตามลำดับ สาเหตุสวนใหญเกิดจากลืน สะดุด หรือกาวพลาด บนพื้นระดับเดยวกัน มากถึงรอยละ 66 และมีเพียงรอยละ 6 เกิดจาก่ีการตกหรือลมจากบันไดและขั้นบันได นอกจากนี้การพลัดตกหกลมทำใหเกิดการบาดเจ็บที่สำคัญ ไดแก กระดูกหัก และการบาดเจ็บทศรษะ โดยเฉพาะกระดูกสะโพกหักมมากกวา 3,000 คนตอป ทั้งยังพบวาการพลัดตกหกลมเปนสาเหตุการี่ีีปวยของผูปวยในมากที่สุดในกลุมผูสูงอายุ และสงผลใหตองพึ่งพาผูอื่นในการดูแล ชวยเหลือในกิจวัตรประจำวัน และคุณภาพชีวิตลดลงจากความพิการ การปองกันพลัดตกหกลมในผูสูงอายุที่สำคัญ คือ การออกกำลังกายสม่ำเสมอ เพื่อเพมความแข็งแรงของิ ่กลามเนื้อ การทรงตัว การประเมินความเสี่ยงตอการพลัดตกหกลม ปรับเปลี่ยน/แกไขปจจัยเสี่ยงหลายๆ ปจจัย รวมกบัทีมสหสาขา ในกลุมเสี่ยงสูง ทั้งในสถานบริการสาธารณสุขและในชุมชน ซึ่งสามารถลดการพลัดตกหกลมไดรอยละ 25 - 30 และการปรับบานใหปลอดภัยตอการดำเนินชีวิตประจำวัน ทั้งนี้ สำนักโรคไมติดตอไดเห็นความสำคัญตอปญหาดังกลาว และไดรวมกับเครือขายดำเนินงานปองกันการบาดเจ็บจากการพลัดตกหกลมในผูสูงอายุขึ้น ในพื้นที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปราจีนบุรี สำนักงานสาธารณสุขนครพนม สำนักงานสาธารณสุขสกลนครและสำนักงานสาธารณสุขนครศรีธรรมราช ซึ่งเปนพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานปองกนโรคที่ 5, 6, ั8 และ 11 จำนวน 12 แหง ในปงบประมาณ 2560 – 2561 แลวพบวาผูรับผิดชอบงานสามารถขับเคลื่อนการดำเนินงานในพื้นที่ได ผูสูงอายุมีความรูความเขาใจตอปจจัยเสี่ยงและการปองกันเพิ่มขึ้น รวมถึงขอมูลการมารับบริการของผูบาดเจ็บจากการพลัดตกหกลมรายใหม และผูบาดเจ็บทีพลัดตกหกลมซ้ำ ในสถานบริการสาธารณสุขบางแหงมจำนวนลดลง และ่ีปงบประมาณ 2562 ไดขยายไปยังเครือขายใหมรวมเปน 20 แหง ในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานปองกันโรคที่ 4, 5, 6, 7, 8, 9 และ 11แผนงานการปองกันบาดเจ็บจากการพลัดตกหกลมในผสูงอายุ ู 

4622. พื้นที่เสี่ยง/กลุมเสยง ี่ภาพที 1 ่แผนภูมิแสดง อัตราการเสียชีวิตจากการพลัดตกหกลมในผูทมีอายุ 60 ปขึ้นไป (W00 - W19) ตอแสนประชากร ี่จำแนกรายจังหวัด ป พ.ศ. 2558 – 2561 ที่มา : ขอมูลมรณบัตร กองยุทธศาสตรและแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2561. ขอมูล ณ วันท 15 ี ่พฤษภาคม 2563 วเคราะหิ : กองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ภาพที 2 ่แผนทีแสดง อัตราการเสียชีวิตจากการพลัดตกหกลมในผูทมอายุ 60 ป ขึ้นไป (W00 – W19) ตอแสนประชากร ่ี่ีจำแนกตามเขตสุขภาพ ป 2561 ที่มา : ขอมูลมรณบัตร กองยุทธศาสตรและแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2561. ขอมูล ณ วันท 15 ี่พฤษภาคม 2563 วเคราะห ิ: กองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 20.117.511.98.813.110.98.59.211.411.614.413.43.611.70510152025อัตราการเสียชีวิตตอประชากรแสนคนพื้นที่

463จากขอมูลมรณบัตร พบวาอัตราการเสียชีวิตจากการพลัดตกหกลมในผูสูงอายุสูงกวาในทกกลุมอายุ 3 เทา โดยุอัตราการเสียชีวิตจากการพลัดตกหกลมในผูสูงอายุป 2561 เปน 11.7 ตอแสนประชากร และเมื่อพิจารณาตามเขตสุขภาพพบวา เขตสุขภาพที่ 1, 2, 3, 5, 11, และ 12 ตามลำดับ มีอัตราการเสียชีวิตสูงกวาคาเฉลี่ยประเทศ และขอมลูรายจังหวัดพบวาอัตราการเสียชีวิตสูง 10 อันดับแรก สวนใหญเปนจังหวัดในเขตภาคเหนือ รองลงมาเปนภาคใต3. เปาหมายจากสรุปรายงานการปวย กระทรวงสาธารณสุข พบวาอัตราการปวยจากสาเหตุพลัดตกหกลม (W00-W19) ของผูปวยในตอประชากร 100,000 คนจากสาเหตุภายนอก กลุมอายุ 60 ปขึ้นไป ป พ.ศ. 2560 - 2561 เปน 508.36 และ 528.35 ตามลำดับ ขณะทอัตราปวยของผูปวยในจากการพลัดตกหกลม ในพื้นที่นำรอง ป 2560 – 2561 37.1 และ ี่34.6 ตามลำดับ เปาหมาย/ตัวชีวัดเปาหมาย ้baseline คาเปาหมาย ป พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เปาหมาย 1 การบาดเจ็บจากการพลัดตกหกลมในผูสูงอายุ ในพื้นที่นำรองลดลง ตัวชี้วัด 1 อัตราปวยของผูปวยในจากพลัดตกหกลมในผูสูงอายุ ในพื้นที่นํารองลดลงจากปที่ผานมา รอยละ 5 4.3 <5 <5 <5 <5 ภาพที 3 ่กราฟแสดง อัตราผูปวยในจากสาเหตุพลัดตกหกลม (W00 – W19) ในผูสูงอายุ (อายุ 60 ปขึ้นไป) ตอประชากร 100,000 คน ป พ.ศ. 2557 – 2561ที่มา : สรุปรายงานการปวย 2561. กองยุทธศาสตรและแผนงาน สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข010020030040050060025572558255925602561อัตราการปวยของผูปวยในตอประชากรแสนคนพ.ศ.การพลัดตกหกลม (W00-W19) บาดเจ็บจากการถูกวัตถุกลไกที่ไมมีชีวิต (W20-W49)วิธีการรักษาทางศัลยกรรมและอายุรกรรมที่มีผลทําใหเกิดความผิดปกติของผูปวย (Y83-Y84)ภยันตรายจากปจจัยอื่นหรือปจจัยที่มิไดระบุโดยบังเอิญ (X58-X59)คนขี่รถจักรยานยนตบาดเจ็บในอุบัติเหตุจากการขนสง (V20-V29)

4644. กลไกการบริหารจัดการแผนเพื่อใหแผนบรรลุผลตามวัตถุประสงค/เปาหมายมาตรการ/Service Provider สวนกลาง สเขต สสจ. รพ. Pชุมชน/ตำบล มาตรการที่ 1 สรางเครือขายการปองกันพลัดตกหกลมในผูสูงอายุ พัฒนาศักยภาพ และสนับสนุนการดำเนินงานของเครือขายในการปองกันพลัดตกหกลมในผูสูงอายุ สนับสนุนการดเครือขาย PCC ในพื้นที่ สนับสนุนการดำเนินงานของเครือขายที่เกี่ยวของ ในพื้นที่ 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากรในภาพรวมจังหวัด 2. กำหนดเปาหมายในการประเมิน และจัดการลดปจจัยเสี่ยง ของเครือขายสถานบริการ 3เครือขายที่เกียวของในการ่ปรับสภาพ แวดลอมใหปลอดภัยตอ กประจำวันของผูสูงอายุ 1. ประเมินความเสี่ยงและสนับสนุนการจัดการลดปจจัยเสี่ยงในผูสูงอายุ ญาติ และผูดูแลที่มารับบริการ 2. สนับสนุนเครือขายในการปรับสภาพ แวดลอมใหปดชีวิตประจำวันของผูสูงอายุ 3. สนับสนุนขอมูลแกเครือขายที่เกี่ยวของในพื้นที่ 1. ประเมินความเสี่ยงและสนับสนุนการจัดการลดปจจัยเสี่ยงในผูสูงอายุ 2. สนับสนุนเครือขายในการปรับสภาพ แวดลอมใหปดชีวิตประจำวันของผูสูงอายุ สนับสนุนและรวมดำเนินกิจกรรมปองกันพลัดตกหกลสิงแวดลอมของ่เครือขายในพื้นที่

465มาตรการ/Service Provider สวนกลาง สเขต สสจ. รพ. Pชุมชน/ตำบล มาตรการที่ 2 ความรอบรูดานสุขภาพในการปองกันการบาดเจ็บจากการพลัดตกหกลม สื่อสารความเสี่ยง ในการปองกันการบาดเจ็บจากการพลัดตกหกลมในผูสูงอายุ ในภาพรวมสนับสนุนการสือสาร่กับเครือขายที่เกียวของ และ PCC ่ในพื้นที่สนับสนุนการสื่อสารของเครือขาย ในพื้นที่สื่อสารความเสี่ยงปองกันการพลัดตกหกลม ในภาพจังหวัดดำเนินการสื่อสารความเสี่ยง การปองกันพลัดตกหกลบริการและเครือขายดำเนินการสื่อสารความเสี่ยง การปองกันพลัด ตกหกลม ในเครือขาย PCCสเครือขายในการสื่อสารความเสี่ยง การปองกันพลัดตกหกลมในชุมชน5. มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ป มาตรการ/แผนงาน/ โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน มาตรการที 1 สรางเครือขาย่การปองกันพลัดตกหกลมในผูสูงอายุ 1.0 1.2 2.41 3.0 3.0 1กสถานบริการสาธารณสุข และเครือขายที่เกียวของ ่จำนวนเครือขายที่เขารวมดำเนินงานปองกันการพลัดตกหกลม แผนงาน/โครงการปองกันการบาดเจ็บจากการพลัดตกหกลมในผูสูงอายุ กิจกรรมหลัก พัฒนาศักยภาพเครือขายในการดำเนินงานปองกันการบาดเจ็บจากการพลัดตกหกลมในผูสูงอายุ √√√√√กสคร. / สสจ. / เครือขายสถานบริการสาธารณสุข

466มาตรการ/แผนงาน/ โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน กิจกรรมหลัก ตรวจเยียมเสริม่พลังเครือขายดำเนินงานปองกันการพลัดตกหกลม √√√√√สคร. / สสจ. / เครือขายสถานบกิจกรรมหลัก ประเมินผลการดำเนินงานปองกันการบาดเจ็บจากการพลัดตกหกลมในผูสูงอายุของเครือขายสถานบ√เครือขายสถานบกิจกรรมหลัก สนับสนุนการดำเนินงานปองกันการบาดเจ็บจากการพลัดตกหกลมในผูสูงอายุของเครือขาย √√√สมาตรการที 2 ความรอบรูดาน่สุขภาพในการปองกันการบาดเจ็บจากการพลัดตกหกลม √√√1.0 1.0 1.0 3กเครือขายที่เกี่ยวของ ผูสูงอายุ แรอยละ 80 ของผูสูงอายุ ญาติ และผูดูแล มีความรู ความเขาใจ ปจจัยเสี่ยงและการปองกัน แผนงาน/โครงการสื่อสาร ความเสี่ยง ในการปองกันการบาดเจ็บจากการพลัดตกหกลมในผูสูงอายุ

467มาตรการ/แผนงาน/ โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ป พ.ศ. ผูรับผิดชอบหลัก/รวม วงเงิน (ลานบาท) เปาหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหลงเงิน กิจกรรมหลัก รณรงคปองกันการบาดเจ็บจากการพลัดตกหกล√√√√√เครือขายที่เกี่ยวของ ผูสูงอายุ แกิจกรรมหลัก ประเมินความรู ความเขาใจตอปจจัยเสี่ยงและการปองกันการพลัดตกหกลม √√√√ผูสูงอายุ ญาติ และผูดูแล 

4686. แผนติดตามประเมนผล ระยะ 5 ปิมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เปาหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ป พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 ประเมินผลการดำเนินงานปองกันการบาดเจ็บจากการพลัดตกหกลมในผูสูงอายุของเครือขายสถานบริการสาธารณสุข บุคลากรในเครือขายสถานบริการ 1. สัมภาษณ 2. ขอมูลการมารับบริการดวยสาเหตุพลัดตกหกลม ประเมินความรอบรู ความเขาใจตอปจจัยเสี่ยงและการ ผูดูแล ปองกันการพลัดตกหกลมในผูสูงอายุ ผูสูงอายุ ญาติ และสัมภาษณ 7. ผูรับผิดชอบแผนงาน 1. นางสาวนิพา ศรีชาง เบอรโทรศพท 0 2590 3888 ันักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ E-mail : [email protected]

กลุ่มแผนงานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม (Env-Occ)5

4711 1. สถานการณ์โรคและภยสุขภาพ/ปัญหา/พื้นที่เสยง/กลุ่มเสี่ยง ัี่ กรมควบคมโรค ซึงมอำนาจหน้าที่ ในการกำหนดและพัฒนานโยบาย กฎหมาย มาตรการและคุณภาพมาตรฐานุ่ีการดำเนินงานในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และการควบคุมโรคและภยที่คุกคามสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพและผู้ได้รับผลกระทบัจากมลพิษจากสิ่งแวดล้อม ตระหนักถึงสถานการณ์การเกิดโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมที่มีแนวโน้มและความรุนแรงสงขึ้น ไม่ว่าจะเป็นโรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดขึ้นได้ทันทีหรือที่เกิดขึ้นภายหลังจากการประกอบอาชพเปนระยะูี็เวลานาน และโรคจากสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากมลพิษหรือสิ่งปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมทั้งจากธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ที่ทำให้เกิดโรคหรือผลกระทบทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรังได้ ได้ผลักดันให้มีกฎหมายว่าด้วยการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม และตราพระราชบัญญัติขึ้นเรียกว่า “พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิงแวดลอม พ.ศ. 2562” ซึงผานกระบวนการนิติบญญัติจนสำเร็จและลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 136 ตอนที่ 67 ก เมื่อ่้่่ัวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 และมีผลใช้บังคับในวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2562 ไปแล้วนั้น สาระสำคัญของพระราชบัญญัติควบคมโรคจากการประกอบอาชพและโรคจากสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2562 มีบทบัญญัติทงสิ้น 8 หมวด 53 มาตรา และบทเฉพาะกาล ุี้ั้กำหนดให้มีคณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม คณะกรรมการโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดลอมจังหวัด/กรุงเทพมหานคร เพื่อกำหนดนโยบาย มาตรการ กลไกการเฝ้าระวัง การป้องกัน และการควบคุม้โรคจากการประกอบอาชีพแกลูกจ้าง หรือโรคจากสงแวดล้อมแก่ประชาชนที่ได้รับหรืออาจได้รับมลพิษ แนวทางปฏิบัติทีเชื่อมโยง่ิ่่การดำเนินงานระดับประเทศกับระดับพื้นที่ กำหนดเขตพื้นที่ที่ต้องมีการเฝ้าระวัง การป้องกัน และการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม การกำหนดมาตรฐานการให้บริการอาชีวเวชกรรมและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการ และกำหนดให้บุคคลที่เกี่ยวข้องมีหน้าที่แจ้งหรือรายงานเกี่ยวกับการพบหรือมีเหตสงสัยว่าเกิดโรคจากการประกอบอาชีพุหรือโรคจากสิ่งแวดล้อมต่อพนักงานเจ้าหน้าที่หรือกรมควบคุมโรค และบทกำหนดโทษสำหรับผู้ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และมาตรฐานที่กำหนด ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2563 ภายใตการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกองโรคจากการ้ประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การแต่งตั้งคณะกรรมการโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม (ระดับชาติ) คณะกรรมการโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัด/กรุงเทพมหานคร จำนวน 75 จังหวัด อยู่ระหว่างดำเนินการ 1 จังหวัดและกรงเทพมหานคร อนุบัญญัติที่ออกตามความในพระราชบัญญัติโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากุสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 จำนวน 25 ฉบับ ประกาศในราชกิจจานุเบกษามีผลใช้บังคับแล้วจำนวน 3 ฉบับ การขับเคลื่อนพระราชบัญญัติโรคจากการประกอบอาชพหรือโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2562 ให้ไปสู่การปฏิบัตินั้น กรมควบคุมโรค ได้มอบให้กองีโรคจากการประกอบอาชีพและสงแวดลอม เป็นหน่วยงานหลกในการขับเคลื่อนภารกิจดานนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ เฝ้าิ่้ั้ระวัง การป้องกัน และการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม ด้านการบริหารจัดการ และการติดตามประเมินผลการใช้มาตรการการเฝ้าระวัง การป้องกัน และการควบคุมโรคจากการประกอบอาชพและโรคจากสิ่งแวดล้อม กองโรคีจากการประกอบอาชพและสงแวดลอม จึงได้จัดทำแผนการขับเคลื่อนมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคมโรคจากการประกอบอาชีพีิุ่้และโรคจากสิ่งแวดล้อม ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 ขึ้นเพื่อดำเนินีภารกิจดงกล่าวให้ประสบผลสำเรจตอไป ั็่2. วัตถุประสงค ์1. เพื่อกำหนดและขับเคลื่อนมาตรการทางกฎหมาย ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและ โรคจากสงแวดลอม พ.ศ. 2562 ิ่้แผนงานการขบเคลอนมาตรการเฝาระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคจากการประกอบอาชพและโรคจากสิ่งแวดล้อม ัื่้ีภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 ี

4722 2. เพื่อพัฒนาระบบและฐานข้อมูล รองรับการดำเนินการเฝ้าระวัง การป้องกัน และการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสงแวดลอม ิ่้3. พื้นที่เสยง/กลุ่มเสี่ยง – ี่พื้นที่เสยง ทั้งประเทศ (77 จังหวัด) ี่กลุ่มเสยง ประชาชนผได้รับผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดลอม ีู่้้4. เป้าหมายการลดโรคและภยสุขภาพ ระยะ 5 ปี (2560-2564)ัเปาหมาย/ตัวช้วัดเป้าหมาย ้ีbaseline ค่าเปาหมาย ปี พ.ศ. ้2560 2561 2562 2563 2564 เปาหมาย กลไกการเฝาระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภายใตพระราชบญญติควบคุมโรคจากการประกอบอาชพและ ้้้ััีโรคจากสงแวดลอม พ.ศ. 2562 ิ่้มาตรการ 1 การพัฒนาระบบและฐานข้อมูล เพื่อการเฝ้าระวงโรคจากการประกอบอาชีพัและโรคจากสิ่งแวดล้อม ภายใต้พระราชบญญัติควบคุมโรคจากการประกอบัอาชีพและโรคจากสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2562 ้ ตัวชี้วัดที่ 1.1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบข้อมูลด้านโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม เพื่อการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดลอม ้- - - - 1 ระบบ มาตรการ 2 การพฒนาการขับเคลื่อนกลไก ัการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 ตัวชี้วัดที่ 2.1 มีข้อเสนอเชิงนโยบาย เพื่อขบเคลอนกลไกการเฝาระวัง ป้องกัน ัื่้ควบคมโรค ภายใต้พระราชบญญัติ ุัควบคมโรคจากการประกอบอาชพและ ุีโรคจากสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2562 ้-1 เรื่อง1 เรื่องตัวชี้วัดที่ 2.2 ร้อยละของจังหวัดที่มีการขบเคลื่อนักลไกการเฝาระวัง ป้องกัน ควบคมโรค ภายใตุ้้พระราชบัญญัติควบคมโรคจากการประกอบุอาชพและโรคจากสงแวดลอม พ.ศ. 2562 ีิ่้--ร้อยละ 100 ตัวชี้วัดที่ 2.3 ร้อยละของเหตุการณ์ที่ได้รับแจงทดำเนินการโดยหน่วยปฏิบัติการปองกัน้ี่้ควบคมโรคจากการประกอบอาชพและ ุีโรคจากสิ่งแวดลอม ้ร้อยละ 100

47334.มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพทสำคัญ ในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผดำเนินการ ีู่้มาตรการ/Service Pส่วนกลาง สคร./เขต สสจ. 1 การพัฒนาระบบและฐานข้อมูล เพื่อการ เฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 1. การพัฒนาระบบข้อมลด้านโรคจากการประกอบอาชีพูและโรคจากสิ่งแวดล้อม เพื่อการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและโรคจากสงแวดลอม ิ่้ 2. การพัฒนากลไกการดำเนินงานและการรายงาน การสอบสวนโรค และการเฝ้าระวังโรคการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม 3. การพัฒนาคู่มือ/แนวทาง การรายงานตามโปรแกรมระบบเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม 4. การประเมินระบบเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ หรือโรคจากสิ่งแวดล้อม ในระบบคลังข้อมลสุขภาพ (health ูdata center : HDC) 5. การให้คำแนะนำ การติดตาม-ตรวจสอบ และการสนบสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพจากการัประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม 1. ส่งเสริมและผลักดันให้เกิดกลไกการบูรณาการฐานข้อมูล เพื่อการใช้ประโยชน์ข้อมลด้านโรคและูภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมร่วมกัน ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในเขตสุขภาพ 2. การพัฒนากลไกการดำเนินงานและการรายงาน การสอบสวนโรค การเฝ้าระวังโรคการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมในพื้นที่จังหวัดที่รับผิดชอบ 3. การสื่อสารและถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงานการพัฒนาระบบและฐานข้อมูล ให้กับหน่วยงานเครือขายในพื้นที่รับผิดชอบ ่4. การให้คำแนะนำ การติดตาม-ตรวจสอบ และสนับสนุนการดำเนนงานในการพัฒนาระบบและิฐานข้อมูล ให้กับหน่วยงานเครือขายในพื้นที่่รับผิดชอบ 1. การบรณาการฐานข้อมูล เพื่อการเฝ้าระวังูโรคและภยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและัโรคจากสิ่งแวดล้อม ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในจังหวัด 2. การขับเคลื่อนการดำเนินงานและการรายงาน การสอบสวนโรค การเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสงแวดลอมิ่้ในระดับจังหวัด 3. ขับเคลื่อนกลไกการรายงานข้อมลดานโรคู้จากการประกอบอาชีพหรือโรคจากสิ่งแวดล้อมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ ทีกำหนดภายใต้ ่พ.ร.บ.ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562ใจังหวัด 4. การสื่อสารและถ่ายทอดแนวทางการดำเนนงานการพัฒนาระบบและฐานข้อมูล ิให้กับหน่วยงานเครือขายในจังหวัด ่2. การพัฒนาการขับเคลื่อนกลไกการ กฎหมาย ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโ1. การขับเคลื่อนมาตรการ และกลไกการดำเนินงานทางประกอบอาชีพและโรคจากสงแวดล้อม พ.ศ. 2562ิ่ 2. การพัฒนาศักยภาพหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม ในระดับจังหวัดหรือกรุงเทพมหานคร 1. การขับเคลื่อนมาตรการ และกลไกการดำเนินงานทางกฎหมาย ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562ในพื้นที่จังหวัดที่รับผิดชอบ1. การขับเคลื่อนมาตรการ และกลไกการดำเน ินงานทางกฎหมาย ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562ระดับจังหวัด

4744มาตรการ/Service Pส่วนกลาง สคร./เขต สสจ. อาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 3. การเสริมสร้างความเข้าใจ ความรู้รอบและการเข้าถึงมาตรการทางกฎหมายของลูกจ้าง แรงงานนอกระบบ และประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดล้อม 4. การเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่ ผู้บังคับใช้กฎหมายทุกระดับ 2. การผลกดนให้เกิดกลไกระดับเขตสุขภาพเพื่อััขับเคลื่อนการดำเนินมาตรการตามกฎหมาย ภายใต้ พ.ร.บ. ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 3. สนับสนุนและผลักดันการดำเนินงานพัฒนาศักยภาพหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม ในระดับจังหวัด 4. การสื่อสาร ประชาสัมพนธ์ และเสริมสร้างัความรู้รอบด้านมาตรการบังคับใช้กฎหมาย ภายใต้พ.ร.บ. ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 ให้กับลูกจ้าง แรงงาน นอกระบบ และประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดล้อม 2. การขับเคลื่อนการดำเนินงานและการพัฒนาศักยภาพหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสงแวดลอม ิ่้ระดับจังหวัด 3. การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ และเสริมสร้างความรู้รอบด้านมาตรการบังคับใช้กฎหมาย ภายใต้พ.ร.บ. ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 ให้กับลูกจ้าง แรงงานนอกระบบ และประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษสิงแวดลอม ในจังหวัด ่้

47555.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี รวมงบฯ ทังสิ้น 18.063 ลบ. (ส่วนกลาง 14.573 ลบ., สคร.+สปคม. 3.49 ลบ.)้มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2560 2561 2562 2563 2564 2560 2561 2562 2563 2564 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 1 การพัฒนาระบบและฐานข้อมูล เพื่อการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม (0.5756 ลบ.)กิจกรรมหลักท 1 การพัฒนาระบบและี่ฐานข้อมูลเพื่อการเฝ้าระวงโรคจากัการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม0.5756 0.5756 งปม. กิจกรรมย่อยที่ 1.1 การประชุมราชการเพอพฒนาระบบข้อมูล ด้านโรคจากการื่ัประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม - การประชุมราชการเพื่อพัฒนาระบบข้อมูลด้านโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม - - - - /- กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ - ศูนย์สารสนเทศ กรมควบคุมโรค - - - - 0.03 0.03 งปม. 1 ระบบ มีระบบและฐานข้อมูล เพื่อการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิงแวดล้อมที่มีประสิทธิผล ่ภายใต้ พ.ร.บ.ฯ กิจกรรมย่อยที่ 1.2 การเฝ้าระวังสุขภาพเชิงรุกในผู้ประกอบอาชีพและประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่สอดคล้องตาม พ.ร.บ.ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2562 /----00งปม 4 โรค ข้อมูลการเฝ้าระวังสุขภาพเชิงรุกในผู้ประกอบอาชีพและประชาชนกลุ่มเสี่ยง จำนวน 4 โรค กิจกรรมย่อยที่ 1.3 ประชุมราชการพัฒนาการดำเนินงานเฝ้าระวังสุขภาพเชิงรุกนผู้ประกอบอาชีพและประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่สอดคล้องตาม พ.ร.บ.ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2562 - - - - /- กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ -สสจ./สคร./หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - - - - 0.134 0.134 งปม. 4 ครั้ง

4766มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2560 2561 2562 2563 2564 2560 2561 2562 2563 2564 รวม แหล่งเงิน กิจกรรมย่อยที่ 1.4 การพัฒนาคู่มือ/แนวทาง การรายงานตามโปรแกรมระบบเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม - - - - /- กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ --00งปม. 1 เรื่อง จำนวนคู่มือ/แนวทางการรายงานตามโปรแกรมระบบเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม กิจกรรมย่อยที่ 1.5 การประเมินระบบเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม - - - - /- กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ --00งปม. 1 เรื่อง มีรายงานประเมินผลระบบเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม มาตรการที่ 2 การพัฒนาการขับเคลื่อนกลไกการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 (ส่วนกลาง 3.348 ลบ.+สคร.,สปคม. 0.770 ลบ) กิจกรรมหลักท 2 การพัฒนากฎหมายี่ลำดับรองภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชพและีโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 - กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ - กองกฎหมาย 214งปม. กิจกรรมย่อยที่ 2.1. การประชุมคณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม - - - //- กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ - กองกฎหมาย- - - 0.1759 0.516 0.6919 งปม. อย่างนอย 10 ้ฉบับ จำนวนอนุบัญญัติที่ประกาศในราชกจจานเบกษา และ ิุมีผลใช้บังคับกิจกรรมหลักที่ 2.2 การประชุมคณะอนุกรรมการในคณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม - - - //- กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ - กองกฎหมาย- - - 0.134 0.201 0.335 งปม. อย่างนอย ้10 เรื่อง มีสรุปข้อมูลข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะทางวิชาการ จัดทำร่างเนื้อหาวิชาการ ร่างอนุบัญญัติ กิจกรรมย่อยที่ 2.3 การประชุมเพื่อการจัดทำอนุบัญญัติ และการขบเคลอนัื่กลไกการดำเนินงานภายใต้- - - //- กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ - กองกฎหมาย- - - 0.6404 0.0764 0.7168 งปม. อย่างนอย ้10 เรื่อง มีผลการพจารณาร่างกลไกการิดำเนินงานและร่างเนื้อหา/อนุ

4777มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2560 2561 2562 2563 2564 2560 2561 2562 2563 2564 รวม แหล่งเงิน พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 บัญญัติ และการบริหารจัดการในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน กิจกรรมหลักที่ 2.4 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพอรับฟงความคิดเห็นจากผู้ื่ัมีส่วนได้เสียหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่อกฎหมาย ทีออกภายใต้พระราชบัญญัติ่ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 - - - //- กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ - กองกฎหมาย- - - 1.6424 0.5216 2.164 งปม. อย่างนอย ้4 ฉบับ มีรายงานการรับฟงความเห็นัข้อเสนอแนะ จากผู้มีส่วน ได้เสียหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง กิจกรรมหลักท 3 การพัฒนาและี่ยกระดบระบบการ เฝ้าระวัง ป้องกัน ัควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและ โรคจากสิ่งแวดล้อม1.2565 4.626 5.8825 งปม. กิจกรรมย่อยที่ 3.1 การพัฒนาหลักสูตรสำหรับพนกงานเจ้าหน้าที่/หนวยั่ปฏิบัติการ/ผู้บังคับใช้กฎหมาย/ผู้ปฏิบัติตามกฎหมาย ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2562 - - - //กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ -กรมควบคุมมลพิษ -กองระบาดวิทยา -สคร. -สสจ. -สถาบันการศึกษา ---000งปม. 1 หลักสูตร มีหลักสูตรสำหรับพนกงานัเจ้าหนาที่/หนวยปฏิบัติการ/ ้่ผู้บังคับใช้กฎหมาย/ผู้ปฏิบัติตามกฎหมาย ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิงแวดล้อม พ.ศ. 2562 ่กิจกรรมหลักที่ 3.2 การพัฒนาศักยภาพด้านการสอบสวนโรค สำหรับพนกงานัเจ้าหน้าที่ของหนวยปฏิบัติการควบคุม่- - - - /กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ -กรมควบคุมมลพิษ - - --1.346 1.346 งปม. ร้อยละ 85 ร้อยละของพนักงานเจ้าหน้าที่ของหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ

4788มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2560 2561 2562 2563 2564 2560 2561 2562 2563 2564 รวม แหล่งเงิน โรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม -กองระบาดวิทยา -สคร., -สสจ. -สถาบันการศึกษา และโรคจากสิ่งแวดล้อมมีความรู้ด้านการสอบสวนโรค กิจกรรมย่อยที่ 3.3 การจัดทำสื่อ/เล่มแนวทางปฏิบัติแก่ผู้บังคับใช้กฎหมาย และประชาชน ภายใต้ พ.ร.บ. ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 (จ้างเหมา) / / / / -กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ - - - 0.75 0.350 1.10 งปม. อย่างนอย 1 ้เรื่อง/ช่องทาง จำนวนสื่อประชาสัมพันธ์/ช่องทางเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับกฎหมายสำหรับ ผู้บังคับใช้กม. /ผู้ถูก บังคับใช้ กม. /ประชาชน กิจกรรมย่อยที่ 3.4 การสนบสนุน การัขับเคลื่อนงาน ติดตามการดำเนินงานเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ และการประเมินสมรรถนะด้านการสอบสวนโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม - - - //-กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ - - - 0.4565 0.287 0.7435 งปม. อย่างนอยปีละ ้4 ครั้ง มีการสนบสนนการขับเคลื่อนัุการดำเนินงาน ติดตามการดำเนินงานเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม สำนักงานป้องกันควบคุมโรค/สถาบันป้องกันควบคมโรคเขตเมืองุกิจกรรมหลักที่ 1 การสนับสนุนการขับเคลื่อนการดำเนินงาน การพฒนาัระบบและฐานข้อมูลด้านโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม การติดตามและประเมินผลการดำเนินงานภายใต พ.ร.บ.ควบคุมโรค้จากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 ในระดับพนท ื้ี่- -/ / / -สำนักงานป้องกันควบคุมโรค/สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง -กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ - - 0.770 0.770 งปม. อย่างนอยปีละ ้2 ครั้ง มีการสนับสนนการขับเคลื่อนุการดำเนินงาน การพัฒนาระบบและฐานข้อมูลด้านโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม การติดตามและประเมินผลการดำเนินงานภายใต้ พ.ร.บ.ควบคุมโรคจากการประกอบ

4799มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2560 2561 2562 2563 2564 2560 2561 2562 2563 2564 รวม แหล่งเงิน (จังหวัดละ 10,000 บาท) อาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 ในระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กิจกรรมที่ 1 การขับเคลื่อนกลไกการดำเนินงานด้านการเฝ้าระวัง การป้องกัน และการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม ติดตามข้อมูลการรายงานและวิเคราะห์จัดทำสถานการณ์ระดับพนท เพื่อการเฝ้าระวัง ื้ี่การป้องกัน และการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม - - - //6.84 6.84 13.68 กสป. 76 จังหวัด และกรุงเทพมหานคร การขับเคลื่อนการดำเนนงานิภายใต้ พ.ร.บ. ควบคุมโรคการประกอบอาชีพและโรคจากสิงแวดล้อม ผ่านประชุม่คณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม 2 ครั้ง

48016.แผนการติดตามประเมินผลระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ2560 2561 2562 2563 2564 1. การพัฒนาระบบและฐานข้อมูล เพื่อการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิงแวดล้อม พ.ศ. 2562 ่1.มีระบบขอมลดานโรคจากการประกอบอาชพและโรคู้้ีจากสิ่งแวดล้อม เพื่อการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม 2.มีคู่มือ/แนวทาง การรายงานตามโปรแกรมระบบ เฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิงแวดล้อม ่3.ระบบเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิงแวดล้อม ได้รับการประเมินคุณภาพระบบ ่1. รายงานความกาวหนาการดำเนินงาน ้้ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการแก้ไข รายไ2. การประเมินคุณภาพผลิตภณฑ์หลัก ตามัมาตรฐานการจัดทำผลิตภัณฑ์วิชาการของกรมควบคุมโรค 3. การประเมินคุณภาพข้อมูล โดยการประเมินระบบเฝ้าระวังอย่างน้อย 1 ระบบ ราย ไตรมาส 2. การพัฒนาการขับเคลื่อนกลไก การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 1. อนุบัญญัติที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา และมผลีบังคับใช้ อย่างน้อย 10 ฉบับ 2. พนักงานเจ้าหน้าที่ของหน่วยปฏิบัติการ ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและ โรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการสอบสวนโรค อย่างน้อยจังหวัดละ 1 หน่วย 3. บุคลากรของหน่วยงานภาครัฐ/ภาคเอกชน/ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ความรู้ ความเข้าใจ ด้านการขับเคลื่อนมาตรการการบังคับใช้ทางกฎหมายภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิงแวดล้อม พ.ศ. 2562 อย่างน้อยร้อยละ 80 ่1. อนุบัญญัติที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 2. รายงานการอบรม และผลการประเมินความรู้ ความเข้าใจหลังการอบรม 3. รายงานการอบรม และผลการประเมินความรู้ ความเข้าใจหลังการอบรม ราย ไตรมาส

48111 7. รับผดชอบแผนงาน PM แผนงานโรค ได้แก หน่วยงานสังกดกรมควบคมโรคทเกี่ยวของ ิ่ัุี่้7.1 ผู้รับผิดชอบโครงการ (อำนวยการ) ดร.พญ.ฉันทนา ผดงทศ ผู้อำนวยการกองโรคจากการประกอบอาชพและสิ่งแวดล้อม ุีเบอร์โทรศพท 0 2590 3858 E-mail: [email protected] ั์7.2 ผู้รับผิดชอบโครงการ 1) ดร.พญ.สุมนี วัชรสินธ นายแพทยชำนาญการพเศษ ุ์์ิกองโรคจากการประกอบอาชพและสงแวดล้อม กรมควบคุมโรค ีิ่เบอร์โทรศพท 0 2590 3858 ั์E-mail: [email protected] 2) นายสำเริง สาลีวัฒนพงศ์กุล ผู้ชวยผู้อำนวยการกองฯ ่กองโรคจากการประกอบอาชพและสงแวดล้อม กรมควบคุมโรค ีิ่เบอร์โทรศพท 0 2590 3865 Email : [email protected] ั์ 3) นางชุลีกร ธนธติกร ผู้ชวยผู้อำนวยการกองฯ ิ่กองโรคจากการประกอบอาชพและสงแวดล้อม กรมควบคุมโรค ีิ่เบอร์โทรศพท 0 2590 3865 E-mail : [email protected] ั์4) ดร.นพ.หิรญวุฒิ แพรคุณธรรม ผู้ชวยผู้อำนวยการกองฯ ั่่ กองโรคจากการประกอบอาชพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคมโรค ีุ เบอร์โทรศัพท 0 2590 3865 ์Email : [email protected] 7.3 ผู้ประสานงานโครงการ1)มาตรการท 1 และ 2 ี่1.1 นายสาธิต นามวิชา นักวิชาการสาธารณสขชำนาญการ หัวหน้ากลุ่มระบาดวิทยาฯ ุ กองโรคจากการประกอบอาชพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค ีเบอรโทรศพทหน่วยงาน 0 2590 3865 ์ั์E-mail:: [email protected]

48212 1.2 นางสาวปณสตดา ทองคำนกวชาการสาธารณสขปฏิบัตการ ั์ัิุิกองโรคจากการประกอบอาชพและสงแวดล้อม กรมควบคุมโรค ีิ่ เบอร์โทรศัพท 0 2590 3865 E-mail : [email protected] ์2) มาตรการที่ 1 นางสาวสุธาทพย บูรณสถิตนนท นักวชาการสาธารณสขปฏิบัตการ หัวหนางานสถาปัตยกรรมขอมูล ิ์์ิุิ้้กองโรคจากการประกอบอาชพและสงแวดล้อม กรมควบคุมโรค ีิ่เบอร์โทรศพท 0 2590 3865 E-mail: [email protected] ั์

48311. สถานการณ์โรคและภยสุขภาพ/ปัญหา/พื้นทเสยง/กลุ่มเสยง ัี่ี่ี่(ระบสถานการณ์/ปัญหา/รูปภาพเปนกราฟ/แผนท ุ็ี่พรอมระบแหล่งอางอิง โดยยอสาระสำคัญประเด็น/Gap ที่เชอมโยงกบแผนงาน/โครงการทจะตองพฒนา) ุ้้่ื่ัี่้ั ปัจจบันปัญหาดานโรคจากการประกอบอาชีพ และการประสบอนตรายมความรนแรงมากขึ้น รวมทง ุ้ัีุั้ประชากรกลุ่มวยแรงงาน ใชชีวตในสถานททำงาน 1 ใน 3 ของชีวิตประจำวัน จากข้อมูลสภาวะสุขภาพของคนไทย ั้ิี่ในชวงปี 2552 - 2557 พบว่า กลมอาย 18 ปขึ้นไป พบความชกของโรคความดนโลหตสูง เพมขนจากรอยละ 21.4 ุุ่่ีุัิิ่ึ้้เป็นรอยละ 24.7 ความชกของโรคเบาหวาน เพมขนจากรอยละ 6.9 เปนรอยละ 8.9 ความชกของภาวะอ้วน เพมขึ้นุ้ิ่ึ้้็ุ้ิ่จากรอยละ 34.7 เปนรอยละ 37.5 สอดรับกบแผนแมบทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นท 13 การเสรมสรางให้ ้็้ั่ี่ิ้คนไทยมสุขภาวะทดี (พ.ศ.2561-2580) โดยเฉพาะแผนยอยท 1 การสร้างความ รอบรูด้านสุขภาวะและการป้องกันีี ่่ี่้และควบคมปจจยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะ และแผนยอยท 2 การสรางสภาพแวดล้อมที่เออตอการมีสุขภาวะทดี ุัั่ี่้ื้่ี ่รวมทงการประสานการดำเนนงานระหวางเครือขายอยางตอเนื่อง และพฒนาความรู้ ความสามารถของบุคลากรั้ิ่่่่ัสาธารณสุขให้สามารถปฏิบัตงานได ิ้ปัจจุบันการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและผลกระทบตอสุขภาพจาก่สิ่งแวดล้อม มีความสำคญมากขึ้น เนองจากประเทศไทยมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ทั้งภาคเกษตรกรรมและัื่ภาคอตสาหกรรม จากการขยายตวดงกล่าว ส่งผลกระทบต่อประชาชนอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาุััทางสุขภาพทงกลุ่มผู้ประกอบอาชีพตางๆและกลุ่มผู้ไดรับผลกระทบจากสงแวดล้อม โรคเหล่านบางโรคเมื่อเจบปวยั้่้ิ่ี้็่แล้วไม่สามารถรักษาใหหายขาดได มีผลในระยะยาว และอาจทำใหเกดโรคและปัญหาสุขภาพอนๆ ตามมา ซึ่งที่ผ่านมา ้้้ิื่ทำให้รัฐบาลตองสูญเสียงบประมาณจำนวนมากในการรกษาและแก้ไขปญหา ้ััปัจจุบันอทธพลการเปลี่ยนแปลงดานสังคม อาท การขยายของสังคมเมือง ความกาวหน้าทางเทคโนโลยี ิิ้ิ้การใชสารเคมีในอตสาหกรรมการเกษตรและอตสาหกรรมผลิตของใชในชวิตประจำวัน รวมกบกลยทธทางการตลาดุุ้้ี่ัุ์ของภาคธรกิจ เช่น การใชเครองหมายการค้าสินค้าใหคล้ายคลึงกัน เพอแอบแฝงการโฆษณา ซึ่งเปนปจจัยทมีุ้ื่้ื่็ัี ่อิทธพลตอคานิยมดานสุขภาพของสังคมไทยเป็นอย่างมาก จากการตลาดของภาคธุรกิจส่งผลตอวิถีชีวิต และปัจจัยิ่่้่สภาวะแวดล้อม ซึ่งรูปแบบพฤตกรรมการบรโภคของคนไทย มีการเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก โดยพฤตกรรม ิิ่ิการบริโภคที่ตองการความสะดวกรวดเร็วและความหลากหลายมากขึ้น ้ข้อมูลโครงสรางประชากรของประเทศไทย (สถาบนวจัยประชากรและสงคม มหาวทยาลัยมหดล, ้ัิัิิ2562) พบว่า มีประชากรวยเด็ก จำนวน 11,358,000 คน ประชากรวัยแรงงาน จำนวน 43,429,000 ล้านคน และัประชากรวยสูงอาย จำนวน 11,587,000 คน ซึ่งในกลุ่มเดกวยเรยนจะใชชีวตส่วนใหญ่ในการศึกษาเล่าเรียน ัุ็ัี้ิในสถานศึกษา และประชากรกลมวยแรงงาน ใช้ชีวตในสถานที่ทำงาน 1 ใน 3 ของชวิตประจำวัน จากข้อมูลสภาวะุ่ัิีสุขภาพของคนไทย ในชวงป 2552 - 2557 พบว่า กลุ่มอายุ 18 ปีขึ้นไป พบความชุกของโรคความดันโลหิตสูง ่ีเพมขนจากร้อยละ 21.4 เปนรอยละ 24.7 ความชกของโรคเบาหวาน เพมขนจากรอยละ 6.9 เปนรอยละ 8.9 ิ่ึ้็ุ้ิ่ึ้้็้ความชกของภาวะอวน เพมขึ้นจากรอยละ 34.7 เป็นรอยละ 37.5 ุ้ิ่้้ปัญหาโรคและภยสุขภาพจากการประกอบอาชพทสำคัญของวยทำงาน (รายงานสถานการณ์โรคจากการัีี่ัประกอบอาชีพ ปี 2560) ไดแก โรคปอดจากฝุ่นหิน (Silicosis) พบอตราปวย 0.32 ต่อแสนคน โรคจากพษโลหะหนัก ้่ั่ิพบอตราป่วย 0.003 ต่อแสนคน โรคปอดจากแร่ใยหิน (Asbestosis) พบอตราปวย 0.27 ต่อแสนคน โรคกระดกและััู่แผนงานพฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคมโรคจากการประกอบอาชีพ ัุ

4842กล้ามเนอ พบอตราปวย 166.77 ต่อแสนคน โรคจากสารทำละลายอนทรย์ พบอตราป่วย 0.03 ต่อแสนคน ื้ั่ิีัโรคประสาทหเสื่อมจากเสียงดัง พบอตราปวย 79.91 ต่อแสนคน และยังพบอกว่า ในป 2560 ปัญหาทีวัยทำงาน ูั่ีี่ขอรบบริการสายดวนสุขภาพจิต มากเปนอนดับ 1 ไดแก เรื่อง ความเครียด วิตกกงวล โดยมีจำนวนเพิ่มขนเกอบสองเท่าตัว ั่็ั้่ัึ้ืเมื่อเทียบกบปี 2557 ด้านการบาดเจ็บจากการทำงาน ข้อมลของกองทุนเงนทดแทน ปี 2559 พบว่า อัตราการประสบัูิอันตราย 3.04 ต่อ 1,000 ราย ทั้งน มาตรฐานสถานที่ทำงาน หมายถึง แนวปฏิบติเพอใหสถานที่ทำงานมีการปฏิบัตไดอยางถกตองและี้ัื่้ิู้่้เหมาะสมในดานการส่งเสริม ดูแลสุขภาพ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคของคนทำงาน รวมถึงผู้มาใช้บรการที่้ิครอบคลมทุกความเสยง ตามแนวคิด สุขภาพองค์รวม (Total worker health) เพอใหคนทำงานมีสุขภาพรางกายทุี่ื่้่ี่แขงแรง และมีจิตใจที่เปนสุข ซึ่งที่มอย ณ ปัจจุบัน ยังไม่ครอบคลุมการประเมนและจัดการความเสี่ยงตอการเกดโรค็็ีู่ิ่ิและภยสุขภาพในทุกดาน และยังไม่ไดรับการพฒนาให้เป็นมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับทวไปเพื่อนำไปสู่การขยายผล ั้้ัั่จึงควรมีการบรณาการและพฒนามาตรฐานสถานททำงานอยางเหมาะสมและครอบคลุมในการจัดการความเสี่ยงต่อูัี่่การเกิดโรคและภัยสุขภาพให้ครอบคลมในทุกมิติ เพอเพมประสิทธภาพในการจัดสภาพแวดล้อมใหเออต่อ ุื่ิ่ิ้ื้การมีสุขภาวะที่ด ปลอดโรค ปลอดภัย และส่งเสรมให้ประชาชนมีคุณภาพชวิตที่ดอยางเปนรปธรรมมากขึ้นต่อไป ีิีี่็ูนอกจากนประชาชนยงมีความเสยงสูงตอการสัมผัสสารเคม เช่น สารเคมีกำจดศัตรูพืช แรงงานนอกระบบ ี้ัี่่ีัในภาคเกษตรกรรม พบวามปัญหาที่สำคัญคือการเจ็บปวยจากสารกำจดศตรูพืช ปี พ.ศ. 2561 พบผูป่วยโรคจากพิษ่ี่ัั้สารเคมีกำจดศัตรพืช จำนวน 6,075 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 10.04 ต่อประชากรแสนราย จากการัู1คำนวณหาคาเฉลี่ย พบว่าคนไทย 65 ล้านคน มีความเสี่ยงต่อการได้รับสารเคมีกำจดศัตรพืชประมาณ 2.93 กิโลกรัม่ัูต่อคนตอป การใชสารเคมีกำจดศัตรพืชทไม่ปลอดภยหรือเกนความจำเป็นนอกจากจะสงผลกระทบตอผู้ใชซึ่งก็คือ่ี้ัูี่ัิ่่้เกษตรกร ยังส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนทั่วไป ซึงเป็นผู้บริโภคผัก ผลไม้จากการเกษตร ทั้งนีปัญหาแร่ใยหิน ่้ที่เปนหนงในประเด็นปญหาทางสุขภาพระดบโลก โดยประเทศไทยปจจบันยงไม่สามารถยกเลกการใชแรใยหนได ็ึ่ัััุัิ้่ิ้แตอยางไรกตาม จากขอมูลการสำรวจพบมีบางสถานประกอบกิจการทมีการใชสารอนมาทดแทน และในป พ.ศ. 2561 ่่็้ี ่้ื่ีพบผู้ป่วยโรคทเกิดจากแร่ใยหน (แอสเบสตอส) จำนวน 134 ราย รวมข้อมูลจาก 50 จังหวัดทวประเทศ และปญหาี่ิ2ั่ัโรคพษตะกว โดยในชวิตประจำวัน มีโอกาสสัมผัสสารตะกวได จากการใช้ผลิตภณฑที่ปนเปอนสารตะกว ซึ่งจากิั่ีั่้ั์ื้ั่ข้อมลการสำรวจพบการปนเปอนหรอมส่วนผสมสารตะกั่วและภาชนะโภคภณฑ์และเครื่องเล่นเดกในจงหวดตางๆ ูื้ืีั็ัั่ที่จำหนายในหางสรรพสินคาและตลาดทั่วไป พบว่า เครื่องเล่นที่จำหน่ายในหางสรรพสินค้าและตลาดทั่วไป จำนวน ่้้3้173 ตัวอยาง พบมีระดบสารตะกวสูงกวาค่าความปลอดภัยตามมาตรฐานผลิตภณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) กำหนด ่ัั่่ัจำนวน 31 ชิน คิดเปนรอยละ 17.9 ของเล่นทตรวจสอบ ซึ่งของเล่น 31 รายการอนตราย มีทั้งของเล่น ้็้ี่ัที่มีเครองหมาย มอก. และที่ไม่มีเครื่องหมาย มอก. เช่น หน้ากากมาร์ค ไรเดอร์ มีระดับค่าตะกั่วรวม 24,000 ื่มิลลิกรัม/กิโลกรัม สูงกวาค่ามาตรฐาน มอก. กำหนดที่ 6,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม หรือสูงกว่า 40 เท่า รถแขงขนาดเล็ก ่่มีระดบค่าตะกั่วรวม 15,200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ลูกบอลพลาสติก ระดับค่าตะกั่วรวม 3,397 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ัและเกมตกปลาพลาสติก พบสารแบเรยม 1,099 มิลลิกรัม/กิโลกรัม เป็นต้น และข้อมลผลการทดสอบปรมาณ ีูิ1 รายงานประจำปี 2561. สำนกโรคจากการประกอบอาชพและสงแวดลอม กรมควบคุมโรคัีิ่้2 รายงานประจำปี 2561. สำนกโรคจากการประกอบอาชพและสงแวดลอม กรมควบคุมโรค ัีิ่้3 ข้อมลการศึกษาเครองเลนเดกในหางสรรพสินคาและตลาดทวไป,2551. ศูนยวิจัยเพอสรางเสรมความปลอดภยและปองกันการบาดเจบในเด็กูื่่็้้ั่์ื่้ิั้็ รพ.รามาธิบด ี

4853สารตะกั่วในสนํามันทาอาคาร พ.ศ.2558 จำนวน 100 ตัวอยาง พบมระดบตะกวเกินที่ มอก. กำหนดที่ 100 ppm. ี้4่ีัั่จำนวน 62 ตัวอย่าง โดยส่วนใหญ่ไม่มีสลากระบสีปลอดสารตะกว และจากข้อมูลอตราปวยดวยพษจากสารตะกว ุั่ั่้ิั่5พบวามีผูป่วยดวยพษโลหะหนกกรณโรคพษตะกั่ว ในกลุ่มอาย 0-14 ปี ในป 2557 อยู่ที่อตรา 0.142 ต่อแสนประชากร ่้้ิัีิุีัและปญหาโรคพษปรอท ที่มกพบในผลิตภณฑ์อิเล็กทรอนิกส์และเครองใชไฟฟ้า วัสดและเครองมอทางการแพทย ัิััืุ่้ื่ื์หากสารปรอทแพร่กระจายสู่สิ่งแวดล้อม จะเกดการสะสมในห่วงโซ่อาหาร และจะกอให้เกิดผลกระทบที่อาจแก้ไข ิ่ไดยากในอนาคต โดยมการรบสารปรอทเขาสู่ร่างกายอย่างตอเนองเปนระยะเวลานาน 5-10 ปี อาจทำใหป่วย ้ีั้่ื่็้เปนโรคพษจากสารปรอทได้ ซึ่งจากขอมูลในปี 2557 - 2561 พบผูป่วยจากทีป่วยดวยโรคพษจากสารปรอท ็ิ้้่้ิทั้งสิ้น 63 ราย 6จากการประเมินผลการรับร้ข้อมลขาวสารเรองโรคและภัยสุขภาพ พฤตกรรมการปองกนควบคุมโรค ูู่ื่ิ้ัและภาพลกษณ์ของกรมควบคุมโรคของประชาชนไทยในป 2561 พบว่า ประชาชนได้รับความรในแตละโรคในระดับัีู้่มากรอยละ 60.1, 47.2, 47.7 และ 70.3 ตามลำดับ และมีคะแนนความรในแตละโรคเฉลยรอยละ 76.13, 68.75, ู้้่ี่้77.5 และ 81.67 ตามลำดับ ผลจากการสำรวจแสดงให้เห็นวายงมีช่องวาง (Gap) ด้านการได้รับความร ความเขาใจ ่ัู่้้ตระหนักและละเลยถึงโทษพิษภัย ความรุนแรงของปัญหา ตลอดจนแนวปฏิบัติในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกตองและเหมาะสม ดังนั้นจงจำเปนตองใชการสื่อสารสสาธารณะทมีประสิทธภาพ บูรณาการเครอขายดานสื่อสาร ้ึ็ู้้่ี่ิื่้ทุกภาคส่วนทุกระดับ ในการหนุนเสรมการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยส่วนหนึ่งต้องใช้ระบบเทคโนโลยีิสารสนเทศรวมกับการพฒนาระบบบรหารจดการข้อมูลขาวสารในการขบเคลื่อนการสื่อสารสาธารณะเพอการใช่ัิั่ัื่้ประโยชนของขอมลในการเฝ้าระวงเชงบริหารประกอบกัน ซึ่งจะสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่มี ์ู้ัิความแตกตางจากกลมเปาหมายทวไป ทำใหตรงประเด็น น่าเชอถือ และสามารถสรางกระแสการเปลี่ยนแปลงของุ่่้ั่้ื่้สังคมและจตสำนกสุขภาพให้เปนส่วนหนงของการทำงานในชีวิตประจำวนได ิึ็ึ่ั้กรมควบคุมโรค จึงมีการจัดทำโครงการสำคัญ (Flagship) ภายใต้แผนแม่บทท 13 ได้แก แผนงานย่อย ที่ 1 ี่่การสรางความรอบรู้ดานสุขภาวะและการปองกนและควบคุมปจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะ, แผนงานย่อยท 2 การใช้้้ััี่้ชุมชนเปนฐานในการสรางสภาพแวดล้อมทเออตอการมสุขภาวะทีดี รวมไปถงโครงการสำคัญ (Flagship) อืนๆ ็้ี่ื้่ี่ึ่ที่เกยวข้อง ภายใตแผนแม่บทท 13 นอกเหนือจากที่กล่าวมาข้างต้นเพื่อดำเนินการพฒนางานโรคจากการประกอบอาชีพ ี่้ี่ัไดอยางมีประสิทธภาพและยงยืน ้่ิั่2. วัตถประสงค์ ุ1. เพอพฒนามาตรการการดแลสุขภาพที่สอดคล้องตามความเสี่ยงผู้ประกอบอาชพในชวงชวิตวถีใหม่ ื่ัูี่ีิ(New Normal) 2. เพอขบเคลื่อนนโยบายดแลสุขภาพผู้ประกอบอาชพในชวงชวิตวถีใหม่ (New Normal) ภายใตื่ัูี่ีิ้คณะกรรมการจังหวดตามพระราชบัญญัติควบคมโรคจากการประกอบอาชพและโรคจากสงแวดล้อม ัุีิ่พ.ศ. 2562 4 ข้อมลผลการทดสอบปริมาณสารตะกวในสีนํ้ามันทาอาคาร พ.ศ.2558. มูลนิธิบูรณะนเวศ. 2558 ูั่ิ5 สำนกโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม. อัตราป่วยพษสารตะกั่วในประชากร อายุ 0-14 ปี ข้อมลระหวางปี 2557-2559. ฐานขอมูล Health Data Center ั้ิู่้(HDC). 16 พฤศจกายน 2560 ิ6 สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม.ฐานขอมูล Health Data Center (HDC). 31 กรกฎาคม 2561้

48643. เพอพฒนามาตรฐานสถานประกอบการ/สถานททำงาน (ที่มีความเสยงดานโรคจากการประกอบอาชีพและื่ัี่ี่้สิ่งแวดล้อม) สอดคล้องกับพระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสงแวดล้อม ิ่พ.ศ. 2562 4. เพอพฒนาระบบการเฝาระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ ื่ั้3. พื้นทเสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง ี่กลมเสยง : ุ่ี่(1) ประชาชนกลุ่มวยทำงานั ผู้ประกอบอาชพในสถานประกอบการ อาชพอสระ นักเรียน นักศึกษา พระสงฆ ีีิ์โตะอหมาม ผู้นำทางศาสนาอื่น ๆ ผู้ใหบริการใหสถานบริการสขภาพ และประชาชนทั่วไป ๊ิุ่้้(2) กรณีสารเคมกำจดศัตรูพืชีั คือ กลุ่มผู้ประกอบอาชพทางการเกษตรและประชาชนทั่วไป (ผู้บริโภค) ี(3) กรณีแร่ใยหิน คือ กลุ่มผู้ประกอบอาชพรอถอนอาคารและประชาชนทั่วไปที่ใช้กระเบื้องหรือผ้าเบรกทีมี ีื้่แร่ใยหิน ผู้ประกอบอาชีพคัดแยกขยะอิเล็กทรอนกส์ที่มีฉนวนกันความรอน ิ้(4)กรณีฝุ่นซิลิก้า คือ กลุ่มผู้ประกอบอาชพที่สัมผัสฝุ่นซิลิก้า ี(5)กรณีโรคจากตะกั่ว คือ กลุ่มผู้ประกอบอาชพที่สัมผัสสารตะกั่วหรือสารประกอบของตะกั่ว ีพื้นทเสยง/พื้นที่เป้าหมายี่ี่ : ดำเนนการ 77 จังหวัด ทั่วประเทศ เปาหมายสำคัญ ไดแก่ สถานททำงาน สถานประกอบการ ิ้้ี่หนวยบรการสขภาพ ่ิุกลมเป้าหมายร่วมดำเนินงาน : ุ่กระทรวงมหาดไทย กระทรวงพาณิชย กระทรวงเกษตรและสหกรณ ์์กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงแรงงาน สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผบรโภค สำนักงานมาตรฐานู้ิผลิตภณฑ์อุตสาหกรรม มูลนธิชีวะวถี มูลนธบูรณะนิเวศ มหาวทยาลัย สภาอตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ัิิิิิุสภาหอการค้าแหงประเทศไทย สำนกอนามัย กทม. สำนักงานกองทนสนับสนนการสรางเสรมสุขภาพ ่ัุุ้ิ4. เป้าหมายการลดโรคและภยสุขภาพ ระยะ 5 ปี (2561-2565)ั(กรณีมีเปาหมายตามข้อตกลงหรอพนธะสัญญาระหวางประเทศ/ระดบประเทศ ในระยะ 10 ปี,15 ปี และ 20 ปี ้ืั่ัใหระบุเพมดวย) ้ิ่้เป้าหมาย/ตัวชี้วดเปาหมาย ั้baselineค่าเปาหมาย ป พ.ศ. ้ี2562 2562 2563 2564 2565 เป้าหมายท 1ี่ การพัฒนาระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคมโรคจากการประกอบอาชีพ ุตัวชี้วัดท 1ี่ เกดมาตรฐานสำหรับ ิสถานประกอบการ/สถานททำงาน ี่(ที่มีความเสี่ยงดานโรคจากการประกอบอาชีพ้และสงแวดล้อม) ภายใตพระราชบญญัติควบคุมิ่้ัโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 -จำนวน 3 เรื่อง 1) สำหรับสถานประกอบการ ขนาดใหญ ่+ประเภทกิจการที่มีความเสี่ยงด้านโรคกระดกและกล้ามเนื้อ ู2) สำหรับโรงเรยนีระดับมธยมศึกษาและัอาชีวศึกษา จำนวน 3 เรื่อง1) มาตรฐานความเสยงี่ด้านโรคจากตะกั่ว2) มาตรฐานความเสยงด้านโรคจากฝนซีุ่่ิลิก้า 3)มาตรฐานความเสยงี่โรคจากแร่ใยหินแอสเบสตอส จำนวน 3 เรื่อง1) สำหรับสถานประกอบการ ขนาดเล็ก +ประเภทกิจการที่มีความเสยง ี่ตามพรบ. Env-occ

4875เป้าหมาย/ตัวชี้วดเปาหมาย ั้baselineค่าเปาหมาย ป พ.ศ. ้ี2562 2562 2563 2564 2565 3) สำหรับศาสนสถาน 4) หนวยบริการสุขภาพ ่ตัวชวัดท 2ี้ี่ร้อยละความสำเร็จของ สถานประกอบการ/สถานททำงานเปาหมาย ี่้ต้นแบบ/นำรอง ในการนำมาตรฐานฯ ไปใช้่ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562-1) สปก. 12 แห่ง (ขนาดใหญ่ สคร.ละ 1 แห่ง) 2) โรงเรียนระดับมัธยมศกษา ึ120 แห่ง จากปี 63 (ยอดสะสม) 2) จำนวนสปก. (สคร.ละ 10 แห่ง) 3) โรงเรียนอาชีวศกษา ึ12 แห่ง (สคร.ละ 1 แห่ง) 4) ศาสนสถาน (นำรอง) ไม่นับรวม่เปาหมาย ้รวม = 144 แห่ง 1) ร้อยละ 80 ในการนำมาตรฐานฯ ไปใช ้2) จำนวนสปก. ขนาดใหญ่เพมขนร้อยละ 50 แห่ง) ิ่ึ้นำมาตรฐานฯ ไปใช ้ร้อยละ 100 1) สปก. 12 แห่ง(ขนาดเล็ก สคร.ละ 1 เพมขนรอยละ 50 ิ่ึ้้จากปี 64 (ยอดสะสม) นำมาตรฐานฯ ไปใช ้เป้าหมายท 2 ี่การขบเคลื่อนนโยบายดแลสุขภาพผประกอบอาชพในช่วงชีวิตวิถีใหม (New Normal) ัูู้ี่ตัวชี้วัดท 1 ี่มาตรการการดแลสุขภาพทูี่สอดคลองตามความเสี่ยงผู้ประกอบอาชีพ้ในช่วงชีวิตวิถีใหม (New Normal) ภายใต่้พระราชบัญญัติควบคมโรคจากการประกอบุอาชีพและ โรคจากสงแวดล้อม พ.ศ. 2562 ิ่จำนวน 1 เรื่องตัวชี้วัดท 2 ี่ร้อยละของจังหวัดในพื้นที่รับผดชอบของ สคร. มีการขบเคลอนนโยบาย/ิัื่มาตรการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม (New Normal) ตาม พ.ร.บ.่ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 ร้อยละ 100 ตัวชี้วัดท 3 ี่จำนวนสถานประกอบการ นำมาตรฐานฯ สถานประกอบการในฐานวิถีชีวิตใหม: New Normal นำไปใช้ฯ ่(จวละ 2 สปก)152 สปก ตัวชี้วัดท 4 ี่ข้อเสนอแนะเชงนโยบายดแลิูสุขภาพผู้ประกอบอาชีพในชวงชีวิตวิถีใหม่ ่(New Normal) ผ่านกลไกคณะตาม พ.ร.บ.ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 256276 จังหวัด (จังหวัดละ 1 เรื่อง) ตัวชี้วัดท 5 ี่ร้อยละของจังหวัดมีการนำข้อมูลผลกระทบต่อสุขภาพเกษตรกร มาดำเนินการร้อยละ 80 ร้อยละ 100

4886เป้าหมาย/ตัวชี้วดเปาหมาย ั้baselineค่าเปาหมาย ป พ.ศ. ้ี2562 2562 2563 2564 2565 เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคในกลมเกษตรกร ุ่เป้าหมายท 3 ี่การพฒนากลไกการเงิน การคลัง เพอดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพทกกลุ่ม ัืุ่ตัวชี้วัดท 8 ี่ มีข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อขับเคลอนกลไกการเงิน การคลัง ในการดแลืู่สุขภาพผู้ประกอบอาชีพทกกลุ่ม ุ1 เรื่อง1 เรื่อง

48975.มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่สำคัญ ในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผู้ดำเนินการ มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. เขต สสจ. รพ. PCC ชุมชน/ตำบล มาตรการ 1 : การพัฒนาระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพกิจกรรมที่ 1.1 การพัฒนามาตรฐานสำหรับสถานประกอบการ/สถานททำงาน ี่(ที่มีความเสี่ยงด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม) ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 ไปสู่การปฏิบัติ (ผู้รับผิดชอบหลัก กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม) 1) มาตรฐานความเสี่ยงด้านโรคจากตะกั่ว2) มาตรฐานความเสี่ยงด้านโรคจากฝุ่นซิลิก้า 3)มาตรฐานความเสี่ยงโรคจากแร่ใยหินแอสเบสตอส1. พัฒนามาตรฐานฯ สำหรับ สปก. ที่มีความเสี่ยง ภายใต้กลไก พรบ. Env-Occ 2. พัฒนากลไกการรายงาน / ระบบการเฝ้าระวังโรคภายใต้กลไก พรบ. E3.นำร่องมาตรฐานฯ สำหรับ สปก. ที่มีความเสี่ยงเพื่อนำกลไกการรายงาน / ระบบการเฝ้าระวังโรคภายใต้กลไก พรบ. Env-Occ ไปใช้ 4.สรุปผลการนำมาตรฐานฯ สำหรับ สปก. ที่มีความเสี่ยงเพื่อนำกลไกการรายงาน / ระบบการเฝ้าระวังโรคภายใต้กลไก พรบ. Env-Occ ไปใช้ 1. ทบทวน สถานการณ์ความเสยงี่ด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพ ในระดับพื้นที่ โดยนำข้อมูลพื้นฐาน OEHP มาเชื่อมโยง กับข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนกงานสวัสดิการฯจังหวัด ัสบริการสาธารณสุข เปนต้น ็ 2. กำหนดกลุ่มเป้าหมายในการนำ มาตรฐานการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องตามความเสี่ยงของผู้ประกอบอาชีพในพื้นที่ 3. นำร่องมาตรฐานฯ สำหรับ สปก. ทีมีความเสี่ยงเพื่อนำกลไก่การรายงาน / ระบบการเฝ้าระวังโรคภายใต้กลไก พรบ. Env-Occ ไปใช้ 4.การให้คำแนะนำ การติดตามการดำเนินงานสำหรับ สปก. ทีมี่ความเสี่ยงฯ 5.รวบรวมผลการดำเนินงาน ไม่มี 1. ร่วมทบทวน สถานการณ์ความเสี่ยงด้านสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพ ในระดับพื้นท โดยนำข้อมูลี่พื้นฐาน OEHP มาเชื่อมโยง กับข้อมูลจากหนวยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ่สำนักงานสวัสดิการฯจังหวัด สำนักงานประกันสังคม หน่วยบริการสาธารณสุข เป็นต 2. ร่วมกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการนำ มาตรฐานการดูแลสุขภาพทีสอดคล้องตามความ่เสี่ยงของผู้ประกอบอาชีพในพนที่ ื้3. สนบสนุน ผลักดัน ให้ักลุ่มเป้าหมายนำมาตรฐานฯ สำหรับ สปก. 1. พัฒนาศักยภาพหนวยงาน่ต้นแบบ/นำร่องผูใช้มาตรฐานฯ) ้ให้เกิดความรู้ ความเขาใจ และ้นำมาตรฐานฯ ไปปฏิบัติในองค์กร 2. การให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะต่อหนวยงาน่เปาหมายเพอให้ื่้เกิดการดำเนินการตามมาตรฐานอย่างถูกต้อง -ไม่มี--ไม่มี-

4908มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. เขต สสจ. รพ. PCC ชุมชน/ตำบล ที่มีความเสี่ยงฯ ไปใช้ 4. การติดตาม ผลการดำเนินงานในระดับพื้นท ี่กิจกรรมที่ 1.2 กผลกระทบทางสุขภาพในกลุ่มอาชีพที่มีแนวโน้มการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมที่ 1.3 กแนวโน้มและผลกระทบทางสุขภาพในกลุ่มอาชีพทีมีการ่ใช้เทคโนโลยี AI และดิจิทัลเพมขึ้น ิ่กิจกรรมที่ 1.4 แนวโน้มและผลกระทบทางสุขภาพในกลุ่มอาชีพทีมี่แนวโน้มการเกิดความเครียดจากภาระงานมาก 1) ผลการศึกษาผลกระทบทางสุขภาพในกลุ่มอาชีพที่มีแนวโนมการใช้้สารเคมีกำจัดศตรูพืชในกลุ่มเกษตรกร ั2) ผลการศึกษาแนวโน้มและผลกระทบทางสุขภาพในกลุ่มอาชีพที่มีการใช้เทคโนโลยี AI และดิจิทัลเพมขึ้น ิ่3) ผลการศึกษาแนวโน้มและผลกระทบทางสุขภาพในกลุ่มอาชีพที่มีแนวโนมการเกิดความเครียดจาก้ภาระงานมาก 4) ผลการศึกษาผลกระทบทางสุขภาพในกลุ่มอาชีพอิสระ -ไม่มีไม่มีไม่มีไม่มีไม่มีไม่มี- กิจกรรมที่ 1.5 พัฒนาข้อมูล ความรอบรู้และระบบสอสารื่คด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ผ่านช่องทางที่- สร้างกลไกในพฒนาการตลาด ัเชิงสังคมเพื่อเผยแพร่ข้อมูลโรคและภัยสุขภาพ - วิเคราะห์สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพฯ ตลอดจนพฤติกรรม - สำรวจความต้องการสื่อเผยแพร่ประชาสัมพนธ์ ั- สื่อสารตามแผนฯให้แก่กลุ่มเป้าหมาย - ประเมินผลการรับรู้ข้อมูล-ไม่มีไม่มีไม่มีไม่มี--ไม่มี-

4919มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. เขต สสจ. รพ. PCC ชุมชน/ตำบล เหมาะสม กับประชากรเปาหมาย โดยใช้การตลาด ้เชิงสังคม เปาหมายที่ต้องการให้เกิดการ้เปลี่ยนแปลง -ออกแบบ และกำหนดกลยุทธ์ การตลาดเชิงสังคม - ดำเนินการสื่อสาร ตามแผนฯ เพอตอบื่โต้ข้อมูล และสร้างความเข้าใจผ่านช่องทางที่หลากหลาย - จัดทำแบบประเมินผลการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสนับสนนการเผยแพรุ่ประชาสัมพันธ์ข่าวสารและสนับสนุนการเผยแพร่ประชาสัมพนธ์ ักิจกรรมที่ 1.6 การติดตามและการตรวจวัด ประเมินสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพและการประสานความร่วมมือทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม -การตรวจวัด ประเมินสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพอนามัยของ ผู้ประกอบอาชีพ ประชาสัมพันธ์-ไม่มีไม่มีไม่มีไม่มีไม่มี- มาตรการ 2 : การขับเคลื่อนนโยบายดูแลสุขภาพผประกอบอาชีพในช่วงชวิตวิถีใหม่ (New Normal)ู้ีกิจกรรมที่ 2.1 การขับเคลื่อน เชิงนโยบายดูแลสุขภาพ ผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิต วิถีใหม่ (New Normal) 1. พัฒนามาตรการ/มาตรฐานการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องตามความเสี่ยงของผู้ประกอบอาชพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ ี(New Normal) 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรสถานประกอบการ/ผู้ประกอบอาชีพอิสระ /1. ร่วม พัฒนามาตรการ/มาตรฐานการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องตามความเสี่ยงของผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ (2. ถ่ายทอด ชีแจงมาตรการ/้-ไม่มี- 1. ร่วมกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการนำมาตรการ/มาตรฐานการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องตามความเสี่ยงของผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิต-ไม่มีไม่มีไม่มี-

49210มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. เขต สสจ. รพ. PCC ชุมชน/ตำบล หนวยบริการสาธารณสุขในการจัดการ่ความเสี่ยงและดูแลสุขภาพแบบองค์รวมให้กับผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ (Worker HealthLeader) ในฐานวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) 3.พัฒนาศักยภาพทีมผู้ตรวจประเมินมาตรฐานการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องตามความเสี่ยงของผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) 4. สนบสนุน เสริมพลัง การขับเคลื่อนัมาตรการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องตามความเสี่ยงผู้ประกอบอาชีพในชวงชีวิต่วิถีใหม่ (New Normal) 13 เขตบริการสุขภาพ 5. การให้คำแนะนำ การติดตามการนำมาตรการ/มาตรฐานการดูแลสุขภาพทสอดคล้องตามความเสี่ยงของี่ผู้ประกอบอาชพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ี(New Normal) ไปใช้ฯ 6. ประเมินผลความพึงพอใจของเครือข่ายในการนำมาตรฐานสถานที่ทำงานฯไปใช้ พร้อมนำเสนอผู้บริหาร 7. สรุปข้อเสนอแนะเชิงนโยบายดูแลมาตรฐานการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องตามความเสี่ยงของผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ในระดับพื้นที่ที่รับผิดชอบ 3. กำหนดกลุ่มเป้าหมายในการนำมาตรการ/มาตรฐานการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องตามความเสี่ยงของผู้ประกอบอาชพในช่วงชีวิตวิถีีใ(New Normal) ไปใช้ฯ โดยสามารถเลือกดำเนนการในิกลุ่มเป้าหมายอย่างน้อย 1 กลุ่มดังนี้ 3.1 สถานประกอบการเสี่ยงต่อโรค Silicosis หรือโรคAsbestosis หรือโรคพิษตะกั่ว ภายใต้ พรบ.ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพฯ3.2 กลุ่มผู้ประกอบอาชีพอิสระ/แ3.3 สถานประกอบอื่น ๆ นอกเหนือข้อ 3.1 4. ร่วมดำเนินการกับเครือข่ายวิถีใหม่ (New Normal) 2. ดำเนินการผลักดันให้กลุ่มเป้าหมายดำเนินตามมาตรการ/มาตรฐานการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องตามความเสี่ยงของผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ในระดับจังหวัด จังหวัดละ 2 สถานประกอบการ 3. มีการขับเคลื่อนนโยบาย/มาตรการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ภายใต้คณะกรรมการจังหวัดตามพระราชบัญญัติควบคุมโอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 นำไปสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในระดับจังหวัด 4. ให้คำแนะนำ การนำ

49311มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. เขต สสจ. รพ. PCC ชุมชน/ตำบล สุขภาพผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ผลักดันให้กลุ่มเป้าหมายดำเนินตามมาตรการ/มาตรฐานการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องตามความเสี่ยงของผู้ประกอบอาชพในช่วงชีวิตวิถีีใหม่ (New Normal) ในระดับพื้นท ี่5. การติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานในระดับพื้นท ี่6. การใหคำแนะนำ การติดตาม้การนำมาตรการ/มาตรฐานการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องตามความเสี่ยงของผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ไปใช้ฯ ในระดับพื้นท ี่มาตรการ/มาตรฐานการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องตามความเสี่ยงของผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ไปใช้ฯ ในระดับจังหวัด กิจกรรมที่ 2.2 จังหวัดมีระบบรับแจ้งข่าวการใช้/ป่วยจากการสัมผัส สารเคมีทางการเกษตร 3 ชนิด (พาราควอต คลอร์ไพริฟอส ไกลโฟเสต) โดยประชาชน/ อสม. ผ่าน Mobile Application สู่หนวยบริการ ่(คลินิกสารเคมีเกษตร/คลินิก1. ปรับปรุงระบบรับแจ้งข่าวการใช้/ป่วยจากการสัมผัสสารเคมีทางการเกษตร 3 ชนิด (พาราควอต คลอร์ไพริฟอส ไกลโฟเสต) 2. ขับเคลื่อนการมีข้อมูลการใช้/ป่วยจากการสัมผัสสารเคมีทางการเกษตร 3 ชนิด (พาราควอต คลอร์ไพริฟอส ไกลโฟเสต) 3. วิเคราะห์ข้อมูลการใช้/ป่วยจากการสัมผัส สารเคมีทางการเกษตร 3 ชนิด ชี้แจงและขับเคลื่อนให้มีข้อมูลการใช้/ป่วยจากการสมผัส ัสารเคมีทางการเกษตร 3 ชนิด (พาราควอต คลอร์ไพริฟอส ไกลโฟเสต) -ไม่มี- ขับเคลื่อนให้มีข้อมูลการใช้/ป่วยจากการสมผัส ัสารเคมีทางการเกษตร 3 ชนิด (พาราควอต คลอร์ไพริฟอส ไ-ไม่มี--ไม่มี- ร่วมสนับสนุน การดำเนินงานเพอขับเคลื่อนื่นโยบายและกลไกการดูแลสุขภาพของเกษตรกร

49412มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. เขต สสจ. รพ. PCC ชุมชน/ตำบล โรคจากการทำงาน)(พาราควอต คลอร์ไพริฟอส ไกลโฟเสต) เพอให้เกิดกลไกและนโยบายในการื่ดูแลสุขภาพของเกษตรกร กิจกรรมที่ 2.3 การขับเคลื่อนกลไกการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช1. ขับเคลื่อนกลไกการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ เพื่อดูแลสุขภาพของเกษตรกร 2. ผลักดันให้เกิดการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับอำเภอ ร่วมสนับสนุนการขับเคลื่อนกลไกการพฒนาคุณภาพชีวิตระดับัอำเภอ ในการดูแลสุขภาพของเกษตรกรในระดับเขต ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง -ไม่มี- ขับเคลื่อนกลไกการดูแลสุขภาพของเกษตรกรในระดับอำเภอ และจังหวัด ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ระดับจังหวัด ฯลฯ -ไม่มีไม่มี- ร่วมสนับสนุนการดำเนนงานเพื่อิขับเคลื่อนนโยบายและกลไกการดูแลสุขภาพของเกษตรกรมาตรการ 3 : การพัฒนากลไกการเงิน การคลัง เพื่อดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพทกกลุ่มุกิจกรรมที่ 3.1 ขับเคลื่อนกลไกความร่วมมือระหว่างภาคเครือข่ายฯ ในการีผลักดันนโยบาย/มาตรการกลไกการเงิน การคลัง เพื่อดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพทุกกลุ่ม 1) ขับเคลื่อนกลไกความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายฯ ในการผลกดันันโยบาย/มาตรการ กลไกการเงิน การคลัง เพอดูแลสุขภาพผู้ประกอบื่อาชีพทุกกลุ่ม 1.1) กำหนดทิศทางและเป้าหมายของมาตรการ กลไกการเงิน การคลัง เพอดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพ ื่ทุกกลุ่ม ร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย 1.2) สร้างกลไกการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบาย/มาตรการแบบมีส่วนร่วม ผ่านรูปแบบคณะกรรม/คณะทำงานร่วมกับหนวยงานที่่เกี่ยวข้อง 1) ร่วมขับเคลื่อนกลไกความร่วมมือฯ/ผลักดันนโยบาย/มาตรการฯ 2) ประเมินความสำเร็จของการรณรงค์ การผลักดันนโยบาย/มาตรการกลไกการเงิน การคลัง เพอดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพ ื่-ไม่มีไม่มีไม่มีไม่มี--ไม่มี-

49513มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. เขต สสจ. รพ. PCC ชุมชน/ตำบล 1.3) เสนอนโยบาย/มาตรการต่อผู้แทนหน่วยงานหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องเพอรับไปพิจารณากำหนดเป็นื่นโยบาย/มาตรการของหน่วยงานหรือองค์กรต่อไป 1.4) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น website social media หนังสือแจ้งเวียน 1.5) ติดตาม ประเมินผลการผลักดัน ขับเคลื่อนนโยบาย/มาตรการไปสู่การปฏิบัติ

496146.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน แผนงาน/โครงการที่ 1พัฒนามาตรฐานสำหรับสถานประกอบการ/สถานที่ทำงาน (ที่มีความเสี่ยงด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม) ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562(มาตรการท 1 ดำเนินการภายใตี่้โครงการนี้)*กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ -ศูนย์พัฒนาวิชาการ อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม จังหวัดสมุทรปราการ15 2 35 กรมควบคุมโรค3 เรื่อง จำนวนมาตรฐานสำหรับสถานประกอบการ/สถานที่ทำงาน ฯไปสู่การปฏิบัติในพนที่ ื้มาตรการที่ 1 : การพัฒนาระบบการเฝาระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ้กิจกรรมที่ 1.1 การประชุมราชการคณะทำงานพัฒนามาตรฐานสำหรับสถานประกอบการ/สถานที่ทำงาน (ที่มีความเสี่ยงด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม) และการขับเคลื่อนกลไกความร่วมมือด้านการป้องกันควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมภายใต้พระราชบญญัติควบคุมโรคจากการัประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562//กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 0.050.20.10.35กรมควบคุมโรค1 เรื่องกิจกรรมที่ 1.2 การนำร่องและทดสอบ///-กองโรคจากการประกอบ0.30.30.61 เรื่องจำนวนรายงานผลการทดสอบ

49715มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรฐานสถานททำงานฯ พร้อมทั้งี่พัฒนาศกยภาพหนวยงานต้นแบบ/ ั่นำร่องผู้ใช้มาตรฐาน ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และนำมาตรฐานไปปฏิบัติในองค์กรได้อย่างถูกต้องอาชีพและสิ่งแวดล้อม -ศูนย์พัฒนาวิชาการ อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม จ.สมุทรปราการ มาตรฐานสถานที่ทำงานฯ กิจกรรมที่ 1.2.1 การนำร่องและทดสอบมาตรฐานสถานที่ทำงานฯ///กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม -กรมควบคุมโรค1 เรื่องจำนวนรายงานผลการทดสอบมาตรฐานสถานที่ทำงานฯ กิจกรรมที่ 1.2.2 การพัฒนาศกยภาพัหนวยงานต้นแบบ/นำร่องผู้ใช้่มาตรฐานฯ (สื่อสาร สร้างความเข้าใจแก่หนวยงานผู้ใช้มาตรฐาน)่///กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม -กรมควบคุมโรค1จำนวนหน่วยงานต้นแบบที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ สคร. ละ 1 แห่ง กิจกรรมที่ 1.2.3 การผลิตสื่อ/เครื่องมือ/คู่มือที่ใช้ในการดำเนินงานและประชาสัมพันธ์ฯ / / / กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม -กรมควบคุมโรค 1สคร.12 แห่ง ได้รับการกระจายสื่อ/เครื่องมือ/คู่มือที่ใช้ในการดำเนินงานและประชาสัมพันธ ์กิจกรรมที่ 1.3 การให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะต่อหนวยงานเป้าหมาย่เพอให้เกิดการดำเนินการตามื่มาตรฐานอย่างถูกต้อง ///กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม --กรมควบคุมโรคกิจกรรมที่ 1.4 การติดตามและประเมินผล การนำร่องและทดสอบมาตรฐานสถานททำงานฯ ี่///กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม -กรมควบคุมโรคกิจกรรมที่ 1.4.1 การติดตามและประเมินผลการดูแลสุขภาพของประชาชนในสถานททำงานฯี่///-กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม -ศูนย์พัฒนาวิชาการ -กรมควบคุมโรค 1 เรื่องจำนวนรายงานประเมินผลการนำมาตรฐานไปปฏิบัติ ความครอบคลุม ประสิทธิผลและ

49816มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมจ.สมุทรปราการประสิทธิภาพในการลดโรคฯ กิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพอพัฒนาศักยภาพ ผู้รับรองมาตรฐานื่สถานที่ทำงานในการป้องกันโรค อุบัติเหตุ และภัยสุขภาพอื่น ๆ / / / กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 0.20.20.50.9กรมควบคุมโรค อย่างน้อยร้อยละ 75 จำนวนบุคลากรที่ผ่านการทดสอบฯ กิจกรรมที่ 3 การประชุม เชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรสถานประกอบการในการจัดการความเสี่ยงและดูแลสุขภาพแบบองค์รวมให้กับผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ (Worker Health Leader) ในฐานวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) / / / กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 0.20.20.50.9กรมควบคุมโรค อย่างน้อยร้อยละ 75 จำนวนบุคลากรที่ผ่านการทดสอบฯ กิจกรรมที่ 4 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เครือข่ายการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพ กลุ่มวยแรงงาน ั/ / / กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 0.50.61.52.6กรมควบคุมโรค 100 หนวยงาน ่จำนวนหน่วยงานที่เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ

49917มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน กิจกรรมที่ 5 การติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน และการตรวจวัด ประเมินสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพและความประสานความร่วมมือทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม ด้านสุขภาพตามมาตรฐานสถานประกอบการหรือสถานที่ทำงานเยี่ยมเสริมพลังการดำเนินงาน / / กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 0.5450.51.045กรมควบคุมโรค --แผนงาน/โครงการที่ 2 การศึกษาผลกระทบทางสุขภาพ และการพฒนาระบบขอมลแบบัู้ออนไลน์ ในกลุ่มอาชีพ (มาตรการ 1 ดำเนนการภายใต้ิโครงการนี้) - กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 0.6 1.3 2.6 กรมควบคุมโรค1.รายงานผลกระทบทางสุขภาพฯ 4 เรื่อง 2.ระบบข้อมูลฯ 1 ระบบ 1.จำนวนรายงานผลกระทบทางสุขภาพในกลุ่มอาชีพ 2. มีระบบข้อมูลแบบออนไลน์ ในกลุ่มอาชีพ กิจกรรมที่ 1 กทางสุขภาพในกลุ่มอาชีพทีมีแนวโน้ม่การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในกลุ่มเกษตรกร //กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 0.20.20.20.6กรมควบคุมโรค 1 เรื่อง มีรายงานการศึกษาผลกระทบทางสุขภาพในกลุ่มอาชีพที่มีแนวโน้มการใช้สารเคมีกำจดศตรูพืชในกลุ่มััเกษตรกร กิจกรรมที่ 2 การศึกษาแนวโน้มและผลกระทบทางสุขภาพในกลุ่มอาชีพที่มีการใช้เทคโนโลยี AI และดิจิทลั0.20.20.4กรมควบคุมโรค 1 เรื่อง มีรายงานการศึกษาแนวโน้มและผลกระทบทางสุขภาพในกลุ่มอาชีพที่มีการใช้เทคโนโลยี AI และดิจิทัล

50018มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน เพมขึ้น ิ่เพิ่มขึ้น กิจกรรมที่ 3 การศึกษาแนวโน้มและผลกระทบทางสุขภาพในกลุ่มอาชีพที่มีแนวโน้มการเกิดความเครียดจากภาระงานมาก0.20.20.4 กรมควบคุมโรค 1 เรื่อง มีรายงานการศึกษาแนวโน้มและผลกระทบทางสุขภาพในกลุ่มอาชีพที่มีแนวโน้มการเกิดความเครียดจากภาระงานมาก แผนงาน/โครงการที่ 3 การพัฒนาข้อมูลและระบบสื่อสารความเสี่ยงเรื่องโรคและภยสุขภาพ ผ่านช่องทาง ัทีเหมาะสม กับประชากร่เป้าหมาย โดยใช้การตลาด เชิงสังคม (Social Marketing) (มาตรการ 1 ดำเนนการภายใต้ิโครงการนี้) - กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 1.2 3 4.2 กรมควบ คุมโรค1 เรื่องจำนวนข้อมูลสื่อสำหรับการสือสารความเสี่ยงโรคและภัย่สุขภาพด้านโรคจากการประกอบอาชีพกิจกรรมหลักท 7.2 การดำเนนการี่ิสื่อสารตามแผนสื่อสารด้านโรคจากการประกอบอาชีพ โดยใช้ Paid Media/ Own Media /Social Media - จัดซื้อจดจางสื่อที่หลากหลายฯ ั้ (เพจโรคร้ายๆ 1ล) - จัดทำสื่อฯ เพอสร้างความเข้าใจผ่านื่ช่องทางที่หลากหลาย (1.3 ล) - ประชุมหารือคณะกรรมการสื่อสารฯ √√√1.234.2กรมควบ คุมโรค อย่างน้อยร้อยละ 50 1.) ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงข้อมูลสุขภาพฯ ร้อยละ 50 2.) ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายเข้าใจข้อมูลสุขภาพฯ ร้อยละ 50 3.) ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพฯ ร้อยละ 50

50119มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน - จัดกิจกรรมรณรงค์และสอสารความื่เสี่ยงด้านโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 1.งานวันแรงงาน (0.5 ล) 2.งานสปดาห์ความปลอดภัย (0.2ล) ั(จุดเน้น: สารเคมภาคเกษตร) ีกิจกรรมหลักท 7.3 การติดตามี่ประเมินผลการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสนับสนุนการเผยแพร่ประชาสัมพันธ ์√√√กรมควบ คุมโรค ร้อยละ 50 ร้อยละของการประเมินผลการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสนับสนุนการเผยแพร่ประชาสัมพันธ ์แผนงาน/โครงการที่ 4การขับเคลื่อนนโยบายดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) (มาตรการท 2 ดำเนินการี่ภายใต้โครงการนี้) -กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ 0.375 0.5 0.875 กรมควบคุมโรค1 เรื่องระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายดูแลสุขภาพผูประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวิถี้ใหม่ (New Normal)มาตรการที่ 2 การขับเคลื่อนนโยบายดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ (New Normal)กิจกรรมที่ 4.1 การขบเคลื่อนนโยบายัดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) 1. ขับเคลื่อนนโยบายและกลไกดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวถีิใหม่ (New Normal) 2. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวถีิ//กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม, โรคที่ 1 – 12 , สสจ. - - - กรมควบคุมโรค1.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายดูแลสุขภาพ ผูประกอบ้อาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ (New 1.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) อย่างน้อย 1 เรื่อง 2.รายงานผลการดำเนินงานขับเคลื่อนนโยบายร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งส่วนกลางและพื้นที่ 1 เรื่อง

50220มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน ใหม่ (New Normal) ที่เกี่ยวข้อง Normal) อย่างน้อย 2.รายงานผลการดำเนินงานขับเคลื่อนนโยบายร่วมกับหนวยงาน ่ที่เกี่ยวข้อง ทั้งส่วนกลางและพื้นท ี่1 เรื่องกิจกรรมที่ 4.2 การผลักดันจังหวัด ในพื้นที่รับผิดชอบของ สคร. มีการขับเคลื่อนนโยบาย/มาตรการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิต วิถีใหม่ (New Normal)//กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ --- ร้อยละ 100 ของจังหวัดในพืนที่้รับผิดชอบของ สคร. มีการขับเคลื่อนนโยบาย/มาตรการดูแลสุขภาพ ผูประกอบ้อาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ ร้อยละ 100 ของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบของ สคร. มีการขับเคลื่อนนโยบาย/มาตรการดูแลสุขภาพ ผูประกอบอาชีพในช่วงชีวิต ้วิถีใหม่ (New Normal)

50321มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน (New Normal) กิจกรรมที่ 4.3 การประชุมคณะทำงานเพื่อร่วมทบทวน ข้อมูลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพ และกำหนดมาตรการการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องตามความเสี่ยงผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ///กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ 0.7511.75ร้อยละ 100 ร้อยละของจังหวัดมีการนำข้อมูลผลกระทบต่อสุขภาพที่มีความเสี่ยงในระดับพื้นท มาดำเนินการเฝ้าี่ระวัง ป้องกัน ควบคมโรค ุกิจกรรมที่ 4.4 การสนับสนุน เสริมพลัง การขับเคลื่อนมาตรการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องตามความเสี่ยงผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ภายใต้ พ.ร.บ. โรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม / / กองโรคจากการประกอบอาชีพฯ 0.30.50.8 ร้อยละ 100 ร้อยละของจังหวัดมีการนำข้อมูลผลกระทบต่อสุขภาพที่มีความเสี่ยงในระดับพื้นท มาดำเนินการเฝ้าี่ระวัง ป้องกัน ควบคมโรค ุแผนงาน/โครงการที่ 5ขับเคลื่อนกลไกความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายฯ ในการผลักดันนโยบาย/มาตรการกลไกการเงิน การคลัง เพอดูแลื่สุขภาพผู้ประกอบอาชพทุกกลุ่ม ี(มาตรการท 3 ดำเนินการี่-ประกอบอาชีพฯ ภายนอก สธ : กระทรวงอุตสาหกรรม สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานมาตรฐานกรมควบคุมโรค1. นโยบาย และมาตรการฯ 1 เรื่อง 2. มาตรฐานฯ 2 เรื่อง1.จำนวนนโยบาย และมาตรการทได้รับการขับเคลื่อนี่เพอสนับสนนสินคาและบริการืุ่้ทีเปนมิตรต่อสุขภาพ ่็2. จำนวนชุดมาตรฐานเกณฑ์สินค้า และบริการที่จำเป็นเพื่อ

50422มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน ภายใต้โครงการนี้)ผลิตภณฑ์อุตสาหกรรม ัมูลนิธิชีวะวิถี มูลนิธิบูรณะนิเวศ สภาอุตสาหกรรมฯ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานกองทุนสนบสนุนัการสร้างเสริมสุขภาพ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเกษตรฯ กระทรวงแรงงาน มหาวิทยาลัย สำนักอนามัย กทม.สนับสนุนให้เกิดสินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสุขภาพ มาตรการที่ 3 การพัฒนากลไกการเงิน การคลัง เพื่อดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพทุกกลุ่มกิจกรรมที่ 3.1 ขับเคลื่อนกลไก ความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายฯ ในการผลักดันนโยบาย/มาตรการกลไกการเงิน การคลัง เพื่อดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพทุกกลุ่ม 1) ขับเคลื่อนกลไกความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายฯ ในการผลักดันนโยบาย/มาตรการกลไกการเงิน การคลัง เพื่อดูแลสุขภาพ ผู้ประกอบอาชีพทุกกลุ่ม 1.1) กำหนดทิศทางและ//ภายใน สธ. : กกรมการแพทย์ กรมวิทย์ฯ กฯภายนอก สธ. : กก.พาณิชย์ ก.เกษตรฯ ก.อุตสาหกรรม ก.แรงงาน สคบ. สมอ. มูลนิธิชีวะวิถี มูลนิธิบูรณะนิเวศ มหาวิทยาลัย กรมควบคุมโรค1 เรื่อง จำนวนนโยบาย/มาตรการการเงิน การคลัง เพอดูแลสุขภาพผู้ประกอบื่อาชีพทุกกลุ่ม

50523มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน เป้าหมายของนโยบาย/มาตรการ และวางยุทธศาสตร์ในการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบาย/มาตรการร่วมกับหนวยงานภาคีเครือข่าย ่ 1.2) สร้างกลไกการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบาย/มาตรการแบบมีส่วนร่วม ผ่านรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงานร่วมกับหนวยงานที่เกี่ยวข้อง ่ 1.3) เสนอนโยบาย/มาตรการต่อผู้แทนหน่วยงานหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องเพื่อรับไปพิจารณากำหนดเป็นนโยบาย/มาตรการของหน่วยงานหรือองค์กรต่อไป 1.4) รณรงค ประชาสัมพันธ ์์ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น website social media หนงสือแจงเวียน ั้ 1.5) ติดตาม ประเมินผลการผลักดัน ขับเคลื่อนนโยบาย/มาตรการไปสู่การปฏิบัติสภาอุตสาหกรรมฯ ส.อนามัย ฯลฯกิจกรรมสคร.การขับเคลื่อนนโยบายดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชพในช่วงีชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) กิจกรรมที่ 1 การขับเคลื่อนนโยบายดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) /สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12, สปคม 011กรมควบคุมโรค 1 มาตรการ นโยบาย/มาตรการส่งเสริม ป้องกัน และดูแลสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในระดับพื้นท ี่

50624มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน กิจกรรมที่ 2 การสนับสนุน เสริมพลัง การขับเคลื่อนมาตรการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องตามความเสี่ยงผู้ประกอบอาชีพในช่วงชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) กิจกรรมที่ 3 การพัฒนามาตรฐานสำหรับสถานประกอบการ/สถานที่ทำงาน (ที่มีความเสี่ยงด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม) ภายใต้พระราชบญญัติควบคุมโรคจากการัประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562

507257. แผนการติดตามประเมนผล ระยะ 5 ปีิ (ระดบมาตรการ/แผนงาน/โครงการหลัก) ัมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วธีการตดตามิิประเมนผล ิกรอบระยะเวลาของการตดตามประเมินผล ป พ.ศ. ิี2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการ 1 :การพัฒนาระบบการ เฝาระวัง ป้องกัน และ้ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ มาตรฐานสำหรับสถานประกอบการ/ ติดตามประเมินผลสถานททำงาน ี่(ที่มความเสยงด้านีี่โรคจากการประกอบอาชพและีสิ่งแวดลอม) ภายใต้้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชพและีโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 ติดตามผานระบบ่แบบ Onlineราย ไตรมาส (ไตรมาสท ี่1 – 4)ราย ไตรมาส (ไตรมาสที่ 1 – 4)ราย ไตรมาส (ไตรมาสที่ 1 – 4)ราย ไตรมาส (ไตรมาสที่ 1 – 4)ราย ไตรมาส (ไตรมาส ที่ 1 – 4)มาตรการ 2 : การขับเคลอนนโยบายื่ดูแลสขภาพผประกอบุู้อาชพในช่วงชีวิตวิถีใหม ี่(New Normal) ระดับความสำเร็จในการขบเคลอนัื่นโยบายดแลูสุขภาพผประกอบู้อาชพในช่วงชีวิตีวิถีใหม่ (New Normal)1.การประชมราชการุภายใต้คณะกรรมการ/คณะทำงาน 2.เอกสารรายงานความก้าวหน้า รายไตรมาส 3.เอกสารสรปผลการุดำเนินงานสิ้นปีงบประมาณ 4.สนับสนุน เสริมพลัง การขบเคลื่อนัมาตรการดูแลสุขภาพทีสอดคล้อง ่ตามความเสยงผู้ี่ประกอบอาชพในชวงี่ชีวิตวถีใหม่ (New ิNormal) 13 เขตบริการสขภาพ ุ5.ประเมินผลการขับเคลื่อนมาตรการฯ ร่วมกับพนทและี้ี่จัดทำข้อเสนอแนะ เชงนโยบาย ิราย ไตรมาส (ไตรมาสท ี่1 – 4)ราย ไตรมาส (ไตรมาสที่ 1 – 4)ราย ไตรมาส (ไตรมาสที่ 1 – 4)ราย ไตรมาส (ไตรมาสที่ 1 – 4)ราย ไตรมาส (ไตรมาส ที่ 1 – 4)มาตรการ 3 : การพัฒนากลไกการเงิน การคลัง จำนวนนโยบาย/ประเด็น/มาตรการ 1.การประชมราชการุภายใต้--2(ใหม่) 4 (ใหม่) -

50826มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วธีการตดตามิิประเมนผล ิกรอบระยะเวลาของการตดตามประเมินผล ป พ.ศ. ิี2561 2562 2563 2564 2565 เพอดูแลสุขภาพ ื่ผู้ประกอบอาชพทกกลุ่มีุกลไกการเงิน การคลัง เพื่อดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชพทกกลุ่มีุจำนวน 3 ประเด็น(1) ด้านการใช้เทคโนโลย AI และีดิจิทัล (2) ด้านแร่ใยหิน (Asbestos) (3) ด้านสารเคมีกำจดศตรูพืช ัั(4) อาชีพอิสระ คณะกรรมการ/คณะทำงาน 2.เอกสารรายงานความก้าวหน้า รายไตรมาส 3.เอกสารสรปผลการุดำเนินงานสิ้นปีงบประมาณ 4.เอกสารข้อเสนอนโยบายฯ(1) ด้านสารตะกั่ว (2) ด้านแร่ใยหิน (Asbestos)

509278. ผู้รับผดชอบแผนงาน PM แผนงานโรค ได้แก หน่วยงานสงกดกรมควบคมโรคทเกยวของ ิ่ััุี่ี่้8.1 ผู้รับผิดชอบโครงการ (อำนวยการ) ดร.พญ.ฉันทนา ผดงทศ ผู้อำนวยการกองโรคจากการประกอบอาชพและสิ่งแวดล้อม ุีเบอร์โทรศพท 0 2590 3858 E-mail: [email protected] ั์8.2 ผู้รับผิดชอบโครงการ 1) ดร.พญ.ชุลีกร ธนธติกร นายแพทยชำนาญการพเศษ ิ์ิกองโรคจากการประกอบอาชีพและสงแวดล้อม กรมควบคุมโรค ิ่เบอร์โทรศพท 0 2590 3865 ั์E-mail: [email protected] 2) นางสาวรุ้งประกาย วิฤทธิ์ชัย นักวชาการสาธารณสุขชำนาญการ หัวหนางานอาชวอนามัย ิ้ีกองโรคจากการประกอบอาชพและสงแวดล้อม กรมควบคุมโรค ีิ่เบอร์โทรศพท 0 2590 3865 Email : [email protected] ั์8.3 ผู้ประสานงานโครงการ1) นางสาวเยาวลกษณ แกวแกมจนทร์ นักวชาการสาธารณสขปฏิบัตการ งานอาชวอนามัย (แรงงานในระบบ) ั์้ัิุิีกองโรคจากการประกอบอาชพและสงแวดล้อม กรมควบคุมโรค ีิ่เบอร์โทรศพท 0 2590 3865 E-mail:[email protected] ั์2) นางสาวจไรรตน ช่วงไชยยะ นักวชาการสาธารณสุขปฏิบัตการ งานอาชวอนามัย (แรงงานนอกระบบ) ุั์ิิีกองโรคจากการประกอบอาชพและสงแวดล้อม กรมควบคุมโรค ีิ่เบอร์โทรศพท 02 590 3865 ั์E-mail: [email protected] 3) นางสาวปริฉัตร พูลชวย นักวชาการสาธารณสุขชำนาญการ หัวหนางานสื่อสารฯ ่ิ้กองโรคจากการประกอบอาชพและสงแวดล้อม กรมควบคุมโรค ีิ่เบอร์โทรศพท 02 590 3865 E-mail: [email protected] ั์

5101 1. สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ/ปัญหา/พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง (ระบุสถานการณ์/ปัญหา/รูปภาพเป็นกราฟ/ แผนที่ พร้อมระบุแหล่งอ้างอิง โดยย่อสาระสำคัญประเด็น/Gap ที่เชื่อมโยงกับแผนงาน/โครงการที่จะต้องพัฒนา) การขยายตัวทางเศรษฐกิจ การขยายตัวของชุมชนเมือง และการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมโดยนำเทคโนโลยีเข้ามาใช ้ในกระบวนการผลิต รวมถึงความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสมัยใหม่และเกิดการใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง ก่อให้เกิดปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม (Pollution) ที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนทั้งด้านการดำเนินชีวิตและสุขภาพ ที่เริ่มมีความรุนแรงและขยายวงกว้างมากยิ่งขึ้น โดยสามารถสรุปประเด็นปัญหาที่สำคัญ ได้แก่ ปัญหาในการจัดการขยะทั่วไปและขยะอันตราย ปัญหามลพิษทางอากาศ (หมอกควัน ฝุ่นละอองขนาดเล็ก กิจการชีวมวล) ปัญหาเกี่ยวกับอุตสาหกรรมและสารเคมี (เหมืองแร่ เขตอุตสาหกรรม และผลิตภัณฑ์ที่ปนเปื้อนสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ) โดยจากการดำเนินงาน มีปัญหาด้านการรายงานข้อมูลที่ไม่ต่อเนื่อง และระบบรายงานโรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อมยังไม่ต่อเนื่องและชัดเจนรวมถึงรายชอื่โรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อมสำหรับการเฝ้าระวังยังไม่ชัดเจน ตามที่องค์การอนามัยโลกกำหนดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ระหวาง่ปี 2558-2573 โดยในเปาหมายที 3 เรื่องรับรองการมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของทุกคนในทุกชวงอายุ เป้าหมายขอ 3.9 ้่่้กำหนดว่าภายในปี พ.ศ. 2573 ลดจำนวนการเจ็บป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคและภัยสุขภาพจากสารเคมีอันตราย และ การปนเปื้อนของมลพิษทางอากาศ มลพิษทางน้ำ และดิน และมีดัชนีชี้วัดความสำเร็จข้อ 3.9.3 ลดอัตราการตายที่เกิดจากการได้รับสารพิษโดยไม่ตั้งใจ ในประเทศไทยจากยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2565) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนภายใตแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น 13 การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี ได้กำหนด้แผนงานย่อยเพื่อสนับสนุนการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ด และยุทธศาสตร์ที่ 5. การสร้างการเติบโต ีบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้แผนแม่บท ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น 18 การสร้างการเติบโต อย่างยั่งยืน ซึ่งเกี่ยวกับการจัดการมลพิษที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามแผนงาน่พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม โดยสรุปสถานการณ์ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ในปี 2560 มีปริมาณขยะมูลฝอยทั่วไปสะสมประมาณ 27.40 ล้านตัน หรือ 75,046 ตันต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.26 จากปี 2559 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากร การขยายตัวของชุมชนเมือง พฤติกรรมการบริโภคของประชาชนตลอดจน การท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น และในปี 2560 มีอัตราการเกิดขยะมูลฝอยต่อคนอยู่ที่ 1.13 กิโลกรัม/คน/วัน ปริมาณขยะมูลฝอย ที่เกิดขึ้นเป็นขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร ประมาณ 4.88 ล้านตัน (ร้อยละ 18) และในพื้นที่ 76 จังหวด ัประมาณ 22.52 ล้านตัน (ร้อยละ 82) ซึ่งข้อมูลด้านการจัดการขยะในประเทศไทยปี พ.ศ.2560 พบว่า มีสถานที่กำจดขยะมูลัฝอย จำนวนทั้งสิ้น 2,966 แห่ง เปิดดำเนินการ จำนวน 2,665 แห่ง และปิดดำเนินการแล้ว 301 แห่ง โดยมีประสทธภาพของิิระบบ การกำจัดขยะมูลฝอยของสถานที่กำจัดขยะมูลฝอย ที่เปิดดำเนินการ พบว่า ดำเนินการได้อย่างถูกต้อง 740 แหง่ร้อยละ 28 ของสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยที่เปิดดำเนินการทั้งหมด) และดำเนินการไม่ถูกต้อง 2,195 แห่ง (ร้อยละ 72 ของสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยที่เปิดดำเนินการทั้งหมด) (กรมควบคุมมลพิษ, 2560) ทังน ในจังหวัดที่มีปัญหาขยะมูลฝอยตกค้าง้ี ้ในสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยที่ดําเนินการไม่ถูกต้อง จำนวน 20 อันดับแรก คือ ฉะเชิงเทรา นครศรีธรรมราช ขอนแก่น พระนครศรีอยธยา สมุทรปราการ ชลบรี (รวมพื้นที่พัทยา) เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สุราษฎร์ธานี นครราชสมา ุุีแผนงานพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคจากสิ่งแวดล้อม.......................................................

5112 กาญจนบุรี ระยอง ปราจีนบุรี พังงา กระบี่ สงขลา ราชบุรี มหาสารคาม และสระแก้ว (กรมควบคุมมลพิษ, 2559) ประเทศไทยมีจำนวนประชาชนและคนทำงานคัดแยกและรีไซเคิลขยะ โดยเฉพาะใน 8 จังหวัดเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูง ได้แก ่จังหวัดสมุทรปราการ นครศรีธรรมราช กาญจนบุรี พระนครศรีอยุธยา ขอนแก่น บุรีรัมย์ กาฬสินธุ์ และอุบลราชธาน ีโดยมีกลุ่มเสี่ยงโดยประมาณ 20,000 คน (500-3,000 คนต่อจังหวัด) ซึ่งประชาชนกลุ่มนี้อาจมีความเสี่ยงต่อผลกระทบ ทางสุขภาพจากโลหะหนักและสารเคมีตกค้างในร่างกายได้ส่งผลให้เกิดการเจ็บปวยตามมาได้ (กองโรคจากการประกอบอาชพ่ีและสิ่งแวดล้อม, 2558) และข้อมูลผลการคัดกรองความเสียงทางสุขภาพฯ ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพืนที่เสียงปญหาขยะ ่้่ัปงบประมาณ 2560 - 2561 ของกองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม พบว่า ในประชาชนกลุ่มเสี่ยงเป้าหมายที่ได้รับีการคัดกรองทางสุขภาพ พบว่า มีความเสี่ยงด้านสุขภาพในพื้นที่ ร้อยละ 39.51 โดยเป็นความเสี่ยงสูงร้อยละ 55.44 และ ความเสี่ยงต่ำ ร้อยละ 44.56 โดยสถานะด้านสุขภาพจากข้อมูลประชาชนที่มีความเสี่ยง จะตอบเกี่ยวกับอาการที่เกิดขน ึ้ในช่วงทำการคัดกรอง ได้แก่ อาการผื่นคัน ร้อยละ 52.5 อาการน้ำมูก จาม แสบจมูก รวมร้อยละ 27.2 ท้องร่วง ร้อยละ 4.5 อาการปวดศรีษะ ร้อยละ 4.0 ภูมิแพ้ ร้อยละ 4.2 ตาแดง ร้อยละ 3.0 และอาการอื่นๆ เช่น กลิ่นเหม็น /หายใจไม่ออก ร้อยละ 4.4 ทั้งนี้ อาการดงกลาวไม่สามารถระบชดวามาจากแหลงมลพิษขยะ (กองโรคจากการประกอบอาชพและสงแวดลอม, 2561) ัุ่ั่่ีิ ่้และในกรณีที่ประเทศไทยได้มีการพัฒนาในภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องกันมาเป็นเวลาหลายทศวรรษ จากสถิติอุตสาหกรรม ปี 2559 ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม พบว่า มีจำนวนโรงงานทั้งหมด 139,821 โรง และข้อมูลจากการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) มีการบริหารจัดการเป็นรูปแบบนิคมอุตสาหกรรม 55 แห่ง กระจายอยู่ใน 16 จังหวัด (กรมโรงงานอตสาหกรรม, 2559)ุ และจากการตดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ โดยสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศอัตโนมัติิทั่วประเทศ ทั้งหมด 63 สถานี ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ 33 จังหวัดที่ต้องมีการเฝ้าระวังคุณภาพอากาศอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะ เมืองขนาดใหญ่ เขตอุตสาหกรรม พื้นที่เสี่ยงต่อการเผาในที่โล่ง คุณภาพอากาศในปี 2560 สารมลพิษที่ยังเป็นปัญหา คอ ืฝุ่นละออง ( TSP PM10 PM2.5 ) ก๊าซโอโซน (O3) และสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs)โดย ฝุ่นละออง PM10 ตรวจวัดได้ใน ช่วง 3 -268 มคก./ลบ.ม. ค่าสูงสุดเฉลี่ย 114 มคก./ลบ.ม. (ค่ามาตรฐาน 120) ทั้งนี้ ในพื้นที่ที่มีสถานการณ์ มลพิษทางอากาศ ป พ.ศ. 2560 ที่มีปริมาณเข้มข้นมากสุด ได้แก่ ีปญหาหมอกควน 9 จังหวัดภาคเหนือัั ในป 2560 พบค่าฝุ่นละอองสูงสุดอยู่ที่ีจังหวัดลำปาง เท่ากับ 237 มคก./ลบ.ม. ที่จังหวัดเชียงราย จำนวนวันที่ปริมาณฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐานอยู่ที่ 38 วันและ จุดความร้อนสะสมรายจังหวัดอยู่ที่ 5,409 จุด ตำบลพระลาน จังหวัดสระบุรี เป็นปีที่มีปัญหาฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐาน มากที่สุด ปี 2560 จำนวนวันที่ฝุ่นเกินมาตรฐานมากกว่าปี 2559 จาก 89 วน เปน 107 วัน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 20) ค่าที่วดได้อยู่ั็ัระหว่าง 19 - 257 มคก./ลบ.ม. สาเหตุของปัญหาเกิดจากการฟุงกระจายของฝุ่นละอองจากกิจการเหมืองหิน โรงโม่ บดหรือ้ย่อยหิน โรงปูนซิเมนต์ และการคมนาคมขนส่งในพื้นที่ (กรมควบคุมมลพิษ, 2561) จังหวัดระยองมีนิคมอุตสาหกรรม เขตประกอบการอุตสาหกรรม ชุมชนอุตสาหกรรมสวนอุตสาหกรรม รวมทั้งสิ้น 25 แห่ง เมื่อปี พ.ศ. 2552 มีประกาศใหเป็น ้เขตควบคุมมลพิษ ซึ่งกรมควบคุมมลพิษ ได้ทำการตรวจวัดมลพิษอากาศอย่างต่อเนื่อง ซึ่งผลการตรวจวัดมลพิษทางอากาศ โดยเฉพาะสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) บางชนิด เช่น 1,3-บิวทาไดอีน เบนซีน และ1,2-ไดคลอโรอีเทน ยังมีค่าสูงกวา ่ค่ามาตรฐานในสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ หน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่จังหวัดระยอง ได้มีการดูแลสุขภาพของประชาชนในเขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง ภายใต้โครงการตรวจสุขภาพและเฝ้าระวังโรคของประชาชนในเขตควบคุมมลพิษ จังหวัดระยอง กองงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง ได้ดำเนินการตรวจสุขภาพประชาชนตั้งแต่ปี 2553 ถึง ปจจุบัน (ปี 2560) มีการตรวจัสุขภาพประชาชน จำนวนรวมทั้งสิ้น 109,442 คน พบว่า ผลการตรวจสารแปรรูปของสารเบนซีนในปัสสาวะของประชาชน ส่วนใหญ่อยู่ในค่าปกติ คิดเป็นร้อยละ 91.2-98.2 ส่วนกลุ่มที่ต้องเฝ้าระวัง พบว่า อยู่ในช่วงร้อยละ 1.6-6.9 ส่วนกลุ่มที่ผดปกติ ิอยู่ในช่วงร้อยละ 0.2-1.9 ซึ่งกลุ่มที่ผิดปกติได้สอบสวนเฉพาะราย และแนะนำให้งดอาหารที่มีสารกันบูด งดสูบบุหรี่ และ

5123 ให้มาตรวจเพื่อประเมินการสัมผสสารเคมีซ้ำ ั(กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิงแวดล้อม,2561) ่และจากสถานการณ์ปญหาผลกระทบจากมลพษอากาศฝนละอองขนาดเล็ก(PM2.5)ัิุ ่ มีแนวโน้มความรุนแรงมากขึ้นในเมืองใหญ่ ที่เป็นผลมาจากการขยายตัวด้านอุตสาหกรรมและชุมชนเมือง ที่เป็นแหล่งก่อใหเกิดมลพิษทางอากาศ ได้แก่ การคมนาคมที่แออัด อุตสาหกรรม ้ก่อสร้าง และการเผาในที่แจ้ง เป็นต้น ประเทศไทย มีการพัฒนาและเติบโตทางด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรม อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ เมืองใหญ่ๆ เช่น กรุงเทพฯ เชียงใหม่ ขอนแก่น ระยอง ฯลฯ โดยเฉพาะการขยายตัวของพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ทำให้ก่อแหล่งทางอากาศมากขึ้นทุกๆ ปี มลพิษทางอากาศ ซึ่งมีส่วนประกอบของสารพิษ และฝุ่นละอองขนาดเล็กมากที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์อย่างรุนแรง โดยเฉพาะฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) มีขนาดเลกมาก สามารถแพร่กระจายเข้าสู่ทางเดินหายใจจากการสูดดมและเข้าสู่กระแสเลือดได้ ทำให้เกิด็โรคต่างๆ ได้แก่ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) โรคหลอดเลือดสมองอุดตัน (Ischemic stroke) โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน (coronary artery disease ) โรคมะเร็งปอด (Lung cancer) และโรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลัน (Acute respiratory tract) เป็นต้น อย่างก็ตาม ปริมาณฝุ่นอาจไม่ส่งผลให้เกิดโรคได้ในระยะเวลาสั้น แต่หากได้รับสูดดมเป็นเวลานาน ก็ส่งผลต่อสุขภาพรุนแรงได้ หรือ อาจทำให้คนที่เป็นโรคอยู่แล้วมีอาการรุนแรงและเสียชีวิตได้อย่างเฉียบพลัน ดังนัน ้การติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์ผลกระทบสุขภาพจากมลพิษทางอากาศจึงเป็นสิ่งสำคัญ จะช่วยบ่งชี้และประเมินผลกระทบสุขภาพจากมลพิษอากาศที่เกิดขึ้น เพื่อนำไปสู่การจัดทำนโยบายหรือ มาตรการในการควบคุมป้องกันและแก้ไขปัญหา ได้อย่างเหมาะสม จากข้อมูลการสำรวจพบการปนเปื้อนหรือมีสวนผสมสารตะกั่วและภาชนะโภคภัณฑ์และเครื่องเล่นเด็กในจงหวด่ััต่างๆ ที่จำหน่ายในห้างสรรพสินค้าและตลาดทั่วไป พบว่า เครื่องเล่นที่จำหน่ายในห้างสรรพสินค้าและตลาดทั่วไป 1จำนวน 173 ตัวอย่าง พบมีระดับสารตะกั่วสูงกว่าค่าความปลอดภยตามมาตรฐานผลิตภันฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) กำหนด ัจำนวน 31 ชิ้น คิดเป็นร้อยละ 17.9 ของของเล่นที่ตรวจสอบ ซึ่งของเล่น 31 รายการอันตราย มีทั้งของเลน ่ที่มีเครื่องหมาย มอก. และที่ไม่มีเครื่องหมาย มอก. เช่น หน้ากากมาร์ค ไรเดอร์ มีระดับค่าตะกั่วรวม 24,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม สูงกว่าค่ามาตรฐาน มอก. กำหนดที่ 6,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม หรือสูงกว่า 40 เท่า รถแข่งขนาดเล็ก มีระดบ ัค่าตะกั่วรวม 15,200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ลูกบอลพลาสติก ระดับค่าตะกั่วรวม 3,397 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และเกมตกปลาพลาสติก พบสารแบเรียม 1,099 มิลลิกรัม/กิโลกรัม เป็นต้น และข้อมูลผลการทดสอบปริมาณสารตะกั่วในสีนํ้ามัน ทาอาคาร พ.ศ.2558 จำนวน 100 ตัวอย่าง พบมีระดับตะกั่วเกินที่ มอก. กำหนดที่ 100 ppm. จำนวน 62 ตัวอย่าง 2โดยส่วนใหญ่ไม่มีสลากระบุสีปลอดสารตะกัว และจากข้อมูลอัตราปวยด้วยพิษจากสารตะกั่ว พบว่า มีผู้ป่วยด้วยพิษโลหะ่่3หนักกรณีโรคพิษตะกั่ว ในกลุ่มอายุ 0-14 ปี ในปี 2557 อยู่ที่อัตรา 0.142 ต่อแสนประชากร และปัญหาโรคพิษปรอท ที่มักพบในผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า วัสดุและเครื่องมือทางการแพทย์ หากสารปรอทแพร่กระจาย สู่สิ่งแวดล้อม เกิดการสะสมในหวงโซ่อาหาร จะก่อให้เกิดผลกระทบที่อาจแก้ไขได้ยากในอนาคต โดยมีการรับสารปรอท่เข้าสู่ร่างกายอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน 5-10 ปี อาจทำให้ป่วยเป็นโรคพิษจากสารปรอทได้ ซึ่งจากข้อมูลในปี 2557 - 2561 พบผู้ป่วยจากที่ป่วยด้วยโรคพิษจากสารปรอทจำนวน 63 ราย 1 ข้อมูลการศึกษาเครื่องเล่นเด็กในห้างสรรพสินค้าและตลาดทั่วไป,2551. ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก รพ.รามาธิบดี 2 ขอมลผลการทดสอบปรมาณสารตะกั่วในสีนํ้ามันทาอาคาร พ.ศ.2558. มูลนิธิบูรณะนิเวศ. 2558 ู้ิ3 กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. อัตราป่วยพิษสารตะกั่วในประชากร อายุ 0-14 ปี ขอมลระหวางปี 2557-2559. ฐานขอมล Health Data Center (HDC). ูู้่้16 พฤศจิกายน 2560

5134 ทั้งนี้ในระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2558-2561 กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ได้ดำเนินโครงการสำหรับการเฝ้าระวังสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่มลพิษสิ่งแวดล้อม พื้นที่เป้าหมาย 46 จังหวัด ได้แก่ พื้นที่ สคร.1 (เชียงราย ลำปาง เชียงใหม่ แพร่ ลำพูน แม่ฮ่องสอน พะเยา น่าน) สคร.2 (ตาก เพชรบูรณ์ พิษณุโลก) สคร.3 (พิจิตร อุทัยธานี นครสวรรค์) สคร.4 (พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ปทุมธานี) สคร.5 (กาญจนบุรี สมุทรสาคร สุพรรณบุรี เพชรบุรี) สคร.6 (ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ระยอง สมุทรปราการ ตราด สระแก้ว) สคร.7 (กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด ขอนแก่น) สคร.8 (เลย อุดรธานี หนองคาย นครพนม) สคร.9 (บุรีรัมย์ ชัยภูมิ สุรินทร์ นครราชสมา) สคร.10 (อุบลราชธานี มุกดาหาร) สคร.11 (กระบ ีี่นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี) สคร.12 (สงขลา นราธิวาส) พื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะ 20 จังหวัด รวมถึงพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจภาคตะวนออก ซึงมีั่ประชาชนกลุมเสียง จำนวนรวมถง 5,932,464 คน่่ึ และได้รับการเฝาระวงและดูแลสขภาพ ้ัุจำนวน 1,109,683 คน ร้อยละ 18.71 (เมื่อปีงบประมาณ พ.ศ. 2561) และในกรณีปญหาพื้นที่ปญหาที่ประชาชนใหความสนใจัั้ต่อปัญหาด้านสุขภาพที่สำคัญ ได้แก่ พื้นที่ศักยภาพแร่/พื้นที่ประกอบการเหมืองแร่เก่า ได้แก่ พื้นที่เหมืองแร่ทองคำรอยตอ ่3 จังหวัด (พิจิตร เพชรบูรณ์ และพิษณุโลก) พื้นที่เหมืองแร่ทองคำ ทุ่งคำ จังหวัดเลย พื้นที่ปัญหาสารหนูเหมืองแร่เก่า อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี สุพรรณบุรี นครศรีธรรมราช พื้นที่ปัญหาแคดเมียม จังหวัดตาก ซึ่งจากการติดตามการดำเนินงานมุ่งเน้นการค้นหาความเสี่ยงจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม และวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยเสี่ยงและสถานการณ์โรคที่อาจเกี่ยวข้อง แต่ปัจจุบันสถานการณ์โรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อมที่พบในพื้นที่ต่างๆ ยังไม่ชัดเจนและไม่พบการรายงานโรค โดยมีเพียง การเฝาระวงโรคที่อาจจะเกี่ยวข้องในทางอ้อม จึงไม่มีข้อมูลสำหรับการรายงานสถานการณ์โรคและรายงานอย่างต่อเนื่องได้ ้ัซึ่งในปงบประมาณ 2563 มีการดำเนินการในการเฝ้าระวังปจจัยเสี่ยงทางสิ่งแวดล้อม และจัดทำฐานข้อมูลดานอาชวอนามัยีั้ีและสิ่งแวดล้อม (Occupational and Environmental Health Profile : OEHP) พร้อมพัฒนาองค์ความรู้ ถ่ายทอดและสื่อสารความเสี่ยงเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม การพัฒนากลไกขับเคลื่อนงาน สร้างภาคีเครือข่ายและศูนย์ตรวจวิเคราะห์ทางหองปฏิบติการ รวมถึงติดตามผลการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องด้านการเฝาระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและ้ั้ภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ 2564 แผนงานบูรณาการจัดการมลพิษและสิ่งแวดล้อม จะลดระดับเป็นแผนยุทธศาสตร์ทำให้ มีการปรับเปลี่ยนแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติงานจากงบบูรณาการฯ มาดำเนินการผ่านงบประมาณภารกิจ (function) แต่ภารกิจการดูแลสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงยังคงดำเนินการต่อในภาพกิจกรรมในโครงการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม รวมถึงการดำเนินงานขับเคลื่อนกลไกการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภายใต้พระราชบญญตควบคมโรคจากการประกอบอาชพและโรคจากสงแวดลอม พ.ศ. 2562 ััิุีิ่้2. วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนากลไกระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับบริบทด้านเศรษฐกิจ และสังคม ของประเทศ 3. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง และสถานที่/พื้นที่ดำเนินการ ภารกิจพื้นฐาน (Function) ขยะ 1มลพิษอากาศ 2การทำ OEHP จังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงพื้นที่เป้าหมาย พื้นที่เป้าหมาย: พื้นที่เป้าหมาย

5145 4. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ป (2561-2565) ี(กรณีมีเป้าหมายตามข้อตกลงหรือพันธะสัญญาระหว่างประเทศ/ระดับประเทศ ในระยะ 10 ปี, 15 ปี และ 20 ปี ให้ระบุเพิ่มด้วย) เป้าหมายลดโรค - ลดอัตราป่วยโรคพิษตะกั่วในเด็ก อายุ 0-14 ปี <0.03/แสนประชากร - จังหวัดมีระบบจัดการปจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ (ตัวชวัดกระทรวงฯ ร่วมกับกรมัี้อนามัย) ต้องรอกรมอนามัย เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2562 2561 2562 2563 2564 2565 งบประมาณ (ด้านขยะ) 1. จำนวนจังหวัดมีระบบการดูแลและจัดการปัญหาสุขภาพฯ ในพื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะ - - - (34 จังหวัด) (ดำเนินงานได้ตามเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน)- - 2. เกณฑ์มาตรฐานการตรวจ มีคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพฯ ในพื้นที่เสี่ยงมลพิษขยะ - - -1 เกณฑ์มาตรฐาน- - รวม 33 จังหวัด เพชรบูรณ์,ปทุมธาน,ีพระนครศรีอยุธยา,ลพบุร, ีสระบุร,ราชบุรี,กาญจนบุร ีีสพรรณบุรี,นครปฐม,ุสมุทรสาคร,เพชรบุร, ีประจวบคีรีขันธ์, สมุทรปราการ, ชลบุร, ระยอง ีตราด ,ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุร, ีสระแก้ว, ขอนแก่น, มหาสารคาม, ร้อยเอ็ด,กาฬสินธุ์,นครราชสีมา,บุรีรัมย์ ,ชัยภูมิ อุบลราชธาน,ีนครศรีธรรมราช,กระบี่ , พังงา, สุราษฎร์ธาน ีสงขลา,ตรง ั(ภาคผนวก 2) พื้นที่เป้าหมาย:รวม 26 จังหวัด ดังนี้ เชียงใหม่ เชียงราย แพร่ ลำพูน แม่ฮ่องสอน พะเยา น่าน ลำปาง ตาก สระบุรี ระยอง สุราษฏร์ธานี ภูเก็ต พังงา สงขลา นราธิวาส ยะลา สตูล ปัตตานี นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร และพระนครศรีอยุธยา กรุงเทพมหานคร(ภาคผนวก 2)55 จังหวัดสมุทรสาคร,สมุทรปราการ,สระบุรี ,ระยองพระนครศรีอยุธยา,ปทุมธานี,นครปฐม, สุราษฎร์ธานี,สุพรรณบุรี สงขลา ,ราชบุรี,เพชรบูรณ ์เพชรบุรี,พังงา,นนทบุรี, กทม.,นครศรีธรรมราช ตาก,ชลบุรี,ฉะเชิงเทรา กาญจนบุรี,อุบลราชธานี อุทัยธานี,อุดรธานี,สระแก้ว ,สตูล, เลย , ลำพูน ลำปาง , ลพบุรี, ร้อยเอ็ด, ยะลา, แม่ฮ่องสอน มหาสารคาม, ภูเก็ต,พิษณุโลก, พิจิตร ,พะเยา ปัตตานี,ปราจีนบุรี, ประจวบคีรีขันธ์, บุรีรัมย์,นราธิวาส, นครราชสีมา ตราด,ตรัง, เชียงใหม,เชียงราย ,ชัยภูม,่ิชัยนาท,ขอนแก่น,กาฬสินธุ์,กระบี่ แพร่ , น่าน (ภาคผนวก 1) 77 จังหวัด (ภาคผนวก 3)

5156 เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2562 2561 2562 2563 2564 2565 งบประมาณ (ด้านมลพิษอากาศ) 1. จำนวนจังหวัดมีระบบเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนในพื้นที่เสี่ยงปัญหามลพิษทางอากาศฯ (19 จังหวัด) (ดำเนินงานได้ตามเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน)- (19 จังหวัด) (ดำเนินงานได้ตามเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน)(26จังหวัด+กทม.) (ดำเนินงานได้ตามเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน)- - 2. มีระบบและเครื่องมือเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ จากมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) (มีข้อมูลฝุ่น + สถิติโรค) - - -1 ระบบ ((26 จว. +กทม.)- - 3. มีเครือข่ายเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็ก - - -22 จังหวัด (คกกง/คทง. ทีเกียวของ ่่้1 คณะต่อจังหวัด)- - งบประมาณปฏิบัติการ (งบ Function)1. ร้อยละของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ (ตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข 20 ปี)ร้อยละ 100 ของจังหวัด ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน- ร้อยละ 100 ร้อยละ 70 ของจังหวัด ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐานของจังหวัด ผานเกณฑ์่ระดับดี- - 2. จำนวนจังหวัดที่จัดทำข้อมูลพื้นฐานด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม (Occupational and Environmental Health Profile : OEHP) 24 จังหวัด 13 จังหวัด 24 จังหวัด 36 จังหวัด - - 3. จำนวนจังหวัดพื้นที่เสี่ยงปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม มีระบบข้อมูลพื้นฐานด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม (Occupational and Environmental Health Profile : OEHP) ในการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพประเด็นสำคัญ - - - - 24 จังหวัด 36 จังหวัด

51675.มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่สำคัญ ในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผู้ดำเนินการ มาตรการ/Service Provider กองฯ สคร./สปคม. จังหวัด อำเภอ โรงพยาบาล มาตรการที่ 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขภาพในพื้นที่เสี่ยงมลพิษอากาศ งบบูรณาการ (ด้านมลพิษอากาศ)1.ถ่ายทอดไปสู่จังหวัดเป้าหมายใ2.พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ ในการจัดทำข้อมูลเพื่อเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ 1.ผลักดันเกณฑ์จังหวัดมีระบบ เฝ้าระวังสุขภาพประชาชนในพื้นที่เสี่ยงปัญหามลพิษทางอากาศฯ ให้อยู่ในระดับที่ ดี และดีมาก ใน 19 จังหวัดเดิม และมีการประเมิน กำกับ ติดตาม ภายใต้เกณฑ์และแนวทางการดำเนินงาน ให้บรรลุตามเป้าหมายที่ก2.วิเคราะห์และสรุปสถานการณ์มลพิษอากาศในแต่ละจังหวัดวิเคราะห์และสรุปสถานการณ์มลพิษอากาศแต่ละปี สถานการณ์ 5 กลุ่มโรค ที่เกี่ยวกับมลพิษอากาศ จำนวนผู้ป่วย มาตรการเฝ้าระวัง และการเตรียมความพร้อม ที่ได้ดำเนินการอยู่วิเคราะห์สถานการณ์ใสรุปรายงานจำนวนผู้ป่วยกลุ่มโรคเฝ้าระวัง เป็นรายไตรมาส (เกณฑ์การนับอาจจะเป็นเลขรหัส *** ไม่นับคนซ้ำ)มาตรการที่ 2 พัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขภาพในพื้นที่เสี่ยงมลพิษขยะและสิ่งแวดล้อม งบบูรณาการ (ด้านขยะ) (จัดทำเกณฑ์ ปี 62) 1.ถ่ายทอดเกณฑ์การประเมินจังหวัดมีระบบเฝ้าระวังสุขภาพและจัดการปัญหาสุขภาพฯ ในพื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะ ให้ สคร. 2.ขับเคลื่อน เกณฑ์มาตรฐานการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพฯ ในพื้นที่เสี่ยงมลพิษขยะ 1.ถ่ายทอดเกณฑ์การประเมินจังหวัดมีระบบเฝ้าระวังสุขภาพและจัดการปัญหาสุขภาพฯ ในพื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะ ให้ จังหวัด และ มีการประเมิน กำกับ ติดตาม ภายใต้เกณฑ์และแนวทางการดำเนินงาน ให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ 2.ผลักดันเกณฑ์ฯ ให้เกิดการปฏิบัติในระดับจังหวัดเพื่อแก้ไขปัญหาฯ ถ่ายทอดเกณฑ์การประเมินจังหวัดมีระบบเฝ้าระวังสุขภาพและจัดการปัญหาสุขภาพฯ ในพื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะให้ อำเภอ ถ่ายทอดเกณฑ์การประเมินจังหวัดมีระบบเฝ้าระวังสุขภาพและจัดการปัญหาสุขภาพฯ ในพื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะ ให้ ท้องถิ่น -มาตรการที่ 3 การพัฒนาระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม1.ประสาน ผู้กำกับงบประมาณ สป. เพื่อให้แหล่งทุนในการ งบประมาณสนับสนุนของจังหวัด เฝ้าระวังสุขภาพ ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงเหมืองทอง 1.ประสานและขับเคลื่อนเรื่องการขอ1.จัดทำแผนงานเฝ้าระวังสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม เสนอ สป. เพื่อขออนุมัติเงินงบประมาณ --

5178มาตรการ/Service Provider กองฯ สคร./สปคม. จังหวัด อำเภอ โรงพยาบาล งบประมาณปฏิบัติการ (2.สนับสนุนการจัดทำ และพัฒนา OEHP ในพื้นที่ใหม่ที่สนใจ 3.ทำหลักสูตร OEHP ที่มีมาตรฐาน เพื่อให้ สคร. ถ่ายทอดต่อได้จัดเก็บข้อมูล ให้ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ และพัฒนาข้อมูลให้มีชีวิต 4.วิเคราะห์ปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ จำเป็นในภาพประเทศ /ศึกษาสถานการณ์ระดับสารตะกั่วในเลือดของเด็กเล็ก และระดับความเสี่ยงการรับสัมผัสสารตะกั่ว/สถานการณ์การสัมผัสมลพิษสิ่งแวดล้อมอื่นๆ และจัดทำแนวทาง/มาตรการ ถ่ายทอดสู่ สคร. เพื่อจัดทำแนวทางการดูแลประชาชนกลุ่มเสี่ยงในระดับเขตต่อไป 2.ตั้งงบเพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน OEHP ในพื้นที่ พัฒนานวัตกรรม เพื่อการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ 3.ผลักดันนวัตกรรมให้กับหน่วยงานในพื้นที่รับผิดชอบ ให้มีการดำเนินงานเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ และสรุปสถานการณ์ภาพรวมเขต 4.ประสานหน่วยงานเครือข่ายผลักดัน ขับเคลื่อนการดำเนินงานเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม (ตามประเด็น) ในจังหวัดในเขตรับผิดชอบ และติดตามประเมินผลการดำเนินงาน สรุปผลรายงานส่วนกลาง / ผู้บริหาร และจัดทำแผนงานในปีงบประมาณต่อไป 2.สนับสนุนและเอื้อให้บุคคลากรที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทำและพัฒนา OEHP 3.พัฒนานวัตกรรม เพื่อการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ 4.ดำเนินงานเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมตามปัญหาสำคัญ เร่งด่วนในพื้นที่ มีการติดตามประเมินผล และจัดทำแผนงาน/มาตรการในระยะยาวสำหรับงบประมาณปีต่อไป สนับสนุนและเอื้อให้บุคคลากรที่เกี่ยวข้อง ในการให้ข้อมูลเพื่อการจัดทำและพัฒนา OEHP 4.สนับสนุนและเอื้อให้บุคคลากรที่เกี่ยวข้องเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม สนับสนุนและเอื้อให้บุคคลากรที่เกี่ยวข้อง ในการให้ข้อมูลเพื่อการจัดทำและพัฒนา OEHP 4.สนับสนุนและเอื้อให้บุคคลากรที่เกี่ยวข้องเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม

51896.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หกรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขภาพในพื้นที่เสี่ยงมลพิษอากาศ งบบูรณาการ : การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แผนยุทธศาสตร์ชาติ : ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ภายใต้แผนแม่บทที่ 18: การสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน แผนย่อยจัดการมลพิษที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสารเคมีในภาคเกษตรทั้งระบบให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล (1) โครงการคุ้มครอง เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่เสี่ยงมลพิษอากาศโครงการย่อยที่ 1 การพัฒนาระบบ กลไกและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่เสี่ยงมลพิษทางอากาศ กอาชีพและสิ่งแวดล้อม/กองระบาดวิทยา 0.55 0.55 --1.10 งบบูรณาการการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เสิ่งแวดล้อม 1. 26 จังหวัดมีระบบ เฝ้าระวังสุขภาพฯ 2.มีระบบและเครื่องมือเฝ้าระวังฯ PM 2.5 1 ระบบ 3. 22 เครือข่าย (จังหวัด) 1. จำนวนจังหวัดมีระบบเฝ้าระวงสุขภาพประชาชนัในพื้นที่เสี่ยงปัญหามลพิษท2. มีระบบและเครื่องมือเฝ้าระวงโรคและภัยสุขภาพ ัจากมลพิษฝุนละออง ่ขนาดเล็ก (PM2.5) 3. มีเครือข่ายเฝ้าระวังทางระบาดวทยาโรคและภัยิสุขภาพจากมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็ก โครงการย่อยที่ 2 การพัฒนา องค์ความรู้และข้อมูลเพื่อสนับสนุนการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนในพื้นที่เสี่ยงมลพิษ ทกอาชีพและสิ่งแวดล้อม 0.55 0.55 --1.10 โครงการย่อยที่ 3 การพัฒนาห้องปฏิบัติการเพื่อรองรับการดำเนินงานเฝ้าระวังสุขภาพในประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อมกรณีฝุ่นละอองขนาดเล็กและสารเคมีในอากาศ ก/ศูนย์พัฒนา อาชีวอนามัยจังหวัดระยอง และศูนย์อ้างอิงทพิษวิทยา 0.2 0.2 --0.40 งบบูรณาการการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อ สจำนวน 1 เรื่อง มีผลการพัฒนาหฯ

51910 มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หกรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน โครงการย่อยที่ 4 การพัฒนาระบบ เฝ้าระวังทางระบาดวิทยาโรคและ ภัยสุขภาพจากมลพิษฝุ่นละออง ขนาดเล็ก (PM2.5) พืนที้่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล หลัก : กองระบาดวิทยา ร่วม : กองโรคจากการปสิ่งแวดล้อม. 0.97 0.97 --1.94 งบบูรณาการการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อ ส22 จังหวัด มีเครือข่ายเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็กพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โครงการย่อยที่ 5 การสนับสนุนการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายการดูแลและเฝ้าระวังสุขภาพในระดับจังหวัดผ่านกองงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) และ สถาบันป้องกันควบคุมโรค เขตเมือง สป้องกันควบคุมโรค เขตเมือง 3.9 3.9 --7.80 งบบูรณาการกการเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อ ส1 เรือง ่รายงานสรุปขอมูลผลการ้สนับสนุนการดำเนินงานฯ มาตรการที่ 2 การพัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขภาพในพื้นที่เสี่ยงมลพิษขยะและสิ่งแวดล้อม (1) โครงการคุ้มครอง เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนในพื้นที่เสี่ยงมลพิษขยะและสิ่งแวดล้อม โครงการย่อยที่ 1 การพัฒนากลไกและภาคีเครือข่ายเพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ประกอบอาชีพสัมผัสขยะในพื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะและมลพิษสิ่งแวดล้อม กกลุมพัฒนามาตรการ/่งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม -1.16 --1.16 งบบูรณาการมลพิษขยะแสิ่งแวดล้อม 1. 34 จังหวัด (ผ่านเกณฑ์) 2.มี 1 เกณฑ์มาตรฐานฯ ปัญหาสุขภาพฯ ในพื้นที่1 . จำนวนจังหวัดมีระบบการดูแลและจัดการเสี่ยงปัญหาขยะ 2. มีเกณฑ์มาตรฐาน การตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังฯ สุขภาพฯ ในพื้นที่เสี่ยงมลพิษขยะ โครงการย่อยที่ 2 การพัฒนาฐานข้อมูลและเชื่อมโยงระบบการเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงและ กกลุมพัฒนามาตรการ/่-0.5 --0.50 งบบูรณาการมลพิษขยะ1 เรือง ่มีฐานข้อมูล และการประเมินความเสี่ยงและ

52011 มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หกรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน ผู้ประกอบอาชีพสัมผัสขยะในพื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะและมลพิษสิ่งแวดล้อม งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม แสิ่งแวดล้อม ผูประกอบอาชีพสัมผัส้ขโครงการย่อยที่ 3 การพัฒนาแนวทางและระบบการดูแลสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ประกอบอาชีพสัมผัสขยะและมลพิษสิ่งแวดล้อม กกลุมพัฒนามาตรการ/่งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม -0.4 --0.40 งบบูรณาการมลพิษขยะแสิ่งแวดล้อม 1 เรือง ่ การดูแลสุขภาพฯ โครงการย่อยที่ 4 การพัฒนาสื่อและกิจกรรมรณรงค์เพื่อการเฝ้าระวังสุขภาพในประชาชนกลุ่มเสี่ยงและ ผู้ประกอบอาชีพสัมผัสขยะในพื้นที่เสี่ยงมลพิษขยะและมลพิษสิ่งแวดล้อม กกลุมพัฒนามาตรการและ่ง่-0.3 --0.30 งบบูรณาการมลพิษขยะแสิ่งแวดล้อม 1 เรื่อง มีการผลิตสื่อและ จัดกิจกรรมรณรงค์ฯ โครงการย่อยที่ 5 การพัฒนา ห้องปฏิบัติการให้มีศักยภาพในการสสุขภาพในประชาชนกลุ่มเสี่ยงและ ผู้ประกอบอาชีพสัมผัสขยะใน พื้นที่เสี่ยงมลพิษขยะและมลพิษสิ่งแวดล้อม ก. Env.- Occ./ศูนย์พัฒนาอาชีวอนามัยจังหวัดระยอง และ ศูนย์อ้างอิงทางหพิษวิทยา-5.53 --5.53 งบบูรณาการมลพิษขยะแสิ่งแวดล้อม 1 เรือง ่มีสรุปรายงานผลการพัฒนาห้องปฏิบัติการให้มีศักยภาพในการสนับสนุนกโครงการย่อยที่ 6 การสนับสนุนการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายการดูแลและเฝ้าระวังสุขภาพในระดับจังหวัดผ่านกองงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) และ สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเ(สคร.) และ สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเ-6.8 --6.80 งบบูรณาการมลพิษขยะแสิ่งแวดล้อม 1 เรือง ่มีผลการสนับสนุนการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายการดูแลและเฝ้าระวังสุขภาพในระดับจังหวัดผ่านกองงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) และ สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง

52112 มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หกรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน แผนปฏิบัติราชการงบประมาณภารกิจพื้นฐาน (Function Budget) 1.แผนงานเฝ้าระวังและคุ้มครองสุขภาพประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ปี 63 รวม 7,821,500 บาท โครงการย่อยที่ 1 การพัฒนากลไกและภาคีเครือข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง กกลุมพัฒนามาตรการ ่งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 0.1 0.1 -0.20 งบ Function ร้อยละ 70 อยู่ในระดับดีขึ้นไปตามเกณฑ์ที่กร้อยละของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ โครงการย่อยที่ 2 การพัฒนา แนวทางการเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนในพื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อมตามประเด็นปัญหาสำคัญ ก. Env.- Occ. กลุมพัฒนามาตรการ ่งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 0.8 0.8 -1.60 งบ Function 1 เรือง ่มีแนวทางการเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนฯ โครงการย่อยที่ 3 การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากปัญหาโรคพิษสารตะกั่วในสิ่งแวดล้อม กกลุมพัฒนามาตรการ ่งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 2.38 2.38 --4.76 งบ Function 1 เรือง ่1.มีฐานข้อมูลกุมารแพทย์ 2 รายงานการตรวจคัดกรองสุขภาพกลุ่มเสี่ยง โครงการย่อยที่ 4 การพัฒนาระบบ เฝ้าระวังจากข้อมูลพื้นฐานด้าน อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม (Occupational and Environmental Health Profile : OEHP) ในพื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อม (กลุ่มพัฒนามาตรการ งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม) กกลุมพัฒนามาตรการ ่งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 1.54 1.54 --3.08 งบ Function 36 จังหวัด มีรายงานข้อมูลพื้นฐานด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม โครงการย่อยที่ 5 การสนับสนุน การดำเนินงาน และคุ้มครองสุขภาพประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจาก เหมืองแร่ทองคำในพื้นที่รอยต่อ กกลุมพัฒนามาตรการ ่งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 2.7 2.7 --5.40 งบ Function 1 เรือง ่มีรายงานสรุปผลการส

52213 มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หกรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน 3 จังหวัดและจังหวัดเลย (กลุ่มพัฒนามาตรการ งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม) และคุ้มครองสุขภาพปโครงการย่อยที่ 6 การสนับสนุน ติดตาม เสริมสร้างความเข้มแข็งหน่วยงานเครือข่ายในการเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนในพื้นที่มลพิษสิ่งแวดล้อม (กลุ่มพัฒนามาตรการ งานเวชศาสตร์สิงแวดล้อม) ่กกลุมพัฒนามาตรการ ่งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 0.3 0.3 0.60 งบ Function 1 เรือง ่มีรายงานสรุปผลการสนับสนุน ติดตาม เสริมสร้างความเข้มแข็งหน่วยงานเครือข่ายในก2.วัสดุวิทยาศาสตร์และสารเคมีเพื่อสนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อม ภาพรวมโครงการ ศูนย์อ้างอิงทางหพิษวิทยา 4.754.75 -งบ Function 3. แผนงานเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ปี 64 รวม 10,150,000 บาท โครงการย่อยที่ 1 การพัฒนากลไกและภาคีเครือข่ายการ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ก. Env.- Occ. กลุ่มพัฒนามาตรการ งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม ---448.10 งบ Function 1 ระบบ/กลไก มีกลไกการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ภายใต้อนุบัญญัติประกาศชื่อหรืออาการสำคัญของโรคจากสิ่งแวดล้อม ประเด็นโลหะหนัก และมลพิษอากาศ กิจกรรมหลัก 1.1 การประชุมราชการเพื่อพัฒนากลไกและภาคีเครือข่าย การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 0.35 0.35 0.70 1 กลไก มีกลไก และหน่วยงานเครือข่ายดำเนินงาน เฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในประเด็นสำคัญ

52314 มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หกรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน กิจกรรมหลัก 1.2 การประชุม เชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ กสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 0.50 0.50 1.00 1 เรื่อง มีผลการพัฒนาศักยภาพหน่วยงานเครือข่ายในการดำเนินการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม กิจกรรมหลัก 1.3 การติดตามสนับสนุน เสริมกำลังหน่วยงาน เพื่อการดำเนินการเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนในพื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อม งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 0.4 0.4 0.80 1 เรือง ่มีรายงานสรุปผลการติดตามสนับสนุน เสริมกำลังหน่วยงาน ฯ กิจกรรมหลัก 1.4 การสนับสนุนทางห้องปฏิบัติการในการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างทางชีวภาพ และสิ่งแวดล้อม ในคัดกรอง และเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนสำหรับพื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อมตามประเด็นปัญหาสำคัญ /กรณีร้องเรียน/สอบสวนโรค ศูนย์อ้างอิง 1.20 1.20 2.40 อย่างน้อย 2,000 ตัวอย่าง จำนวนรายบริการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมหลัก 1.5 การสนับสนุน เสริมกำลังหน่วยงานเครือข่ายในการดอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม ก0.3 0.3 0.60 1 เรือง ่มีรายงานการสนับสนุนเสริมกำลังหน่วยงานเครือข่ายในการดำเนินการสอบสวนโรคด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมหลัก 1.6 การดำเนินการ งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม/งานสือสารฯ ่1.3 1.3 2.60 1.สื่อการเฝ้าระวังสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม (ประเด็น) 1.มีการสื่อการเฝ้าระวังสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม (ประเด็น)

52415 มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หกรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน ผลิตสือ กิจกรรมรณรงค์ เผยแพร่่ประชาสัมพันธ์ (ประเด็นมลพิษสิ่งแวดล้อมสำคัญ) 2. การรณรงค์วัน สวล earth day 5 มิย 2. มีการรณรงค์วัน สวล earth day 5 มิย โครงการย่อยที่ 2 การสนับสนุนการเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนในพื้นที่เฉพาะ ก. Env.- Occ. กลุ่มพัฒนามาตรการ งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 337งบ Functionกิจกรรมหลัก 2.1 การประชุมราชการเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่รอยต่อ 3 จังหวัดและจังหวัดเลย งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 0.4 0.4 0.80 1มีกลไลการขับเคลื่อนการดสุขภาพ/มาตรการดูแล/การเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อม และการคืนข้อมูล สื่อสารความเสี่ยงให้กับปกิจกรรมหลัก 2.2 การสนับสนุนบริการตรวจสุขภาพประชาชนในการตรวจหาโลหะหนักในคนที่เสี่ยงต่อการสัมผัสสารเคมี (Arsenic; As & Thiocyanate; CN) งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม/ศูนย์อ้างอิงฯ 2.9 2.9 5.80 1,500 คน จำนวนคนที่ได้รับการตกิจกรรมหลัก 2.3 การติดตาม สสุขภาพประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เฉพาะ งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 0.3 0.3 0.60 1 เรือง ่มีรายงานสรุปผลการติดตาม สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังฯ

52516 มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หกรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน โครงการย่อยที่ 3 การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมประเด็นสำคัญ ก. Env.- Occ. กลุ่มพัฒนามาตรการ งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 11.43 2งบ Functionร้อยละ 100 แนวทางการตรวจคัดกรองปัจจัยเสี่ยงฯร้อยละความสำเร็จในการพคัดกรองปัจจัยเสี่ยงผลกระทบต่อสุขภาพเด็กจากการรับสัมผัสสารตะกั่วในคลินิกสุขภาพเด็กดี (Well Child Cกิจกรรมหลัก 3.1 การประชุมราชการเพื่อจัดทำแนวทางการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมประเด็นสำคัญ งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 0.26 0.26 0.52 1 เรือง ่มแนวทาง/ระบบ/กลไล/มาตรการในการเฝ้าระวงัผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม(เชิงประเด็น) เช่น ขยะ /กิจกรรมหลัก 3.2 การสำรวจ และ นำร่อง ท้องถิ่นต้นแบบในการดูแลสุขภาพผู้ปฏิบัติงานด้านจัดการมูลฝอย งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม/งานอาชีว อนามัย 0.18 0.18 0.36 1 เรื่อง *ดำเนินการต่อจากตัวชี้วัดเดิมงบบูรณาการมลพิษสิ่งแวดล้อม มีแนวปฏิบัติในการดูแลสุขภาพผู้ปฏิบัติงานด้านการจัดการมูลฝอยของหน่วยงานท้องถิ่น กิจกรรมหลัก 3.3 การสำรวจสถานการณ์ระดับสารตะกั่วในเลือดงานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 0.25 0.25 0.50 1 เรือง ่มีสถานการณ์ระดับสารตะกั่วในเลือดของเด็กเล็ก

52617 มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หกรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน ของเด็กเล็กที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ (Learning Disability, LD) ที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ (LD) กิจกรรมหลัก 3.4 การประชุม เชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาระบบ เฝ้าระวังจากข้อมูลพื้นฐานด้าน อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม (Occupational and Environmental Health Profile : OEHP) ในพื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อม งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 0.50 0.50 1.00 24 จังหวัด จำนวนจังหวัดพื้นที่เสี่ยงปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม มีระบบข้อมูล (OEHP) ในการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพประเด็นสำคัญ กิจกรรมหลัก 3.5 การติดตามสป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมประเด็นสำคัญ งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 0.24 0.24 0.48 1 เรือง ่มีรายงานผลการดำเนินงาน ติดตามสเกิจกรรมหลัก 3.6 การขับเคลื่อนการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมประเด็นสำคัญผ่านการดำเนินงาน OEHP ระดับเขต (โอนให้ สคร. )งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 0.6 0.6 1.2 1 เรื่อง สคร.ละ 50,000เพื่อดำเนินการขับเคลื่อน (OEHP) เพื่อพัฒนาการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในระดับเขต มีรายงานสรุปผลขับเคลื่อนการ การดป้องกันควบคุมโรค

52718 มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หกรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน โครงการย่อยที่ 4 โครงการพัฒนานวัตกรรมและการขับเคลื่อนงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ก. Env.- Occ. กลุ่มพัฒนามาตรการ งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 112งบ Function1 เรื่อง มีการพัฒนาศักยภาพในกผลกระทบต่อสุขภาพและการจัดทำฐานขอมูล ้จากมลพิษสิ่งแวดล้อมที่สำคัญในพื้นที่ให้กับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานเครือข่าย เน้นประเด็นมลพิษอากาศ โลหะหนัก กิจกรรมหลัก 4.1 การพัฒนานวตกรรมเพื่อการเตือนภัยจาก ัความร้อนและมาตรการรับมือในแต่ละระดับการเตือนภัย (Application) จ้างเหมา ดร.พญ.ชุลีกร / งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 0.50 0.50 1.00 1 ระบบ มีระบบเตือนภัยจาก ความร้อน พร้อมคำแนะนำใกิจกรรมหลัก 4.2 การนำร่องการใช้เกณฑ์การระดับการเตือนภัย และมาตรการรับมือในแต่ละระดับการเตือนภัย (กลุ่มเสี่ยงทหาร 3 ค่าย) ดร.พญ.ชุลีกร / งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม/ งานอาชีวอนามัย 0.07 0.07 0.14 1 เกณฑ์ฯ มีเกณฑ์ระดับการเตือนภัยจากความร้อน และมาตรการรับมือจาก ความร้อนในกลุ่มเสี่ยง กิจกรรมหลัก 4.3 การพัฒนาระบบโครงสร้างข้อมูลพื้นฐานด้าน อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม (Occupational and Environmental Health Profile : OEHP) เพื่อเฝ้าระวังสุขภาพงานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 0.5 0.5 1.00 1 เรื่อง มีรายงานผลการพัฒนารพื้นฐานด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมฯ

52819 มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หกรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อมตามประเด็นปัญหาสำคัญ (จ้างเหมา) โครงการย่อยที่ 5 การพัฒนาศักยภาพการเป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิงและสุขศาสตร์อุตสาหกรรม ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมที่มีมาตรฐานและผ่านการรับรองระบบคณภาพตามมาตรฐานสากล ุกศูนย์อ้างอิงทางห2.69 2.69 5.38 งบ Function 1 เรื่อง มีการพัฒนาศักยภาพหเครื่องมือสุขศาสตร์อุตสาหกรรม ในการสนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม กิจกรรมหลักที่ 5.1 การพัฒนาและธำรงรักษาสถานภาพห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานสากล เพือสนับสนุนการ่ตรวจวิเคราะห์เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพจากการรับสัมผัสมลพิษสิ่งแวดล้อม ศูนย์อ้างอิงทางหพิษวิทยา 0.71 01.42 1 เรื่อง มีรายงานผลการดกิจกรรมหลักที่ 5.2 การพัฒนาเทคโนโลยี วิธีการตรวจวิเคราะห์สารพิษชนิดใหม่ (Polybrominated diphenyl ethers, PBDEs) ตัวอย่าง สวล. เพื่อสนับสนุนการเฝ้าระวังและคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพจากมลพิษ สวล. (สนับสนุนกิจกรรมตาม “อนุสัญญาสตอกโฮล์ม”) ศูนย์อ้างอิงทางหพิษวิทยา 1.93 1.93 3.86 1 เรื่อง มีเทคโนโลยี วิธีการตรวจวิเคราะห์สารพิษชนิดใหม่ 1 อย่าง

52920 มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หกรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน กิจกรรมหลักที่ 5.3 การประชุมราชการเพื่อพัฒนางานด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม งานสุขศาสตร์อุตสาหกรรม 0.03 0.03 0.06 1 เรื่อง มีรายงานการประชุม กิจกรรมหลักที่ 5.4 การพัฒนาศักยภาพงานด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม งานสุขศาสตร์อุตสาหกรรม 0.02 0.02 0.04 1 เรื่อง มีรายงานการพัฒนาศักยภาพงานด้านสุขศาสตร์ฯ โครงการย่อยที่ 6 การขับเคลื่อนการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมประเด็นสำคัญผ่านการดำเนินงาน OEHP ระดับเขต (โอนให้ สคร. )งานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 0.6 0.6 1.2 1 เรื่อง สคร.ละ 50,000เพื่อดำเนินการขับเคลื่อน (OEHP) เพื่อพัฒนาการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในระดับเขต มีรายงานสรุปผลขับเคลื่อนการ การดป้องกันควบคุมโรค 4.วัสดุวิทยาศาสตร์และสารเคมีเพื่อสนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อม ปี 2564 ภาพรวมโครงการ ศูนย์อ้างอิงทางหพิษวิทยา 4.754.75 3.1 3.1 15.7 งบ Function

53021 7.แผนการติดตามประเมินผลร (ระดับมาตรการ/แผนงาน/โครงการหลัก) มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2560 2561 2562 2563 2564 มาตรการที่ 1 : กลไกการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ภายใต้อนุบัญญัติประกาศชื่อหรืออาการสำคัญของโรคจากสิ่งแวดล้อม สคร. สสจ. 1.การประชุมราชการภายใต้คณะกรรมการ/คณะทำงาน 2้3.เอกสารสรุปผลการดำเนินงานสิ้นปีงบประมาณ รายไตรมาส (ไตรมาส ที่ 1-4)มาตรการที่ 2 : การพัฒนาระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม สคร. สสจ. สสอ. รพ. 1. เอกสารรายงานความกาวหน้ารายไตรมาส ้2. เอกสารสรุปผลการดำเนินงาน สิ้นปีงบประมาณ รายไตรมาส (ไตรมาส ที่ 1-4)รายไตรมาส (ไตรมาส ที่ 1-4)รายไตรมาส (ไตรมาส ที่ 1-4) รายไตรมาส (ไตรมาส ที่ 1-4) รายไตรมาส (ไตรมาส ที่ 1-4)

53122 8. ผู้รับผิดชอบแผนงาน PM แผนงานโรค ได้แก่ กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ ศูนย์พัฒนาวิชาการอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม จ.สมุทรปราการ กรมควบคุมโรค 8.1 ผู้รับผิดชอบโครงการ (อำนวยการ) ดร.พญ.ฉันทนา ผดุงทศ ผู้อำนวยการกองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3858 E-mail: [email protected] 8.2 ผู้รับผิดชอบโครงการ 1) นายณัฐพงศ์ แหละหมัน นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ผู้ช่วยผู้อำนวยการฯ กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3865 E-mail: [email protected] 2) นางสาวภัทรินทร์ คณะมี นักวิชาการสาธารณสุขปฏบัติการ หัวหน้างานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม ิกองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3865 E-mail : [email protected]

53324 ที่มา :(1) ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาพื้นที่มลพิษสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 (2) ข้อมูลพื้นที่เป้าหมายการดำเนินงานโครงการฯ บูรณาการกรมควบคุมมลพิษ พ.ศ.25631. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง ปัญหาขยะ ปัญหาขยะมูลฝอยตกค้าง จำนวน 30 จังหวัด (ฐานข้อมูลกรมควบคุมมลพิษ ปี พ.ศ.2559) ขยะอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 3 จังหวัด การจัดการกากของเสียอุตสาหกรรม ขยะรีไซเคิล และ, , ของเสียอันตราย จำนวน 8 จังหวัด (ฐานข้อมูลข่าวมูลนิธิบูรณะนิเวศ พ.ศ.2561)2. ปัญหามลพิษอากาศพื้นที่เป้าหมายในการดำเนินงานรวม 26 จังหวัด3. พื้นที่เสี่ยงจากมลพิษ สารเคมี และสารอันตราย เหมืองทอง (4 จังหวัด) เหมืองเก่า (5 จังหวัด) เหมืองโปแตช (2 จังหวัด), , ภาคผนวกที่ 1 ปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม(ขยะ มลพิษอากาศ หมอกควัน และสารเคมี(เหมือง) 55 จังหวัด จำแนกรายจังหวัด ดูข้อมูลรายจังหวัดอ้างอิงตามตารางที่ 1

53425 ตารางที่ 1 พื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อมปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม(ขยะ มลพิษอากาศ หมอกควัน และ สารเคมี(เหมือง) จำนวน 55 จังหวัด จำแนกตามเขตกองงานป้องกันควบคุมโรค เขตพื้นที่ ลำดับ จังหวัด ปัญหามลพิษที่พบในพื้นที่ ขยะ มลพิษอากาศ สารเคมี ขยะมูลฝอย ขยะอิเล็ก ทรอนิกส ์กาก ของเสีย หมอกควน ัฝุ่น/ฝุ่นขนาดเล็ก สาร อินทรีย์ระเหยง่าย อากาศ อุตสาหกรรม เหมือง ทอง เหมืองเก่า เหมืองโปแตช สคร.1 1 เชียงใหม่ √2 เชียงราย √ 3 แพร่ √4 ลำพูน √5 แม่ฮ่องสอน √6 พะเยา √7 น่าน √8 ลำปาง √สคร.2 9 อุตรดิตถ์ 10 ตาก √ √ 11 สุโขทัย 12 พิษณุโลก √ 13 เพชรบูรณ ์√ √ สคร.3 14 ชัยนาท √ 15 นครสวรรค์ 16 อุทัยธานี √ 17 กำแพงเพชร 18 พิจิตร √ สคร.4 19 นนทบุรี √ √ 20 ปทุมธานี √ √ √ 21 พระนครศรีอยุธยา √ √ √ 22 อ่างทอง 23 ลพบุรี √ 24 สิงห์บุรี 25 สระบุรี √ √ √ 26 นครนายก สคร.5 27 ราชบุรี √ √ 28 กาญจนบุรี √ √

53526 เขตพื้นที่ ลำดับ จังหวัด ปัญหามลพิษที่พบในพื้นที่ ขยะ มลพิษอากาศ สารเคมี ขยะมูลฝอย ขยะอิเล็ก ทรอนิกส ์กาก ของเสีย หมอกควน ัฝุ่น/ฝุ่นขนาดเล็ก สาร อินทรีย์ระเหยง่าย อากาศ อุตสาหกรรม เหมือง ทอง เหมืองเก่า เหมืองโปแตช 29 สุพรรณบุรี √ √ 30 นครปฐม √ √ √ 31 สมุทรสาคร √ √ √ √ 32 สมุทรสงคราม 33 เพชรบุรี √ √ 34 ประจวบคีรีขันธ์ √ สคร.6 35 สมุทรปราการ √ √ √ √ 36 ชลบุรี √ √ 37 ระยอง √ √ √ 38 จันทบุรี 39 ตราด √ 40 ฉะเชิงเทรา √ √ 41 ปราจีนบุรี √ 42 สระแก้ว √ สคร.7 43 ขอนแก่น √ 44 มหาสารคาม √ 45 ร้อยเอ็ด √ 46 กาฬสินธุ์ √ สคร.8 47 บึงกาฬ 48 หนองบัวลำภู 49 อุดรธานี √ 50 เลย √ 51 หนองคาย 52 สกลนคร 53 นครพนม สคร.9 54 นครราชสีมา √ 55 บุรีรัมย์ √ 56 สุรินทร์ 57 ชัยภูม ิ√ สคร.10 58 ศรีสะเกษ 59 อุบลราชธานี √

53627 เขตพื้นที่ ลำดับ จังหวัด ปัญหามลพิษที่พบในพื้นที่ ขยะ มลพิษอากาศ สารเคมี ขยะมูลฝอย ขยะอิเล็ก ทรอนิกส ์กาก ของเสีย หมอกควน ัฝุ่น/ฝุ่นขนาดเล็ก สาร อินทรีย์ระเหยง่าย อากาศ อุตสาหกรรม เหมือง ทอง เหมืองเก่า เหมืองโปแตช 60 ยโสธร 61 อำนาจเจริญ 62 มุกดาหาร สคร.11 63 นครศรีธรรมราช √ √ 64 กระบี่ √ 65 พังงา √ √ 66 ภูเก็ต √ 67 สุราษฎร์ธานี √ √ 68 ระนอง 69 ชุมพร สคร.12 70 สงขลา √ √ 71 สตูล √ 72 ตรัง √ 73 พัทลุง 74 ปัตตานี √ 75 ยะลา √ 76 นราธิวาส √ สปคม 77 กทม. √ √ รวมจำนวนจังหวัดจำแนกตามความเสี่ยง30 3 8 17 8 7 1 4 5 2 ที่มา : 1. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง ปัญหาขยะ ปัญหาขยะมูลฝอยตกค้าง จำนวน 30 จังหวัด (ฐานข้อมูลกรมควบคุมมลพิษ ปี พ.ศ.2559) , ขยะอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 3 จังหวัด , การจัดการกากของเสียอุตสาหกรรม ขยะรีไซเคิล และ ของเสียอันตราย จำนวน 8 จังหวัด (ฐานข้อมูลข่าวมูลนิธิบูรณะนิเวศ พ.ศ.2561) 2. ปัญหามลพิษอากาศพื้นที่เป้าหมายในการดำเนินงานรวม 26 จังหวัด 3. พื้นที่เสี่ยงจากมลพิษ สารเคมี และสารอันตราย เหมืองทอง (4 จังหวัด) , เหมืองเก่า (5 จังหวัด) , เหมือง โปแตช (2 จังหวัด)

53728 ภาคผนวกที่ 2 แผนที่มลพิษอากาศและมลพิษขยะ พื้นที่เสี่ยงมลพิษอากาศ พื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะ พื้นที่เสี่ยงมลพิษอากาศและปัญหาขยะ

53829 ภาคผนวกที่ 3 ตารางแสดงข้อมูลผลการดำเนินงานของจังหวัดมีระบบการจัดการปัจจัยเสี่ยงฯ (มีการจัดระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อม) (ข้อมูล ณ วันที่ 11 กันยายน 2561) ลำดับ กองงานป้องกันควบคุมโรค ชื่อจังหวัด ผลการประเมิน อยู่ระหว่าง*ดำเนินการ พื้นฐาน ดี ดีมาก 1 สคร. 1 เชียงใหม ่เชียงราย 2 เชียงใหม ่3 น่าน 4 แพร ่5 พะเยา 6 แม่ฮ่องสอน 7 ลำปาง 8 ลำพูน 9 สคร. 2 พิษณุโลก ตาก 10 พิษณุโลก (1)11 เพชรบูรณ ์12 สุโขทัย (1)13 อุตรดิตถ์ 14 สคร.3 นครสวรรค์ กำแพงเพชร 15 ชัยนาท 16 นครสวรรค์ 17 พิจิตร 18 อุทัยธานี 19 สคร. 4 สระบุรี นครนายก 20 ลพบุรี 21 สระบุรี 22 สิงห์บุรี 23 อ่างทอง 24 พระนครศรีอยุธยา 25 ปทุมธานี 26 นนทบุรี 27 สคร. 5 ราชบุรี กาญจนบุรี 28 นครปฐม 29 เพชรบุรี 30 ประจวบคีรีขันธ์ 31 ราชบุรี

53930 ลำดับ กองงานป้องกันควบคุมโรค ชื่อจังหวัด ผลการประเมิน อยู่ระหว่าง*ดำเนินการ พื้นฐาน ดี ดีมาก 32 สมุทรสงคราม 33 สมุทรสาคร 34 สุพรรณบุรี 35 สคร. 6 ชลบุรี จันทบุรี 36 ฉะเชิงเทรา (1)37 ชลบุรี 38 ตราด (1)39 ปราจีนบุรี 40 ระยอง 41 สมุทรปราการ 42 สระแก้ว 43 สคร. 7 ขอนแก่น กาฬสินธุ์ 44 ขอนแก่น 45 มหาสารคาม (1)46 ร้อยเอ็ด 47 สคร. 8 อุดรธานี นครพนม (1)48 บึงกาฬ 49 เลย (1)50 สกลนคร (1)51 หนองคาย (1)52 หนองบัวลำภู (1)53 อุดรธานี (1)54 สคร. 9 นครราชสีมา ชัยภูม ิ55 นครราชสีมา (1)56 บุรีรัมย์ 57 สุรินทร์ 58 สคร. 10 อุบลราชธานี มุกดาหาร (1)59 ยโสธร 60 ศรีสะเกษ 61 อุบลราชธานี 62 อำนาจเจริญ 63 สคร. 11 นครศรีธรรมราช กระบี่ (1)64 ชุมพร (1)65 นครศรีธรรมราช (1)66 พังงา (1)67 ภูเก็ต (1)

54031 ลำดับ กองงานป้องกันควบคุมโรค ชื่อจังหวัด ผลการประเมิน อยู่ระหว่าง*ดำเนินการ พื้นฐาน ดี ดีมาก 68 ระนอง (1)69 สุราษฎร์ธานี (1)70 สคร. 12 ยะลา ตรัง 71 นราธิวาส 72 ปัตตานี 73 พัทลุง 74 ยะลา 75 สงขลา 76 สตูล รวม 19 35 15 7 หมายเหตุ * อยู่ระหว่างดำเนินการ หมายถึง ได้รับเอกสารผลการประเมินจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงฯ ประเด็นที่ 6 แล้ว แต่ด้วยประเด็นอื่นๆ ยังไม่ได้รับข้อมูลและไม่ผ่านเกณฑ์

กลุ่มแผนงานเชิงระบบ (Syetem Development)6

5431. สถานการณ์ การตดเชื้อในโรงพยาบาล (Healthcare- associated infection) หมายถึงการติดเชื้อซึ่งเป็นผลมาจากการ ิที่ผู้ป่วยได้รับเชื้อหรือพษของเชื้อ (toxin) ขณะรับการรักษาในโรงพยาบาล โดยที่ผู้ป่วยไม่มีการติดเชื้อมาก่อน ิหรือการติดเชื้อนั้นไม่อยู่ในระยะฟกตัวของโรค โดยพบว่าการติดเชื้อในโรงพยาบาลเป็นปัญหาส าคัญที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย ัที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล สามารถพบได้ในโรงพยาบาลทุกระดับ ทั้งในประเทศที่พฒนาแล้วและประเทศที่ก าลังัพัฒนา Yu Zang และคณะ ได้ศึกษาที่ประเทศจีน มณฑลกวางตง ในช่วงเดอน มิถนายน 2017-พฤษภาคม 2018 ุ ้ืุจาก 189 โรงพยาบาลได้เฝ้าระวังความชุกของการติดเชื้อที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพและการใช้ยาต้านจุลชีพ ในประเทศจน พบว่าภาพรวมอัตราชุกการติดเชื้อในโรงพยาบาลคดเปนร้อยละ 1.41 (Prevalence of HAIs/100 ีิ็patients, %) ในขณะที่ Malobicka E. และคณะ ทาการส ารวจความชุกของการตดเชือในโรงพยาบาลมหาวิทยาลยมารตน ิ้ั์ิประเทศสโลวาเกยปี 2012 สูงถึง 5.2% สอดคล้องกับประเทศไทยที่ท าการส ารวจความชุกของการติดเชื้อในโรงพยาบาล ีโดย วิศัลย์ มูลศาสตร์และคณะ ในปี 2018 ที่ทาการศกษาอตราชุกของการตดเชือในโรงพยาบาลในช่วงระหว่างวันท ึัิ้ี ่19-23 กุมภาพนธ์ พ.ศ. 2561 ในโรงพยาบาล 37 แหงกระจายตามเขตสขภาพทง 13 เขตของประเทศไทย พบอตราชุกัุ่ั ้ัของการติดเชื้อในโรงพยาบาลเท่ากับร้อยละ 4.2 ซึ่งปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดการติดเชื้อได้แก่ 1) สิ่งมีชีวิต (Host) 2) เชื้อก่อโรค (Pathogen) และ 3) สงแวดล้อม (Environment) อย่างไรก็ตามวัตถุประสงค์ของการป้องกันและควบคุม ิ ่การติดเชื้อมีการด าเนินงานเพอความปลอดภัยของผู้ป่วย บุคลากรและญาติผู้ป่วย รวมท้งการลดการปนเป้อน ื่ัืในส่งแวดล้อม ปัจจุบันสถานการณ์การติดเชื้อในโรงพยาบาลจากการบันทึกข้อมูลผ่านระบบ IC Surveillance ิในปีงบประมาณ 2563 (ขอมูล ณ วันท่ 18 พฤษภาคม 2563) พบว่า อัตราการตดเชื้อในโรงพยาบาลของประเทศไทย ้ีิในภาพรวม เท่ากบ 1.19 ครั้ง/1,000 วันนอน โดยมโรงพยาบาลกรอกขอมล 255 แหง จ าแนกเปน โรงพยาบาลศนย ัีู้่็ู์22 แหง โรงพยาบาลทวไป 36 แหง โรงพยาบาลชุมชน 165 แหง โรงพยาบาลเอกชน 18 แหง และโรงพยาบาลอนๆ ่ั ่่่่ื ่14 แหง โดยพบว่าต าแหน่งของการติดเชื้อสูงสุด ได้แก่ การติดเชื้อปอดอักเสบจากการใช้เครองช่วยหายใจ (VAP) , ่ื ่การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการใส่สายสวนปัสสาวะ (CAUT)I และ การติดเชื้อหลอดเลือดด าส่วนกลางทสมพันธ์กบการใสสายสวนหลอดเลอด (CLABSI) คดเป็น 3.3, 1.2, และ 1.24 ครง/1,000 device day ตามล าดับ ี ่ัั่ืิั ้จากการวิเคราะห์ปญหา ดังกลาวทาใหทราบช่องว่าง (Gap) เพอนาสการพฒนางานป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ (IPC) ั่้ื ู่ ่ัซึ่งการแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลที่ดีที่สุด คือ บคลากรในหนวยงานที่เกี่ยวข้องดานสาธารณสข ที่ต้องใหุุ้่้ความส าคัญกับกระบวนการ กจกรรมดานการปองกนและควบคมการติดเชื้อในโรงพยาบาล อันประกอบไปด้วยการิ้้ัุพัฒนาศักยภาพของบุคลากร การพัฒนาคู่มือ แนวทางปฏิบัติด้านโรคติดเชื้อที่ทันสมัย สืบค้นง่าย และใช้อ้างอิงการปฏิบัติได้ โดยการกาหนดแผนและนโยบาย เพอด าเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล ให้อตราการติดเชื้อื่ัลดลงรอยละ 20 ทกป ซึ่งการป้องกันและควบคมการติดเชือในโรงพยาบาลจะประสบความสาเรจได บคลากรในทีมุ้ีุ้็ุ้สุขภาพเป็นส่วนที่มความส าคัญเป็นอย่างมาก ในการท าให้การด าเนินงานประสบผลส าเร็จ เพราะการป้องกนและควบคุมีัการตดเชื้อในโรงพยาบาลเป็นกระบวนการด าเนินงานที่สะท้อนให้เห็นถึงมาตรฐานหรือคุณภาพของการดูแล รักษา ิพยาบาลผู้ป่วยและยังเป็นเครื่องชี้วัดคุณภาพการบริการของโรงพยาบาลอกช่องทางหนึ่ง ีแผนงานป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล

5442. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง จากการด าเนินงานในรอบปีงบประมาณ 2562 (ณ วันที่ 18 พฤษภาคม 2563) เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลจากระบบ IC Surveillance สามารถน าเสนอด้วยแผนที่ประเทศไทย ดังนี้จากแผนภาพประเทศไทยแสดงอตราการตดเชือในโรงพยาบาล วิเคราะหจากระบบ IC Surveillance เมื่อวันที่ ัิ้์18 พฤษภาคม 2563 พบว่า อตราการตดเชือในโรงพยาบาลภาพรวมเทากบ 1.34 ครั้ง/1,000 วันนอน จาแนกตามส านักงานัิ้่ัป้องกันควบคุมโรคที่มีการติดเชื้อมากที่สุด คือ สคร.6, สคร.1 และ สคร.4 คิดอตราการติดเชื้อเป็น 2.02, 1.83 และ 1.82 ัครั้ง/1,000 วันนอน ตามลาดบ สวนอัตราการติดเชื้อตามต าแหนงพบการติดเชื้อมากที่สุดคือต าแหน่งการติดเชื้อ ั่่ของระบบทางเดินหายใจส่วนล่างที่สัมพนธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจ (VAP) อตราการติดเชื้อ เท่ากับ 3.85 ครั้ง/1,000 ััdevice day และมอตราการติดเชือ VAP สูงที่สุดคือ สคร.11 เท่ากับ 6.25 ครั้ง/1,000 device day รองลงมาคอ สคร.ีั้ื12 มอัตราการตดเชือ VAP เท่ากับ 5.14 ครั้ง/1,000 device day และต่ าสุด คือ สคร.10 ซึ่งมีอตราการติดเชื้อ VAP ีิ้ัเพียง 1.20 ครั้ง/1,000 device day ส าหรับการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพนธ์กับการใส่สายสวนปัสสาวะ ั(CAUTI) อัตราการติดเชื้อ เท่ากับ 1.45 ครั้ง/1,000 device day และมอัตราการติดเชื้อ CAUTI สูงสุดคือ สปคม. เท่ากบ ีั2.33 ครั้ง/1,000 device day รองลงมา คอ สคร.3 มอัตราการติดเชือ CAUTI เท่ากับ 1.87 ครั้ง/1,000 device day ืี้และต าสดคอ สคร.10 ซงมอัตราการติดเชื้อ CAUTI เพยง 0.37 ครั้ง/1,000 device day สาหรบการติดเชื้อในกระแสุ่ืึ ่ีีัเลอดจากการใสสายสวนหลอดเลอดสวนกลาง (CLABSI) อัตราการตดเชื้อ เท่ากับ 1.42 ครั้ง/device day และมีอตราื่ื่ิัการติดเชื้อ CLABSI สูงสุด คือ สคร.11 เท่ากับ 2.86 ครั้ง/device day รองลงมา คือ สคร.12 มีอัตราการติดเชื้อ CLABSI เท่ากับ 2.68 ครั้ง/device day และต่ าสุดคือ สคร.10 มีอตราการติดเชื้อ CLABSI เท่ากับ 0.3 ส่วนการติดเชื้อแผลผ่าตัด ั(SSI) อัตราการติดเชื้อ เท่ากับ 0.33 ครั้ง/100 การผ่าตัด และมีอัตราการติดเชื้อ SSI สูงสุดคือ สปคม. เท่ากับ 0.75 ครั้ง/100 ครั้งการผ่าตัด รองลงมา คือ สคร.2 มีอัตราการติดเชื้อ SSI เท่ากับ 0.74 ครั้ง/100 ครั้งการผ่าตัด และต่ าสุดคือ สคร.9 ซึ่งมีอัตราการติดเชื้อ SSI เพียง 0.17 ครั้ง/100 ครั้งการผ่าตัด แบ่งเขตบริการสุขภาพ ●สคร.1 ●สคร.8 ●สคร.2 ●สคร.9 ●สคร.3 ●สคร.10 ●สคร.4 ●สคร.11 ●สคร.5 ●สคร.12 ●สคร.6 ●สปคม. ●สคร.7 เขต 6 อัตราการติดเชื้อ 2.02 ครั้ง/1,000 วนนอน ัเขต 4 อัตราการติดเชื้อ 1.82 ครั้ง/1,000 วนนอน ัเขต 1 อัตราการติดเชื้อ 1.83 ครั้ง/1,000 วนนอน ั

5453. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ป (2561-2565) ี3.1 เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระดับประเทศ ในระยะ 5 ปี เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เป้าหมาย 1 ลดอัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล (ครั้ง/1,000 วันนอน) ตัวชี้วัด 1 รพศ. และ รพท. ตัวชี้วัด 2 รพช. ≤ 5 ≤ 0.5 ≤ 4 ≤ 0.5 ≤ 3.2 ≤ 0.5 ≤ 2.5 ≤ 0.5 ≤ 2 ≤ 0.5 เป้าหมาย 2 อัตราการติดเชื้อตามต าแหน่ง (รพศ. และ รพท.) ตัวชี้วัด 1 VAP (ครั้ง/1,000 วันใช้เครื่องช่วยหายใจ) ตัวชี้วัด 2 CAUTI (ครั้ง/1,000 วันคาสายสวนปัสสาวะ) ตัวชี้วัด 3 CLABSI (ครั้ง/1,000 วันคาสายสวนหลอดเลือดด า) ตัวชี้วัด 4 SSI (ครั้ง/100 รายผ่าตัด)≤ 5 ≤ 2 ≤ 2 ≤ 1 เป้าหมาย 3 ระดับความส าเร็จของการจัดเก็บข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาล รพศ. = ร้อยละ 100 รพท. = ร้อยละ 100 และ รพช. > ร้อยละ 70 ตัวชี้วัด 1 รพศ. (34 แห่ง) ตัวชี้วัด 2 รพท. (87 แห่ง) ตัวชี้วัด 3 รพช. (779 แห่ง) 100% 100% 50% 100% 100% 60% 100% 100% 70% 100% 100% 80%

5464.มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผู้ด าเนินการ มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร./เขต/สสจ. โรงพยาบาล 1.การพัฒนาระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อ และศูนย์ข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาล พัฒนาระบบ IC Surveillance - ประชาสัมพันธ์ เครือข่ายในพื้นที่ทราบ - สนับสนุนตามความต้องการของพื้นที่ในเรื่อง IC Surveillance - นิเทศ ก ากับ ติดตาม เป็นที่ปรึกษาแก่โรงพยาบาลในพื้นที่และประเมินผลการด าเนินงานในทุกไตรมาส - ด าเนินการกรอกข้อมูลอัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล - เฝ้าระวังการติดเชื้อและเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาล 2.การประเมินและพัฒนาแนวทางการปฏิบัติด้านการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ มีคู่มือที่ได้มาตรฐาน จ านวน 1เล่ม/ปี- ประสานเพื่อส่งคู่มือ /แนวทางการปฏิบัติด้านการป้องกันและควบคุมโรคให้กับพื้นที่เป้าหมาย และส่งข้อมูลย้อนกลับเพื่อปรับปรุง/พัฒนาแนวทางการปฏิบัติ- น าคู่มือแนวทางไปปรับใช้เพื่อป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล 3.การพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ พัฒนาหลักสูตร/อบรมให้ความรู้บุคลากรสาธารณสุข - ประเมินความต้องการพัฒนาบุคลากรของพื้นที่ และสนับสนุนให้บุคลากรได้พัฒนาความรู้ด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ - สนับสนุนให้บุคลากรได้พัฒนาความรู้ด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ

5475.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วมวงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 1การพัฒนาระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อ และศูนย์ข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาล1. จัดเก็บข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาล (รพศ. 34 แห่ง รพท. 87 แห่ง รพช. 779 แห่ง) โครงการพัฒนาและปรับปรุงระบบการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล     สถาบันบ าราศนราดูร (สบร.) 1,200,000 1,200,000 1,563,600 1,600,000 1,600,000 งบประมาณกรม คร. รพ.ทั่วประเทศ มีระบบการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล มาตรการที่ 2การประเมินและพัฒนาแนวทางการปฏิบัติด้านการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ1. พัฒนาและทบทวนคู่มือ แนวทางด้านการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อที่ได้มาตรฐาน สากล และน าไปปฏิบัติและอ้างอิง 1 เรื่อง โครงการประเมินและพัฒนาแนวทางการปฏิบัติด้านการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล     สถาบันบ าราศนราดูร (สบร.) 500,000 600,000 500,000 600,000 600,000 งบประมาณกรม คร. หนังสือคู่มือ มีคู่มือที่ได้มาตรฐาน จ านวน 1เล่ม/ปี มาตรการที่ 3การพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ1. จ านวนบุคลากรด้าน IC ได้รับการพัฒนาศักยภาพ และเพียงพอตามเกณฑ์

548มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วมวงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรฐานเพื่อ รับรองการด าเนินงานด้าน IC > 700 คน โครงการอบรมหลักสูตรระยะสั้นขั้นพื้นฐานส าหรับแพทย์ พยาบาล และนักเทคนิคการแพทย์     สถาบันบ าราศนราดูร (สบร.) 500,000 500,000 500,000 500,000 เงินงบประมาณและเงินลงทะเบียน บุคลากรสาธารณสุข จ านวนบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขได้รับการอบรมความรู้เรื่องการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล (ตามโครงการที่ก าหนด) โครงการสัมมนาระดับชาติ เรื่องการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล     สถาบันบ าราศนราดูร (สบร.) 2,500,000 2,400,000 2,500,000 2,500,000 เงินงบประมาณและเงินลงทะเบียน บุคลากรสาธารณสุข จ านวนบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขได้รับการอบรมความรู้เรื่องการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล โครงการสื่อสารนโยบายแนวทางการด าเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อและเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาล สถาบันบ าราศนราดูร (สบร.) 500,000 300,000 งบประมาณ กรม คร. ผู้บริหารหรือผู้รับผิดชอบงาน IPC ร้อยละความส าเร็จของการสื่อสารนโยบาย แนวทาง การด าเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ และเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาล

549มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วมวงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายโรงพยาบาล เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อและโรคติดต่อ สถาบันบ าราศนราดูร และกองระบาดวิทยา 500,000 งบประมาณกรม คร. บุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลทุกระดับ บุคลากรในจังหวัดเขตเศรษฐกิจพิเศษ ส านักงานป้องกันและควบคุมโรค มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันการติดเชื้อ การบริหารจัดการเมื่อพบเชื้อดื้อยาและการปฏิบัติการเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉินที่ได้มาตรฐาน โครงการพัฒนาติดตามและประเมินผลการพัฒนาศักยภาพของเครือข่ายในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลในพื้นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ สถาบันบ าราศนราดูร และกองระบาดวิทยา 842,000 500,000 งบประมาณกรม คร. บุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลเขตเศรษฐกิจพิเศษ บุคลากรในจังหวัดเขตเศรษฐกิจพิเศษ ส านักงานป้องกันและควบคุมโรค มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันการติดเชื้อ การบริหารจัดการเมื่อพบเชื้อดื้อยาและการปฏิบัติการเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉินที่ได้มาตรฐาน

5506. แผนการติดตามประเมินผล ระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการที่ 1 การพัฒนาระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อ และศูนย์ข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาล รพ.ทั่วประเทศ - ก ากับติดตามการลงข้อมูล - ประเมินความพึงพอใจต่อระบบ มาตรการที่ 2 การประเมินและพัฒนาแนวทางการปฏิบัติด้านการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ หนังสือคู่มือ - ประเมินการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจต่อหนังสือคู่มือ มาตรการที่ 3 การพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ บุคลากรสาธารณสุข - ประเมินผลความพึงพอใจต่อการอบรม - ติดตามประเมินผลหลังการอบรม 7. ผู้รับผิดชอบแผนงาน 1. นพ.อภิชาต วชิรพันธ์ ผู้อ านวยการสถาบันบ าราศนราดูร เบอร์โทรศัพท์ 02 590 3480 E - Mail: [email protected] 2. นพ.วีรวัฒน์ มโนสุทธิ ผู้จัดการแผนงานโรค เบอร์โทรศัพท์ 02 590 3421 E - Mail: [email protected]

5511.สถานการณ์ โรคติดต่ออนตราย (โรคติดต่ออบัติใหม่ อบัติซ ้า) ส่วนใหญ่เป็นโรคที่ยังไม่มีมาตรการป้องกันโรค ัุุและการรักษาที่ได้ผล (ไม่มีวัคซีน และไม่มียา) การจัดการกับปัญหานี จึงขึ นอยู่กับการพฒนาสมรรถนะของระบบการัจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขให้มีความเข้มแข็ง จากเหตุการเกิดโรคติดเชื อไวรัสโคโรนา 2019 ที่เริ่มมีการระบาดในวงกว้างในสาธารณรฐประชาชนจน ต งแตเดอนธันวาคม 2562และแพร่เข้าสู่ประเทศไทยตั งแต่ต้นเดือนัีั่ืมกราคม พ.ศ. 2563 พร้อมกับมีการแพร่เชื ออย่างรวดเร็วไปยังประเทศต่างๆในทุกภูมิภาค องค์การอนามัยโลก ได้ประกาศให้โรคติดเชื อไวรัสโคโรนา 2019 เปนภาวะฉกเฉนทางสาธารณสขระหว่างประเทศ (Public Health ็ุิุEmergency of International Concern) ในวันที่ 30 มกราคม 2563 และแนะน้าทุกประเทศให้เร่งรัดการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค การเตรียมระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในแต่ละพนที่จึงมีความจ้าเป็น ื อย่างยิ่ง และต้องได้รับการพฒนาอย่างต่อเนื่อง เพอให้สามารถด้าเนินการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ัื่ไดอยางมประสิทธิภาพ กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมควบคมโรคมนโยบายพฒนาระบบควบคมโรคและภัยสขภาพ ้่ีุีัุุของประเทศให้ได้มาตรฐานสากลสามารตรวจจับเหตุการณ์ผิดปกติได้อย่างรวดเร็วและตอบสนองได้ทันที อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินกรมควบคุมโรค (DDC's EOC) ซึ่งด้าเนินการโดยใช้ระบบบัญชาการณ์เหตุการณ์ (Incident Command System) ทสอดคล้องและสามารถประสานแผนและประสาน ี ่การปฏิบัติกับแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (แผน บก.ปภ.ชาติ ปี 2558) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยพฒนาทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (Situation Awareness Team: SAT) และทีมสอบสวนควบคุมโรค ั(Joint Investigation Team: JIT) ร่วมกันปฏิบัติงาน เพอให้ได้ข้อมูลด้านการระบาดของโรคและภัยสุขภาพ ื่แบบ Real Time โดยมีบุคลากรจากทุกหน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรคและเครือข่ายการปฏิบัติงานระดับพนที่ ื ทุกจังหวัดร่วมกันปฏิบัติงานการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health Emergency Management: PHEM) มีการพฒนาสมรรถนะชุมชน ทองถนและหนวยงานตางๆที่เกี่ยวข้องกับระบบเฝ้าระวังโรคและภาวะฉุกเฉินั้ิ ่่่ทางสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพตรวจจับเหตุการณ์ผิดปกติ ตรวจสอบข่าวการระบาดของโรคและภัยสุขภาพ ตามระดับความรนแรงทเกดขนในพนทต่างๆ และจดระบบการปฏิบติการภาคสนามในการปฏิบติการจดการภาวะุี ่ิึืี ่ััััฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข (PHEM) ผ่านระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) ที่มีบุคลากรจากหลายหน่วยงานร่วมกันปฏิบัติงาน ไม่ว่าจะเป็น การปฏิบัติด้านการแพทย์ฉุกเฉน ด้านการแพทย์ระบาดวิทยาด้านการแพทย์สุขภาพจิต ิและการอนามัยสิ่งแวดล้อม เพอพฒนาและส่งเสริมให้หน่วยงานในระดับเขต และระดับจงหวัดสามารถจดทาื่ััั้แผนปฏิบัตการในการเตรยมความพรอมตอบโตภาวะฉกเฉน และดาเนินงานตามแผนในภาวะฉกเฉนตามบรบท ิีุ้้ิุ้ิิของพนที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ แผนบัญชาการณ์ด้านการแพทย์และสาธารณสุข รองรับสถานการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ื (All hazards plan)แผนเผชิญเหตุ (Incident Action Plan: IAP) แผนบริหารความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan : BCP) และแผนฟื้นฟูระบบบริการ (Recovery Plan) โดยมีการรวบรวมและพัฒนาให้เป็นหลักสูตรเพื่อสามารถน้าไปใช้เป็นแนวทางในการด้าเนินงานและสามารถถ่ายทอดให้กับหน่วยงานระดับอาเภอหรือหน่วยงานเครือข่ายโดย้ใช้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ตลอดจนติดตามประเมินผล แลกเปลี่ยนเรียนรู้การด้าเนินงานระบบการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ในปี 2562 มการประเมนสมรรถนะของศนยปฏิบตการภาวะฉกเฉนสาหรับหน่วยงานีิู์ัิุิ้สาธารณสุขระดับจังหวัดและระดับเขต พนที่เป้าหมาย 24 แห่ง โดยใช้เครื่องมือที่ชื่อว่า EOC Assessment Tool ื แผนพัฒนาระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขอย่างครบวงจรและบูรณาการ

552ที่แปลและปรับปรุงจากแบบประเมิน EOC จัดท้าโดยกลุ่มประเทศพนธมิตรวาระความมั่นคงด้านสาธารณสุขโลก ัซึ่งแบ่งเป็น 10 หมวด มี 74 ตัวชี วัด ก้าหนดเกณฑ์ให้ระดับเขตและจงหวัดต้องผานสีเขียวรอยละ 40 และ 20 ั่้ตามล้าดับ ผลส้ารวจมีดังนี ผลการประเมินระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขกรมควบคุมโรคจึงต้องพฒนาระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขอย่างครบวงจรและบูรณาการร่วมกับัหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับเพอให้ได้ตามมาตรฐานสากล โดยเชื่อมโยงระดับพนที่ ระดับจังหวัด ระดับเขตบรการสขภาพ ื่ื ิุและส่วนกลาง ทั งนี การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ประกอบด้วยกิจกรรมตั งแต่การป้องกัน การเตรียมความพร้อม การตอบโต้ และการฟนฟสภาพ ด้วยเหตุนี การมีสมรรถนะสูงในทุกระดับ ตั งแต่ระดับชุมชน ระดับอาเภอ ระดับจังหวัด ืู้้ระดบเขตบริการสขภาพ จนถงระดบประเทศ จะช่วยลดโอกาสเกดโรคติดต่ออันตรายทแพรระบาดในประเทศ ัุึัิี่่โดยเฉพาะโรคอบัติใหม่และอบัติซ ้า สามารถช่วยลดผลกระทบในวงกว้าง หากมีผู้ป่วยเกิดขึ น และยังสามารถประสานุุแผนการปฏิบัติการเผชิญเหตุร่วมกันกับภารกิจด้านการแพทย์และสาธารณสุขได้อย่างเหมาะสม ซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ น เป็นประจ้าดังเช่นที่เห็นใน ภัยพบัติทางธรรมชาติ ในขณะที่ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน เป็นระบบส้าคัญที่นานาชาติิยอมรับและสนับสนุนให้ประเทศต่างๆ จัดตั ง ส้าหรับการด้าเนินการในเรื่องนี ในประเทศไทยยังอยู่ในระยะเริ่มต้น จึงมีความจ้าเป็นอย่างสูงที่จะต้องเร่งรัดการพัฒนาให้ก้าวหน้ามีความทันสมัยและมีสมรรถนะในระดับที่สูงต่อไป 2. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง กลุ่มเป้าหมาย : 12 เขตบริการสุขภาพ และส้านักงานสาธารณสุขจังหวัด ทั ง 76 จังหวัด พื้นที่เสี่ยง เนื่องจากพบการระบาดโรคติดเชื อไวรัสโคโรนา 2019 ในหลายประเทศทวโลก มการเดินทางั ่ีระหว่างประเทศมากขึ น บางประเทศรวมทั งประเทศเพอนบ้านของไทยมีระบบเฝ้าระวังที่ไม่เข้มแข็งเพยงพอ ท้าให้มีื่ีโอกาสสูงที่ผู้ป่วยจากประเทศเหล่านี จะเดินทางเข้าสู่ประเทศไทย และการคัดกรองของด่านควบคุมโรคมีจ้ากัด

553ท้าให้ประเทศไทยจึงมีความเสี่ยงต่อการระบาดด้วยเช่นกัน ดังจะเห็นจากมีรายงานการพบผู้ติดเชื อเกือบทุกจังหวัดยกเว้น ก้าแพงเพชร ชัยนาท ตราด น่านบึงกาฬ พิจิตร ระนอง สิงห์บุรีและอ่างทอง ข้อมูล ณ วันที่ 20 พฤษภาคม 2563 3. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพระยะ 5 ป (2561-2565)ี3.1 เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระดับประเทศ ในระยะ 5 ปี เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เปาหมาย 1 ้หนวยงานระดบกรม และระดบเขต ่ััมีสมรรถนะในการจัดการภาวะฉุกเฉินพร้อมรับมือปรับตัวต่อโรคอบัติใหม่โรคอบัติซ ้าและภัยสุขภาพุุที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดตัวชี วัด 1 รอยละของสมรรถนะของศูนย์ปฏิบัติการ้ภาวะฉุกเฉิน (EOC)ในการจัดการภาวะฉุกเฉินฯระดับกรมและระดับเขต ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนด 40 60 80 90 เป้าหมาย 2 หน่วยงานระดบจังหวัด มสมรรถนะัีในการจัดการภาวะฉุกเฉินพร้อมรับมือปรับตัวต่อโรคอบัติใหม่โรคอบัติซ ้าและภัยสุขภาพที่เกิดจากุุการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนด ตัวชี วัดที่ 1รอยละของสมรรถนะของศูนย์ปฏิบัติการ้ภาวะฉุกเฉิน (EOC)ในการจัดการภาวะฉุกเฉินฯระดับจังหวัด ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนด 20 40 60 70

5544.มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปีและหน่วยงานผู้ด าเนินการมาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. สสจ. มาตรการที่ 1 พัฒนาสมรรถนะระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระดับชาติพัทางสาธารณสุขในร ดับ ชาติ ครอบคลมการพัฒนาทกษะบคลากร ุัุพัฒนาระบบ (2P 2R) และพัฒนาความพร้อมของศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (EOC) พัฒนาระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสุพัฒนาทกษะบุคลากร พัฒนาระบบ (2P ั2R) และพัฒนาความพร้อมของศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (EOC) มาตรการที่ 2 พัฒนาสมรรถนะเครือข่ายระดับพื นที่ในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายระดับพื นที่ในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายระดับพื นที่ในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข 1จัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข 2.ประเมนแนวโนมสถานการณโรคและิ้์ภัยสุขภาพ 3. เตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

5555.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 1พัฒ น าสมรรถนะระบบการจัดการภ า ว ะ ฉุก เฉิน ท า งสาธารณสขระดับชาติ ุร้อยละของสมรรถนะของ EOC ในการจัดการภาวะฉุกเฉินฯระดับกรมและระดับเขต ผ่านเกณฑ์ที ่ก าหนด โครงการพัฒนาระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินพร้อมรับมือปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ าและภัยสุขภาพที่เกิดจากการเปลี่ยน แปลงภูมิอากาศข่√√√หน่วยงานสังกัดกุ108.800 168.424 105.964 383.188 ง1(2) ส.แมลงฯ (3) ส.โรคจากกอาชีพฯ(4 7.35) 5) สปคม. (3.50)หน่วยงานระดับกเขต มสมรรถนะีในการจัดการภาวะฉุกเฉินพืปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่โรคอุบัติซ้ าและภัยสุขภาพที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศผ่านเกณฑ์ที่ก าหนด ร้อยละของสมรรถนะของ EOC ในการจัดการภาวะฉุกเฉินฯระดับกรมและระดับเขต ผ่านเกณฑ์ที ่ก าหนด ปี 63 64 65 ร้อยละ 60 80 90 1.พัฒนาศักยภาพของศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉกเฉินทางสาธารณสุข ุ(ภายในศูนยฯและระบบ์บญชาการเหตการณ์) ัุ√√√31.20 21.60 22.10 7ครฉ. (20.20) Env-Occ (38.80) ส(13.50) ส

556มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน 2.พัฒนาทักษะบุคลากรสดานการประเมนแนวโนม้ิ้สถานการณ์โรคและภยัสสถานการณ์ความเสี่ยงและภัยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ √√√2.70 3.50 3.50 9.70กอง ครฉ. 3ัุกลุ่มเป้าหมายให้มีความรู้เกี่ยวกับการส่งก้าลังบ้ารุงด้านสาธารณสุข √√√0.15 0.10 0.10 0.35ส4.พัฒนาและปรับปรุงกรอบการตอบโตภาวะ้ฉกเฉินทางสาธารณสุข ุ(National Public Health EResponse Framework) √0.40 --0.40 กอง ครฉ. 5.พัฒ นาฐานข้ อมูล ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ฉุกเฉินทั งหมดให้เป็นระบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และเชือมโยงระบบสารสนเทศ่ด้านข้อมูลและการสื่อสารต่างๆกับศูนย์ปฏิบัติการอ้านวยการทางการแพทยใน์ระดับเขตหรือระดับจังหวัด √√√0.75 0.51 0.51 1.77กองครฉ.

557มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน 6เตือนภัย การให้ค้าปรึกษาด้านโรคและภัยพิบัติ และเฝ้าระวังติดตาม ประเมินสถานการณ์ความเสี่ยงของโรคและภัยสุขภาพในพื นที่อย่างต่อเนื่อง √√√2.05 2.00 2.00 6.05กองครฉ. 7 .บ ทว น ปรั บปร งุแ(SOP) กระ บ ว น ก า รด้าเนินงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกการเฝ้ าระวงแล ะัรายงานเหตุการณ์ให้ทันต่อสถานการณ์แบ บเป น็ปัจจุบัน (Real time) √√√0.150 0.112 0.112 0.374กอง ครฉ. 8.ส้ารวจวเคราะหรายการิ์ทรัพยากรที่ส้าคัญและจ้าเป็น และจัดท้าระบบสก้าลังบ้ารุงด้านการป้องกันควบคุมโรคและภยสุขภาพัในภาวะฉุกเฉิน (National StrategicStockpilingSystem for disease Control) √√√3.00 2.90 2.90 8.80กอง ครฉ.

558มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน 8.1 สรางและพฒนาความ้ัเชื่อมโยงฐานข้อมูลโรคและภัยสุขภาพรวมทั งบุคลากรองค์ความรู้วัสดุอุปกรณ์ครุภัณฑ์และเวชภัณฑ์เพื่อกภ า ว ะ ฉุกเฉิน ท า งสาธารณสุข √√√กอง ครฉ. 8.2 ระบบส้ารองทรพยากรัและส่งก้าลังบ้ารุงด้านการป้องกันควบคุมโรค √√√กอง ครฉ. 9ัวัคซีนเวชภัณฑ์ส้ารองให้ได้ตาม มาต ร ฐ า น การดาเนินงานดานคลังและ้้กควบ คุมโรคกระท รวงสาธารณสุข 0.50 2.00 0.50 3.00ส10.จัดท้าระบบรับ-ส่งยา/เวชภัณฑ์ป้องกันควบคุมโรค และบุคลากรทางการแพทย์ขณะเกิดภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขตั งแต่ระดับชุมชนจนถึงระดับประเทศ √√√0.70 1.40 1.40 3.50กอง ครฉ. 11.ประเมินประสิทธิภาพกเวชภัณฑ์หน่วยบริการ√√√0.20 0.20 0.20 0.60ส

559มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน เป้าหมาย 12.พัฒนาคู่มือแนวทางการบริหารจัดการเวชภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ส้าหรับตอบโต้ภ า ว ะ ฉุกเฉิน ทางสาธารณสุข √1.00 --1.00ส13.ทบทวนประเมน และิส รุป บ ท เรีย น ก า รดาเนินงานตอบโต้ภาวะ้ฉุกเฉิน √√0.70 -0.20 0.90กอง ครฉ. 14.บรณาการการพัฒนาูแผนเตรียมความพร้อมและตสาธารณสุขให้กับเครือข่ายระดบประเทศและเขตตามัแผนเตรียมความพรอม้แห่งชาติ √√√0.26 0.35 0.35 0.96กองครฉ. 15.พัฒนารูปแบบและกศูนย์ป ฏิบัติการภ าวะฉุกเฉินของหน่วยงานอื่นๆ ใ ร ะ ดับ ชุม ช น ถึงระดับประเทศ √√√0.80 0.35 1.00 2.15กองครฉ. 16.พัฒ นาความร่วมมือเครือข่าดท้าฐานข้อมูลเพื่อแลกเปลี่ยน√√√0.40 0.21 0.21 0.82กองครฉ.

560มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน เรียนรู้เตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติโรคติดต่ออุบัติใหม่โรคอุบัติซ ้าและภัยสุขภาพทเกดจากการเปลียนแปลงี ่ิ่ภูมิอากาศ 17.พัฒนาความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั งภัภาคประชาสังคม ในการเสารเคมี √√√0.260 0.322 0.182 0.764กองครฉ. 18.พัฒ น า ศัก ย ภ า พเครือข่ายในพื นที่เขตเมืองในการเตรยมความพรอมี้แทางสาธารณสุข √3.50 --3.50สปคม. 19.ส้ารองยา และเวชภัณฑ์ป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉนทางิสระดับเขตระดับจังหวัด และองคกรปกครองส่วน์ท้องถิ่น √√√57.30 55.30 55.30 167.901) กองครฉ.(11.00 ) ปี 63 = 5.00 ปี 64 = 3.00 ปี 65 = 3.00 2) สตม. (156.90) ปี 63 = 52.30 ปี 64 = 52.30

561มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน ปี 65 = 52.30 20.สนับสนุนอปกรณ์ในุกควบคุมโรคและภยสุขภาพ ัส้าหรับทีมปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (Joint Investigation Team: JIT) ขุสคร. (30 ทีม) √√√1.00 2.10 2.10 5.20กอง ครฉ. 21.ฝึกซ้อมแผนเตรียมค้้ภ า ว ะ ฉุกเฉิน ท า งสาธารณสุขของหน่วยงานในส่วนกลางระดบเขต ัระดับจังหวัด ระดับท้องถิ่นห รือช่องท างเข้าออกประเทศ √√√1.78 1.80 1.80 5.38กองครฉ. 22.พัฒนาความร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการในการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคแฉุกเฉิน √√--0.66 0.66กองครฉ. 23.พัฒ นาโคร งสร้ า งพื นฐานและเทคโนโลยีส√√-63.81 1.40 65.21 กองครฉ.

562มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินระดบประเทศและระดับเขต ั(งบลงทุน)24.ค่าบ้ารุงรักษาระบบฐ า น ข้อ มูล / ร ะ บ บสโรคและภัยสุขภาพ √√-6.00 6.00 12.00กองครฉ. 25.เสริมสร้างความเข้มแข็งศูนย์ป ฏิบัติการภ าวะฉุกเฉินเพื่อจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขโดยเชิญผู เชียวชาญ้่มาค้าแนะน้าในการพัฒนาหัฉกเฉินทางสาธารณสุขุรวมทั งประเมินผลการน้าหลักสูตร ฯ ไปใช้ √√-2.00 2.00 4.00กองครฉ. 26.แลกเปลี่ยนความรู้ทางวิการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางส่(งบรายจ่ายอื่น)√√-1.50 1.50 3.00 กองครฉ. 27.ปรับปรุงแผนเตรียมความพใหม่อุบัติซ ้าให้ทันสมัย √--0.30 0.30กอง ครฉ.

563มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 2 พัฒ นาสมรรถนะเครือข่ายระดับพื้นที่ในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข1.หน่วยงานระดับจังหวัด มีสมรรถนะของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ในการจัดการภาวะฉุกเฉินพร้อมรับมือปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่โรคอุบัติซ้ าและภัยสุขภาพที่เกิดจี ่ภูมิอากาศ ผ่านเกณฑ์ที่ก าหนด 1. โครงการพัฒ น าสจรับมอปรับตัวต่อโรคอบติืุัใหม่โรคอุบัติซ้ าและภัยสุขภาพที่ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของหน่วยงานระดับพื้นที่ √√√12.210 22.786 22.226 57.222 ง1) กอง ครฉ. (35.322) 2) ส.โรคจากกอาชีพฯ (3(หน่วยงานระดับจสมรรถนะในการจัดการภาวะฉรับมือปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่โรคอุบัติซ้ าและภัยสุขภาพที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ผ่านเกณฑ์ที่ก าหนด1.ร้อยละของสมรรถนะของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ในการจัดการภาวะฉุกเฉินฯระดับจังหวัด ผ่านเกณฑ์ที่ก าหนดปี 63 64 65 จด40 60 70 1.พัฒนาศักยภาพของศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉกเฉินทางสาธารณสุข ุ√√√3.50 9.70 9.70 22.901) กอง ครฉ. (7.50 ) ปี 63 = 3.50

564มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน (ภู์บัญชาการเหตุการณ์)ระดับจังหวัด ปี 64 = 2.00 ปี 65 = 2.00 2) ส.โรคจากการประกอบอาชีพฯ (15.40) ปี 63 = 0.00 ปี 64 = 7.70 ปี 65 = 7.70 2.พัฒนาทักษะบุคลากรรดานการประเมนแนวโนม้ิ้สถานการณ์โรคและภยัสุขภาพ และระบบรายงานสถานการณ์ความเสี่ยงและภัยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ √√√1.00 1.50 1.50 4.00กองครฉ. 3.พัฒนาศักยภาพเครือข่ายในการปองกันควบคุมและ้ดูแลประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ โดยพัฒนาศูนย์ฝึกอบรมอาสาสมัครดานการ้จัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในพื นที่ √√√0.96 1.00 1.00 2.96กองครฉ. 4.วิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงด้านโรคและภัยสุขภาพ (Risk Assessment) และจัดท้า√√√1.00 1.00 1.00 3.00กองครฉ.

565มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน แผนเตรียมความพร้อมและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขส้าหรับทุกโรคและภัยสุขภาพ(All-Hazards Plan & Hazard Specific Plan) ระดับจังหวัด 5ัุBusiness Continuity Plan เพื่อการปฏิบัติงานในภาวะฉุิัจังหวัด √√√0.40 0.40 0.40 1.20กองครฉ. 6 . ัฒนากระบวนงาน (Protocol)และมาตรฐานกOperatingPSOP) ของกลุ่มภ ารกิจภายใตระบบบญชาการ้ัเุัโรคและภยสุขภาพต่างๆระดับัจังหวัด √√√0.20 0.20 0.20 0.60กองครฉ. 7ัุทางการปฏิบัติงาน (SOP) กระบวนการดาเนินงาน้ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังและรายงานเหตุการณ์ระดับจังหวัดให้ทันต่อ√√√3.050 0.048 0.048 3.146กองครฉ.

566มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน สถานการณ์แบ บเป น็ปัจจุบัน (Real time) 8ูิสการรับมือโรคติดต่ออุบัติใหม่โรคอุบัติซ ้าและภัยสุขภาพที่เกิดจากการเระดับพื นที่ √√√0.30 1.50 1.50 3.30กองครฉ. 9ู้แผนเตรียมความพร้อมและตสาธารณสุขของหน่วยงานทุกภาคส่วนในระดับจังหวัดห รือช่องท างเข้าออกประเทศ √√√1.80 2.00 2.00 5.80กองครฉ. 10.พฒนารูปแบบและักภายใต้แนวทางปฏิบัติในการสนับสนุนปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข (สปฉ.8) แูค้้ภ า ว ะ ฉุกเฉิน ท า ง√√-0.30 0.30 0.60กองครฉ.

567มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน สคเครือข่ายระดับจังหวัด 11.พัฒนาความร่วมมือเครือข่าย ในการจัดท้าฐานข้อมูลเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติและโรคติดต่ออุบัติใหม่ ระดับจังหวัด √√-0.30 0.30 0.60กองครฉ. 12.พัฒนาระบบการแจ้งเตือนภัย การให้ค้าปรึกษาด้านโรคและภัยพิบัติ และร ะ บ บ ส า ร ส น เศ ที่ครอบคลุมภาวะฉุกเฉินด้านโัระบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ระดับจังหวัด √√-0.20 0.20 0.40กองครฉ. 13. ส้า รว จ วิเร า ะห์รายการทรัพยากรที่ส้าคัญและจ้าเป็น และจัดท้าระบบรบ-ส่งยา/เวชภัณฑ์ัป้องกันควบคุมโรค และบุ์เดภ าวะฉุกน ทาง√√-1.00 1.00 2.00กองครฉ.

568มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน สและอาเภอ ้ 13.1 สรางและพฒนาความ้ัเ่บริหารจัดการ ด้านโรคและภัยสุขภาพเพื่อการสนับสนุนกทางสาธารณสุขระดบัจังหวัด √√กองครฉ. 13.2 ระบ บ ส้ารอ งทรัพยากรและส่งก้าลังบ้ารุงด้านการป้องกันควบคุมโรค ระดับจังหวัด √√กองครฉ. 14.พัฒนาความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั งภัภเสารเคมี √√-0.138 0.078 0.216กองครฉ. 15.ฒ น า ศัก ย ภ า พเครือข่ายในพื นที่เขตเมืองในการเตรยมความพร้อมีแทางสาธารณสุขระดบัจังหวัด √√-3.50 3.00 6.50สปคม.

5696. แผนการติดตามประเมินผลระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผลปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการท 1พัฒนาี ่สมรรถนะระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระดับชาติหน่วยงานระดับกรม ประเมิน กรมคร./และระดับเขตมีสมรรถนะในการจัดการภาวะฉุกเฉิน Tool ทุกปี ฯผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนด สคร. /สสจ. โดยใช ้EOC Assessment - - √√√มาตรการที่ 2 พัฒนาสมรรถนะเครอข่ายืระดบพื้นที่ในการจัดการัภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข หน่วยงานระดับจังหวัด มีสมรรถนะในการจัดการภาวะฉุกเฉิน (พ.ศ. 2565) พร้อมรับมือปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่โรคอุบัติซ ้าและภัยสุขภาพที่เกิดจากการเปลียนแปลง่ภมิอากาศ ผ่านูเกณฑ์ที่ก้าหนด ประเมินหน่วยงานที่เกี่ ย ว ข้ อ ง ต า ม WHO’s JEEทุก 5 ปี- - - - √7. ผู้รับผิดชอบแผนงาน นายสัตวแพทย์พรพิทกษ์ พันธ์หล้า ัเบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3155ผู้อ้านวยการกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรคE-mail: [email protected]

5701. สถานการณ์ การส่อสารความเส่ยงโรคและภัยสุขภาพตามกฎอนามยโลก พ.ศ. 2548 คอ การให้ขอมลโรคและภัยสุขภาพ ืีัืู้ทรวดเร็ว และทนเวลา ทนตอสถานการณแกประชาชน โดยเฉพาะโรคระบาดตางๆ ซ่งนอกจากจะคานงถึงโรค ี ่ัั่์่่ึึและภัยสุขภาพแล้ว จะต้องค านึงถึงผลกระทบจากโรคและภัยสุขภาพเหล่านั้นที่อาจเกิดขึ้นกับประชาชน ทั้งผลกระทบ ตอสงคม ศาสนา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม นโยบายและเศรษฐกจทงตอประชาชนเองและประเทศชาต รวมท้งตองรับ่ัิั ้่ิั้ฟังประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบ ทีมผู้เชี่ยวชาญจากองค์การอนามัยโลก ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากภายนอก (JEE-IHR 2005) มาประเมนการด าเนนการตามกฎอนามยระหว่างประเทศของประเทศไทย เมอวันท 26 - 30 มิถนายน 2560 ส าหรับ ิิัื ่ี ุ่การประเมินด้านการสื่อสารความเสี่ยง ได้มีการรวบรวมข้อมูล เอกสารที่เกี่ยวข้อง และสื่อต่างๆ จากทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และได้น าเสนอผลการด าเนินงานของประเทศไทยตามสมรรถนะหลักด้านการสื่อสารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2560 ซึ่งทีมผู้เชี่ยวชาญจากองค์การอนามัยโลก ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากภายนอก (JEE-IHR 2005) ได้ประเมินว่าประเทศไทยมีการด าเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงอยู่ในระดับดีมาก เป็นที่ประจักษ์ด้วยหลักฐาน โดยไดคะแนนแตละด้าน 4 คะแนนจากคะแนนเต็ม 5 คะแนน และมประเดนในการพฒนาเพอให้การสอสารความเสยง้่ี็ัื ่ื ่ี ่โรคและภัยสุขภาพทุกพนที่ทั่วประเทศไทย ได้มาตรฐานตามเกณฑกฎอนามัยระหว่างประเทศ(JEE-IHR 2005) ได้คะแนนื้์เต็ม 5 ภายในปี 2579 แผนงานสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ (Health Risk Communication)

5712. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพระยะ 5 ปี (2564-2567) 2.1 เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระดับประเทศ ในระยะ 5 ปี เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2563 2564 2565 2566 2567 เป้าหมาย : การสื่อสารความเสี่ยงด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน ได้มาตรฐานตามเกณฑ์กฎอนามัยระหว่างประเทศJEE-IHR 2005 อยู่ระหว่างด าเนินการ 5555ตัวชี้วัด : ร้อยละของหน่วยงานที่มีความส าเร็จในการด าเนินงานพัฒนาระบบสื่อสารความเสี่ยงด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพตามเกณฑ์ JEE/IHR 2005 อยู่ระหว่างด าเนินการ 95 100 --

5723. มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปีและหน่วยงานผู้ด าเนินการมาตรการ/Service Provider ส านัก/สถาบัน เขต/สคร. สสจ. สสอ./โรงพยาบาล/รพ.สต. อบจ./อปท./อบต. มาตรการ : พัฒนาการสื่อสารความเสี่ยงด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่มีประสิทธิภาพในทุกระดับ (ประเทศ ระดับเขต ระดับจังหวัด ระดับท้องถิ่น) 1. พัฒนาระบบการสื่อสารความเสี่ยง ส าหรับเหตุการณ์ผิดปกติ/เหตุการณ์ไม่คาดคิด และภาวะฉุกเฉิน 2. การสื่อสารภายใน-ภายนอกองค์กร เพื่อการประสานงานเครือข่ายในภาวะฉุกเฉิน 3. การสื่อสารสาธารณะในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน 4. การสื่อสาร เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชนที่ได้รับผลกระทบ 5.การประเมินการรับรู้ พฤติกรรมเสี่ยง และข้อเข้าใจผิด 1. การจัดระบบกลไกการขับเคลื่อนด้านการสื่อสารความเสี่ยงเพื่อเตรียมความพร้อมรับผลกระทบและภัยสุขภาพร่วมกับภาคีเครือข่ายของโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบ 2.ร่วมพัฒนารูปแบบการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพโดยใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม สร้างความรอบรู้ 3.สนับสนุนการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ 4. ติดตามและประเมินผลการด าเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพในโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบ 1. การจัดระบบกลไกการขับเคลื่อนด้านการสื่อสารความเสี่ยงเพื่อเตรียมความพร้อมรับผลกระทบและภัยสุขภาพร่วมกับภาคีเครือข่ายระดับเขต 2.พัฒนารูปแบบ/ช่องทางการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพโดยใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม สร้างความรอบรู้แบบมีส่วนร่วมในระดับเขต/พื้นที่ 3.พัฒนาระบบฐานข้อมูลการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพในระดับเขต 4.ติดตามและประเมินผลการด าเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ 1.การจัดระบบกลไกการขับเคลื่อนด้านการสื่อสารความเสี่ยงเพื่อเตรียมความพร้อมรับผลกระทบและภัยสุขภาพในพื้นที่รับผิดชอบ 2. เฝ้าระวังและตอบโต้ข้อมูลข่าวสาร การสื่อสารความเสี่ยงด้านโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่รับผิดชอบ 3.ร่วมจัดท าแผนงานบูรณาการกับหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด/พื้นที่ 4.จัดหาและสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ ฯลฯ 5.สนับสนุน จัดส่ง หรือจัดให้มีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อการเฝ้าระวังและตอบโต้ข้อมูลข่าวสาร การสื่อสารความเสี่ยงด้านโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่รับผิดชอบ และการฝึกซ้อมแผนฯในระดับพื้นที่ 1.การจัดระบบกลไกการขับเคลื่อนด้านการสื่อสารความเสี่ยงเพื่อเตรียมความพร้อมรับผลกระทบและภัยสุขภาพในพื้นที่รับผิดชอบ 2. เฝ้าระวังและตอบโต้ข้อมูลข่าวสาร การสื่อสารความเสี่ยงด้านโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่รับผิดชอบ 3.ร่วมจัดท าแผนงานบูรณาการกับหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด/พื้นที่ 4.จัดหาและสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ ฯลฯ 5.สนับสนุน จัดส่งหรือจัดให้มีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อการเฝ้าระวังและตอบโต้ข้อมูลข่าวสาร การสื่อสารความเสี่ยงด้านโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่รับผิดชอบ และการฝึกซ้อมแผนฯในระดับพื้นที่ 1.การจัดระบบกลไกการขับเคลื่อนด้านการสื่อสารความเสี่ยงเพื่อเตรียมความพร้อมรับผลกระทบและภัยสุขภาพในพื้นที่รับผิดชอบ 2.ร่วมเฝ้าระวังและตอบโต้ข้อมูลข่าวสาร การสื่อสารความเสี่ยงด้านโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่รับผิดชอบ 3.ร่วมจัดท าแผนงานบูรณาการกับหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ 4.สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ ฯลฯ 5.ร่วมพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อการเฝ้าระวังและตอบโต้ข้อมูลข่าวสาร การสื่อสารความเสี่ยงด้านโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่รับผิดชอบ และการฝึกซ้อมแผนฯในระดับพื้นที่

5734. มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี(2564 - 2567) มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2566 2567 รวม แหล่งเงิน พัฒนาการสื่อสารความเสี่ยงด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่มีประสิทธิภาพในทุกระดับ (ประเทศ ระดับเขต ระดับจังหวัด ระดับท้องถิ่น) ร้อยละของหน่วยงานที่มีด าเนินงานพัฒนาระบบสื่อสารความเสี่ยงด้า น ก า ร ป้อ ง กันควบคมโรคและภยุัส์JEE/IHR 2005กิจกรรมหลักที่ 1การพัฒนา/การขับเคลื่อนด้านการสื่อสารความเสี่ยงเพื่อเตรียมความพร้อมรับผลกระทบและภัยสุขภาพร่วมกับภาคีเครือข่ายของโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบ   หลัก – กรมควบคุมโรค / ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขร่วม – ส านักนายกรัฐมนตรี/กระทรวงศึกษาธิการ/กระทรวงมหาดไทย/กระทรวงเกษตรและสหกรณ์/กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม/กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา/หน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง362111เงินงบประมาณ ร้อยละการด าเนินงานพัฒนา/ขับเคลื่อนด้านการสื่อสารความเสี่ยงฯ (ป 2564= ร้อยละ 90 ีปี 2565= ร้อยละ 100) ร้อยละการด าเนินงานพัฒนา/ขับเคลื่อนด้านการสื่อสารความเสี่ยงเพื่อเตรียมความพร้อมรับผลกระทบและภัยสุขภาพร่วมกับภาคีเครือข่ายของโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบ กิจกรรมหลักที่ 2พัฒนารูปแบบการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพโดยใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม สร้างความรอบรู้   2222210 รูปแบบการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสมฯ (ป 2564= 12 ีปี 2565= 12 ปี 2566= 12) รูปแบบการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสมตามบริบทของกลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่

574มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2566 2567 รวม แหล่งเงิน กิจกรรมหลักที่ 3พัฒนาระบบฐานข้อมูลการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ   0.53.5 22210 ระบบฐานข้อมูลการสื่อสารความเสี่ยงฯสามารถน าไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ป 2564= ร้อยละ 50 ีปี 2565= ร้อยละ 60 ปี 2566= ร้อยละ 70) ร้อยละความส าเร็จในการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการสื่อสารความเสี่ยงฯ พัฒนาการสื่อสารความเสี่ยงด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่มีประสิทธิภาพในทุกระดับ (ประเทศ ระดับเขต ระดับจังหวัด ระดับท้องถิ่น)กิจกรรมหลักที่ 4 ติดตามและประเมินผลการด าเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพในโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบ   0.6 11114.6 การด าเนินการติดตามประเมินผลการด าเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงฯ(ร้อยละ 100) ร้อยละความส าเร็จในการด าเนินการติดตามและประเมินผลการด าเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงฯ รวม 6.1 13.5 6663หมายเหตุ : รายละเอียดกิจกรรมการด าเนินงานตามเอกสารแนบ

5755. แผนการติดตามประเมินผลระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก ตัวชี้วัด เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผลปี พ.ศ. 2564 2565 2566 2567 พัฒนาการสื่อสารความเสี่ยงด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่มีประสิทธิภาพในทุกระดับ (ประเทศ ระดับเขต ระดับจังหวัด ระดับท้องถิ่น) ร้อยละของหน่วยงานที่มีความส าเร็จในการด าเนินงานพัฒนาระบบสื่อสารความเสี่ยงด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพตามเกณฑ์ JEE/IHR 2005 100 1. จังหวัด/สคร. :พื้นที่ด าเนินการประเมินตนเองและพัฒนาการสื่อสารฯ โดยเก็บเป็นเอกสารหลักฐานตามเกณฑ์การประเมิน 2. ส านักสื่อสารความเสี่ยงฯ กรมควบคุมโรค : ด าเนินการสุ่มเยี่ยมเสริมพลัง ให้ค าแนะน า และช่วยแก้ปัญหา (ตามเขตพื้นที่ สคร.) 4 ครั้ง/ปี 4 ครั้ง/ปี 4 ครั้ง/ปี 4 ครั้ง/ปี

5766. ผู้รับผิดชอบแผนงาน 1. นายแพทย์วิชาญ ปาวันเบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3856 ผู้อ านวยการส านักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ กรมควบคุมโรคE-mail : [email protected] 2. ดร.พาหุรัตน์ คงเมือง ทัยสุวรรณ์ เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3855หัวหน้ากลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยงในภาวะฉุกเฉินE-mail: [email protected]

577รายละเอียดกิจกรรมส าคัญ : การพัฒนา/การขับเคลื่อนด้านการสื่อสารความเสี่ยงเพื่อเตรียมความพร้อมรับผลกระทบและภัยสภาคีเครือข่ายของโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบ ระดับเขต ระดับจังหวัด ระดับท้องถิ่น กระบวนการด าเนินงาน ส านักสื่อสารฯ ส านัก/สถาบัน สคร. 1 – 12 สสจ./รพศ./รพท./รพช./สสอ./รพ.สต. 1.1 ระบบการสื่อสารความเสี่ยง ส าหรับเหตุการณ์ผิดปกติ/เหตุการณ์ไม่คาดคิด และภาวะฉุกเฉิน1) เสนอและผลักดันให้มีแผนงาน หรือแนวทาง หรือกิจกรรม งานด้านสื่อสารความเสี่ยงอยู่ในแผนการตอบโต้โรคและภัยสุขภาพระดับชาติ 2). ก าหนดหน่วยงานหรือบุคลากรที่ท าหน้าที่ประจ าด้านการสื่อสารความเสี่ยง รวมทั้งก าหนดบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ และสามารถระดมมาปฏิบัติงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงได้ในระหว่างภาวะฉุกเฉิน 3) พัฒนาศักยภาพบุคลากรและการด าเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงทุกโรค ทุกภัยทุกระดับ 4) ถ่ายทอดแผนงาน หรือแนวทาง หรือ กิจกรรมการด าเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยง ข้อตกลง และแนวทางการปฏิบัติให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง5) จัดท าแผนบริหารจัดการงบประมาณ และวัสดุอุปกรณ์ ส าหรับการปฏิบัติงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงทั้งในภาวะปกติ และในภาวะฉุกเฉิน 6) มีการทดสอบแผน หรือปรับปรุงแผนการด าเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงเป็นประจ าอย่างน้อยทุก 2 ปี 1) จัดท าและพัฒนาระบบ/กลไก/ แบบแผน/แนวทาง การด าเนินงานสื่อสารความเสี่ยงแผนโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบ (อย่างใดอย่างหนึ่ง) 2) ก าหนดผู้รับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ด้านการสื่อสารความเสี่ยงในหน่วยงาน 3) พัฒนาศักยภาพบุคลากร และการด าเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงแผนโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบ 4) ถ่ายทอด หรือเข้าร่วมการถ่ายทอดแผน/ แนวทางการด าเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงแผนโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบ 5) จัดท าแผนบริหารจัดการและเตรียมการด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนการด าเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยง แผนโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบในภาวะฉุกเฉิน 6) ด าเนินงานตามระบบ กลไก แบบแผน แนวทาง การด าเนินงาน หรือซ้อมการด าเนินงานด้านสื่อสารความ1) จัดท าและพัฒนาระบบ กลไก/ แบบแผน/แนวทาง การด าเนินงานสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาในพื้นที่(อย่างใดอย่างหนึ่ง) 2) ก าหนดผู้รับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ด้านการสื่อสารความเสี่ยงในหน่วยงาน 3) พัฒนาศักยภาพบุคลากร และการด าเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาในพื้นที่ 4). ถ่ายทอด หรือเข้าร่วมการถ่ายทอดแผน/ แนวทางการด าเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาในพื้นที่ 5) จัดท าแผนบริหารจัดการและเตรียมการด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนการด าเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยง แผนโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบในภาวะฉุกเฉิน 6) ด าเนินงานตามระบบ กลไก แบบแผน แนวทาง การด าเนินงาน หรือ การซักซ้อมแผนการด าเนินงานด้านการสื่อสารความ1) จัดท าและพัฒนาระบบ กลไก แบบแผน แนวทาง การด าเนินงานสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาในพื้นที่ (อย่างใดอย่างหนึ่ง) 2) ก าหนดผู้รับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ด้านการสื่อสารความเสี่ยงในหน่วยงาน 3) พัฒนาศักยภาพบุคลากร และการด าเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยง 4) จัดท าแผนบริหารจัดการและเตรียมการด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนการด าเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบในภาวะฉุกเฉิน 5) ด าเนินงานตามระบบ กลไก แบบแผน แนวทาง การด าเนินงาน หรือ การซักซ้อมแผนการด าเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาในพื้นที่ (อย่างใดอย่างหนึ่ง) 6) รายงานผลการด าเนินงาน

578กระบวนการด าเนินงาน ส านักสื่อสารฯ ส านัก/สถาบัน สคร. 1 – 12 สสจ./รพศ./รพท./รพช./สสอ./รพ.สต. เสี่ยงตามแผนโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบ (อย่างใดอย่างหนึ่ง)7) รายงานผลการด าเนินงาน ผ่านระบบ RCMC เสี่ยงโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาในพื้นที่ (อย่างใดอย่างหนึ่ง) 7) รายงานผลการด าเนินงาน ผ่านระบบ RCMC 1.2 การสื่อสารภายใน-ภายนอกองค์กร เพื่อการประสานงานเครือข่ายในภาวะฉุกเฉิน 1) จัดท าและพัฒนาระบบ หรือกลไก หรือแผนผัง ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เพื่อประสานงาน ลดความขัดแย้ง และการสื่อสารความเสี่ยงภายในองค์กรผู้มีส่วนได้ส่วนเสียระดับชาติ ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งระดับนานาชาติ เพื่อการตอบโต้ในระหว่างภาวะฉุกเฉิน 2) จัดท าและพัฒนาแผนการตอบโต้ด้านการสื่อสารความเสี่ยงแผนโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบอย่างสม่ าเสมอ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3) ซ้อมแผนการตอบโต้หรือด าเนินการจริงในภาวะฉุกเฉินในสถานการณ์จริง เพื่อทดสอบการประสานงานการสื่อสารกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4) ประสานด้านงบประมาณ เพื่อใช้ในการตอบโต้ด้านสื่อสาร กับหน่วยงานภายนอก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1) จัดท าและพัฒนาระบบ หรือกลไก หรือ แผนผัง ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เพื่อประสานงาน ลดความขัดแย้งและการสื่อสารความเสี่ยงภายในองค์กรผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ เพื่อการตอบโต้ในระหว่างภาวะฉุกเฉินตามแผนโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบ 2) จัดท าและพัฒนาแผนการตอบโต้ด้านการสื่อสารแผนโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบอย่างสม่ าเสมอ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3) ซ้อมแผนการตอบโต้หรือด าเนินการจริงในภาวะฉุกเฉินในสถานการณ์จริง เพื่อทดสอบการประสานงานการสื่อสารกับหน่วยงาน 4) ประสานด้านงบประมาณ เพื่อใช้ในการตอบโต้ด้านสื่อสาร กับหน่วยงานภายนอก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกระดับ 1) จัดท าและพัฒนาระบบ หรือกลไก หรือแผนผัง ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เพื่อประสานงาน ลดความขัดแย้งและการสื่อสารความเสี่ยง ภายในองค์กรผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับเพื่อการตอบโต้ในระหว่างภาวะฉุกเฉินโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ 2) จัดท าและพัฒนาแผนการตอบโต้ด้านการสื่อสารแผนโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบอย่างสม่ าเสมอ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3) ซ้อมแผนการตอบโต้หรือด าเนินการจริงในภาวะฉุกเฉินในสถานการณ์จริง เพื่อทดสอบการประสานงานการสื่อสารกับหน่วยงาน 4) ประสานด้านงบประมาณ เพื่อใช้ในการตอบโต้ด้านสื่อสาร กับ1) จัดท าและพัฒนาระบบ หรือกลไก หรือแผนผัง ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เพื่อประสานงาน ลดความขัดแย้ง และการสื่อสารความเสี่ยง ภายในองค์กรผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องระดับเขต และในพื้นที่ ในภาวะฉุกเฉินโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ 2) จัดท าและพัฒนาแผนการตอบโต้ด้านการสื่อสารแผนโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบอย่างสม่ าเสมอ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3) ซ้อมแผนการตอบโต้หรือด าเนินการจริงในภาวะฉุกเฉินในสถานการณ์จริง เพื่อทดสอบกาประสานงานการสื่อสารกับหน่วยงาน 4) ประสานด้านงบประมาณ เพื่อใช้ในการตอบโต้ด้านสื่อสาร กับหน่วยงานภายนอก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

579กระบวนการด าเนินงาน ส านักสื่อสารฯ ส านัก/สถาบัน สคร. 1 – 12 สสจ./รพศ./รพท./รพช./สสอ./รพ.สต. หน่วยงานภายนอก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1.3 การสื่อสารสาธารณะ 1) ก าหนด/แต่งตั้ง และฝึกอบรมโฆษกให้ที่ท าหน้าที่สื่อสารความเสี่ยงแก่สาธารณะ 2) จัดท าและพัฒนากระบวนการตรวจสอบสื่อและสื่อสังคมออนไลน์ที่รวดเร็ว ทันสถานการณ์ 3) ก าหนดทีมสื่อสารความเสี่ยงเพื่อด าเนินงานร่วมกับเครือข่ายในการสื่อสารความเสี่ยง 4) วิเคราะห์และก าหนดกลุ่มเป้าหมาย เพื่อท าความเข้าใจบริบทด้านภาษา ความเชื่อมั่นแหล่งข้อมูล และช่องทางในการสื่อสารให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย 5) ก าหนดยุทธศาสตร์การสื่อสารเชิงรุก หลากหลายช่องทาง สอดคล้องกับความต้องการและจ าเพาะกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่ม เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ สื่อสังคมออนไลน์ อินเทอร์เน็ต เป็นต้น 6) ก าหนดและใช้ภาษาพื้นถิ่นในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 7) ศึกษาวิจัยการน าเสนอข้อมูลของสื่อ เพื่อก าหนดประเด็นสารให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย 1) ก าหนด/แต่งตั้ง โฆษกของหน่วยงาน และส่งโฆษกเข้าร่วมการฝึกอบรม เพื่อที่ท าหน้าที่สื่อสารฯในส่วนที่รับผิดชอบ 2) ก าหนดทีมสื่อสารความเสี่ยง เพื่อด าเนินงานร่วมกับเครือข่ายในการสื่อสารความเสี่ยง 3) วิเคราะห์และก าหนดกลุ่มเป้าหมาย เพื่อท าความเข้าใจบริบทด้านภาษา ความเชื่อมั่นแหล่งข้อมูล และช่องทางในการสื่อสารให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย 4) ก าหนดและใช้ภาษาพื้นถิ่น และช่องทางที่หลากหลาย เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 5) ใช้หลักฐานทางด้านวิชาการเป็นพื้นฐานในการก าหนดกระบวนการสื่อสารความเสี่ยง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ 1) ก าหนด/แต่งตั้ง โฆษกของหน่วยงาน และส่งโฆษกเข้าร่วมการฝึกอบรม เพื่อที่ท าหน้าที่สื่อสารฯในส่วนที่รับผิดชอบ 2) ก าหนดทีมสื่อสารความเสี่ยง เพื่อด าเนินงานร่วมกับเครือข่ายในการสื่อสารความเสี่ยง 3) วิเคราะห์และก าหนดกลุ่มเป้าหมาย เพื่อท าความเข้าใจบริบทด้านภาษา ความเชื่อมั่นแหล่งข้อมูล และช่องทางในการสื่อสารให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย 4) ก าหนดและใช้ภาษาพื้นถิ่น และช่องทางที่หลากหลาย เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 5) ใช้หลักฐานทางด้านวิชาการเป็นพื้นฐานในการก าหนดกระบวนการสื่อสารความเสี่ยง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ 1) ก าหนด/แต่งตั้ง โฆษกของหน่วยงาน และส่งโฆษกเข้าร่วมการฝึกอบรม เพื่อที่ท าหน้าที่สื่อสารฯในส่วนที่รับผิดชอบ 2) ก าหนดทีมสื่อสารความเสี่ยงเพื่อด าเนินงานร่วมกับเครือข่ายในการสื่อสารความเสี่ยง 3) มีการวิเคราะห์และก าหนดกลุ่มเป้าหมาย เพื่อท าความเข้าใจบริบทด้านภาษา ความเชื่อมั่นแหล่งข้อมูล และช่องทางในการสื่อสารให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย 4) ก าหนดใช้ภาษาพื้นถิ่น และช่องทางที่หลากหลาย เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 5) ใช้หลักฐานทางด้านวิชาการเป็นพื้นฐานในการก าหนดกระบวนการสื่อสารความเสี่ยง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ

580กระบวนการด าเนินงาน ส านักสื่อสารฯ ส านัก/สถาบัน สคร. 1 – 12 สสจ./รพศ./รพท./รพช./สสอ./รพ.สต. 8) ก าหนดประเด็นสารและมีการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ 9) ใช้หลักฐานทางด้านวิชาการเป็นพื้นฐานในการก าหนดกระบวนการสื่อสารความเสี่ยง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระหว่างภาวะฉุกเฉิน 10) เฝ้าระวังสื่อและสื่อสังคม เพื่อการตรวจสอบความไม่ถูกต้องของข้อมูลข่าวสารที่เผยแพร่ออกไปได้อย่างรวดเร็ว 1.4 การสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชนที่ได้รับผลกระทบ 1) ก าหนดหน่วยงาน/ ทีม/ คณะท างานที่ด าเนินงานขับเคลื่อนทางสังคม การส่งเสริมสุขภาพ หรือการมีส่วนร่วมของชุมชน หรือ การท างานเป็นกลุ่ม ที่ใช้ในการสื่อสารเพื่อการตอบโต้ในระหว่างภาวะฉุกเฉิน 2) จัดท าแผนการขับเคลื่อนทางสังคม การส่งเสริมสุขภาพ หรือการมีส่วนร่วมของชุมชน รวมอยู่ในแผนการตอบโต้ระดับชาติ 3) ขับเคลื่อนทางสังคม การส่งเสริมสุขภาพ หรือการมีส่วนร่วมของชุมชน หรือ การท างานเป็นกลุ่ม ในการท างานอย่างสม่ าเสมอกับหน่วยงานด้านสื่อ หรือ บุคคลหลัก/ องค์กรหลักผู้ที่ได้รับผลกระทบ หรือ ประชากร1) ก าหนดหน่วยงาน/ ทีม/ คณะท างานที่ด าเนินงานขับเคลื่อนทางสังคม การส่งเสริมสุขภาพ หรือการมีส่วนร่วมของชุมชน หรือ การท างานเป็นกลุ่ม ที่ใช้ในการสื่อสารเพื่อการตอบโต้ในระหว่างภาวะฉุกเฉิน 2) จัดท าและก าหนดวิธีการแบ่งปันข้อมูลหรือการฝึกอบรมด้านการมีส่วนร่วมกับชุมชน 3) ก าหนดให้การขับเคลื่อนทางสังคม การส่งเสริมสุขภาพ หรือสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน บรรจุอยู่ในแผนการการด าเนินงานของหน่วยงาน 4) ก าหนดกลุ่มเป้าหมาย / กลุ่มเสี่ยง / ชุมชนกลุ่มเสี่ยง/ กิจกรรมการสร้างความมีส่วนร่วมกับชุมชนในการ1) ก าหนดหน่วยงาน/ ทีม/ คณะท างานที่ด าเนินงานขับเคลื่อนทางสังคม การส่งเสริมสุขภาพ หรือการมีส่วนร่วมของชุมชน หรือ การท างานเป็นกลุ่มที่ใช้ในการสื่อสารเพื่อการตอบโต้ในระหว่างภาวะฉุกเฉิน 2) จัดท าและก าหนดวิธีการแบ่งปันข้อมูลหรือการฝึกอบรมด้านการมีส่วนร่วมกับชุมชน 3) ก าหนดให้การขับเคลื่อนทางสังคม การส่งเสริมสุขภาพ หรือสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน บรรจุอยู่ในแผนการการด าเนินงานของหน่วยงาน 4) ก าหนดกลุ่มเป้าหมาย / กลุ่มเสี่ยง / ชุมชนกลุ่มเสี่ยง/ กิจกรรมการ1) ก าหนดกลุ่มเป้าหมาย / กลุ่มเสี่ยง / ชุมชนกลุ่มเสี่ยง 2) ก าหนดกิจกรรมการสร้างความมีส่วนร่วมกับชุมชนในการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ 3) ก าหนดให้การขับเคลื่อนทางสังคม การส่งเสริมสุขภาพ หรือสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน บรรจุอยู่ในแผนการการด าเนินงานของหน่วยงาน รวมทั้งประเมินความเสี่ยงของสื่อช่องทางต่างๆและการรับรู้ของประชาชนในชุมชน 4) ร่วมการจัดท าฐานข้อมูลพื้นฐานทางสังคม ข่าวกรอง และมีการวิเคราะห์ปัจจัยที่อาจเพิ่มความเสี่ยงของประชาชน (หรือความสามารถที่จะต่อต้านการด าเนินงาน) เมื่อเกิดโรค

581กระบวนการด าเนินงาน ส านักสื่อสารฯ ส านัก/สถาบัน สคร. 1 – 12 สสจ./รพศ./รพท./รพช./สสอ./รพ.สต. กลุ่มเสี่ยงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ 4) ถ่ายทอดแผนการด าเนินงานขับเคลื่อนทางสังคมให้หน่วยงานทุก เพื่อให้สามารถท างานร่วมกับหน่วยงานอื่นในพื้นที่ รวมทั้งได้มีการบอกเล่าประสบการณ์และเรียนรู้ร่วมกัน 5) ก าหนดช่องทางการรับฟังความคิดเห็นระหว่างหน่วยงานและชุมชน 6) มีการจัดท าฐานข้อมูลพื้นฐานทางสังคม ข่าวกรอง และมีการวิเคราะห์ปัจจัยที่อาจเพิ่มความเสี่ยงของประชาชน (หรือความสามารถที่จะต่อต้านการด าเนินงาน) เมื่อเกิดโรคและภัยสุขภาพ 5 อันดับแรกของประเทศ (เช่น จัดท าแผนที่ภาษาถิ่น ลักษณะการอยู่อาศัย กิจกรรมทางศาสนา/วัฒนธรรม ช่องทางการสื่อสารที่ประชาชนเชื่อถือ ผู้มีอิทธิพล) สื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ รวมทั้ง วิธีการประเมินความเสี่ยงของสื่อช่องทางต่างๆและการรับรู้ของประชาชนในชุมชน 5) ร่วมการจัดท าฐานข้อมูลพื้นฐานทางสังคม ข่าวกรอง และมีการวิเคราะห์ปัจจัยที่อาจเพิ่มความเสี่ยงของประชาชน (หรือความสามารถที่จะต่อต้านการด าเนินงาน) เมื่อเกิดโรคและภัยสุขภาพ 5 อันดับแรกของประเทศ (เช่น จัดท าแผนที่ภาษาถิ่น ลักษณะการอยู่อาศัย กิจกรรมทางศาสนา/วัฒนธรรม ช่องทางการสื่อสารที่ประชาชนเชื่อถือ ผู้มีอิทธิพล) สร้างความมีส่วนร่วมกับชุมชนในการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ รวมทั้ง วิธีการประเมินความเสี่ยงของสื่อช่องทางต่างๆและการรับรู้ของประชาชนในชุมชน 5) ร่วมการจัดท าฐานข้อมูลพื้นฐานทางสังคม ข่าวกรอง และมีการวิเคราะห์ปัจจัยที่อาจเพิ่มความเสี่ยงของประชาชน (หรือความสามารถที่จะต่อต้านการด าเนินงาน) เมื่อเกิดโรคและภัยสุขภาพ 5 อันดับแรกของประเทศ (เช่น จัดท าแผนที่ภาษาถิ่น ลักษณะการอยู่อาศัย กิจกรรมทางศาสนา/วัฒนธรรม ช่องทางการสื่อสารที่ประชาชนเชื่อถือ ผู้มีอิทธิพล) และภัยสุขภาพ 5 อันดับแรกของประเทศ (เช่น จัดท าแผนที่ภาษาถิ่น ลักษณะการอยู่อาศัย กิจกรรมทางศาสนา/วัฒนธรรม ช่องทางการสื่อสารที่ประชาชนเชื่อถือ ผู้มีอิทธิพล) 1.5 การประเมินการรับรู้ พฤติกรรมเสี่ยง และข้อเข้าใจผิด 1) ก าหนดผู้รับผิดชอบ/ บทบาทหน้าที่ ในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และประเมินการรับรู้ ความเชื่อที่ไม่พึงประสงค์ พฤติกรรมเสี่ยง และข้อเข้าใจผิดของประชาชน 2) ก าหนดกระบวนการสื่อสารประชาสัมพันธ์ และ/หรือ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร เพื่อแก้ไขความเชื่อที่ไม่พึงประสงค์ พฤติกรรมเสี่ยง 1) ก าหนดผู้รับผิดชอบ/ บทบาทหน้าที่ ในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และประเมินการรับรู้ ความเชื่อที่ไม่พึงประสงค์ พฤติกรรมเสี่ยง และข้อเข้าใจผิดของประชาชนตามแผนงานโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบ 2) ก าหนดกระบวนการสื่อสารประชาสัมพันธ์ และ/หรือ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร เพื่อแก้ไข1) ก าหนดผู้รับผิดชอบ/ บทบาทหน้าที่ ในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และประเมินการรับรู้ ความเชื่อที่ไม่พึงประสงค์ พฤติกรรมเสี่ยง และข้อเข้าใจผิดของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ 2) ก าหนดกระบวนการสื่อสารประชาสัมพันธ์ และ/หรือ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร เพื่อแก้ไข1) ก าหนดผู้รับผิดชอบ/ บทบาทหน้าที่ ในการเฝ้าระวัง ตรวจจับ และประเมินการรับรู้ ความเชื่อที่ไม่พึงประสงค์ พฤติกรรมเสี่ยง และข้อเข้าใจผิดของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ 2) ก าหนดกระบวนการสื่อสารประชาสัมพันธ์ และ/หรือ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร เพื่อแก้ไขความเชื่อที่ไม่พึงประสงค์ พฤติกรรมเสี่ยง

582กระบวนการด าเนินงาน ส านักสื่อสารฯ ส านัก/สถาบัน สคร. 1 – 12 สสจ./รพศ./รพท./รพช./สสอ./รพ.สต. และข้อเข้าใจผิดของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ 3) ก าหนดยุทธศาสตร์ในการประเมิน และรวบรวม ความเชื่อที่ไม่พึงประสงค์ พฤติกรรมเสี่ยง และข้อเข้าใจผิดของประชาชน รวมทั้งมีการแบ่งปันข้อมูลกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างสม่ าเสมอ 4) ก าหนดการสื่อสารที่ใช้ผลสะท้อนจากการประเมินความเชื่อที่ไม่พึงประสงค์ พฤติกรรมเสี่ยง และข้อเข้าใจผิดของประชาชนก เพื่อการตอบโต้ที่มีประสิทธิภาพ 5) การเรียนรู้ และปรับกระบวนการตอบโต้ด้านการสื่อสารและความสามารถในการประเมิน ความเชื่อที่ไม่พึงประสงค์ พฤติกรรมเสี่ยง และข้อเข้าใจผิดของประชาชนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ความเชื่อที่ไม่พึงประสงค์ พฤติกรรมเสี่ยง และข้อเข้าใจผิดของประชาชนตามแผนงานโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบอย่างมีประสิทธิภาพ 3) การเรียนรู้ และปรับกระบวนการตอบโต้ด้านการสื่อสารและความสามารถในการประเมิน ความเชื่อที่ไม่พึงประสงค์ พฤติกรรมเสี่ยง และข้อเข้าใจผิดของประชาชนตามแผนงานโรคและภัยสุขภาพที่รับผิดชอบให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ความเชื่อที่ไม่พึงประสงค์ พฤติกรรมเสี่ยง และข้อเข้าใจผิดของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบอย่างมีประสิทธิภาพ 3) การเรียนรู้ และปรับกระบวนการตอบโต้ด้านการสื่อสารและความสามารถในการประเมิน ความเชื่อที่ไม่พึงประสงค์ พฤติกรรมเสี่ยง และข้อเข้าใจผิดของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และข้อเข้าใจผิดของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบอย่างมีประสิทธิภาพ 3) การเรียนรู้ และปรับกระบวนการตอบโต้ด้านการสื่อสารและความสามารถในการประเมิน ความเชื่อที่ไม่พึงประสงค์ พฤติกรรมเสี่ยง และข้อเข้าใจผิดของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

5831. สถานการณ์ ปัจจุบันประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม วิถีชีวิตของมนุษย์ที่เปลี่ยนไป ซึ่งนับวันจะมีความสลับซับซ้อนมากขึ้น ส่งผลกระทบทางตรงและทางออมต่อมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสุขภาพ ้ท าให้เกิดโรคและภัยสุขภาพต่างๆ ตามมา เช่น โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรคเบาหวาน ความดัน หัวใจและหลอดเลือดที่เป็นสาเหตุหลัก ของการเสยชีวิตของคนไทยมประมาณ 13 ลานคน มสาเหตมาจากพฤตกรรมการบรโภคหวาน มัน เค็มที่มาก และมกจกรรม ีี้ีุิิีิทางกายไมเพยงพอ รวมถึงปัจจัยที่มาจากพฤติกรรมเสี่ยง อาทิ การสูบบุหรี่่ีมากถง 10.7 ล้านคนึ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 15.89 ล้านคน และอุบัติเหตุทางถนน 21,200 รายต่อปี อีกทั้งยังมีการระบาดของโรคติดต่อและโรคอุบัติใหม่ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เช่น ไขเลอดออกที่พบผู้ป่วยสูงทุกปีอย่างน้อย 60,000 – 70,000 รายต่อปี โรคซารส ไขหวัดใหญ 2009 และโรคเมอรส ้ื์้่์และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 3,179 ราย เป็นต้น ซึ่งล้วนส่งผลกระทบทั้งต่อสังคม 1และการพฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งนี้การด าเนินงานป้องกน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ จะส่งผล ััต่อการลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย และประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยอาศัยความร่วมมือและระบบการด าเนินงาน แบบบรณาการ ที่เข้มแข็งของเครือข่ายป้องกันควบคุมโรคและภัยสขภาพในทกระดบ โดยมพนทเป็นฐานและประชาชน ูุุัีื ้ี ่เป็นศูนย์กลางดังนั้น ภาคีเครือข่ายจึงเป็นยุทธศาสตร์ส าคัญของกรมควบคุมโรค เนื่องจากเป็นรากฐานส าคัญที่เออให้การป้องกัน ื้ควบคุมโรคและภัยสุขภาพเป็นไปอย่างครอบคลุม มีคุณภาพ และยั่งยืน หากแต่กิจกรรมและวิธีการที่จะพฒนาให้เครือข่าย ัมศักยภาพในการจัดการปัญหาโรคและภัยสุขภาพได้อย่างครอบคลุม มีคุณภาพ และยั่งยืน และการประสานความร่วมมอ ีืของภาคีเครือข่ายยังขาดกรอบวิธีการที่เป็นระบบ ไม่ได้วิเคราะห์ กาหนดบทบาท ขอบเขต และระดับศักยภาพของภาคีเครือข่ายที่ต้องร่วมด าเนินงานในแต่ละประเด็น หรือเป้าหมายในการป้องกัน ควบคุมแต่ละโรคและภัยสุขภาพให้ชัดเจน ไม่ได้วิเคราะห์จัดล าดับความส าคัญของปัญหา รวมทั้งจัดล าดับความส าคัญของมาตรการในการจดการปญหา ซึ่งส่งผล ััตอการวางแผน การจดสรรทรพยากร และผลลัพธ์จากการด าเนินงาน ที่ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย การพฒนาศักยภาพ ่ัััและการประสานความร่วมมือของภาคีเครือข่ายในระดับพนที่ใหสามารถจัดท าและบริหารแผนงาน โครงการ ื้้ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพตามบริบทของพนที่ได้อย่างเป็นระบบ จึงเป็นกลยุทธ์ส าคัญ ื้สู่เป้าหมายการลดปัญหาโรคและภัยสุขภาพอย่างครอบคลุม มีคุณภาพ และยั่งยืน 1 ที่มา : ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ณ 2 กรกฎาคม 2563 แผนพัฒนาศักยภาพและประสานความร่วมมือด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กับภาคีเครือขายระดับพื้นที่ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) กรมควบคุมโรค ่

5842. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง 1. สคร. 1-12 และ สปคม. 2. ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด และ กทม. 3. อ าเภอและเขต (ของ กทม.) 4. ต าบล 3. วัตถุประสงค์ 3.1 เพ่อพัฒนาใหพ้นทระดับชุมชน ต าบล อ าเภอ และจงหวัดมศกยภาพในการวิเคราะหความเสยง ื้ืี ่ัีั์ี ่การประเมนความต้องการด้านสขภาพ เพ่อการกาหนดนโยบายและขบเคลอนการด าเนนงานด้านการป้องกนและิุืัื ่ิัควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะได้ 3.2 เพ่อพัฒนาระบบขอมลสารสนเทศเพอสนับสนนการเฝ้าระวังป้องกันโรคและภัยสุขภาพในระดับชุมชน ืู้ื ุ่ต าบล อ าเภอ และจังหวัด ให้ทันสมัย มีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพ 4. เป้าหมายการพัฒนา ระยะ 5 ปี (2561-2565)เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 1. ทุกจังหวัดมีระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศ ส าหรับการวิเคราะห์ความเสี่ยงและประเมินความต้องการด้านสุขภาพ เพื่อการเฝ้าระวังโรค ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่ทันสมัย และมีคุณภาพ- - 1 ระบบ 1 ระบบ 1 ระบบ 2. บุคลากรได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการวิเคราะห์ และวางแผนอย่างเป็นระบบโดยมีการวิเคราะห์ จัดล าดับความส าคัญของปัญหา กลุ่มเป้าหมาย มาตรการ เครือข่าย และวางแผนอย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด 1 : ร้อยละของจ านวนหน่วยงานที่บุคลากรได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการวิเคราะห์ และวางแผนอย่างเป็นระบบ สคร. 1-12 และ สปคม.- - 100 100 100 ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด และ กทม.- - 100 100 100 อ าเภอและเขต (ของ กทม.)- - 50 80 100 ต าบล - - 50 80 100 ตัวชี้วัด 2 : ร้อยละของจ านวนหน่วยงานทแผนงาน ี่โครงการมีการวิเคราะห์จัดล าดับความส าคัญของปัญหาฯ อย่างเป็นระบบ มีผลสัมฤทธิ์ของแผนงาน โครงการฯ สคร. 1-12 และ สปคม.รอยละของจานวน สคร. 1-12 และ สปคม ที่้มีอัตราป่วย และ/หรือ อัตราตายด้วยโรคและ- - 30 40 50

585เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 ภัยสุขภาพทเป็นปัญหาส าคัญระดับเขต ลดลงี่อย่างน้อย 3 โรค หรือ ประเด็น ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด - - 30 40 50 กทม. กทม มอตราปวย และ/หรือ อตราตายด้วยีั่ัโรคและภัยสุขภาพทเปนปญหาส าคญระดับี ่็ััเขตสุขภาพ ลดลงอย่างน้อย 3 โรค หรือ ประเด็น - - มี มี มี อ าเภอและเขต (ของ กทม.)- - 30 40 50 ต าบล ตัวชี้วัด 3 : ร้อยละของต าบลที่มีอัตราป่วยด้วยโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาส าคัญใน 3 ล าดับแรกลดลง - - 30 40 50 ตัวชี้วัด 4 : ร้อยละของต าบลที่มีอัตราตายด้วยโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาส าคัญใน 3 ล าดับแรกลดลง - - 30 40 50 ตาราง : แสดงรายละเอียดกลุ่มเป้าหมายของแต่ละหน่วยงาน ระดับ (จ านวนหน่วยงาน) กลุ่มป้าหมาย จ านวน (คน/หน่วยงาน) รวม (คน) สคร. 1-12 และ สปคม. (13)1. หัวหน้า หรือนักวิชาการกลุ่มแผนงานและประเมินผล 2. หัวหน้า หรือนักวิชาการกลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย 2 26 สสจ. และ กทม. (77)1. หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์ 2. หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ หรือหัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ 3. หัวหน้ากลุ่มงานระบาดวิทยา 3 231 อ าเภอ และเขต ของ กทม (ปี 64=80%=742) 1. สาธารณสุขอ าเภอ/ผู้ช่วย 2. นักวิชาการสาธารณสุข 2 1,484 ต าบล (เทศบาลต าบล/อบต. ปี 64 : เป้า =80%=5,804) 1. ปลัดเทศบาล/อบต. 2. นักวิเคราะห์นโยบายและแผน หรือบุคลากรผู้รับผิดชอบแผนงาน/โครงการท้องถิ่น 2 11,608 (รพ.สต. ปี 64 : เป้า= 3. บุคลากรภาคสาธารณสุข: นักวิชาการ80%=7,810) สาธารณสุข 1 7,810 รวมทั้งสิ้น (คน) 21,159

5865.มาตรการที่ส าคัญในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผู้ด าเนินการ มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. เขต สสจ. รพ. PCC ชุมชน/ต าบล มาตรการ 1 ผลักดันนโยบายจัดท าข้อเสนอเชิงนโยบาย สื่อสารและสนับสนุน สื่อสารและสนับสนุน แปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ ประสานด าเนินการ ประสานด าเนินการ ประสานด าเนินการ มาตรการ 2 การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรจัดท าหลักสูตรและวิชาการ สนับสนุน สนับสนุน สนับสนุน รับการพัฒนา รับการพัฒนา รับการพัฒนา มาตรการ 3 พัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศพัฒนาระบบและเครื่องมือ พัฒนาระบบและเครื่องมือ พัฒนาระบบและเครื่องมือ จัดท าข้อมูลสารสนเทศ จัดท าข้อมูลสารสนเทศ จัดท าข้อมูลสารสนเทศ จัดท าข้อมูลสารสนเทศ มาตรการ 4 ติดตามและประเมินผลจัดท าเครื่องมือ ด าเนินการติดตาม ด าเนินการติดตาม รับการประเมิน รับการประเมิน รับการประเมิน รับการประเมิน

5876.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี กรอบระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ วงเงิน เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 (ล้านบาท) แหล่งเงิน 123412341234123412341)ผลักดันนโยบาย กิจกรรมที่ 1 :ขับเคลื่อนนโยบายการด าเนินงานสู่พื้นที่ - ทบทวนและจัดท าชุดข้อมูลประกอบข้อเสนอเชิงนโยบาย - จัดประชุมราชการฯ(ผู้บริหารระดับกระทรวง ผตร, สธน และผู้บริหารหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ฯ)√√√กยผ.คร. ปี 63=0.5 ปี 64=0.5 ปี 65=0.5 รวม 1.5 คร ขับเคลื่อนนโยบาย/แผนงานเชิงรุกให้เกิดผลเชิงรูปธรรมของการปฏิบัติ มีนโยบายสนับสนุนการขับเคลื่อนการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรในระดับชุมชน ต าบล อ าเภอ จังหวัดในการวิเคราะห์ความเสี่ยง และความต้องการด้านสุขภาพกิจกรรมที่ 2 : ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพกับเครือข่าย - จัดให้มีเวทีหรือพื้นที่ต้นแบบความส าเร็จของการด าเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพผ่านกลไกภาคีเครือข่าย √√จ านวนกลไก/รูปแบบ(Best practice) ต้นแบบความส าเร็จของการด าเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพผ่านกลไกภาคีเครือข่าย

588กรอบระยะเวลาผู้รับผิดชอบวงเงินเป้าหมายตัวชี้วัด25612562256325642565(ล้านบาท)แหล่งเงิน123412341234123412342)การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร กิจกรรมที่ 1:ทบทวนและปรับปรุงหลักสูตร HNA ในการพัฒนาบุคลากรในระดับเขต จังหวัด อ าเภอ ต าบล- ประชุมหารือวางกรอบการด าเนินงานร่วมกับคณะที่ปรึกษาและคณะท างาน - จัดท า Cmapping -ประชุมราชการพัฒนาจัดท าหลักสูตรฯ (4ครั้ง) -จัดท าชดการเรยน/ ุีการสอน HNA -หสาธารณสุข -จ ัด อ บรม พัฒน าศักยภาพบคคลากรุเครือข่าย √√√√กยผ.คร. บค. สทว ส านักวิชาการ ปี 63=1.50 ปี 64=0.5 ปี 65=0.5 รวม 2.5 คร1. ได้หลักสูตร HNA ในการพัฒนาบุคคลากรในระดับเขต จังหวัด อ าเภอ ต าบล 2. บุคคลากรของหน่วยงานเครือข่ายได้รับการพัฒนา 3. หน่วยงานเครือข่ายมีผลสัมฤทธิ์ของแผนงาน โครงการด้านการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 1.จ านวนหลักสูตร 2. ร้อยละของจ านวนหน่วยงานที่บุคลากรได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการวิเคราะห์ และวางแผนฯ มีแผนงาน โครงการที่มีการวิเคราะห์จัดล าดับความส าคัญของปัญหาฯ 3. ร้อยละของจ านวนหน่วยงานที่แผนงาน โครงการมีการวิเคราะห์จัดล าดับความส าคัญของปัญหาฯ มีผลสัมฤทธิ์ของแผนงาน โครงการฯ กิจกรรมที่ 2 พฒนาัแนวทาง/มาตรการ การด าเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสขภาพ ภายใตุ้รูปแบบดิจิทัล ดังนี้ √√√√กยผ.คร. สทว ศสท ส านักวิชาการ ปี 63=5.5 ปี 64=3.0 ปี 65=3.0 รวม 11.5คร ได้แนวทาง/มาตรการ การด าเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายใต้รูปแบบดิจิทัล จ านวนแนวทาง/มาตรการ การด าเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

589กรอบระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ วงเงินเป้าหมายตัวชี้วัด2561 2562 2563 2564 2565 (ล้านบาท)แหล่งเงิน12341234123412341234กิจกรรมที่ 2.1 คู่มือ/แนวทางการด าเนินงานป้องกันควบคุมโรคฯ (Manual/cookbook) - ประชุมหารือจัดท ากละเอียด - ประชุมพิจารณาร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียและผู้ที่เกี่ยวข้อง√√√√กสทว ศสท ส านักวิชาการ ปี 63=1.5 ปี 64=1.0 ปี 65=1.0 รวม 3.5 คร กิจกรรมที่ 2.2 รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะบคลากร (E-learning) ุ-ประชุมหารือก าหนดรูปแบบและระบบการใช้งาน -จดจ้างโปรแกรมเมอร์ัเพื่อพัฒนาระบบ สื่อสารประชาสัมพันธ์ √√√√กสทว ศสท ส านักวิชาการ ปี 63=2.0 ปี 64=1.0 ปี 65=1.0 รวม 4.0 คร กิจกรรมที่ 2.3Application/ Digital Platform - ประชุมหารือก าหนดรูปแบบและระบบการใช้งาน √√√√กสทว ศสท ส านักวิชาการ ปี 63=2.0 ปี 64=1.0 ปี 65=1.0 รวม 4.0 คร

590กรอบระยะเวลาผู้รับผิดชอบวงเงินเป้าหมายตัวชี้วัด25612562256325642565(ล้านบาท)แหล่งเงิน12341234123412341234- จัดจ้างโปรแกรมเมอร์เพื่อพฒนาระบบ - สื่อสารัประชาสัมพันธ์ กิจกรรมที่ 3 พัฒนาศักยภาพทมีบุคลากร - ทีมระดับจังหวัด มีสมรรถนะในการพฒนาัทีมอ าเภอ (กรมฯ) - ทีมอ าเภอมีสมรรถนะในการพัฒนาทีม อปท.(จังหวัดที่ผ่านการอบรม)√√√บค. คณะท างาน ปี 63=2.0 ปี 64=2.0 ปี 65=2.0 รวม 6.0 คร บุคลากรระดับเขตและจังหวัดมีสมรรถนะในการถ่ายทอดกระบวนการ HNA และการเป็น coach and facilitator ร้อยละของบุคลากรระดับเขตและจังหวัดที่ได้รับการพัฒนามีสมรรถนะในการถ่ายทอดกระบวนการ HNA และการเป็น coach and facilitator (80%) 3) พัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศกิจกรรมที่ 1 พัฒนาขอมล สารสนเทศ ู้ส าหรับการวิเคราะห์ความเสี่ยง ประเมินความตองการด้าน้สุขภาพส าหรับพื้นที่ -ิต้องการข้อมูลของพื้นที่ - ประชุมเครือข่ายเพื่อก าหนดกรอบการพัฒนาและการด าเนินงาน √√สรว ศสท ส านักวิชาการ ปี 63=2.0 ปี 64=1.0 ปี 65=1.0 รวม 4.0 คร ได้โครงสร้างข้อมูลสารสนเทศ ส าหรับการวิเคราะห์ความเสี่ยง ประเมินความต้องการด้านสุขภาพส าหรับพื้นที่ ร้อยละของพื้นที่ต าบลใช้ประโยชน์จากชุดข้อมูลเพื่อการวิเคราะหความเสยง การ์ี ่ประเมินความต้องการสุขภาพ และการก าหนดนโยบาย กิจกรรมที่ 2 พัฒนาเครื่องมือ/เทคโนโลยีดิจิทัล/โปรแกรม เพื่อ √√√√√√√√√√√√ศสท กยผ.คร ส านักวิชาการ งflagship 3.2 (ศูนย์สารสนเทศ)คร ชุดข้อมูลและเครื่องมือ/เทคโนโลยีในดิจิทัล/โปรแกรม เพื่อการจัดการ

591กรอบระยะเวลาผู้รับผิดชอบวงเงินเป้าหมายตัวชี้วัด25612562(ล้านบาท)25642565(ล้านบาท)แหล่งเงิน12341234123412341234การจัดการข้อมูลและการน าไปใช้ประโยชน์ข้อมูลและการน าไปใช้ประโยชน์ 4) ติดตามและประเมินผลกิจกรรมที่ 1 ติดตามประเมินผลโดย - ตรวจราชการและเยี่ยมเสริมพลัง - สุ่มนิเทศติดตาม - ผานระบบรายงาน่ออนไลน์ - สุ่มส ารวจพื้นที่เพื่อการติดตามประเมินผล √√√√√√กยผ.คร. สทว ส านักวิชาการ ปี 63 = 3.5 ปี 64 = 3.0 ปี 65 = 3.0 รวม 9.5 คร เพื่อตามผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายบรรลุวัตถุประสงค์ตามโครงการ กิจกรรมที่ 2 บูรณาการประเมินผลชุมชน ต าบลอ าเภอ จังหวัด สุขภาพดี (ด้านการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ)√√√กคณะท างาน ปี 63 = 5.0 ปี 64 = 5.0 ปี 65 = 5.0 รวม 15.0คร เพื่อให้พื้นที่เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาอย่างต่อเนื่องจ านวน Best practice ในด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในระดับต าบลตามกระบวนการ HNA รวมงบประมาณทั้งสิ้น50,000,000

5927. แผนการติดตามประเมินผล ระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ป พ.ศ. ี2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการ 1 ผลักดันนโยบาย ขับเคลื่อนนโยบาย/แผนงานเชิงรุกให้เกิดผลเชิงรูปธรรมของการปฏิบัติ ประชุม - - 1 ครั้ง 1 ครั้ง 1 ครั้ง มาตรการ 2 การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร บุคลากรระดับเขต จังหวัด และอ าเภอมีสมรรถนะในการถ่ายทอดกระบวนการ HNA การเป็น coach and facilitator และการติดตามประเมินผล สุ่มส ารวจ - - 1 ครั้ง 1 ครั้ง 1 ครั้ง บุคคลกรระดับอ าเภอ/เขต (ของ กทม) มีศักยภาพในการวางแผน และติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ สุ่มส ารวจ - - 1 ครั้ง 1 ครั้ง 1 ครั้ง มาตรการ 3 พัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศ ชุดข้อมูลและเครื่องมือ/เทคโนโลยีดิจิทัล/โปรแกรม เพื่อการจัดการข้อมูลและการน าไปใช้ประโยชน์ สุ่มส ารวจ - - 1 ครั้ง 1 ครั้ง 1 ครั้ง มาตรการ 4 ติดตามและประเมินผล เพื่อวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ตรวจราชการ/นิเทศ - - 2 ครั้ง 2 ครั้ง 2 ครั้ง สุ่มส ารวจ - - 1 ครั้ง 1 ครั้ง 1 ครั้ง 8. ผู้รับผิดชอบแผนงาน ร่วมกับ PM แผนงานโรคที่เกี่ยวข้องนายแพทย์จักรรัฐ พิทยาวงศ์อานนท์ เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3091ผู้อ านวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมควบคุมโรคE-mail: [email protected]

5931. สถานการณ์ตั้งแต่ปี 2558 การด าเนินงานความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระหว่างจงหวัดชายแดนและจงหวัดชายแดนคขนานตลอดระยะเวลา 5 ปทผานมา สานกงานความรวมมอระหว่างััู ่ีี ่่ั่ืประเทศได้ผลักดันการด าเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายมาอย่างต่อเนื่อง เริ่มตั้งแต่การผลักดันให้จังหวัดคู่ขนาน มีความ ตกลงความร่วมมือระหว่างประเทศในระดับจังหวัดเพอเป็นกรอบการด าเนินร่วมกัน โดยมีประเด็นภายใต้กรอบื่ความตกลง ดังนี้ การแลกเปลี่ยนข้อมูลเพอการเฝ้าระวังโรค การสอบสวนโรค (Joint Investigation Team) ระบบ ื่การส่งต่อผู้ป่วย (Referral System) และอนๆ เช่น ฝึกอบรมทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) การซอมแผน ื่้เพอเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ระบาดของโรคติดต่ออบัติใหม่ One Health การเฝาระวังสารเคม อาหารปลอดภัย ืุ่้ีประเด็นฯ ดังกล่าวครอบคลุมการด าเนินงานและสนับสนุนการพฒนาประเทศด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค ัและภัยสุขภาพการตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ IHR 2005 ให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ในปัจจุบันเกิดโรคติดเชื้อและภัยสุขภาพที่เป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงทางสุขภาพของนานาประเทศ เป็นอย่างมาก รวมถงสถานการณการแพรระบาดของโรคไวรสโคโรนา (COVID-19) ที่แพร่กระจายเป็นวงกว้าง ึ์่ัได้อย่างรวดเร็วทั้งในประเทศไทยและทั่วโลก ส่งผลให้มีผู้ติดเชื้อและผู้เสียชีวิตเป็นจ านวนมากตามมา อีกทังการเชื่อมโยง้ในการเดินทางขนส่ง ความสะดวกสบายรวดเร็วที่เข้าถึงได้ง่าย การติดต่อสื่อสารที่ไร้พรมแดน ล้วนส่งผลกระทบรุนแรง ต่อมิติทางสุขภาพ สังคม การใช้ชีวิตความเป็นอยู่ ความมั่นคง และเศรษฐกิจทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาคและระดับโลก ดังนั้นเพือให้การรับมือต่อโรคและภัยสุขภาพเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทันต่อสถานการณ์ สามารถป้องกันควบคุม่ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้น และลดผลกระทบที่ตามมาได้อย่างมีเกิดประสิทธิผล จึงจ าเป็นต้องเร่งพฒนากลไกการด าเนินงานัและความรวมมือจากหลายภาคสวน ควบคู่กับการประเมินผลตาม Joint External Evaluation เพือให้เกิดผลส าเร็จ่่่บรรลุเป้าหมายตามวาระความมั่นคงด้านสุขภาพโลก (GHSA) ส านักงานความร่วมมือระหว่างประเทศ เล็งเห็นความส าคัญในการด าเนินงานตามวาระความมั่นคงด้านสุขภาพโลก (GHSA) ระหว่างประเทศ โดยเน้นพนที่จังหวัดชายแดนและจังหวัดชายแดนคู่ขนานเป็นส าคัญ ในการผลักดันให้เกิดื้แผนงานความมั่นคงด้านสุขภาพระดับโลก (GHSA) ในระดับจงหวัด เพ่อเตรยมความพรอมในการป้องกันควบคุมโรค ัืี้ตรวจจับและเฝ้าระวังตอบโต้ภัยคุกคามทางสุขภาพ พร้อมทั้งสนับสนุน ขับเคลื่อน และผลักดันให้ประเทศไทยเป็นสมาชิกที่เข้มแข็งในองค์การอนามัยโลกตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) ตามวาระความม่นคงดานสขภาพโลก ัุ้(GHSA) ส่งผลให้เกิดความมั่นคงทางสุขภาพแก่ประชาชนในประเทศตอไป ่2. พื้นที่เป้าหมาย จังหวัดที่มีพนที่ติดต่อกับชายแดนประเทศเพอนบ้าน (ประเทศลาว, กมพูชา, เมียนมา และมาเลเซีย) ได้แก่ ื้ื่ัเชียงราย น่าน ตาก อตรดิตถ์ กาญจนบุรี ประจวบครีขนธ์ จันทบุรี ตราด สระแก้ว บึงกาฬ เลย หนองคาย นครพนม ุีับุรีรัมย์ สุรินทร์อบลราชธาน มกดาหาร ศรสะเกษ อ านาจเจรญ ระนอง สงขลา นราธิวาส ยะลา และสตูล รวมทั้งสิ้น ุีุีิ24 จังหวัด แผนงานพัฒนาศักยภาพและกลไกการด าเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ตามกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อความมั่นคงทางสุขภาพโลก

594ในปี 2564 มีการกาหนดจังหวัดน าร่องแบบสุ่มตัวอย่างตามพนที่จังหวัดชายแดนที่ติดกับประเทศเพอนบ้าน ื้ื่ได้แก่ น่าน กาญจนบุรี บึงกาฬ และสตูล เพอเป็นจังหวัดน าร่องตัวอยางในการพฒนาการเฝาระวังปองกนควบคมโรคื่่ั้้ัุและภัยสุขภาพ ตามประเด็นวาระความมั่นคงด้านสุขภาพโลก และในปี 2566 จะขยายพนที่จังหวัดเป้าหมายเพมขึ้นจนื้ิ่สามารถพัฒนาฯ ได้ครบ 24 จังหวัดชายแดนทั้งหมด 3. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพระยะ 5 ป (2564-2568)ี3.1 เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระดับประเทศ, 15 ปี และ 20 ปี 3.2 เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระดับประเทศ ในระยะ 5 ปี หมายเหตุ * มีการปรับปรุงรายละเอียด และเกณฑการประเมินให้มีในเชิงคุณภาพมากขึ้น ์เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย ค่าเป้าหมาย ในระยะ 10 ปี ปี พ.ศ. 2569 2570 2571 2572 2573 เป้าหมาย ร้อยละของจังหวัดชายแดนที่เป็นเป้าหมายมีการพัฒนาศักยภาพและกลไกการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพตามประเด็นวาระความมั่นคงด้านสุขภาพโลก (GHSA) ผ่านเกณฑ์การประเมินตามประเด็นที่ก าหนด 100 (12 จังหวัด) (15 จังหวัด) (18 จังหวัด) (21 จังหวัด) 100 100 100 100 (24 จังหวัด) เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ในระยะ 5 ป (ปี พ.ศ.) ี2562 2564 2565 2566 2567 2568 เป้าหมาย ร้อยละของจังหวัดชายแดนที่เป็นเป้าหมายมีการพัฒนาศักยภาพและกลไกการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพตามประเด็นวาระความมั่นคงด้านสุขภาพโลก (GHSA) ผ่านเกณฑ์การประเมินตามประเด็นที่ก าหนด เริ่มต้น 100 (4 จังหวัด) (6 จังหวัด) (8 จังหวัด) 100 100 100 (10 จังหวัด)

595ตารางแสดงจังหวัดชายแดนที่เป็นเป้าหมายทั้งหมด 24 จังหวัดคู่ขนาน ดังนี้ ล าดับคู่ สคร. จ านวนจังหวัดชายแดน จังหวัดเป้าหมาย จังหวัดคู่ขนาน ประเทศ 1 สคร.1 เชียงใหม่ 2 เชียงราย* แขวงบ่อแก้ว ลาว ท่าขี้เหล็ก เมียนมา 2 น่าน แขวงไชยบุรี ลาว 3 สคร.2 พิษณุโลก 2 ตาก* เมียวดี เมียนมา 4 อุตรดิตถ์ แขวงไชยบุรี ลาว 5 สคร.5 ราชบุรี 2 กาญจนบุรี* รัฐทวาย เมียนมา 6 ประจวบคีรีขันธ์ - เมียนมา 7 สคร.6 ชลบุรี 3 จันทบุรี พระตะบอง กัมพูชา 8 ตราด* เกาะกง กัมพูชา 9 สระแก้ว* บันเตียมินเจย เมียนมา 10 สคร.8 อุดรธานี 4 บึงกาฬ แขวงบอลิค าไซ ลาว 11 เลย แขวงไชยบุรี ลาว 12 หนองคาย* เวียงจันทน์ ลาว 13 นครพนม* แขวงค าม่วน ลาว 14 สคร.9 นครราชสีมา 2 บุรีรัมย์ อุดรมีชัย กัมพูชา 15 สุรินทร์ อุดรมีชัย กัมพูชา 16 สคร.10 อุบลราชธานี 4 อุบลราชธานี แขวงจ าปาศักดิ์ ลาว 17 มุกดาหาร* แขวงสะหวันนะเขต ลาว 18 ศรีสะเกษ พระวิหาร กัมพูชา 19 อ านาจเจริญ แขวงสะหวันนะเขต ลาว 20 สคร.11 นครศรีธรรมราช 1 ระนอง เกาะสอง เมียนมา 21 สคร.12 สงขลา 4 สงขลา* รัฐเคดาห์ กัมพูชา 22 นราธิวาส* รัฐกลันตัน กัมพูชา 23 ยะลา รัฐเปรัค กัมพูชา 24 สตูล รัฐเปอร์ลิส กัมพูชา

5964.มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปีและหน่วยงานผู้ด าเนินการมาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง และสคร. สสจ. กัีื่ั ่สุขภาพโลก (GHSA) เพื่อ สนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นสมาชิกที่เข้มแข็งในองค์การอนามัยโลกตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005)การพัฒนาเครือข่าย เพื่อการด าเนินงานเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ตามประเด็นวาระความมั่นคงทางสุขภาพโลก โดยการใช้ความรู้เชิงวิชาการ และแนวทางการด าเนินงานที่จ าเป็นในการพัฒนาตามประเด็นที่ก าหนด ร่วมกบสสจ. ัโดยมีแนวทางดังนี้แั1. ถ่ายทอดและหารือเพื่อชี้แจงแนวทางการจัดท าแผนปฏิบัติการตามวาระความมั่นคงด้านสุขภาพโลก (GHSA) ในระดับจังหวัดร่วมกับเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง 2. ร่วมจัดท าแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ตามวาระความมั่นคงด้านสุขภาพโลก (GHSA) ในระดับจังหวัด โดยก าหนดให้มีตัวชี้วัด ๓ ประเด็นส าคัญ ตาม ๙ ชุดกิจกรรม (Action Packages) ดังนี้ ประเดนการปองกน (Prevention) ็้ั1.Antimicrobial resistance (AMR) (การควบคุมเชื้อจุลชีพดื้อยา) 2.Zoonotic disease (โรคติดเชื้อจากสัตว์สู่คน) 3.Biosafety and Biosecurity (ความปลอดภัยและความมั่นคงทางชีวภาพ) 4.Immunization (การสร้างภูมิคุ้มกันโรค) ประเด็นการตรวจจับ (Detection) 5. National Laboratory System (การพัฒนาระบบห้องปฏิบัติการทางสาธารณสุข 6.Surveillance (การเฝ้าระวง) ั7.Workforce Development (การพัฒนาก าลังคน) ป็้8. Emergency Operations Center (ศูนย์ปฏิบัติการตอบสนองภาวะฉุกเฉิน) 9. Sustainable Financing for Preparedness (การจัดหาเงินทุนที่ยั่งยืนเพื่อเตรยมความพร้อม) ีพัฒนาศักยภาพตามประเด็นวาระความมั่นคงด้านสุขภาพโลก ทั้งนี้เป็นไปตามปัญหา ความต้องการและความเป็นไปได้ของแต่ละพื้นที่โดยมีแนวทางดังนี้ แั1. ทบทวนผลการด าเนินงานที่ผ่านมาภายใต้การด าเนินงานตามกรอบกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) โดยใช้แนวทางตามเครื่องมือ Joint external evaluation tool (JEE) และกรอบความตกลงร่2. จัดท าแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ตามวาระความมั่นคงด้านสุขภาพโลก (GHSA) ในระดับจังหวัด โดยก าหนดให้มีตัวชี้วัด ๓ ประเด็นส าคัญ ตาม ๙ ชุดกจกรรม (Action Packages) ดังนี้ ิประเด็นการป้องกัน (Prevention) 1.Antimicrobial resistance (AMR) (การควบคุมเชื้อจุลชีพดื้อยา) 2.Zoonotic disease (โรคติดเชื้อจากสัตว์สู่คน) 3.Biosafety and Biosecurity (ความปลอดภยและความมนคงทางัั ่ชีวภาพ) 4.Immunization (การสร้างภูมิคุ้มกันโรค) ประเด็นการตรวจจับ (Detection) 5. National Laboratory System (การพัฒนาระบบห้องปฏิบัติการทางสาธารณสุข 6.Surveillance (การเฝ้าระวง) ั7.Workforce Development (การพัฒนาก าลังคน) ป็้8. Emergency Operations Center (ศูนย์ปฏิบัติการตอบสนองภาวะฉุกเฉิน) 9. Sustainable Financing for Preparedness (การจัดหาเงินทุนที่ยั่งยืนเพื่อเตรียมความพร้อม)

5975.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2564 2565 2566 2567 2568 2564 2565 2566 2567 2568 รวม แหล่งเงิน การพัฒนาภาคีเครือข่ายตามวาระความมั่นคงทางสุขภาพโลก (GHSA) เพื่อ สนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นสมาชิกที่เข้มแข็งในองค์การอนามัยโลกตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005)/////สรป, กองระบาดวิทยา, กองโรคติดต่อทั่วไป, กองครฉ, กองด่านฯ, กองโรคจากการประกอบอาชีพ, สถาบันบ าราศฯ, สคร.1,2,5,6 และ 8-12 งบด าเนินงาน - เพื่อพัฒนากลไกและการด าเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพตามวาระความมั่นคงด้านสุขภาพโลก - ประเทศไทยเป็นสมาชิก WHO ตามกฎ IHR 2005 ทีม่ีความมั่นคงด้าน - มีแผนปฏิบัติการประเด็นวาระความมั่นคงด้านสุขภาพโลก (GHSA) ในระดับจังหวัด - ร้อยละของจังหวัดชายแดนที่เป็นเป้าหมายมีการพัฒนาตามประเด็นตามวาระความมั่นคงทางสุขภาพโลก (GHSA) ตามเกณฑ์ที่กาหนด

5986. แผนการติดตามประเมินผลระยะ 5 ป ีมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย ตัวชี้วัด วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผลปี พ.ศ. 2564 2565 2566 2567 2568 การพัฒนาภาคีเครือข่ายตามวาระความมั่นคงทางสุขภาพโลก (GHSA) เพื่อ สนับสนุน สุขภาพตามให้ประเทศไทยเป็นสมาชิกที่เข้มแข็งในองค์การอนามัยโลกตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) - เพื่อพัฒนากลไกและการด าเนินงานเฝ้า วาระความระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยวาระความมั่นคงด้านสุขภาพโลก - ประเทศไทย เป็นเป้าหมายเป็นสมาชิก WHO ตามกฎ ตามประเด็นIHR 2005 ทม ตามวาระี ่ีความมั่นคงด้านสุขภาพ - มีแผนปฏิบัติ 1. รายงานผลรายไตรมาส การประเด็นมั่นคงด้านสุขภาพโลก (GHSA) ในระดับจังหวัด - ร้อยละของจังหวัดชายแดนที่มีการพัฒนาความมั่นคงทางสุขภาพโลก (GHSA) ตามเกณฑ์ที่กาหนด2. การประเมินผลตามตัวชี้วัดตามแบบประเมินที่ก าหนด ราย ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ราย ราย ราย ราย 7. ผู้รับผิดชอบแผนงาน 1. 1. สัตวแพทย์หญิงเสาวพกตร์ ฮิ้นจ้อย ั เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3835 ผู้อ านวยการส านักงานความร่วมมือระหว่างประเทศ กรมควบคุมโรค E-mail: [email protected] 2. 2. ส านักงานความร่วมมือระหว่างประเทศ เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3832E-mail: [email protected]

5991. สถานการณ์ สบเนองจากนโยบายดานการปองกนควบคมโรคของประเทศทกรมควบคมโรค กระทรวงสาธารณสข ืื ่้้ัุี ุุ่ก าหนดให้มีการเฝ้าระวังการระบาดของโรคและภัยสุขภาพ ตรวจจับเหตุการณ์ผิดปกติ สอบสวน ประสาน และด าเนินมาตรการการปองกน ควบคมการระบาด มใหขยายไปในวงกว้าง จนเกดภาวะฉกเฉนทางสาธารณสข โดยมอบหมายใหกองระบาด้ัุิ้ิุิุ้วิทยาเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการพฒนาระบบเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ ทีมปฏิบัติการสอบสวนโรค และพฒนาบุคลากร ััด้านระบาดวิทยาภาคสนามให้ครอบคลุมทุกพนที่ ในปริมาณที่เหมาะสม รวมทั้งมอบหมายให้เป็นหน่วยประสาน ื้และผลกดนงานดานกฎอนามยระหว่างประเทศ เพอใหประเทศไทยมความพร้อมรับมือกับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขัั้ัื ่้ีระหว่างประเทศ จึงจ าเป็นตองพฒนากลไกการบรหารจัดการ ระบบประสานงาน หลกสตรพฒนากาลงคนดานระบาด้ัิัูัั้วิทยาภาคสนาม และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายและทีมงานต่างๆ ทั้งในส่วนกลาง ระดับเขต และจังหวัด ให้สามารถด าเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวน แก้ไขปัญหาสาธารณสุขของพนที่ที่รับผิดชอบ วิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ื้ความรจากการปฏิบตงาน จดทารายงานสถานการณโรคและภัยสขภาพ ข้อเสนอเชิงนโยบายหรอมาตรการปองกนู ้ัิั์ุื้ัควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาที่แท้จริงของแต่ละพื้นที่ อันจะสนับสนุนให้ทีมสอบสวนการระบาด งานระบาดวิทยา และงานด้านการป้องกันและควบคุมโรค สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพได้อย่างมีประสทธิผล และสอดประสานภารกิจกบหน่วยงานอนๆ ทเกยวของ ทงในและนอกกรมควบคุมโรค อย่างเป็นเอกภาพ ิัื ่ี ่ี ่้ั ้และได้มาตรฐานสากล นอกจากนี้ ระบบสาธารณสุขที่ยั่งยืน จ าเป็นต้องมีบุคลากรด้านระบาดวิทยาที่มีความช านาญในสาขาวิชาชีพ ในจ านวนที่เพยงพอ และครอบคลุมทุกพื้นที่ มีการสร้างผู้เชี่ยวชาญเพื่อเสริมในพื้นที่ที่ขาด เพิ่มเติมในส่วนที่ีเกษียณอายุราชการหรือที่ย้ายออกไปท างานด้านอนๆ รวมทั้งต้องธ ารงรักษาบุคลากรเหล่านี้ให้อยู่ในระบบ เพอสร้างความื่ื่มั่นคงและยั่งยืนให้กับระบบป้องกันควบคุมโรคของประเทศและระบบสาธารณสุขไทย ในปัจจุบัน ระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพของประเทศมีอยู่หลากหลายระบบ อยู่ในความรับผิดชอบ ของหลายๆ หน่วยงาน ทั้งในและนอกกรมควบคุมโรค และอยู่อย่างกระจัดกระจาย เข้าถึงยาก จึงจ าเป็นต้องมีเจ้าภาพหลัก ในการประสาน วิเคราะห์ คัดเลือก และรวบรวมข้อมูลด้านระบาดวิทยาและข้อมูลในมิติต่างๆ ที่ส าคัญ จ าเป็น และเกี่ยวข้อง ให้มาอยู่ในฐานข้อมูลระบบเดียวกัน เป็นชุดข้อมูลและสารสนเทศที่เชื่อถือได้ สามารถสะทอนปญหา้ัสาธารณสุขที่ส าคัญของแต่ละพนที่ได้อย่างแท้จริง และสะท้อนปัญหาสาธารณสุขในภาพรวมของประเทศได้ใกล้เคียงื้ความเป็นจริงมากที่สุด โดยมีการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาช่วยในการบริหารจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ เป็นปัจจุบัน พร้อมใช้อยู่เสมอ และเข้าถึงง่าย (Smart Surveillance System) กรมควบคมโรคยังไมมหน่วยงานทรวบรวมขอมลทรัพยากรบุคคลด้านการเฝาระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ุ่ีี ู่้้และภัยสุขภาพให้เป็นหมวดหมู่ อย่างเป็นระบบ พร้อมใช้ และเหมาะสมกับการใช้งานตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ทางสาธารณสขแต่ละโรค/ภัยสขภาพ หน่วยงานตางๆ ในกรมควบคมโรคมีการจัดอบรมหรือจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ุุุ่เพอเพมศักยภาพและพฒนาสมรรถนะด้านต่างๆอย่างหลากหลายหลักสูตรทุกปี หลายๆ หลักสูตรมีความซ้ าซ้อน ื่ิ่ัรวมทงยังขาดการทดสอบสมรรถนะของผเขาร่วมประชุม/อบรมอย่างจริงจังว่า หลังเข้าร่วมประชุมหรืออบรมหลักสูตรั ู้ ้้ดังกล่าวแล้ว จะสามารถปฏิบัติงานได้จริงหรือไม่ ขาดความต่อเนื่องในการพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะด้านระบาดวิทยาภาคสนามและคงสมรรถนะให้พร้อมปฏิบัติงานอยู่เสมอ รวมทั้งไม่มแนวทางในการจูงใจที่ชัดเจนให้บุคลากรที่มีสมรรถนะีตามกาหนดยงคงท างานในระบบป้องกันและควบคุมโรคของประเทศ ตั้งแต่ระดับพนที่จนถึงระดับประเทศ จึงจ าเป็นัื้แผนงานยกระดับระบบงานระบาดวิทยาให้ได้มาตรฐานตามกรอบของกฎอนามัย ระหว่างประเทศ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561 - 2565)

600อย่างยิ่งที่จะต้องมีการสังคายนาหลักสูตรการฝึกอบรมและการประชุมเชิงปฏิบัติการต่างๆ อย่างจริงจังเพอลด ื่ความซ้ าซ้อน และวัดผลได้จริง มีการพัฒนาทรัพยากรบุคคลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ก าหนดความก้าวหน้าในวิชาชีพ รวมทั้งมีการสนับสนุนและเพมแรงจูงใจให้บุคลากรยังคงท างานอยู่ในระบบ ในจ านวนที่เพยงพอและเหมาะสมต่อการด าเนินงานิ่ีด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของแต่ละจังหวัดและของประเทศ เน่องจากการพฒนาสมรรถนะตามกฎอนามยระหว่างประเทศเปนเรองสาคัญและจ าเปนอย่างมาก ืัั็ื ่็ท่ทุกประเทศตองประสาน ผลกดน สงเสรม และพฒนาประเทศตนเองใหมีความพรอมและสามารถปกปองประชาชน ี้ัั่ิั้้้จากการป่วย ตาย พิการ หรอภัยสขภาพในรปแบบตางๆ รวมทงตองควบคมการระบาดภายในประเทศไมใหขยายไปใน ืุู่ั ุ้้่้วงกว้าง จนเกดภาวะฉกเฉนทางสาธาณสข และปกปองประเทศไมใหได้รบผลกระทบจากภาวะฉกเฉนทางสาธารณสขิุิุ้่้ัุิุระหว่างประเทศ ที่ก าลังเกิดการระบาดในประเทศเพอนบ้านหรือในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ื่คณะรัฐมนตรีมมติเห็นชอบให้ประเทศไทยรับรองและด าเนินการตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 ซึ่งมีสถานะีเปนสญญาระหว่างประเทศ (Treaty) พรอมท้งมอบหมายใหกระทรวงสาธารณสุขด าเนินการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ็ั้ั้ทเกยวของ โดยกรมควบคมโรคไดรับมอบหมายใหทาหน้าทเป็นจุดประสานงานกฎอนามยระหว่างประเทศ ระดับชาติ ี ่ี ุ่้้้ี ่ั(IHR National Focal Point: IHR-NFP) มีส านักงานตั้งอยู่ในกองระบาดวิทยา มีการแต่งตั้งคณะกรรมการกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 ซึ่งประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูงจากกระทรวงต่างๆ 18 กระทรวง รวม 39 หนวยงาน ่โดยมีปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธาน อธิบดีกรมควบคุมโรคเป็นกรรมการและเลขานุการ ในเดือนมิถุนายน 2560 ทีมผู้เชี่ยวชาญจากองค์การอนามัยโลกได้ประเมินสมรรถนะตามกรอบของกฎอนามัยระหว่างประเทศด้วยเครื่องมือ Joint External EvaluationTool (JEE Tool) และแจงว่าประเทศไทยมีสมรรถนะ ้ตามกรอบของกฎอนามยระหว่างประเทศ ระดับ 5 (มสมรรถนะที่ยั่งยืน) จ านวน 4 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) P.1.1 กฎหมาย ัีกฎระเบียบ ระเบียบการปกครอง นโยบาย หรือมาตรการอนของรัฐบาลในปัจจุบัน เพียงพอส าหรับการด าเนินการตามกฎื่อนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 2) P.7.1 ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน (โรคหัด) เป็นส่วนหนึ่งของแผนระดบประเทศ 3) P.7.2 การเขาถงและการจดสงวัคซนระดับชาติ และ 4) D.4.2 มโครงการอบรมตามหลกสตรระบาดั้ึั่ีีัูวิทยาภาคสนามหรือโครงการอบรมระบาดวิทยาประยุกต์ ส าหรับสมรรถนะที่ได้รับการประเมินว่าอยู่ในระดับ 4 (มีสมรรถนะที่ชัดเจน) มีจ านวน 30 ตัวชี้วัด สมรรถนะที่ได้รับการประเมินให้อยู่ในระดับ 3 (อยู่ระหว่างการพฒนาัสมรรถนะ) มีจ านวน 12 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) P.3.2 การเฝ้าระวังการติดเชื้อที่เกิดจากเชื้อดื้อยา 2) P.3.3 แผนงานปองกน้ัและควบคมการตดเชื้อในโรงพยาบาล 3) P.5.1 มีกลไกการท างานร่วมกันแบบพหุภาคีเพอให้การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ุิื่ความปลอดภัยด้านอาหาร และการระบาดของโรคทเกดจากอาหาร เปนไปอยางรวดเร็ว 4) D.1.4 ระบบคุณภาพของี ่ิ็่ห้องปฏิบัติการ 5) D.3.1 ระบบที่มีประสิทธิภาพส าหรับการรายงานข้อมูลไปยัง FAO OIE และ WHO 6) D.3.2 เครือข่ายและระเบยบวิธีการรายงานภายในประเทศ 7) D.4.3 ยทธศาสตรการพฒนากาลงคน 8) R.2.1 ความสามารถในการเริ่มีุ์ััปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 9) R.2.2 ขั้นตอนและแผนปฏิบัติงาน ของศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉกเฉน 10) R 2.3 ุิ.แผนปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน 11) R.2.4 ขั้นตอนการจัดการดูแลผู้ป่วยส าหรับภัยที่เกี่ยวข้องกับ IHR 12) PoE. 2 การตอบโตภาวะฉกเฉนทางสาธารณสขทมประสทธิผล ณ ช่องทาง เขาออกระหว่างประเทศ สวนสมรรถนะทได้รบุ้ิุี ่ีิ้่ี ่ัประเมินให้อยู่ในระดับ 2 (มีสมรรถนะที่จ ากัด) มีจ านวน 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ P.3.4 กิจกรรมก ากับดูแลการใช้ยาต้านจุลชีพ และ R.1.2 ความเสี่ยงด้านสาธารณสุขที่มีความส าคัญสูงแหล่งของทรัพยากร และการใช้ประโยชน ทั้งนี้ ไม่มีตัวชี้วัดที่์ประเทศไทยได้รับการประเมินให้อยู่ในระดับที่ 1 (ไม่แสดงสมรรถนะ) ผลการประเมินดังกล่าวนี้ บ่งชี้ว่า ประเทศไทยยังมีความจ าเป็นต้อง 1) พฒนาสมรรถนะด้านการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออบัติใหม่ 2) พฒนาสมรรถนะดานการป้องกนัุั้ัควบคุมโรคและภัยสขภาพ การเฝาระวัง ตรวจจบเหตุการณผดปกต และตอบสนองต่อโรคและภัยสขภาพด้านต่างๆ ุ้ั์ิิุ

601อย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นที่การเพมสมรรถนะด้านต่างๆ ที่อยู่ในระดับต่ ากว่า 4 ให้สูงขึ้น และคงสมรรถนะต่างๆ ที่อยู่ในิ่ระดับ 4 ขึ้นไป ให้เข้มแข็งมากยิ่งขึ้น 3) เพมก าลังผลิตผู้เชี่ยวชาญดานระบาดวิทยาภาคสนาม ให้ได้ตามกรอบที่ก าหนด ิ่้คือ มผเชียวชาญด้านระบาดวิทยาภาคสนามอยางนอย 1 คน ตอประชากร 200,000 คน หรือจ านวน 332 คน สาหรบีู ้่่้่ัประเทศไทย ซงป พ.ศ. 2561 ประเทศไทยมผเชียวชาญดานระบาดวิทยาภาคสนาม จานวน 219 คน แบ่งออกเป็นแพทย ึ ่ีีู ้่้์196 คน (ท างานในกระทรวงสาธารณสขรวม 141 คน) และสตวแพทย 23 คน (ท างานในกระทรวงสาธารณสข 3 คน) ุั์ุจงทาใหประเทศไทยจาเปนต้องผลตนกระบาดวิทยาภาคสนามระดับเชี่ยวชาญให้ได้อกไม่นอยกว่า 252 คน ใน 20 ปึ้็ิัี้ีข้างหน้า หรือเฉลี่ยปีละไม่น้อยกว่า 13 คน ทั้งนี้ หมายความว่าจ านวนผู้เชี่ยวชาญที่มีอยู่ในปัจจุบันจะยังคงอยู่ปฏิบัติงานด้านระบาดวิทยาภาคสนามในหน่วยงานต่างๆ ทั่วประเทศ ปัญหาการขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญด้านระบาดวิทยาภาคสนามเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น 1) ขาดผู้มาฝึกอบรมด้านระบาดวิทยาภาคสนาม สวนหนงเนองจากขาดการประชาสมพนธ์ในมหาวิทยาลย งานดานระบาดวิทยา ภาคสนามสวนใหญเปน่ึ ่ื ่ััั้่่็งานที่ท าในชุมชนและในหน่วยงานสาธารณสุขมากกว่าจะอยู่ในมหาวิทยาลัย จึงมักเป็นที่รู้จักน้อยในหมู่นักเรียนแพทย์ 2) ขาดการธ ารงรักษาผู้เชี่ยวชาญให้อยู่ในระบบ แพทย์ที่ฝึกอบรมส าเร็จแล้ว บางส่วนกลับไปปฏิบัติงานด้านคลินิกเป็นหลัก เนื่องจากความเหลื่อมล้ าของค่าตอบแทน นอกจากนี้ ความกาวหน้าในสาขาวิชาชีพระบาดวิทยาก็ยังไม่ชัดเจน โดยเฉพาะ้ในระดับจังหวัด และ 3) สถาบันฝึกอบรมขาดแคลนบุคลากรที่จะมาเป็นผู้ฝึกสอน ในปี พ.ศ. 2560 กองระบาดวิทยาได้จัดท าแผนพฒนาก าลังคนด้านระบาดวิทยาภาคสนาม และจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมนักระบาดวิทยาภาคสนาม (Field ัEpidemiology Training Center: FETC) จ านวน 3 ศูนย์ฝึกฯ ณ ส านักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) 3 แหง ได้แก่ ่ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 จงหวัดเชียงใหม ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสมา และส านักงานั่ีป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จงหวัดสงขลา โดยมเป้าหมายจะผลตนกระบาดวิทยาภาคสนาม หลกสตร FETP เพมขึ้นปีละ 2 - 4 ัีิััูิ่คนต่อศูนย์ฝึกฯ เพอสนับสนุนใหประเทศไทยมีผเชียวชาญดานระบาดวิทยาภาคสนามในอตรา 1 ตอประชากร 200,000 ืู่้ ้่้ั่คน ภายในปี พ.ศ. 2570 นอกจากนี้ ยังตั้งเป้าหมายจะผลิตนักวิชาการหลักสูตร FETH เพิ่มขึ้นอีกปีละ 2 - 4 คนต่อศูนย์ฝึกฯ เพอพฒนาระบบการป้องกน ตรวจจับเหตการณผดปกต และตอบสนองสถานการณโรคและภัยสขภาพของื ่ััุ์ิิ์ุประเทศไทยให้มีขีดความสามารถในการจัดการปัญหาสาธารณสุขของประเทศได้อย่างยั่งยืน หากมีผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วย หรือผู้ที่มีอาการเข้าได้กับนิยามผู้ป่วยด้วยโรคที่ก าลังเป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ เดินทางเข้ามาในประเทศไทย กลไกของระบบเฝาระวังทางระบาดวิทยาของประเทศจะตองตรวจจับเหตการณผดปกตไดเรว สามารถประสาน ุ้้์ิิ้็สอบสวนโรค บริหารจัดการ และควบคุมไม่ให้เกิดผู้ป่วยรุ่นที่ 2 ในประชากรไทยที่อาศัยในประเทศไทย กองระบาดวิทยาจงจัดทาแผนงานยกระดบระบบงานระบาดวิทยาใหไดมาตรฐานตามกรอบของ กฎอนามยระหว่างประเทศ ระยะ 5 ปี ึั้้ั(พ.ศ.2561 – 2565) นี้ขึ้น

6022. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพระยะ 5 ปี (2561 - 2565) เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เป้าหมาย 1 กรมควบคุมโรคมีระบบเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติที่เข้มแข็ง มีฐานข้อมูลและสารสนเทศ ด้านระบาดวิทยาที่ส าคัญด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ครอบคลุมโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาส าคัญ ทางสาธารณสุขของประเทศ เป็นปัจจุบัน เข้าถึงง่าย และพร้อมใช้อยู่เสมอตัวชี้วัด 1.1 จ านวนโรคหรือภัยสุขภาพที่มีข้อมูลและสารสนเทศด้านระบาดวิทยาและด้านต่างๆ ที่ส าคัญ ครอบคลุมไม่น้อยกว่า 4 มิติ (โรค/ภัยสุขภาพ) -5810 15 ตัวชี้วัดที่ 1.2 จ านวนสถานการณ์การวิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวัง 5 มิติ (โรค/ภัยสุขภาพ) -5810 15 เป้าหมาย 2 กระทรวงสาธารณสุขมีทีมปฏิบัติการสอบสวนและควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่ได้มาตรฐาน ตัวชี้วัดที่ 2.1 จ านวนจังหวัดที่มีหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่ออันตรายอย่างน้อย 1 ทีม (จังหวัด) 37 77 77 77 77 ตัวชี้วัดที่ 2.2 ร้อยละของเหตุการณ์ผิดปกติหรือการระบาดของโรคติดเชื้อที่ได้รับการควบคุมให้สงบภายใน 3 เท่าของระยะฟักตัว ตัวชี้วัดที่ 2.3 ร้อยละของเหตุการณ์การระบาดของโรคติดต่ออันตรายและโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่ไม่พบผู้ป่วยในรุ่น ที่ 2 (Generation ที่ 2) 70 80 8ตัวชี้วัดที่ 2.4 ร้อยละของอ าเภอ จังหวัด เขต และส่วนกลางมีทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) และทีม ปฏิบัติการสอบสวน ควบคุมโรค (JIT) และทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคและภัยสุขภาพระดับอ าเภอ ที่ปฏิบัติการได้ตามมาตรฐานที่ก าหนด --ส่วนกลาง ร้อยละ 100 เขต ร้อยละ 60 จังหวัด ร้อยละ 30 อ าเภอ ร้อยละ 30 เป้าหมาย 3 ประเทศไทยมีก าลังคนที่มีศักยภาพ ปฏิบัติงานในระบบป้องกันควบคุมโรคในทุกระดับอย่างเพียงพอ ตัวชี้วัดที่ 3.1 จ านวนบุคลากรที่ผ่านการอบรมหลักสูตรผู้เชี่ยวชาญด้านระบาดวิทยาภาคสนาม (แพทย์ประจ า บ้าน FETP หรือสัตวแพทย์ FETPV) หลักสูตร 2 ปี (คน) 48867

603เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 ตัวชี้วัดที่ 3.2 จ านวนบุคลากรที่ผ่านการอบรมหลักสูตรระบาดวิทยาภาคสนามระดับกลาง (FETH และ FEMT) (คน) 79 104 60 60 60 เป้าหมายที่ 4 กรมควบคุมโรคมีระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา “Smart Surveillance System” ที่พร้อมใช้ งานในปี พ.ศ 2565ตัวชี้วัดที่ 4.1 จ านวนจังหวัดที่ใช้ระบบเฝ้าระวัง “Smart Surveillance System” กรมควบคุมโรค (จังหวัดสะสม) --612 24 เป้าหมาย 5 ไม่พบการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ที่เป็นภาวะฉุกเฉินระหว่างประเทศในผู้ป่วยรุ่นที่ 2 ในหมู่ คนไทยที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยตัวชี้วัดที่ 5.1 ร้อยละของจ านวนเหตุการณ์การระบาดของโรคอุบัติใหม่ที่เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระหว่างประเทศที่สามารถควบคุมไม่ให้เกิดผู้ป่วยรุ่นที่ 2 ในหมู่คนไทยที่อาศัยในประเทศไทย 100 100 100 100 100 ตัวชี้วัดที่ 5.2 จ านวนสมรรถนะตามกรอบของกฎอนามัยระหว่างประเทศที่ได้รับการประเมินให้อยู่ในระดับที่ ไม่น้อยกว่า 4 (ระดับ 4 มีสมรรถนะที่ชัดเจนและ5 มีสมรรถนะที่ยั่งยืน) (ตัวสะสม) 34 36 40 44 48

6043. มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผู้ด าเนินการ มาตรการ/Service Provider ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. ส่วนกลาง เขต/สคร. สสจ. มาตรการที่ 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ ตัวชี้วัดที่ 1.1 : จ านวนโรคหรือภัยสุขภาพที่มีข้อมูลด้าน ระบาดวิทยาและข้อมูลด้านต่างๆ ที่ส าคัญ ครอบคลุมไม่น้อยกว่า 4 มิติ ปี 2561 -ปี 2562 5 โรค/ภัยสุขภาพ 5 โรค/ภัยสุขภาพ 1 โรค/ภัยสุขภาพ ปี 2563 8 โรค/ภัยสุขภาพ 8 โรค/ภัยสุขภาพ 3 โรค/ภัยสุขภาพ ปี 2564 10 โรค/ภัยสุขภาพ 10 โรค/ภัยสุขภาพ 5 โรค/ภัยสุขภาพ ปี 2565 15 โรค/ภัยสุขภาพ 15 โรค/ภัยสุขภาพ 8 โรค/ภัยสุขภาพ ตัวชี้วัดที่ 1.2 จ านวนสถานการณ์การวิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวังโรค และภัยสุขภาพที่เชื่อมโยงข้อมูลทั้ง 5 มิติปี 2561 -ปี 2562 5 โรค/ภัยสุขภาพ 5 โรค/ภัยสุขภาพ 1 โรค/ภัยสุขภาพ ปี 2563 8 โรค/ภัยสุขภาพ 8 โรค/ภัยสุขภาพ 3 โรค/ภัยสุขภาพ ปี 2564 10 โรค/ภัยสุขภาพ 10 โรค/ภัยสุขภาพ 5 โรค/ภัยสุขภาพ ปี 2565 15 โรค/ภัยสุขภาพ 15 โรค/ภัยสุขภาพ 8 โรค/ภัยสุขภาพ มาตรการที่ 2 พัฒนาทีมปฏิบัติการสอบสวนและควบคุมโรค ให้ได้มาตรฐานสากล ตัวชี้วัดที่ 2.1 จ านวนจังหวัดมีหน่วยปฏิบัติการควบคุม โรคติดต่ออันตรายอย่างน้อย 1 ทีม (จังหวัดสะสม)ปี 2561 37 ปี 2562 --77 ปี 2563 --77 ปี 2564 --77 ปี 2565 -77 ตัวชี้วัดที่ 2.2 ร้อยละของเหตุการณ์ผิดปกติหรือการระบาดของ โรคติดเชื้อ ที่ได้รับการควบคุมให้สงบภายใน 3 เท่า ของระยะฟักตัว ปี 2561 ร้อยละ 70 ร้อยละ 70 -ปี 2562 ร้อยละ 75 ร้อยละ 75 -ปี 2563 ร้อยละ 80 ร้อยละ 80 ร้อยละ 70 ปี 2564 ร้อยละ 80 ร้อยละ 80 ร้อยละ 75 ปี 2565 ร้อยละ 80 ร้อยละ 80 ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดที่ 2.3 ร้อยละของเหตุการณ์การระบาดของโรคติดต่อ อันตรายและโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่ไม่พบผู้ป่วยในรุ่น ที่ 2 (Generation ที่ 2)ปี 2561 -ปี 2562 -ปี 2563 ร้อยละ 70 ร้อยละ 70 ร้อยละ 70 ปี 2564 ร้อยละ 80 ร้อยละ 80 ร้อยละ 80 ปี 2565 ร้อยละ 80 ร้อยละ 80 ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดที่ 2.4 ร้อยละของอ าเภอ จังหวัด เขต และส่วนกลางมีทีม ตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) และทีม ปี 2561 -ปี 2562 ---

605มาตรการ/Service Provider ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. ส่วนกลาง เขต/สคร. สสจ. ปฏิบัติการสอบสวน ควบคุมโรค (JIT) และทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคและภัยสุขภาพระดับอ าเภอ ที่ปฏิบัติการได้ตามมาตรฐานที่ก าหนด ปี 2563 -ปี 2564 -ปี 2565 ร้อยละ 100 ร้อยละ 60 จังหวัด ร้อยละ 30 อ าเภอ ร้อยละ 30 มาตรการที่ 3 พัฒนาก าลังคนด้านระบาดวิทยาภาคสนาม ตัวชี้วัดที่ 3.1 จ านวนบุคลากรที่ผ่านการอบรมหลักสูตร ผู้เชี่ยวชาญด้านระบาดวิทยาภาคสนาม (แพทย์ ประจ าบ้าน FETP หรือสัตวแพทย์ FETPV) หลักสูตร 2 ปี (เฉพาะ สคร.ที่มีศูนย์ฝึกฯ) ปี 2561 ปี 2562 8ปี 2563 8 -ปี 2564 6 -ปี 2565 7 -ตัวชี้วัดที่ 3.2 จ านวนบุคลากรที่ผ่านการอบรมหลักสูตรระบาด วิทยาภาคสนามระดับกลาง (FETH และ FEMT) - หลักสูตร FETH (เฉพาะสคร.ที่มีศูนย์ฝึกฯ FETC) ปี 2561 ปี 2562 3ปี 2563 1 -ปี 2564 1--ปี 2565 - - หลักสูตร FEMT ปี 2561 ปี 2562 101 ปี 2563 6ปี 2564 6--ปี 2565 6--มาตรการที่ 4 พัฒนาระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา“Smart Surveillance System System” ตัวชี้วัดที่ 4.1 จ านวนจังหวัดที่ใช้ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ที่ใช้เทคโนโลยีและมีคุณภาพ “Smart Surveillance System” กรมควบคุมโรค (จังหวัดสะสม)ปี 2561 -ปี 2562 -ปี 2563 6--ปี 2564 12 ปี 2565 24 มาตรการที่ 5 พัฒนาระบบงานระบาดวิทยาให้ได้มาตรฐาน ตามกรอบของกฎอนามัยระหว่างประเทศ ปี 2561 ร้อยละ 100 ปี 2562 ร้อยละ 100

606มาตรการ/Service Provider ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. ส่วนกลาง เขต/สคร. สสจ. ตัวชี้วัดที่ 5.1 ร้อยละของจ านวนเหตุการณ์การระบาดของ โรคอุบัติใหม่ที่เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระหว่างประเทศที่สามารถควบคุมไม่ให้เกิดผู้ป่วย รุ่นที่ 2 ในหมู่คนไทย ที่อาศัยในประเทศไทยปี 2563 ร้อยละ 100 ปี 2564 ร้อยละ 100 ปี 2565 ร้อยละ 100 ตัวชี้วัดที่ 5.2 จ านวนสมรรถนะตามกรอบของกฎอนามัยระหว่าง ประเทศที่ได้รับการประเมินให้อยู่ในระดับที่ไม่น้อย กว่า 4 ในปี 2565 (ตัวสะสม) (ระดับ 4 มีสมรรถนะที่ชัดเจน ระดับ 5 มีสมรรถนะที่ยั่งยืน) ปี 2561 34 ปี 2562 36 ปี 2563 40 ปี 2564 44 ปี 2565 48

6074. มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา15.85 12.43 26.30627.8 28.9 111.286 1. โครงการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ กองระบาดวิทยา งบประมาณแ1. ขั้นตอนที่ 5 2. ปี 63 ร้อยละ 80 ปี 64 ร้อยละ 80 ปี 65 ร้อยละ 80 3. ปี 63 จ านวน 35 ครั้ง ปี 64 จ านวน 35 ครั้ง ปี 65 จ านวน 35 ครั้ง 1. ระดับความส าเร็จของการพัฒนาจังหวัดให้มีระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 5 กลุ่มโรค 5 มิติ 2. ร้อยละของจ านวนรายงานการประเมินสถานการณ์สามารถระบุความเสี่ยงตามเกณฑ์การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพและให้ข้อเสนอแนะแก่ผู้บริหารในการตัดสินใจ 3. จ านวนครั้งของเหตุการณ์ผิดปกติทางสาธารณสุขที่ได้รับการตรวจจับและรายงานผลการประเมินความเสี่ยงภายใน 1 ระยะฟักตัว กิจกรรมหลักที่ 1.1 โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ -244414 กิจกรรมหลักที่ 1.2 โครงการบูรณาการระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาโรคและภัยสุขภาพด้านการบาดเจ็บ โรคเรื้อรัง โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 1. กองระบาดวิทยา (กลุ่มพัฒนาระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาโรคไม่ติดต่อ) 2. ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 – 12 3. สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง 1.82 0.95 34514.77 กิจกรรมหลักที่ 1.3 โครงการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาโรคติดต่อที่ป้องกันด้วยวัคซีน และเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ 1. กองระบาดวิทยา (กลุ่มพัฒนาระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาโรคติดต่อ) 2. ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 – 12 3. สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง 7.6 59.92 9940.52 กิจกรรมหลักที่ 1.4 โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1. กองระบาดวิทยา(กลุ่มพัฒนาระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์) 2. ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 – 12 3. สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง 3.68 34.927 5521.607

608มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน กิจกรรมหลักที่ 1.5 โครงการจัดตั้งและพัฒนาระบบเฝ้าระวังและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุนพิษในจังหวัดชายทะเล 1. กองระบาดวิทยา (กลุ่มสอบสวน ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและประสานกฎอนามัยระหว่างประเทศ) 2. ส านักงานป้องกัน ควบคุมโรคที่มีพื้นที่รับผิดชอบติดชายทะเล 0.3 0.3 0.359 0.3 0.4 1.659 กิจกรรมหลักที่ 1.6 โครงการพัฒนาการจัดท า และเผยแพร่ผลิตภัณฑ์ทางวิชาการ เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และ E-learning กองระบาดวิทยา (กลุ่มเผยแพร่วิชาการ) 2.45 11.6 3311.05 กิจกรรมหลักที่ 1.7 โครงการประเมินระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กองระบาดวิทยา --2226กิจกรรมหลักที่ 1.8 โครงการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อทางเดินหายใจตะวันออกกลางในชุมชน กองระบาดวิทยา -0.18 0.5 0.5 0.5 1.68 มาตรการที่ 2 พัฒนาทีมปฏิบัติการสอบสวนและควบคุมโรคให้ได้มาตรฐาน1157.64357.6 57.6 196.043 2. โครงการพัฒนาหน่วยปฏิบัติการสอบสวน และควบคุมปัจจัยเสี่ยง ที่คุกคามสุขภาวะ กองระบาดวิทยางบประมาณแ1. ปี 61 ร้อยละ 70 ปี 62 ร้อยละ 75 ปี 63 ร้อยละ 80 ปี 64 ร้อยละ 80 ปี 65 ร้อยละ 80 2. ปี 61 ร้อยละ - ปี 62 ร้อยละ - ปี 63 ร้อยละ 70 ปี 64 ร้อยละ 80 ปี 65 ร้อยละ 80 1. ร้อยละของเหตุการณ์ผิดปกติหรือการระบาดของโรคติดเชื้อได้รับการควบคุมโรคให้สงบภายใน 3 เท่าของระยะฟักตัว 2. ร้อยละของเหตุการณ์การระบาดของโรคติดต่ออันตรายและโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่ไม่พบผู้ป่วยในรุ่นที่ 2 กิจกรรมหลัก 2.1 โครงการสร้างเสริมความเข้มแข็งของทีมปฏิบัติการสอบสวนโรค (JIT) 1. กองระบาดวิทยา 2. ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 – 12 3. สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง 4. ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด 5. โรงพยาบาล 10.4 846.643 46.6 46.6 158.243

609มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน กิจกรรมหลักที่ 2.2 โครงการผลิตทีม CDCU โรคติดต่ออันตราย ส าหรับ JIT ของส่วนกลาง เขต และจังหวัด 1. กองระบาดวิทยา 2. สคร. 1 – 12 3. สปคม. 4. สถาบันบ าราศนราดูร 5. กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน 1.8 311 11 11 37.8 3. ปี 61 จ านวน 77 จังหวัด ปี 62 จ านวน 77 จังหวัด ปี 63 จ านวน 77 จังหวัด ปี 64 จ านวน 77 จังหวัด ปี 65 ระดับเขต 13 ทีม ส่วนกลาง 20 ทีม ปี 61 – ปี 62 - ปี 63 - ปี 64 - ปี 65 ส่วนกลาง ร้อยละ 100 เขต ร้อยละ 60 จังหวัด ร้อยละ 30 อ าเภอ ร้อยละ 30 3. จ านวยจังหวัดที่มีหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่ออันตรายที่เป็น สหสาขาอย่างน้อย 1 ทีม ภายในปี 2565 (รวมทั้งหมด 77 จังหวัด) 4. ร้อยละของอ าเภอ จังหวัด เขต และส่วนกลางมีทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) และทีมปฏิบัติการสอบสวน ควบคุมโรค (JIT) และทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคและภัยสุขภาพระดับอ าเภอ ที่ปฏิบัติการได้ตามมาตรฐานที่ก าหนด มาตรการที่ 3 พัฒนาก าลังคนด้านระบาดวิทยาภาคสนาม18.15 15.3 24.11525.3 25.3 108.165 3. โครงการพัฒนาก าลังคนด้านระบาดวิทยาภาคสนาม งบประมาณแ1. ส่วนกลาง ปี 61 จ านวน 4 คน ปี 62 จ านวน 8 คน ปี 63 จ านวน 8 คน ปี 64 จ านวน 6 คน ปี 65 จ านวน 7 คน สคร.ที่มีศูนย์ฝึกฯ-FETC ปี 61 จ านวน 0 คน ปี 62 จ านวน 0 คน ปี 63 จ านวน 1 คน ปี 64 จ านวน 0 คน ปี 65 จ านวน 0 คน 1. จ านวนบุคลากรที่ผ่านการอบรมหลักสูตรผู้เชี่ยวชาญด้านระบาดวิทยาภาคสนาม (แพทย์ประจ าบ้าน FETP และสัตวแพทย์ FETPV) หลักสูตร 2 ปี กิจกรรมหลักที่ 3.1 โครงการพัฒนาบุคลากรด้านระบาดวิทยาภาคสนามหลักสูตร (FETP/FETPV และ FETH) 1. กองระบาดวิทยา (กลุ่มพัฒนานักระบาดวิทยาภาคสนามและเครือข่าย) 2. ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1, 9 และ 12 3. กรมปศุสัตว์ 3.9 4.8 5.8 6626.5 กิจกรรมหลักที่ 3.2 โครงการพัฒนาบุคลากรด้านระบาดวิทยาภาคสนาม 1. ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1, 9 และ 12 2. กองระบาดวิทยา -2.4 3.4 3.4 3.4 12.6

610มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน (ศูนย์ฝึกอบรมนักระบาดวิทยาภาคสนาม FETC) 2. หลักสูตร FETH ส่วนกลาง ปี 61 จ านวน 4 คน ปี 62 จ านวน 3 คน ปี 63 จ านวน 4 คน ปี 64 จ านวน 1 คน ปี 65 จ านวน 0 คน สคร.ที่มีศูนย์ฝึกฯ-FETC ปี 61 จ านวน 0 คน ปี 62 จ านวน 0 คน ปี 63 จ านวน 1 คน ปี 64 จ านวน 0 คน ปี 65 จ านวน 0 คน หลักสูตร FEMT (เฉพาะส่วนกลาง) ปี 61 จ านวน 75 คน ปี 62 จ านวน 101 คน ปี 63 จ านวน 70 คน ปี 64 จ านวน 60 คน ปี 65 จ านวน 60 คน 2. จ านวนบุคลากรที่ผ่านการอบรมหลักสูตรระบาดวิทยาภาคสนามระดับกลาง (FETH และ FEMT) กิจกรรมหลักที่ 3.3 โครงการเครือข่ายด้านฝึกอบรมระบาดวิทยาภาคสนามเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศภายใต้กรอบอาเซียนแผนงานจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ASEAN+3 FETN 1. กองระบาดวิทยา 2. ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1, 9 และ 12 2.5 1.2 2.095 229.795 กิจกรรมหลักที่ 3.4 โครงการวารสารงานสอบสวนโรค เฝ้าระวัง ควบคุมโรค (OSIR) วารสารภาษาอังกฤษส าหรับกรมควบคุมโรค (Outbreak Surveillance Investigation & Report, OSIR) กองระบาดวิทยา 0.5 0.2 0.82 0.9 0.9 3.32 กิจกรรมหลักที่ 3.5 โครงการพัฒนาเครือข่ายระบาดวิทยาและหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคให้สามารถปฏิบัติการเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรคได้ตามมาตรฐาน 1. กองระบาดวิทยา 2. ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 – 12 3. สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง 11.25 6.7 12 13 13 55.95 มาตรการที่ 4 พัฒนาระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา“Smart Surveillance System” กรมควบคุมโรค --20.40721 21 62.407 กิจกรรมหลักที่ 4.1 โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคอิเล็คทรอนิคแบบออนไลน์ 1. กองระบาดวิทยา (กลุ่มสารสนเทศทางระบาดวิทยา) 2. ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 – 12 3. สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง --17.48 18 18 53.48 ปี 63 จ านวน 6 จังหวัด ปี 64 จ านวน 12 จังหวัด ปี 65 จ านวน 24 จังหวัด จ านวนจังหวัดที่ใช้ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาที่ใช้เทคโนโลยีและมีคุณภาพ (Smart Surveillance System)

611มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน 4. ส านักวิชาการในกรมควบคุมโรค 5. ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด 6. โรงพยาบาล (จังหวัดสะสม) กิจกรรมหลักที่ 4.2 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและทีม CDCU ปี 2563 1. กองระบาดวิทยา (กลุ่มสารสนเทศทางระบาดวิทยา) 2. ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 – 12 3. สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง 4. ส านักวิชาการในกรมควบคุมโรค 5. ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด 6. โรงพยาบาล --2.927 338.927 มาตรการที่ 5 พัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคให้ได้มาตรฐานตามกรอบของกฎอนามัยระหว่างประเทศ8.817.27224.1224.1224.1288.442 5. โครงการยกระดับสมรรถนะตามกฎอนามัยระหว่างประเทศและวาระความมั่นคงด้านสุขภาพโลก งบประมาณแ1. ปี 61 ร้อยละ 100 ปี 62 ร้อยละ 100 ปี 63 ร้อยละ 100 ปี 64 ร้อยละ 100 ปี 65 ร้อยละ 100 2. ปี 61 จ านวน 34 ตัว ปี 62 จ านวน 36 ตัว ปี 63 จ านวน 40 ตัว ปี 64 จ านวน 44 ตัว ปี 65 จ านวน 48 ตัว 1. ร้อยละของจ านวนเหตุการณ์การระบาดของโรคอุบัติใหม่ที่เป็นภาวะฉุกเฉินระหว่างประเทศที่สามารถควบคุมไม่ให้เกิดผู้ป่วยรุ่นที่ 2 ในหมู่คนไทยที่อาศัยในประเทศไทย 2. จ านวนสมรรถนะตามกรอบของกฎอนามัยระหว่างประเทศที่ได้รับการประเมินให้อยู่ในระดับที่ไม่น้อยกว่า 4 (มีสมรรถนะที่กิจกรรมหลักที่ 5.1 โครงการพัฒนากลไกการด าเนินงานตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR-JEE) 19 ประเด็น 48 ตัวชี้วัด ในพื้นที่จังหวัดชายแดน จังหวัดในเขตเศรษฐกิจพิเศษ และในพื้นที่เสี่ยง หมายเหตุ : พื้นที่เสี่ยง หมายถึง พื้นที่ในเขตนิคมอุตสาหกรรม พื้นที่ที่มีประชากรนักท่องเที่ยง หรือมีแรงงานต่างด้าวอาศัย/ท างานจ านวนมาก กองระบาดวิทยาและเครือข่ายต่างๆ ทั้งนอกและในกระทรวงสาธารณสุข 3.8 5.8 17.18 17.18 17.18 61.14

612มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน กิจกรรมหลักที่ 5.2 โครงการพัฒนาระบบ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาความรอบรู้ด้านโรคติดเชื้อและเชื้อดื้อยาจุลชีพในโรงพยาบาล กองระบาดวิทยาและสถาบันบ าราศนราดูร 0.21 0.072 3.04 3.04 3.04 9.402 ชัดเจน) ภายในปี 2565 (มีทั้งหมด 48 ตัว) กิจกรรมหลักที่ 5.3 โครงการพัฒนาศักยภาพและกลไกการด าเนินงานตามกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศระดับภูมิภาคและระดับโลก 1. กองระบาดวิทยา 2. ส านักงานความร่วมมือระหว่างประเทศ 3. ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่มีพื้นที่ติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน 4.8 1.4 3.9 3.9 3.9 17.9

6135. แผนการติดตามประเมินผลระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก ตัวชี้วัด เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 1. มาตรการที่ 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ ตัวชี้วัดที่ 1.1 :จ านวนโรคหรือภัยสุขภาพที่มีข้อมูลด้านระบาดวิทยาและข้อมูลด้านต่างๆ ที่ส าคัญครอบคลุมไม่น้อยกว่า 4 มิติ ปี 61 – ปี 62 จ านวน 5 โรค/ภัยสุขภาพ ปี 63 จ านวน 8 โรค/ภัยสุขภาพ ปี 64 จ านวน 10 โรค/ภัยสุขภาพ ปี 65 จ านวน 15 โรค/ภัยสุขภาพ 1. ลงพื้นที่เพื่อติดตามความก้าวหน้าของโครงการ ร่วมแก้ไขปัญหา อุปสรรคและประเมินผล 2. เก็บรวบรวมผลผลิตของโครงการ ตัวชี้วัดที่ 1.2 จ านวนสถานการณ์การวิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวัง 5 มิติ ปี 61 – ปี 62 จ านวน 5 โรค/ภัยสุขภาพ ปี 63 จ านวน 8 โรค/ภัยสุขภาพ ปี 64 จ านวน 10 โรค/ภัยสุขภาพ ปี 65 จ านวน 15 โรค/ภัยสุขภาพ มาตรการที่ 2 พัฒนาทีมปฏิบัติการสอบสวนและควบคุมโรคให้ได้มาตรฐานที่ก าหนด ตัวชี้วัดที่ 2.1 จ านวนจังหวัดที่มีหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่ออันตรายที่เป็นสหสาขาอย่างน้อย 1 ทีม (รวมทั้งสิ้น 77 ทีม/77 จังหวัดสะสม) ปี 61 จ านวน 37 จังหวัด ปี 62 จ านวน 77 จังหวัด ปี 63 จ านวน 77 จังหวัด ปี 64 จ านวน 77 จังหวัด ปี 65 จ านวน 77 จังหวัด1. ลงพื้นที่เพื่อติดตามความก้าวหน้าของโครงการ ร่วมแก้ไขปัญหา อุปสรรคและประเมินผล 2. เก็บรวบรวมผลผลิตของโครงการ ตัวชี้วัดที่ 2.2 ร้อยละของเหตุการณ์ผิดปกติหรือการระบาดของโรคติดเชื้อ ได้รับการควบคุมให้สงบภายใน 3 เท่าของระยะฟักตัว ปี 61 ร้อยละ 70 ปี 62 ร้อยละ 75 ปี 63 ร้อยละ 80 ปี 64 ร้อยละ 80 ปี 65 ร้อยละ 90 ตัวชี้วัดที่ 2.3 ร้อยละของเหตุการณ์การระบาดของโรคติดต่ออันตรายและโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่ไม่พบผู้ป่วยในรุ่นที่ 2 (Generation ที่ 2) ปี 61 ร้อยละ - ปี 62 ร้อยละ - ปี 63 ร้อยละ 70 ปี 64 ร้อยละ 80 ปี 65 ร้อยละ 80

614มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก ตัวชี้วัด เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 ตัวชี้วัดที่ 2.4 ร้อยละของอ าเภอ จังหวัด เขต และส่วนกลางมีทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) และทีมปฏิบัติการสอบสวน ควบคุมโรค (JIT) และทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคและภัยสุขภาพระดับอ าเภอ ที่ปฏิบัติการได้ตามมาตรฐานที่ก าหนด ปี 61 – ปี 62 - ปี 63 - ปี 64 - ปี 65 ส่วนกลาง ร้อยละ 100 เขต ร้อยละ 60 จังหวัด ร้อยละ 30 อ าเภอ ร้อยละ 30มาตรการที่ 3 พัฒนาก าลังคนด้านระบาดวิทยาภาคสนาม ตัวชี้วัดที่ 3.1 จ านวนบุคลากร ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรผู้เชี่ยวชาญด้านระบาดวิทยาภาคสนาม (แพทย์ประจ าบ้าน FETP หรือสัตวแพทย์ FETPV) หลักสูตร 2 ปี (เฉพาะ สคร. ที่มีศูนย์ฝึกฯ (FETC) หมายเหตุ : สาเหตุปรับลดเป้าหมายลง เนื่องจากมีผู้สมัครเข้าร่วมลดลง และมีแนวโน้มว่าจะไม่สามารถเข้าร่วมอบรมตามก าหนดได้ อยู่ระหว่างการพัฒนาหลักสูตรส่วนกลาง ปี 61 จ านวน 4 คน ปี 62 จ านวน 8 คน ปี 63 จ านวน 8 คน ปี 64 จ านวน 6 คน ปี 65 จ านวน 7 คน สคร. ปี 61 จ านวน 0 คน ปี 62 จ านวน 0 คน ปี 63 จ านวน 1 คน ปี 64 จ านวน 0 คน ปี 65 จ านวน 0 คน เก็บรวบรวมผลผลิตของโครงการ ตัวชี้วัดที่ 3.2 จ านวนบุคลากรที่ผ่านการอบรมหลักสูตรระบาดวิทยาภาคสนามระดับกลาง (FETH และ FEMT) (เฉพาะ สคร. ที่มีศูนย์ฝึกฯ (FETC) หมายเหตุ : สาเหตุปรับลดเป้าหมายลง เนื่องจากมีผู้สนใจเข้าร่วมน้อยลงมาก จึงงดการจัดอบรมในปี 2565 เพื่อหาแนวทาง และพัฒนาหลักสูตรหลักสูตร FETH ส่วนกลาง ปี 61 จ านวน 4 คน ปี 62 จ านวน 3 คน ปี 63 จ านวน 4 คน ปี 64 จ านวน 1 คน ปี 65 จ านวน 0 คน สคร. ปี 61 จ านวน 0 คน ปี 62 จ านวน 0 คน

615มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก ตัวชี้วัด เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 ปี 63 จ านวน 1 คน ปี 64 จ านวน 0 คน ปี 65 จ านวน 0 คน หลักสูตร FEMT (เฉพาะส่วนกลาง) ปี 61 จ านวน 75 คน ปี 62 จ านวน 101 คน ปี 63 จ านวน 60 คน ปี 64 จ านวน 60 คน ปี 65 จ านวน 60 คน มาตรการที่ 4 พัฒนาระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา“Smart Surveillance System”ตัวชี้วัดที่ 4.1 จ านวนจังหวัดที่ใช้ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาที่ใช้เทคโนโลยีและมีคุณภาพ “Smart Surveillance System” กรมควบคุมโรค ปี 63 จ านวน 6 จังหวัด (สะสม) ปี 64 จ านวน 12 จังหวัด (สะสม) ปี 65 จ านวน 24 จังหวัด (สะสม) เก็บรวบรวมผลผลิตของโครงการ มาตรการที่ 5 พัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคให้ได้มาตรฐานตามกรอบของกฎอนามัยระหว่างประเทศตัวชี้วัดที่ 5.1 ร้อยละของจ านวนเหตุการณ์การระบาดของโรคอุบัติใหม่ที่เป็นภาวะฉุกเฉินระหว่างประเทศที่สามารถควบคุมไม่ให้เกิดผู้ป่วยรุ่นที่ 2 ในหมู่คนไทยที่อาศัยใน ประเทศไทย ปี 61 ร้อยละ 100 ปี 62 ร้อยละ 100 ปี 63 ร้อยละ 100 ปี 64 ร้อยละ 100 ปี 65 ร้อยละ 100 1. ลงพื้นที่เพื่อติดตามความก้าวหน้าของโครงการ ร่วมแก้ไขปัญหา อุปสรรคและประเมินผล 2. เก็บรวบรวมผลผลิตของโครงการ ตัวชี้วัดที่ 5.2 จ านวนสมรรถนะตามกรอบของกฎอนามัยระหว่างประเทศที่ได้รับการประเมินให้อยู่ในระดับที่ไม่น้อยกว่า 4 (มีสมรรถนะที่ชัดเจน) ในปี 2565 (ทั้งหมดมี 48 ตัว) ปี 61 จ านวน 34 ตัว ปี 62 จ านวน 36 ตัว ปี 63 จ านวน 40 ตัว ปี 64 จ านวน 44 ตัว ปี 65 จ านวน 48 ตัว

6166. ผู้รับผิดชอบแผนงาน 1. แพทย์หญิงวลัยรัตน์ ไชยฟูผู้อ านวยการกองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2. นายแพทย์เฉวตสรร นามวาท หัวหน้ากลุ่มพัฒนานักระบาดวิทยาภาคสนามและเครือข่าย 3. นางสาวนิภาพรรณ สฤษดิ์อภิรักษ 4. นางสาวภาวินี ด้วงเงิน 5. นายฐิติพงษ์ ยิ่งยง 6. นางแสงโฉม ศิริพานิช 7. นายธนิต รัตนธรรมสกุล 8. นายธีรศักดิ์ ชักน า 9. นางอรัฐา รังผึ้ง 10. นางสาวกีรติกานต์ กลัดสวัสดิ์ 11. นางอัญชนา วากัส 12. นางอุษา โตจันทร์ ์หัวหน้างานพัฒนาภาคีเครือข่ายทางระบาดวิทยา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาโรคติดต่อ หัวหน้ากลมพฒนาระบบเฝาระวังทางระบาดวิทยาโรคุ ่ั้เอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หัวหน้ากลุ่มสารสนเทศทางระบาดวิทยา หัวหน้ากลมพฒนาระบบเฝาระวังทางระบาดวิทยาโรคุ ่ั้ไม่ติดต่อ หัวหน้ากลุ่มสอบสวนและตอบโต้ โรคและภัยสุขภาพ หัวหน้ากลุ่มความร่วมมอและประสานกฎอนามัยืระหว่างประเทศหัวหน้ากลุ่มเผยแพร่วิชาการ หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และพฒนาองคกร ั์หัวหน้ากลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล หัวหน้ากลุ่มบริหารทั่วไป 7. ผู้จัดท าแผนงาน : กลุ่มยุทธศาสตร์และพัฒนาองค์กร กองระบาดวิทยา เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3803E-mail: [email protected]. แพทย์หญิงวลัยรัตน์ ไชยฟู 2. นางสาวกีรติกานต์ กลัดสวัสดิ์ 3. นางสาวรุจิรา เลิศคุณาพร 4. นางสาววัชรี กาญจนอุดม 5. นายธนกฤติ จันทร์ถง 6. นางสาวสุหทัย พลทากลาง 7. นางสาววรฤทัย ชูฉ่ า ผู้อ านวยการกองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และพัฒนาองค์กร นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ นักวิชาการสาธารณสุข นักวิเคราะห์นโยบายและแผน

6171. สถานการณ์ กฎอนามยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 ไดกาหนดบทบาทหนาทของเจาหนาท ณ ช่องทางเขาออกประเทศ ั้้ี ่้้ี ่้และมาตรการตางๆ ให้มีความพร้อมที่จะปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกน ควบคุมโรคในภาวะปกติและสามารถรับมือกับภาวะ่ัฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปัจจุบันประเทศไทยมีช่องทางเข้าออกประเทศ (Point of Entry:PoE) ภายใต้พระราชบญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ด่านควบคุมโรคติดต่อัระหว่างประเทศ พ.ศ. 2562 จ านวน 68 แห่ง ซึ่งในปี 2562 ด่านพรมแดนบ้านฮวก เป็นด่านควบคุมโรคฯ ล่าสุด และได้ยกเลิกด่านฯ จ านวน 2 แห่ง ได้แก ท่าอากาศยานพษณโลกและด่านฯ ท่าอากาศยานสุโขทย ด่านฯ แบ่งตามประเภท ดังนี้ ่ิุั1) ทาอากาศยาน 15 แห่ง 2) ท่าเรือ 18 แห่ง และ 3) พรมแดนทางบก 35 แห่ง นอกจากนั้นยังแบ่งด่านควบคุมโรคติดต่อ่ระหว่างประเทศตามสังกด ดังนี้ 1) สังกดกรมควบคุมโรค 61 แห่ง และ 2) สังกดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สป.) ััั7 แห่ง [ด่านฯ ในสังกด สป. ได้แก 1) ท่าเรือเชียงแสน จ.เชียงราย 2) พรมแดนสะพานมตรภาพ 4 เชียงของ จ.เชียงราย ั่ิ3) พรมแดนตากใบ จ.นราธิวาส 4) ทาเรอตามะลง จ.สตล 5) พรมแดนควนโดน จ. สตูล 6) ท่าเรือปัตตานี จ.ปัตตานี ่ืัูและ 7) ท่าเรือกันตัง จ.ตรัง] ชึงทกแห่งต้องพฒนาสมรรถนะช่องทางฯตามขอกาหนดของกฎอนามยระหว่างประเทศ ุ่ั้ั2548 (IHR 2005) และปฏิบัติตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 จากสถานการณ์การระบาดของโรคและภัยสุขภาพระหว่างประเทศ อาท โรคตดเฃ้อไวรสอโบลา โรคไขเหลอง โรคทางเดนหายใจตะวันออกกลาง หรือโรคเมอรส ิิืัี้ืิ์และนับตั้งแต่ปลายปี 2562 ถึงปัจจุบัน ประเทศไทยกาลงรบมอกบสถานการณการระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา ััืั์้2019 ซึ่งก าลังระบาดทั่วโลก ดังนั้นมาตรการตรวจจับคัดกรองโรค ในฃั้นแรกโดยช่องทางเขาออกประเทศ จากการที่มี ้ผู้เดินทางเข้าออกประเทศ จากพนที่เขตติดโรคและพนที่ที่ได้รับผลกระทบ จึงมีความส าคญในการพฒนาช่องทางเขาออกื้ื้ัั้ประเทศใหประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป ้ประเทศไทยไดขอรับการประเมนผลการปฏิบตตาม กฎอนามยระหว่างประเทศ (International Health ้ิัิัRegulations (2005) Joint External Evaluation Tool (FIRST EDITION) ; IHR-JEE) ฉบบป 2559 โดยผประเมนจากองค์การัีู ้ิอนามยโลก เมื่อวันที่ 26 - 30 มถนายน 2560 โดยประเมนสมรรถนะหลกของช่องทางเขาออกประเทศทกาหนดให ัิุิั้ี ่้ตองพฒนาตามกฎอนามัยระหว่างประเทศฯ ท้งทเปนท่าอากาศยาน ท่าเรอ และดานพรมแดน รวม 18 แหง้ััี ่็ื่่ช่องทางเขาออกประเทศทถกกาหนด (Designated Point of Entry) องคการอนามยโลกไดแนะนาใหช่องทางฯ พฒนา ้ี ู่์ั้้ัดังนี้ PoE 1. (ภาวะปกติ) อยู่ในสมรรถนะที่ 4 คือ มสมรรถนะในการปฏิบตงานในภาวะปกตอยางชัดเจน และ PoE 2. ีัิิ่(ภาวะฉุกเฉิน) อยู่ในสมรรถนะท 3 คอ อยูระหว่างการพฒนาสมรรถนะในการตอบโตภาวะฉกเฉนดานสาธารณสข ี ่ื่ัุ้ิุ้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งทีมผู้ประเมินฯ ได้ให้ค าแนะน าในการพฒนาสมรรถนะช่องทางฯ ตามล าดับความส าคัญ ัของกิจกรรม (Priority Activities) ที่ต้องเร่งด าเนินการ ดังนี้ 1) เสริมสร้างสมรรถนะของก าลังคนโดยการฝึกอบรมการตรวจเครื่องบิน การตรวจเรือ และการออกใบรับรองสุขาภิบาลเรือ รวมทงการตรวจจบและการตอบโต้เบองต้น โดยเจาหนาทสาธารณสขประจาด่านพรมแดนตามแนวทางั ้ัื ้้้ี ุ่ส าหรับภัยทุกประเภท แผนพัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 และพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558

  1. จดทาแผนปฏิบติการสาหรบช่องเขาออกประเทศแต่ละแหง ซงอ้างอิงจากผลการประเมนตนเองของช่องััั้่ึ ่ิทางเขาออกประเทศ และการประเมนจากสวนกลางเพอของบประมาณสาหรบการปดช่องว่างของสมรรถนะดานต่าง ๆ ้ิ่ื ่ัิ้(Capacity Gaps) โดยเนนการพฒนาเร่องการประสานงานในระบบสงตอและการขนสงเพอเคลอนย้ายผเดนทางท้ัื่่่ื ่ื ู่ ้ิี ่เจ็บป่วยจากช่องทางฯ ไปยังสถานบริการทางการแพทย์ที่เหมาะสม 3) บรรจุแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉนทางสาธารณสุขของช่องทางเข้าออกประเทศในแผนจัดการความเสี่ยงจากภัยิพิบัติแห่งชาติ พ.ศ.2558 ในปี 2561 องค์การอนามัยโลก ได้ปรับปรุงคู่มือประเมินผลการปฏิบัติตามกฎอนามยระหว่างประเทศ ั(International Health Regulations (2005) Joint External Evaluation Tool (SECOND EDITION) ; IHR-JEE ) โดยมีประเดนวิชาการท้งหมด 19 ประเดน ที่ส าคัญคือ ประเด็นวิชาการล าดับ ที่ 17 (ช่องทางฯ ) มการเปลี่ยนแปลงเกณฑ์็ั็ีตัวชี้วัดทั้ง 2 ตัวคือ PoE.1 สมรรถนะในภาวะปกตของช่องทางเขาออกประเทศ และ PoE.2 มาตรการตอบโต้ทางิ้สาธารณสุขที่มีประสิทธิผลที่ช่องทางเข้าออกประเทศ ให้มีความครอบคลุมภัยสุขภาพทั้ง 5 ด้าน ในภาวะปกติให้ดาเนนการตามภาคผนวก 1ข ทุกข้อแบบพหุภาคี และในภาวะฉุกเฉิน เน้นการจดทาแผนตอบโตภาวะฉกเฉนด้านิัุ้ิสาธารณสุขในระดับชาติให้ครอบคลุมทั้ง 5 ภัยสุขภาพแบบพหุภาคี (ด้านโรคติดเชือ ด้านโรคตดต่อระหว่างสตว์และคน ้ิัด้านอาหารปลอดภัย ด้านสารเคมี และด้านกัมมันตรังสีและนิวเคลียร์) จากการประชุมเชิงปฏิบตการพัฒนาศกยภาพ ัิัผประเมน/นเทศงานพฒนาสมรรถนะหลกของช่องทางเขาออกประเทศตามแนวทาง IHR- JEE ซึ่งมีผู้แทนจากส านักงานู ้ิิัั้ป้องกันควบคุมโรคที่มีด่านควบคุมโรคในสังกัด และดานควบคมโรคตดต่อระหว่างประเทศ เมื่อวันที่ 19 - 21 ธันวาคม ุ่ิ2561 ที่ผ่านมา ณ โรงแรมมารวย การ์เด้น กรุงเทพฯ ได้มีการแจ้งผลการประเมินฯ ในปี 2560 (IHR-JEE 2016) ที่ผ่านมารวมทงเปรียบเทยบตัวชี้วัดปี 2561 (IHR-JEE 2018) ทประชุมมความเหนว่า ผลประเมนฯ ในปี 2560 จากคะแนน ั ้ี1ี ่ี็ิCCAT เมื่อเทียบกับตัวชี้วัดปี 2561(IHR-JEE 2018) พบว่า ตัวชี้วัด PoE.1 สมรรถนะในภาวะปกตของช่องทางเขาออกิ้ประเทศ อยู่ในสมรรถนะระดับที่ 3 และ PoE.2 มาตรการตอบโต้ทางสาธารณสุขที่มีประสิทธิผลที่ช่องทางเข้าออกประเทศ อยูในสมรรถนะระดับที่ 1 จึงเห็นควรให้มีการเร่งรัดพฒนาสมรรถนะช่องทางเขาออกประเทศตามแนวทาง ่ั้ที่ IHR-JEE 2018 ก าหนด เพื่อรองรับการประเมินขององค์การอนามัยโลก (WHO) ในปี พ.ศ. 2565 โรคและภัยสุขภาพทั้ง 5 ด้าน (ดานโรคติดเชื้อ ด้านโรคตดต่อระหว่างสตว์และคน ด้านอาหารปลอดภัย ้ิัด้านสารเคมี และด้านกัมมันตรังสีและนิวเคลียร์) ตามตัวชี้วัด IHR-JEE 2018 ที่ต้องด าเนินการแบบพหุภาคีและมี การประสานงานกบกระทรวงอน ๆ ทง 18 กระทรวง ตามคาสงคณะกรรมการกฎอนามยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 ัื ่ั ้ั ่ั2(ค าสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที่ 878/2556) ซึ่งมีหน้าที่ส่งเสริม ก ากับ ติดตามเร่งรัดให้ส่วนราชการและหน่วยงานในสังกัดปฏิบตตามแผนพัฒนางานด้านกฎอนามยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 แต่จากการทบทวนบทบาทของกองด่านควบคุมัิัโรคติดต่อระหว่างประเทศและกลุ่มโรคติดต่อระหว่างประเทศ พบว่า โรคและภัยสขภาพทสอดคลองกบบทบาทภารกิจุี ่้ัของกองด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ มีเพยง 2 ภัยได้แก่ 1) ด้านโรคติดต่อ และ 2) ด้านโรคติดต่อระหว่างสัตว์ีและคน สาหรับภัยสุขภาพที่ไม่อยู่ในบทบาทภารกจของกองด่านควบคมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ได้แก่ 1) ด้านอาหาริุปลอดภัย 2) ด้านสารเคมี และ 3) ด้านกัมมันตรังสีและนิวเคลียร์ ควรให้จุดประสานงานกฎอนามัยระหว่างประเทศระดับชาติ แจงคณะอนุกรรมการประสานงานด้านกฎอนามยระหว่างประเทศ แจงความกาวหนาในการด าเนินการ ้ั3้้้ส่วนราชการและหน่วยงานในสังกัดปฏิบัติตามแผนพฒนางานด้านกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 รวมทั้งส่งัแผนปฏิบัติการของคณะท างานประสานงานการปฏิบัติตามกฎอนามัยระหว่างประเทศแต่ละภัยสุขภาพ (ด้านโรคติดเชื้อ 4 ด้านโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน ด้านอาหารปลอดภัย ด้านสารเคมี และด้านกัมมันตรังสีและนิวเคลียร์ )ที่ครอบคลุม5 6 7 8 ตามคู่มือ CCAT กาหนด โดยเฉพาะแผนตอบโต้ภาวะฉกเฉนด้านสาธารณสขในระดับชาติของแต่ละภัยสขภาพ (ด้านโรคุิุุ

619ติดเชื้อ ด้านโรคติดต่อระหว่างสตว์และคน ด้านอาหารปลอดภัย ด้านสารเคม และด้านกมมนตรงสและนวเคลยร) ทมัีัััีิี์ี ่ีมาตรการจ าเพาะด้านสาธารณสุขที่เชื่อมโยงกับผู้เดินทางระหว่างประเทศ และสิ่งที่ได้รับผลกระทบอน ๆ (กระเป๋าื่เดินทาง สินค้าบรรทุก ตู้บรรทุกสินค้า ยานพาหนะ สินค้า หีบห่อ พสดุไปรษณียภัณฑ์ หรือศพที่ติดเชื้อหรือปนเปื้อน ัหรือเป็นแหล่งน าพาการติดเชื้อหรือการปนเปื้อน) และหากช่องทางฯ แต่ละประเภทมีความแตกต่างกัน ขอให้ระบุเป็นการดาเนนการเฉพาะประเภทช่องทางฯ เพอรายงานสมรรถนะการด าเนินงานตามกฎอนามยระหว่างประเทศ ประจ าป ิื่ัี2561 ตามเครื่องมือการรายงานประจ าปโดยประเมนตนเองของรัฐภาค ตามกฎอนามยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 ีิีั9[WHO, STATE PARTY SELF-ASSESSMENT (2018) ] ซึ่งสอบถามเป็นประจ าทุกปี โดยเป็นค าถามเฉพาะช่องทางฯ ทงนในการพฒนาช่องทางฯ ยงคงยดแนวทางการพฒนาช่องทางฯ ตามคมอประเมนตนเองการพฒนาั ้ี ้ััึัู ่ืิัสมรรถนะหลกช่องทางเขาออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรอ และพรมแดนทางบก ฉบบป 2553 (Core Capacity ั้ืัีRequirements Assessment Tools : CCAT) ซงในปงบประมาณ 2562 ช่องทางฯ ทง 68 แหง ไดมการประเมินการึ ่ีั ้่้ีพัฒนาสมรรถนะหลกช่องทางเขาออกประเทศ ด้วยตนเอง (Self-assessment) และประเมนภายใน (Internal audit) ั้ิโดยส านักงานป้องกันควบคุมโรค ตามคู่มือประเมินตนเองการพฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ ท่าอากาศัยาน ทาเรือ และพรมแดนทางบก พบว่า ช่องทางฯ ที่เป็น Designated PoE (18 แห่ง) ผ่านเกณฑ์ CCAT ≥ 70 คะแนน ่ทั้งหมด 18 แห่ง (ร้อยละ 100) และช่องทางฯที่เป็น Non-Designated PoE ( 50 แหง) ผานเกณฑ CCAT ≥ 60 คะแนน ่่์จานวน 41 แหง (รอยละ 82) โดยมีผลการประเมินสมรรถนะหลัก 3 ด้าน ได้แก่ สมรรถนะด้านการติดต่อสื่อสาร ่้สมรรถนะต้องมีตลอดเวลา (ในสภาวะปกติ) และสมรรถนะในภาวะฉุกฉิน ตามตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ผลการประเมนสมรรถนะหลกของช่องทางเขาออกประเทศ ทาอากาศยาน ทาเรอและพรมแดนทางบก ป 2562 ิั้่่ืีตามเกณฑ CCAT ์หมายเหตุ : เอกสารแนบ 1 – ตารางการเปรียบเทียบ/เชื่อมโยง CCAT (2009) / IHR –JEE (2016) / IHR –JEE (2018) 2 – ค าสั่งคณะกรรมการกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 3 – ค าสั่งคณะอนุกรรมการประสานงานด้านกฎอนามัยระหว่างประเทศ 4 – ค าสั่งคณะท างานประสานงานการปฏิบัติตามกฎอนามัยระหว่างประเทศด้านโรคติดเชื้อ 5 – ค าสั่งคณะท างานประสานงานการปฏิบัติตามกฎอนามัยระหว่างประเทศด้านโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน 6 – ค าสั่งคณะท างานประสานงานการปฏิบัติตามกฎอนามัยระหว่างประเทศด้านอาหารปลอดภัย 7 – ค าสั่งคณะท างานประสานงานการปฏิบัติตามกฎอนามัยระหว่างประเทศด้านสารเคมี 8 – ค าสั่งคณะท างานประสานงานการปฏิบัติตามกฎอนามัยระหว่างประเทศด้านกัมมันตรังสีและนิวเคลียร์ 9 - เครื่องมือการรายงานประจ าปีโดยประเมินตนเองของรัฐภาคี ตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 ประจ าปี 2561 [WHO, STATE PARTY SELF-ASSESSMENT (2018) ] ช่องทางเข้าออกประเทศ สมรรถนะด้านสื่อสาร สมรรถนะในภาวะปกต ิสมรรถนะในภาวะฉุกเฉิน รวม พรมแดน (33 แห่ง) 77% 77% 72% 76% ท่าเรือ (18 แห่ง) 79% 77% 74% 77% ท่าอากาศ (17 แห่ง) 80% 78% 75% 78% รวมจ านวน 68 แห่ง 79% 78% 75% 78%

6202. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง 3. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ปี (2561-2565)เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563* 2564* 2565 เป้าหมาย ช่องทางเข้าออกประเทศมีสมรรถนะหลักตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 (IHR-Join External Evaluation Tool : IHR-JEE , 2018) ไม่ต่ ากว่าระดับ 4 - - Designated PoEs จ านวน 16 ช่องทางฯ (จากเป้าหมาย 18 ช่องทางฯ) - Non-Designated PoEs จ านวน 34 ช่องทางฯ (จากเป้าหมาย 31 ช่องทางฯ) - Designated PoEs (18 ช่องทางฯ) - Non- Designated PoEs (37 ช่องทางฯ) - Designated PoEs (18 ช่องทางฯ) - Non-Designated - Non-PoEs (44 ช่องทางฯ) - Designated PoEs (18 ช่องทางฯ) Designated PoEs (47 ช่องทางฯ) ตัวชี้วัดที 1่ ร้อยละของช่องทางเข้าออกประเทศมีสมรรถนะหลักตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 ( IHR-Join External Evaluation Tool : IHR-JEE , 2018) ไม่ต่ ากว่าระดับ 4 - รอยละ 74 ้จานวน 50 ชองทางฯ (55 ช่องทางฯ) ่(จากเป้าหมาย ร้อยละ 70 48 ช่องทางฯ) ร้อยละ 80 ร้อยละ 90 (62 ช่องทางฯ) ร้อยละ 95 (65 ช่องทางฯ)

621เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563* 2564* 2565 ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละช่องทางเข้าออกประเทศที่ก าหนดมีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามเกณฑ์ที่ก าหนด (คะแนน CCAT) ร้อยละ 95.59 ร้อยละ 86.76 (จากเป้าหมาย ร้อยละ 70) ร้อยละ 80 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95 *หมายเหต : ุปีงบประมาณ 2563 ด่านฯ ทั้งหมดจ านวน 69 แห่ง ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ พ.ศ.2559 (ฉบับที่ 2) ปีงบประมาณ 2564 ด่านฯ ทั้งหมดจ านวน 68 แห่ง ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ พ.ศ. 2562 ตารางค่าเป้าหมายตัวชวัดแยกตามประเภทช่องทางเข้าออกประเทศ (ท่าอากาศยาน ท่าเรือ และพรมแดนทางบก) ี้ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของช่องทางเข้าออกประเทศมีสมรรถนะหลักตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 ( IHR-Join External Evaluation Tool : IHR-JEE , 2018) ไม่ต่ ากว่าระดับ 4เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2562 2563 2564 2565 ร้อยละ 70 (48 ช่องทางฯ) ร้อยละ 80 (55 ช่องทางฯ) ร้อยละ 90 (62 ช่องทางฯ) ร้อยละ 95 (65 ช่องทางฯ) Designated PoE. (18 ช่องทางฯ) **G = ด่านพรมแดน A = ด่านท่าอากาศยาน P= ด่านท่าเรือ รวมG = 9/9 A = 4/4 P = 5/5 G = 9/9 A = 4/4 P = 5/5 G = 9/9 A = 4/4 P = 5/5 G = 9/9 A = 4/4 P = 5/5 18 ช่องทางฯ 18 ช่องทางฯ 18 ช่องทางฯ 18 ช่องทางฯ Non-Designated PoE รวมG = 15/24 A = 8/13 P = 8/13 G = 19/25 A = 9/13 P = 9/13 G = 24/26 A = 9/11 P = 11/13 G = 25/26 A = 10/11 P = 12/13 31 ช่องทางฯ 37 ช่องทางฯ 44 ช่องทางฯ 47 ช่องทางฯ รวมทั้งสิ้น 49 ช่องทางฯ 55 ช่องทางฯ 62 ช่องทางฯ 65 ช่องทางฯ

622ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละช่องทางเข้าออกประเทศที่ก าหนดมีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามเกณฑ์ที่ก าหนด (คะแนน CCAT)เกณฑ์การประเมินค่าคะแนน CCAT Designated PoE จานวน 18 แหง Non- Designated PoE จ านวน 50 แห่ง ่- ปี 2561 คะแนน CCAT ≥65 คะแนน - ป 2561 คะแนน CCAT ≥55 คะแนน ี- ปี 2562 คะแนน CCAT ≥70คะแนน - ป 2562 คะแนน CCAT ≥60 คะแนน ี- ปี 2563 คะแนน CCAT ≥75 คะแนน - ป 2563 คะแนน CCAT ≥65 คะแนน ี- ปี 2564 คะแนน CCAT ≥80 คะแนน - ป 2564 คะแนน CCAT ≥70 คะแนน ี**หมายเหตุ : ปีงบประมาณ 2563 มีการยกระดับด่านพรมแดนบ้านฮวกเป็นด่านควบคุมโรคฯ แห่งใหม่ และยกเลิกด่านฯ ท่าอากาศยานพิษณุโลกและท่าอากาศยานสุโขทัย เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2562 2563 2564 2565 ร้อยละ 70 (48 ช่องทางฯ) (55 ช่องทางฯ) (62 ช่องทางฯ) ร้อยละ 80 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95 (65 ช่องทางฯ) - ช่องทางฯ นอกเขต SEZ (จ านวน 41** ช่องทางฯ) 30 34 38 40 - ช่องทางฯ ในเขต SEZ (จ านวน 27 ช่องทางฯ) 19 21 24 25 รวม 49 ช่องทางฯ 55 ช่องทางฯ 62 ช่องทางฯ 65 ช่องทางฯ

6234. มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผู้ด าเนินการ มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. ด่านควบคุมโรคฯ มาตรการที่ 1 : พัฒนานโยบายเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ 1. ก าหนดนโยบาย ผลักดัน และขับเคลื่อนการพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศในภาพรวมของประเทศตามข้อก าหนดของกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 โดยผ่านคณะอนุกรรมการพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ 2.บูรณาการระหว่างหน่วยงาน เพื่อติดตาม การด าเนินงาน ในการขับเคลื่อนนโยบายพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ 1. สนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะช่องทาง เข้าออกประเทศที่อยู่ภายใต้สังกัด สคร. ตามนโยบายและแผนการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ 2. บูรณาการระหว่างหน่วยงาน เพื่อติดตาม การด าเนินงาน ในฐานะ Internal Audit 1.พัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ ตามนโยบายของคณะท างานช่องทางฯ และแผนพัฒนาสมรรถนะฯที่ได้จากการประเมินตนเอง ( Self- Assessment) มาตรการที่ 2 : เตรียมความพร้อมพื้นฐานของด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ 1.ส ารวจและจัดท าแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของด่านฯ ภาพรวม รวมถึงการพัฒนาระบบสารสนเทศของด่านฯ 2.จัดหาและสนับสนุนครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้างตามแผนที่ก าหนด 1.ส ารวจและจัดท าแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของด่านฯ ในสังกัด เพื่อจัดส่งข้อมูลให้กับส่วนกลางจัดท าเป็นแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของด่านฯ ภาพรวมประเทศ 2. สนับสนุนครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง ตามแผนที่ก าหนด 1.ส ารวจและจัดท าแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของด่านฯ เสนอให้กับ สคร.พิจารณา มาตรการที่ 3 : พัฒนาความร่วมมือของหน่วยงานเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกช่องทางฯ 1. พัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยจากช่องทาง เข้าออกประเทศไปยังสถานบริการ โดยจัดท าต้นแบบ Mutual Aid Agreement (MAA) ด้านการส่งต่อผู้ป่วย และคู่มือการปฏิบัติงานการส่งต่อผู้เดินทาง 2.จัดท าต้นแบบแผนพัฒนาช่องทางเข้าออก 3.จัดท าต้นแบบแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขครบทั้ง 5 ภัยสุขภาพ 4.ติดตามประเมินผลการพัฒนาช่องทางเข้าออกในภาพรวมทั้งประเทศ 1. พัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยจากช่องทางเข้าออกประเทศไปยังสถานบริการ -เข้าร่วมจัดท าต้นแบบ Mutual Aid Agreement (MAA) ด้านการส่งต่อผู้ป่วยร่วมกับส่วนกลาง - สนับสนุนจัดท าคู่มือการปฏิบัติงานการส่งต่อผู้เดินทางให้กับด่านฯในสังกัด 2.สนับสนุน/เข้าร่วมการจัดท าแผนพัฒนาช่องทางเข้าออกในสังกัด 1. พัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยจากช่องทางเข้าออกประเทศไปยังสถานบริการ -ด าเนินการจัดท า Mutual Aid Agreement ด้านการส่งต่อผู้ป่วยกับโรงพยาบาลในพื้นที่ - จัดท าคู่มือการปฏิบัติงานการส่งต่อผู้เดินทางของด่านฯ 2.จัดท าแผนพัฒนาช่องทางเข้าออก 3.จัดท าแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขครบทั้ง 5 ภัยสุขภาพในสังกัด

624มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. ด่านควบคุมโรคฯ 3.สนับสนุนการจัดท าแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขครบทั้ง 5 ภัยสุขภาพในสังกัด 4.ติดตามประเมินผลการพัฒนาช่องทางเข้าออกในสังกัด มาตรการที่ 4 : พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศให้มีสมรรถนะในการควบคุมโรคและภัยสุขภาพทั้งภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน 1.ส ารวจ/รวบรวมและจัดท ากรอบอัตราก าลังของของเจ้าพนักงานด่าน ฯ ในภาพรวมของทั้งประเทศ 2.พัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานให้มีสมรรถนะตามข้อก าหนดของกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 3.จัดท าต้นแบบในการ ฝึกซ้อม/ถอดบทเรียน แผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ ให้ครบ 5 ภัย 1.ส ารวจและจัดท ากรอบอัตราก าลังของของเจ้าพนักงานด่านฯ ในสังกัด และส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.พัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานให้มีสมรรถนะตามข้อก าหนดของกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.23.สนับสนุนการฝึกซ้อม/ถอดบทเรียน แผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศให้ครบ 5 ภัย ให้กับช่องทางในเขตรับผิดชอบ 1. เข้าร่วมการอบรมในหลักสูตรต่างๆ เพื่อพัฒนาสมรรถนะให้ได้ตามข้อก าหนดของกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 2. ฝึกซ้อมและถอดบทเรียน แผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศให้ครบ 5 ภัย

6255. มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแเงิน 1. การพัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศ ตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 และพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558ช่องทางเข้าออกประเทศที่มีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามข้อก าหนดของกฎอนามัยระหว่างปไม่ต่ ากว่าระดับ 4 1. ร้อยละช่องทางเข้าออกประเทศที่มีการพัฒนาสมรรถนะไดตามขอก าหนด้้ของกฎอนามยระหวางั่ประเทศ พ.ศ. 2548 ไม่ต่ ากว่าระดับ 4 2. ร้อยละช่องทางเข้าออกประเทศที่ก าหนดมีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามเกณฑ์ที่ก าหนด (คะแนน CCAT) มาตรการที่ 1 พัฒนานโยบายเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศกิจกรรมที่ 1 ขับเคลื่อนการด าเนินงานพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ ตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548และ พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558     กองด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ/ สคร.และ สสจ.ที่มีด่านควบคุมโรคฯ ในความรับผิดชอบ 111กรม คร. มาตรการที่ 2เตรียมความพร้อมพื้นฐานของด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศกิจกรรมที่ 1 ส ารวจ และจัดท าแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ    กองด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ มาตรการที่ 3พัฒนาความร่วมมือของหน่วยงานเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกช่องทางฯกิจกรรมที่ 1 การพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยของช่องทางเข้าออกประเทศ     กองด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ/ 56.08 6.08 กรม คร.

626มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รแเงิน สคร.และ สสจ.ที่มีด่านควบคุมโรคฯ ในความรับผิดชอบ กิจกรรมที่ 2 ติดตาม และประเมินผลการด าเนินงานพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ ตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 (IHR-JEE)     กองด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ/ สคร.และ สสจ.ที่มีด่านควบคุมโรคฯ ในความรับผิดชอบ 22.88 2.88 กรม คร. มาตรการที่ 4 พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศให้มีสมรรถนะในการควบคุมโรคและภัยสุขภาพทั้งภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน กิจกรรมที่ 1 การฝึกซ้อม/ทบทวน/สรุปบทเรียนเพื่อปรับปรุงแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข     กองด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ/ สคร.และ สสจ.ที่มีด่านควบคุมโรคฯ ในความรับผิดชอบ 444กรม คร. กิจกรรมที่ 2 พัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ณ ช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 และ พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558     กองด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ/ สคร.และ สสจ.ที่มีด่านควบคุมโรคฯ ในความรับผิดชอบ 222กรม คร. กิจกรรมที่ 3 สนับสนุนการด าเนินงานเฝ้าระวังผู้เดินทางระหว่างประเทศ สุขาภิบาลยานพาหนะและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เฝ้าระวังพาหะน าโรคที่ช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ     กองด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ/ สคร.และ สสจ.ที่มีด่านควบคุมโรคฯ ในความรับผิดชอบ 888กรม คร.

6276. แผนการติดตามประเมินผลระยะ 5 ปี7. ผู้รับผิดชอบแผนงาน : PM แผนงานโรค ได้แก่ หน่วยงานสังกัดกรมควบคุมโรคที่เกี่ยวข้อง 1. นายแพทย์สุวิช ธรรมปาโล เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3160ผู้อ านวยการผู้อ านวยการกองด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ กรมควบคุมโรคE-mail: [email protected]มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 แผนงานพัฒนาช่องทาง เข้าออกประเทศ ตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 และพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 1.ช่องทางเข้าออกประเทศที่มีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามข้อก าหนดของกฎอนามยระหวางประเทศ ั่พ.ศ. 2548 ไม่ต่ ากว่าระดับ 4 ก าหนดเป็นตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ของกรมควบคุมโรคและถ่ายทอดให้ สคร. ตดตามผลจากการรายงานในิระบบ ESM 2.ช่องทางเข้าออกประเทศที่ก าหนดมีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามเกณฑ์ที่ก าหนด (คะแนน CCAT) ลงพื้นที่ติดตามการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางฯ ที่รับผิดชอบ (Internal audit) โดยใช้คู่มือ Core Capacity Requirements Assessment Tools : CCAT 

6281. สถานการณ์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ เป็นกลไกส าคัญสู่การบรรลุเป้าหมายตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี โดยสอดคล้องกับโครงการส าคัญ (โครงการที่ 2.4) การพฒนาสมรรถนะัชุมชน ต าบล อ าเภอ จงหวัด การพัฒนาสมรรถนะบคลากรใหสามารถบรหารจดการและด าเนนงานด้านตางๆ ัุ้ิัิ่ได้ด้วยตัวเอง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างความเข้มแข็งเชิงกระบวนการพัฒนาพ้นทแต่ละระดับชุมชน ต าบล อ าเภอ ืี ่และจังหวัด ซึ่งมีความสอดคล้องกับเป้าหมายและทิศทางกับยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสรมสรางศกยภาพทรพยากริ้ััมนุษย์ ที่ต้องการให้คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ รวมทั้งสังคมไทยมีสภาพแวดล้อมที่เออและสนับสนุนต่อการื้พฒนาคนตลอดชีวิต และยังเป็นการส่งเสริมให้มีกลไกระดับเขตและพนที่เพอสร้างสุขภาวะที่ดีในทุกพนที่ (โครงการ ัื้ื่ื้ที่ 2.5) เพื่อให้พื้นที่ในระดับเขต จังหวัด อ าเภอ มีกลไกของการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาด้านการควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่อาจจะส่งกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ และเพอให้ประชาชนอยู่ในสังคมที่มีสภาพแวดล้อมที่เออและื่ื้สนับสนุนต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพฒนาคุณภาพชีวิตระดับพนที่ พ.ศ.2561 (ประกาศราชกจจาัื้ินุเบกษา วันที่ 9 มีนาคม 2561 เล่ม 135 ตอนพเศษ 54 ง) ส่งผลให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนประเด็นปัญหาและการพัฒนาิคณภาพชีวิต จ านวน 2,400 โครงการในป 2561 จานวน 2,454 โครงการในป 2562 และจ านวน 2,649 โครงการ ุีีในปี 2563 (ดังแสดงในแผนภาพที่ 1,2 และ 3) จะเห็นว่ากลไกการพฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ (พชอ./พชข.) ช่วยหนุนัเสริมในการแกปัญหาป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ท าให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และน าไปสู่ความส าเร็จบนหลักการ ้ของภาวะการน าร่วม การบูรณาการ การมีส่วนร่วม ร่วมคิด ร่วมท า ร่วมเรียนรู้ ผ่านการมีปฏิสัมพันธ์ทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เปนทางการ ตลอดจนการจดสรร แบงปน ทรัพยากรที่มีจากทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ็ั่ัและภาคประชาชน เชือมโยงเปนหนงเดียว ขจดช่องว่างและความซ าซ้อนต่างๆ เพอการบรรลุเป้าหมายสุขภาวะ ่็ึ ่ั้ื่หรือคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน บนแนวคิดการท างาน “พื้นที่เป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง” น าไปสู่การแก้ปัญหาทตรงกับความตองการของประชาชนในพนท เปนการกระจายอานาจในการบริหารจดการของภาครัฐอกวิธีหน่ง ี ่้ื ้ี ่็ัีึ(อ้างอิง : คู่มือประกอบการพิจารณา ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ พ.ศ.2561) แผนงานขับเคลื่อนการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพด้วยกลไกการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับพื้นที่ (พชอ./พชข.)

629ที่มา : ส านักบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย กระทรวงสาธารณสุข เพอการบรรลุเป้าหมายสุขภาวะหรือคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน บนแนวคิดการท างาน “พนที่เป็นฐาน ประชาชนเป็นื่ื้ศูนย์กลาง” น าไปสู่การแก้ปัญหาที่ตรงกับความต้องการของประชาชนในพนที่ เป็นการกระจายอานาจในการบริหารื้จัดการของภาครัฐอกวิธีหนึ่ง (อ้างอิง : คู่มอประกอบการพิจารณา ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพีืชีวิตระดับพื้นที่ พ.ศ.2561) เศรษฐกิจ สังคม ส่งเสริม เด็ก วัยรุ่น สุขภาพจิต ยาเสพติดขยะ สิ่งแวดล้อม อาหารปลอดภัยผู้สูงอายุ อุบัติเหตุ NCDs โรคติดต่อ55 %27 %จ านวน 2,400 โครงการ ขับเคลื่อนโดยการมีส่วนร่วม ของ พชอ. 878 อ าเภอ อย่างน้อย 2 ประเด็น ผู้สูงอายุ อุบัติเหต ุNCDs โรคติดต่อ ขยะ สิ่งแวดล้อม อาหารปลอดภยัผู้สูงอายุ อุบัติเหตุ NCDs โรคติดต่อ 1,318 โครงการ ขยะ สิ่งแวดล้อม อาหารปลอดภัย 649 โครงการ เด็ก วัยรุ่น สุขภาพจิต ยาเสพติด 309 โครงการ 124 โครงการ เศรษฐกิจ สังคม ส่งเสริม จิตอาสา แผนภาพที่ 1 ประเด็นขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิต ปี 2561

630แผนภาพที่ 3 ประเด็นขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิต ปี 2563 (จ าแนกตามแผนงานโรค) การขับเคลื่อนกลไกเพอพฒนาคุณภาพชีวิตในระดับพนที่ ท าให้ทราบถึงศักยภาพที่มีของทั้งระดับรายบุคคล ื่ัื้ครอบครว ชุมชน และประชาชนกลมตางๆ ผานการมปฏิสมพนธ์ทงอยางเปนทางการและไมเปนทางการบนพนฐาน ัุ ่่่ีััั ้่็่็ื ้ของความใกล้ชิดประชาชนขององค์ประกอบและภาคสวนตางๆ ทงภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ที่มีอยู่่่ั ้ภายในอาเภอ ส่งผลให ้“ความเปนอาเภอ” ็(“ความเป็นอ าเภอ” ในที่นี้ครอบคลุมทั้ง “ความเป็นอ าเภอ (District)” ในจงหวัดตางๆ และ “ความเปนเขต (District)”ในกรงเทพมหานคร) ศักยภาพของการเป็นตัวของตัวเอง พงตนเอง ั่็ุึ่และพงพากนเอง (อ้างอิง : ค าประกาศความสาคญของ “ระบบสขภาพอ าเภอ (District Health System: DHS)” ึ ่ััุ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความส าคัญของ “ความเปนอ าเภอ” ขององคการอนามยโลก [World Health Organization ็์ั(Harare Declaration 1987): Declaration on strengthening District Health Systems based on Primary Health Care: …District Health System is more or less a “Self-contained Segment”…] โดยที่ความเป็นอ าเภอ มีความ703, 27%566, 21%445, 17%204, 8%203, 8%154, 6%114, 4%84, 3%62, 2%55, 2% 36, 1% 18, 1%5, 0%NATIEn- OCCAgingCDMother and ChildFoodNacoticHealth Promotion SALTSocio EconomicVulnerableVolunteerPsychiatric49 %29 %ขยะ สิ่งแวดล้อม อาหารผู้สูงอายุ อุบัติเหต ุNCDs เศรษฐกิจ สังคม ส่งเสริม เด็ก วัยรุ่น สุขภาพจิต ยาเสพติดขยะ สิ่งแวดล้อม อาหารปลอดภัยผู้สูงอายุ อุบัติเหตุ NCDs โรคติดต่อจ านวน 2,454 โครงการ ขับเคลื่อนโดยการมีส่วนร่วม ของ พชอ. 878 อ าเภอ อย่างน้อย 2 ประเด็น จ านวน 2,649 โครงการ ขับเคลื่อนโดยการมีส่วนร่วม ของ พชอ. 878 อ าเภอ และ พชข. 50 เขต 1,205 โครงการ 717 โครงการ 388 โครงการ 144 โครงการ เด็ก วัยรุ่น สุขภาพจิต ยาเสพติด เศรษฐกิจ สังคม ส่งเสริม จิตอาสา ผู้สูงอายุ อุบัติเหตุ NCDs โรคติดต่อ ขยะ สิ่งแวดล้อม อาหารปลอดภัย แผนภาพที่ 2 ประเด็นขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิต ปี 2562

631แตกต่างไปจากความเป็นต าบลกล่าวคือ ภาคส่วนองค์ประกอบ และทรัพยากรต่างๆ ที่ส่งผลให้เกิดศักยภาพของการพึ่งพากันเอง ในระดับต าบลมนอยกว่าในระดับอ าเภอ และมีความแตกต่างไปจากความเป็นจังหวัดกล่าวคือ ภาคส่วน ี้และองค์ประกอบต่างๆ ที่มีอยู่ภายในระดับจังหวัด มีความใกล้ชิดประชาชนน้อยกว่าในระดับอ าเภอ) จากการดาเนนงานแกไขปญหาคณภาพชีวิตของประชาชนในพนทแตละอาเภอดวยกลไก พชอ./พชข. ิ้ัุื ้ี ่่้ระหว่างปี 2561 – 2563 จะเห็นได้ว่าจ านวนโครงการของพื้นที่มากกว่าครึ่งหนึ่งเป็นประเด็นขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตในด้านการป้องกนควบคุมโรคและภัยสขภาพ ซึ่งมีภาคีเครือข่ายในการด าเนินงานทั้งในแนวดิ่งและแนวราบจากัุหน่วยงานของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ท าให้เกิดความเชื่อมและยึดโยงประโยชน์ของการแก้ไขปัญหาไปยังประชาชนทั้งในระดับรายบุคคล-ครอบครัว-ชุมชน อย่างเป็นระบบ ดังนั้นการผลักดันสนับสนุนกลไก พชอ./พชข. ให้ประเด็นปัญหาพนที่ที่ได้ด าเนินงานขับเคลื่อนอยู่แล้วเป็นไปื้อย่างมีคุณภาพ ด้วยมาตรการ “นโยบายเข้มแข็ง เสริมแรงความรู้ เชิดชูขยายผล” ซึ่งเป็นการปฏิรูปการท างาน สอดคลองกบการกระจายอานาจใหชุมชนและเอกชนมสวนร่วมทแทจริงในการจัดการกบปัญหาคณภาพชีวิตของพ้นท ้ั้ี่ี ่้ัุืี ่โดยกรมควบคุมโรคมการจดการกลไกสนบสนุนมากกว่าที่จะไปควบคุมก ากับ ซึ่งเป็นไปตามหลัก ีัั“พื้นที่เป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง” ดังกล่าวข้างต้น 2. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง 2.1 กลุ่มวัย - ทุกกลุ่มวัย 2.2 กลุ่มเสี่ยง ประชากรกลุ่มเสี่ยงใน 3 กลุ่มโรคได้แก่ โรคติดต่อส าคัญ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 2.3 พื้นที่เป้าหมายเพื่อด าเนินการขยายผลและสร้างความต่อเนื่องสู่ผลลัพธ์ (ดังตารางที่ 1) ตารางที่ 1 จ านวนพื้นที่เป้าหมายที่ได้รับการขับเคลื่อนกลไกการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพด้วยศักยภาพ พชอ./พชข. แยกรายเขตสุขภาพ เขตสุขภาพจ านวนเขตใน กทม./พื้นที่อ าเภอเมือง จ านวนอ าเภอ 2561 2562 2563 (≥10%=92.8) (≥30%=278.4)2564 2565 (≥60%= 556.8)รวมพื้นที่อ าเภอ/เขต เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ 8 95 - - 10.3 30.9 61.8 103 เขตสุขภาพที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก 5 42 - - 4.7 14.1 28.2 47 เขตสุขภาพที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ 5 49 - - 5.4 16.2 32.4 54 เขตสุขภาพที่ 4 จังหวัดสระบุรี 8 62 - - 7 21 42 70 เขตสุขภาพที่ 5 จังหวัดราชบุรี 8 54 - - 6.2 18.6 37.2 62 เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดชลบุรี 8 61 - - 6.9 20.7 41.4 69

632เขตสุขภาพจ านวนเขตใน กทม./พื้นที่อ าเภอเมือง จ านวนอ าเภอ 2561 2562 2563 (≥10%=92.8) (≥30%=278.4)2564 2565 (≥60%= 556.8)รวมพื้นที่อ าเภอ/เขต เขตสุขภาพที่ 7 จังหวัดขอนแก่น 4 73 - - 7.7 23.1 46.2 77 เขตสุขภาพที่ 8 จังหวัดอุดรธานี 7 80 - - 8.7 26.1 52.2 87 เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา 4 84 - - 8.8 26.4 52.8 88 เขตสุขภาพที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี 5 65 - - 7 21 42 70 เขตสุขภาพที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช 7 67 - - 7.4 22.2 44.4 74 เขตสุขภาพที่ 12 จังหวัดสงขลา 7 70 - - 7.7 23.1 46.2 77 กรุงเทพมหานคร 50 0 - - 5 15 30 50 รวม 126 802 - - 97 279 544 928 3. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ป (2561-2565)ีเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เป้าหมาย 1 กลไกการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ าเภอ มีกระบวนการจัดการโรคและภัยสุขภาพอย่างบูรณาการร่วมกบเครือข่าย ัN/A 12 อ าเภอ 93 อ าเภอ 279 อ าเภอ 544อ าเภอ เป้าหมาย 2 โรค ภัยสุขภาพ และปัจจัยเสี่ยงที่เป็นปัญหาของพื้นที่ได้รับการแก้ไข N/A 12 โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ 93 279544

6334.มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผู้ด าเนินการ มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร./สปคม. เขตสุขภาพ สสจ. สสอ. (คกก.พชอ/พชข.) มาตรการที่ 1 สนับสนุนเชิงนโยบาย (นโยบายเข้มแข็ง) 1.จัดกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนกลไก พชอ./พชข. 2.บูรณาการงบประมาณ 3.ประสานคณะกรรมการ/อนุกรรมการ พชพ. 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ขับเคลื่อนสนับสนุนกลไก พชอ./พชข. 2. จัดกลไกทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดในการสนับสนุนมาตรการป้องกันควบคุมโรคผ่านกลไก พชอ./พชข. 3. ประสานการด าเนินงาน 4. รายงานความก้าวหน้า 1.ประสานการด าเนินงาน 2.สรุปผลการวิเคราะห์และ ติดตามความก้าวหน้าการแก้ปัญหา 3.สนับสนุนจัดการทรัพยากร งบประมาณ 1.ประสานการด าเนินงาน 2.จัดกลไกทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดในการสนับสนุนมาตรการป้องกันควบคุมโรคผ่านกลไก พชอ./พ3. วิเคราะห์ผลและน าเสนอการตรวจราชการ -ขับเคลื่อนเนื้อหา มาตรการ/ผลักดันผ่านกลไก พชอ. มาตรการที่ 2 พัฒนาสมรรถนะบุคลากร (เสริมแรงความรู้) 1.จัดระบบข้อมูล ชี้เป้า ปัญหา 2.อบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ 3.จัดท าแนวปฏิบัติ/คู่มือ แนวทางมาตรฐาน 1.วิเคราะห์ประเด็นปัญหารายอ าเภอ 2.ประเมินความต้องการทางสุขภาพหรือประเมินช่องว่าง (GAP) ของอ าเภอ 3.ด าเนินการสนับสนุนทางวิชาการ 1.ร่วมอบรมพัฒนาศักยภาพ 2.ร่วมสนับสนุนวิชาการ -ร่วมอบรมพัฒนาศักยภาพ -ร่วมสนับสนุนวิชาการ -เข้ารับการอบรมพัฒนาศักยภาพ -น าคู่มือแนวทางปฏิบัติไปใช้ด าเนินการ มาตรการที่ 3 สื่อสารและสร้างแรงจูงใจเชิงรุก (เชิดชูขยายผล) 1.จัดเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ 2.สื่อสารเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ 3.ส่งเสริมการสมัครรางวัล 4.กลั่นกรองการสมัครรางวัล 1.กลั่นกรองโครงการที่สมัครรับรางวัล 2.สนับสนุนให้อ าเภอปรับปรุงการด าเนินงานต่อเนื่อง 3.ถอดบทเรียนรู้และขยายผลโครงการต้นแบบ (Best practice) 1.เยี่ยมติดตามผลการแก้ไขปัญหา 2.สนับสนุนให้ขอรับรางวัลตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ -สนับสนุนการด าเนินงานตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ -พิจารณาส่งขอรับรางวัลเกณฑ์รางวัลคุณภาพ

6345.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน ตัวชี้วัด แผนงาน/ โครงการขับเคลื่อนงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพด้วยศักยภาพ พชอ./พชข.NN8.88 10.05 10.75 29.68มาตรการที่ 1 สนับสนุนเชิงนโยบาย(นโยบายเข้มแข็ง)กรมควบคุมโรค กรมอนามัย ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ส านักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพ (สถาบันบรมราชนก ส านักงานบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย) NN0.90 0.97 1.07 2.94 กรมควบคุมโรค มีกลไกและศูนย์กลางประสานสนับสนุนการขับเคลื่อนการด าเนินงาน -จ านวนคณะกรรมการขับเคลื่อนฯที่มีการสนับสนุนการด าเนินอย่างเป็นระบบ -จ านวนทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดในการสนับสนุนมาตรการป้องกันควบคุมโรคผ่านกลไก พชอ./พชข. กิจกรรมหลัก 1.1 ก าหนดกลไกคณะกรรมการ/คณะท างานขับเคลื่อนและเป็นศูนย์กลางประสานการสนับสนุน     NN0.09 0.10 0.11 0.30 กิจกรรมหลัก 1.2 จัดหาทรัพยากรและบูรณาการงบประมาณ     NN0.27 0.29 0.32 0.88

635มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน ตัวชี้วัด กิจกรรมหลัก 1.3 ก าหนดให้กระบวนการสนับสนุนเป็นตัวชี้วัดคุณภาพการขับเคลื่อน     NN0.27 0.29 0.32 0.88 กิจกรรมหลัก 1.4 ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นและกรมควบคุมโรค     NN0.27 0.29 0.32 0.88 มาตรการที่ 2พสมรรถนะบุคลากร(เสริมแรงความรู้)    กรมควบคุมโรค กรมอนามัย ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ส านักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพ (สถาบันบรมราชนก ส านักงานบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย) NN5.32 6.15 6.45 17.92 กรมควบคุมโรค บุคลากรมีศักยภาพในการจัดการปัญหาโรคและภัยสุขภาพ -จ านวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาเสริมสร้างสมรรถนะ กิจกรรมหลัก 2.1 จัดท าระบบสารสนเทศเพื่อการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา     NN0.80 0.88 0.97 2.65 กิจกรรมหลัก 2.2 จัดท าแนวปฏิบัติประเด็นเนื้อหาการขับเคลื่อน     NN0.80 0.88 0.97 2.65

636มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน ตัวชี้วัด กิจกรรมหลัก 2.3 สนับสนุนการจัดกระบวนการจัดการแก้ไขปัญหาพัฒนาโครงการของ พชอ/พชข.     NN2.66 3.22 3.22 9.10 กิจกรรมหลัก 2.4 ติดตามผลการด าเนินงาน     NN1.06 1.17 1.29 3.52 มาตรการที่ 3สื่อสารและสร้างแรงจูงใจเชิงรุก(เชิดชูขยายผล)    กรมควบคุมโรค กรมอนามัย ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ส านักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพ (สถาบันบรมราชนก ส านักงานบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย) NN2.66 2.93 3.23 8.82 กรมควบคุมโรค อ าเภอ/เขตที่มีกระบวนการจัดการปัญหาโรค ภัยสุขภาพและปัจจัยเสี่ยงอย่างมีคุณภาพ จ านวนอ าเภอที่ได้รับการพัฒนากระบวนการจัดการปัญหาโรคและภัยสุขภาพอย่างมีคุณภาพ กิจกรรมหลัก 3.1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้     NN1.06 1.17 1.29 3.52 กิจกรรมหลัก 3.2 ส่งเสริมขยายผลแนวปฏิบัติที่ดี(Best practice)และนวัตกรรมในพื้นที่     NN0.80 0.88 0.97 2.65 กิจกรรมหลัก 3.3 สนับสนุนจูงใจการใช้เกณฑ์รางวัลคุณภาพการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพระดับอ าเภอ     NN0.80 0.88 0.97 2.65

6376. แผนการติดตามประเมินผล ระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย/ตัวชี้วัด วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการที่ 1 สนับสนุนเชิงนโยบาย (นโยบายเข้มแข็ง) -จ านวนคณะกรรมการขับเคลื่อนฯที่มีการสนับสนุนการด าเนินอย่างเป็นระบบ -ทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดในการสนับสนุนมาตรการป้องกันควบคุมโรคผ่านกลไก พชอ./พชข. -ค าสั่งแต่งตั้งทีม พี่เลี้ยงระดับจังหวัดหรือรายงานการประชุมหรือหลักฐานที่แสดงว่ามีการบูรณาการการด าเนินงานระดับจังหวัดเพื่อสนับสนุนการป้องกันควบคุมโรคให้กับ พชอ./พชข. -รายงานการประชุมและหลักฐานการสนับสนุนการด าเนินงาน N/A N/A มาตรการที่ 2 พัฒนาสมรรถนะบุคลากร (เสริมแรงความรู้) จ านวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาเสริมสร้างสมรรถนะ รายงานจ านวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ N/A N/A มาตรการที่ 3 สื่อสารและสร้างแรงจูงใจเชิงรุก ได้รับการพัฒนา(เชิดชูขยายผล) จ านวนอ าเภอที่กระบวนการจัดการปัญหาโรคและภัยสุขภาพอย่างมีคุณภาพ รายงานความก้าวหน้าของอ าเภอที่ได้รับการพัฒนากระบวนการจัดการปัญหาโรคและภัยสุขภาพอย่างมีคุณภาพ N/A N/A 

6387. ผู้รับผิดชอบแผนงาน 1. นายไพโรจน์ พรหมพันใจผู้อ านวยการส านักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค2. นางจันทร์ทิพย์ จุนทการเบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3180นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการพิเศษ 3. PM แผนงานโรคต่างๆ ของกรมควบคุมโรคที่เกี่ยวข้องกับประเด็นขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ าเภอ

6391. สถานการณ์ 1.1 ปัญหาเชิงระบบของบริบทเขตเมอง ื องคการสหประชาชาติ ได้คาดการณการเติบโตของประชากรเขตเมองในโลก โดยในป พ.ศ. 2554 ์์ืีมประชากรอาศยในเขตเมืองรอยละ 52 และคาดการณการเตบโตของประชากรเขตเมืองในโลกว่าภายในป พ.ศ. 2593 ีั้์ิีจะมีประชากรอาศัยอยู่ในเขตเมืองเพมสูงขึ้นถึงร้อยละ 67 ส าหรับประเทศไทยมีแนวโน้มความเป็นเมืองเพมมากขึ้น ิ่ิ่ประชากรอาศัยอยู่ในเขตเมืองมากขึ้น พบว่าสัดส่วนร้อยละของประชากรเมืองมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปีอย่างชัดเจนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ซึ่งก็สอดคล้องกับสัดส่วนร้อยละของประชากรเมืองในเอเชีย ซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปีอย่างชัดเจนเช่นเดียวกัน (ดังรายละเอียดแสดงในภาพที่ 2 – 3) ภาพที่ 1 สัดส่วนร้อยละของประชากรเขตเมืองและชนบท ภาพที่ 2 สัดส่วนร้อยละของพื้นที่เขตเมืองประเทศของ ประชากรในประเทศไทย ไทยและเอเชีย หมายเหตุ:ภาพที่ 1 และ 2 จาก United Nations, Department of Economic and Social Affairs, Population Division (2014): World Urbanization Prospects: The 2014 Revision. ข้อมูลจากสารประชากร สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล (มกราคม 2563) จะเห็นว่าในปี พ.ศ. 2562 มีประชากรอาศัยในเขตเมืองเกินครึ่งหนึ่งของประชากรทั้งหมด โดยประชากรคาดประมาณ ณ กลางปี 2563 (1 กรกฎาคม) จะมีประชากรในเขตเทศบาลเขตเมอง มรอยละ 57.23 ซ่งสงขนจากป 2561 ท่มประชากรอาศยในเขตืี้ึูึ ้ีีีัเมอง รอยละ 50.05 สงผลใหสงคมเมืองมีความหลากหลายทางประชากร มีความแตกตางทางเศรษฐานะ ื้่้ั่มีความเหลื่อมล้ าทางรายได้ และโอกาสการเข้าถึงทรัพยากรที่ไม่เท่าเทียมกันปัญหาสุขภาพในเขตเมืองมักเป็นปัญหา ที่ซับซ้อน ทั้งปัญหาโรคและภัยสุขภาพรวมถึงปัญหาเชิงสังคม ผลกระทบจากการขยายตวของความเปนเมองสงผลใหเกดขอจากดของพนทสาหรบอยอาศย จากการคาดั็ื่้ิ้ัื ้ี ่ัู่ัประมาณครัวเรือนที่อยู่อาศัยของประชากรไทย พ.ศ.2553-2563 พบว่าจ านวนครัวเรือนที่อยู่อาศัยในคอนโดมิเนียม อพาร์ทเม้น แฟลต แมนชั่น คาดว่าในปี 2563 จะมีถง 1,391,461 ครัวเรือน (วารสารประชากรปีที่ 4 ฉบับที่ 2 กันยายน ึ2559) กระจายอยู่ทั่วประเทศ คาดประมาณประชากรอาศยอยู่มากกว่า 3.8 ล้านคน(2.8 คน ต่อครัวเรือน) คอนโดมิเนียมัแต่ละแห่งมีผู้พกอาศัยประมาณ 1,000-10,000 คน หากเทยบขนาดประชากรจะพบว่าใน 1 คอนโดมิเนียมอาจเทียบได้ัีกับ 1 ต าบล แตกลบพบว่าระบบสาธารณสุขเชิงรุก การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคขั้นพนฐานยังเข้าไม่ถึงชุมชนดังกล่าว ่ัื้แผนพัฒนาระบบกลไก การป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง

640นอกจากนี้ยังพบกลุ่มประชากรที่อยู่ในมหาวิทยาลย สถานศกษา สถานประกอบการ อาคารสานกงาน ศาสนสถาน ัึัโรงแรมรีสอร์ทต่างๆ เหล่านี้ที่อยู่ในพนที่เขตเมือง ยังไม่มีหน่วยงานรัฐเข้าไปศึกษาวางระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคื้และภัยสขภาพอย่างเป็นรูปธรรม ด้านการจดบริการปฐมภูมิในพนที่เขตเมือง พบว่า มีความแตกตาง หลากหลายของุัื้่หน่วยบริการและต่างสังกัด การกระจายตัวของหน่วยบริการปฐมภูมิไม่ครอบคลุมทั่วถึงกลุ่มประชากร ศักยภาพการให้บริการในแต่ละท้องถิ่นมีความแตกต่างกัน 1.2 สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพในพื้นที่เขตเมือง สถานการณ์โรคติดต่อในพนที่เขตเมืองสูงกว่าภาพรวมประเทศได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคไข้หวัดใหญ่ ื้โรคมือเท้าปาก (ข้อมูลจากกลุ่มระบาดวิทยาและปฏิบัติการควบคุมโรค สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง) โดยมีรายละเอียดดังน ี ้1) สถานการณ์โรคไข้เลือดออก กระทรวงสาธารณสข มเป้าหมายในการลดอตราป่วยดวยโรคุีั้ไข้เลือดออกทั้งประเทศ ในปี 2561 ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 และปี 2562 ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ของค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 - 2561 พบรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตเมือง (เทศบาลเมือง เทศบาลนคร เมองพทยา และกรงเทพมหานคร) สงกว่าอตราปวยในภาพรวมของประเทศทุกปี และในป พ.ศ. 2561 พบว่าพนที่ืัุูั่ีื้เขตเมองพบผู้ป่วยจ านวน 21,548 รายอตราปวย 175.78 ต่อประชากรแสนคน มีผู้เสียชีวิตจ านวน 25 ราย อัตราตาย 0.20 ืั่ต่อประชากรแสนคนและอตราป่วยตาย ร้อยละ 0.12 ั2) โรคไข้หวัดใหญ่ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2555–2561 พบว่าพื้นที่เขตเมืองมีแนวโน้มอตราป่วยเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับภาพรวมประเทศ โดยเขตเมืองมีอตราป่วยสูงกว่าประเทศทุกปี ัั3) โรคมือเทาปาก้ ข้อมูลตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2555–2561 พบอตราปวยในเขตเมองเป็นไปในทศทางเดยวกนกบภาพรวมประเทศไทย ั่ืิีััโดยเขตเมืองสูงกว่าภาพรวมประเทศทุกปี สถานการณ์โรคไม่ติดต่อในพนที่เขตเทศบาลเมือง ข้อมูลจากการส ารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการื้ตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557 สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขได้แก่ 1) ภาวะอ้วน พบว่า ความชุกของภาวะอ้วนลงพง ุ(รอบเอว ≥90 ซม. ในชาย และ ≥80 ซม. ในหญิง ) ในเขตเทศบาล (ชายร้อยละ 29.3 และหญิงร้อยละ 52.6) สูงกว่านอกเขตเทศบาล (ชายรอยละ 23.3และหญงรอยละ 50.2) และภาวะอวนลงพงมีแนวโน้มเพมขึ้นอย่างชัดเจนตั้งแต่ปี ้ิุ้้ิ่2552 – 2557 2) โรคเบาหวาน พบว่าความชุกของคนทอาศยในเขตเทศบาลสงกว่านอกเขตเทศบาลในผู้ชายแต่ผู้หญิงี ่ัูนอกเขตฯสงกว่าในเขตฯ ู3) โรคความดนโลหิตสงและภาวะไขมนในเลือดผิดปกติัูั พบว่า ความชุกของความดนโลหิตสงัูและภาวะไขมันในเลือดผิดปกติในเขตเทศบาลสูงกว่านอกเขตเทศบาลเพยงเล็กน้อย ี4) การบาดเจบจากการจราจรทางถนน็ปฏิญญามอสโกใหปพ.ศ. 2554-2563 “ทศวรรษแหงความปลอดภัยทางถนน” (Decade of Action for Road Safety) ้ี่เป้าหมายตามกรอบปฏิญญามอสโกคอลดอัตราการเสียชีวิตจากอบัติเหตุทางถนนต่ ากว่า 10 คนต่อประชากรหนึ่งแสนคน ืุประเทศไทยได้ก าหนดแนวทางการด าเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมาย ไว้ 8 ประการโดย 1 ใน 8 ประการให้ความส าคัญกับพฒนาัสมรรถนะของผู้ใช้รถใช้ถนนให้มีความปลอดภัย จากสถิติการเกิดอบัติเหตุทางถนนในปี 2561 จ านวน 79,117 ครง ุั ้พบเปนอบตเหตจากรถโดยสารสาธารณะขนาดใหญและขนาดเลก 1,651 ครงคดเปนมลคาความเสยหาย 3,797.3 ลานบาท ็ุัิุ่็ั ้ิ็ู่ี้จากการศกษา Medical interventions to reduce motor vehicle collisions จะพบผู้ขับขี่ที่มีอาการป่วยหรือมีโรคึประจ าตัวต่าง ๆ อย่างน้อย 1 โรค ประมาณร้อยละ 45 มีความเสี่ยงในการเกิดอบัติเหตุทางถนนการขับขี่กว่าบุคคลทั่วไป ุ(Donald A. Redelmeier, 2014) ไดแก โรคซมเศรา 8.75 เทา พษสราเรอรง 7.24 เทา โรคลมชัก 5.92 เทา เบาหวาน ้่ึ้่ิุื ้ั่่4.49 เท่า หลอดเลือดสมอง 3.50 เท่า โรคสมองเสื่อม 2.92 เท่า

6412. พื้นที่เสี่ยง/ กลุ่มเสี่ยง / กลุ่มเป้าหมาย2.1 พื้นที่เขตเมองื : อางองตามความหนาแนนของประชากรโดยเขตเทศบาลทมประชากรตงแต 10,000 คนขึ้นไปให้ิ่ี ่ีั ้่้นับเป็นเขตเมืองส าหรับพนที่เป้าหมายด าเนินการด้านสุขภาพในระยะเริ่มต้นได้แก่ เทศบาลเมือง เทศบาลนคร และท้องถิ่นื้รูปแบบพิเศษ (เมืองพัทยาและกทม.) จ านวนทั้งสิ้น 211 แห่ง รายละเอยดดังตารางท 1 ีี ่ตารางที่ 1 แสดงจ านวนเทศบาล และท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ แยกรายเขตสุขภาพเทศบาลจ านวนเทศบาล และท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ แยกรายเขตสุขภาพ (แห่ง)รวม เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต 12345678910111213เทศบาลเมือง 13 9 10 29 18 27 10 9 9 9 15 21 - 179 เทศบาลนคร 3 2 1 4 3 4 1 2 1 1 4 4 - 30 ท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ - - - - - 1 - - - - - - 1 2 รวม 16 11 11 32 21 32 11 11 10 10 19 25 1 211 ที่มา: ข้อมูลจ านวนเทศบาลและท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ณ วันที่ 2 มกราคม 2562 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น2.2 กลุ่มประชากรเป้าหมาย แบ่งตาม ดังนี้กลุ่มประชากรทุกวัยที่พักอาศัยในอาคารชุด อาคารสูง อพาร์ทเม้น แฟลต หอพก หมู่บ้านจัดสรร ักลุ่มประชากรทุกวัยในชุมชนแออด ชุมชนจัดตั้งและไม่จัดตั้ง ักลุ่มประชากรเปราะบาง ประชากรแฝง ประชากรเคลื่อนย้าย แรงงานต่างด้าว ในพนที่เขตเมือง ื้กลุ่มผู้ขับขี่รถโดยสารสาธารณะในพื้นที่เขตเมอง เช่น รถโดยสารสาธารณะ รถตู้โดยสาร แท็กซี่ ืวินมอเตอร์ไซค์ ตารางที่ 2 แสดงจ านวนที่พักอาศัยแยกรายเขตสุขภาพพื้นที่สุขภาพ มุ่งเป้าพื้นที่สุขภาพมุ่งเป้า แยกรายเขตสุขภาพ (แห่ง)รวมเขต เขต เขต เขต 1234เขต 5เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต เขต 6789101112131. บ้านจัดสรร 1915 255 132 2,533 1,244 3,237 335 122 669 119 590 233 2,901 13,285 2. ชุมชนแออัด 215 41 51 267 107 206 28 14 27 16 92 157 838 1,386 หมายเหตุ : 1 บ้านจัดสรร: ที่มา จากข้อมูลบ้านจัดสรร กรมที่ดิน ปี 25612 ชมชนแออัด : ที่มา จากจ านวนชมชนผู้มีรายได้น้อยทั่วประเทศ จ าแนกตามรายจังหวัด ปี 2561 รายงานข้อมูลชมชนผู้มีรายได้น้อย ุุุ2561 กองยุทธศาสตร์ และสารสนเทศที่อยู่อาศัย ฝ่ายวิชาการพัฒนาที่อยู่อาศัยการเคหะแห่งชาติ นิยาม : พื้นที่สุขภาพมงเป้า หมายถึง ุ่พนที่ที่มีประชากรกลุ่มเสี่ยง ซึ่งมีการกระจายตัวตามลักษณะที่พกอาศัยื้ัโดยจ าแนกกลุ่มตามลักษณะเฉพาะ เช่น ลักษณะที่พกอาศัย (ชุมชนแออดที่มีรายได้น้อย คอนโดมิเนียม ััการเคหะแห่งชาติ และบ้านจัดสรร เป็นต้น)ชมชนแออด หมายถง ุัึชุมชนส่วนใหญ่ที่มีอาคารหนาแน่น ไร้ระเบียบ และช ารุดทรุดโทรม ประชาชนอยู่อย่างแออัด มสภาพแวดลอมไมเหมาะสม อันอาจเปนอันตรายต่อสขภาพอนามยและความปลอดภัยของผอยอาศย ี้่็ุัู ู้ ่ั

642โดยให้ถือเกณฑความหนาแน่นของบ้านเรือนอย่างน้อย 15 หลังคาเรือนต่อพื้นที่ 1 ไร่ (ระเบียบกรุงเทพมหานคร ์ว่าด้วยกรรมการชุมชน พ.ศ. 2534)บ้านจัดสรร หมายถึง การที่ “ผู้จัดสรร” หรือ “เจ้าของโครงการ” ไปสรรหาที่ดินมาจัดแบ่งหรือจัดสร้างหมู่บ้านแลวแบงขาย โดยสาธารณปโภคสวนกลางเช่น ถนน สนามเด็กเลน สวนสาธารณะ ฯลฯ จะตกเป็นภาระจายอมู้่่่เพอประโยชน์แก่ที่ดินจัดสรรทุกแปลง ซึ่ง “ผู้จัดสรร” หรือ “เจ้าของโครงการ” มีหน้าที่บ ารุงรักษา จัดการดูแลื่โดยมีสิทธิเก็บเรียกค่าใช้จ่ายจากผู้อยู่อาศัย หมบ้านจัดสรรแบ่งออกเป็น 3 ประเภท (Categories level : CL) ู ่ได้แก ่ขนาดเล็ก (CL1) : หมู่บ้านจัดสรรจ านวน 10 - 99 หลังคาเรือน ขนาดกลาง (CL2) : หมู่บ้านจัดสรรจ านวน 100 - 499 หลังคาเรือน ขนาดใหญ่ (CL3) : หมู่บ้านจัดสรร 500 หลังคาเรือนขึ้นไป 3. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ หรือเป้าหมายการพัฒนาระบบ ระยะ 5 ป (พ.ศ.2561-2565) ี3.1 เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระดับประเทศ ในระยะ 5 ปี เป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 1. จ านวนรูปแบบ แนวทาง การจัดการระบบป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่เขตเมอง ที่ืด าเนินการแล้วเสร็จ (Model Development) 1 เรื่องอย่างน้อย ปีละ 1 เรื่อง อย่างน้อย ปีละ 1 เรื่อง (uVilleCare)อย่างน้อย ปีละ 1 เรื่อง (Medical Fitness to Drive)อย่างน้อย ปีละ 1 เรื่อง 2. จานวน setting ในพนที่เขตื้เมืองที่มีระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ* 1 settingอย่างน้อย ปีละ 1 setting ละ 1 setting ละ1setting ละ 1 setting อย่างน้อย ปี(บ้านจัดสรร) อย่างน้อย ปี อย่างน้อย ปี(บ้านจัดสรร, ชุมชนแออัดใน กทม.)หมายเหตุ *ระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ หมายถึง องค์ประกอบของระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 5 โรค 5 มิติ ในแต่ละ setting ไดแก (1) Determinants (2) Behavioral risk (3) Program Response (4) ้่Morbidity/Mortality และ (5) Event-based surveillance

6434. มาตรการลดโรค/ภัยสขภาพที่ส าคัญในระยะ 5 ป และหน่วยงานผู้ด าเนินการ ุีมาตรการ / Service Provider สปคม. สคร. สสจ./สสอ.เมือง อปท. ส านัก/ส่วนกลางกรม ภาคีภาคสาธารณสุขอื่น ภาคเอกชน อื่นๆ มาตรการที่ 1 : การพัฒนารูปแบบ นโยบาย มาตรการแนวทางการจัดการโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่เขตเมือง 1. โครงการลดความเหลอมื ่ล้ าด้านการป้องกันควบคุมโรคในลกษณะประชากรัเฉพาะเขตเมือง พื้นที่สุขภาพมุ่งเป้า (uVilleCare) 1ัร่วมมือในการเชือมโยงระบบ่ข้อมูลสุขภาพ จาก ส่ิใกล้บาน และ HDC ้กสาธารณสุข 2. ชีแจงแนวทาง้การส ารวจข้อมูลสุขภาพประชาชนรายบคคล ภายใตุ้โu 3. เชื่อมโยงข้อมูลที่อยู่ของประชาชนจากระบบทะเบยนีราษฎร์ ที่อยู่ตามนิติบุ1. ขยายผลการด าเนินงานโครงการ uVilleCare ร่วมกับ สสจ. ในพื้นที่ 2. น ารูปแบบการด าเนินงาน uผลในคอนโดมเนยม ิีชุมชนแออัด การเคหะและสถานป3. ส ารวจข้อมูลประชากรที่เข้าร่วมโuVilleCare โดยใช้ uA4. ส ารวจข้อมูลสิ1. ขยายผลการด าเนินงานโครงการ uVilleCare ร่วมกับ สคร. ในพื้นที่ ร่วมขับเคลื่อนการด าเนินงาน สนับสนุนวิชาการ ส่งเสริมสนับสนุนการด าเนินงาน ส่งเสริมสนับสนุนการด าเนินงาน นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร/คอนโดมิเนียม 1้่2. น ารูปแบบการด าเนินงาน uด าเนินการในหมู่บ้าน/คอนโด 3. น าข้อมูลด้านสุขภาพของปหมู่บาน/คอนโดไป้ใช้ประโยชนในการ์ดูแลสุขภาพคนในชุมชน

644มาตรการ / Service Provider สปคม. สคร. สสจ./สสอ.เมือง อปท. ส านัก/ส่วนกลางกรม ภาคีภาคสาธารณสุขอื่น ภาคเอกชน อื่นๆ พิกัดจาก Google map 4. เชื่อมโยงข้อมูลกับข้อมูล ePHR platform 5ัจัดการข้อมูล Big data น าร่องในพื้นที่ 6. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การด าเนินการเพื่อกัจดการสุขภาพ และัศูนย์ข้อมูล i-V7. ติดตามและปิด าเนินงานของโข้อมูลจาก i-Vigilance ไปใช้ประบบฉุกเฉินที่อยู่ใกล้เคียงกับหมู่บ้าน/ชุมชนที่เข้าร่5. ด าเนินการวเคราะหและิ์ประมวลผลสุขภาพรายบคคล ุ6สุขภาพทเหมาะสมี ่ส าหรับผู้ป่วย/ญาติ/นิติบุคคล/ประธานชุมชน 7. ติดตามประเมินผลข้อมูลสุขภาพของประชาชนที่เข้าร่วมโu8ิประเมนผล และิ

645มาตรการ / Service Provider สปคม. สคร. สสจ./สสอ.เมือง อปท. ส านัก/ส่วนกลางกรม ภาคีภาคสาธารณสุขอื่น ภาคเอกชน อื่นๆ สรปผลการุด าเนินงานโครงการ 2. โครงการ: พัฒนาศูนย์ต้นแบบ Medical Fitness t1. จัดให้มีคณะท างานร่วมระหว่างกรมควบคุมโขนส่งทางบก 2. ออกแบบระบบบริการ Medical Fitness to drive การคดกรองสุขภาพัและสมรรถนะทางร่างกาย 3. ลงนาม MOU ร่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง4. เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และทดสอบเครองมอ ื ่ืทดสอบระบบบรการิเสริมสร้างศักยภาพบุคลากร (Capacity ก่บก 1. ร่วมเป็นคออกแบบระบบบริการ Medical Fitness to drive 2. ร่วมพฒนาความัตระหนักรู้ด้านสุขภาพที่มีผลต่อการขับขี่ของผู้ขับขี่ และรณรงค์ส่งเสริมสมรรถนะการขับขี่ที่ดีแก่ผู้ขับขี่ 3ัการตรวจประเมินความพรอม ้

646มาตรการ / Service Provider สปคม. สคร. สสจ./สสอ.เมือง อปท. ส านัก/ส่วนกลางกรม ภาคีภาคสาธารณสุขอื่น ภาคเอกชน อื่นๆ Building) ดานเวช้ศาสตรการจราจร์ข่5. จัดตั้งและเปิดศูนย์ต้นแบบ Medical Fitness t6. บริการตรวจสและคัดกรองสุขภาพ ผู้ขับรถยนต์โดยสารส7. พฒนาความัตระหนักรู้ด้านสุขภาพที่มีผลต่อการขับขี่ของผู้ขับขี่ และรณรงค์ส่งเสริมสมรรถนะการขับขี่ที่ดีแก่ผู้ขับขี่ 8. พัฒนาฐานข้อมูลสุขภาพผู้ขับขี่เชื่อมโยงกับระบบ

647มาตรการ / Service Provider สปคม. สคร. สสจ./สสอ.เมือง อปท. ส านัก/ส่วนกลางกรม ภาคีภาคสาธารณสุขอื่น ภาคเอกชน อื่นๆ ข้อมูลของกรมการขนส่ง 9. ติดตามปิ10. พฒนาแนวทางัการตรวจประเมินความพรอม ้11. จัดท ารายงานผลงานและคู่มือแนวทาง Medical Fitness to Drive มาตรการที่ 2 : การพัฒนาระบบกลไก การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่เขตเมือง 3. โครงการพัฒนาศูนย์ข้อมูลโรคและภัยสุขภาพที่ส าคัญในพื้นที่เขตเมืองของประเทศ (i-Vigilance) 1. พัฒนาความร่วมมือในการเชื่อมโยงระบบข้อมูลสุขภาพ จาก สปสช./หน่วยบริการใกล้บ้าน และ HDC กระทรวงสาธารณสุข 1. ขยายผลการด าเนินงานโครงการ uVilleCare ร่วมกับ สสจ. ในพื้นที่ 2. น ารูปแบบการด าเนินงาน uVilleCare ไปขยายผลในคอนโดมิเนียม 1. ขยายผลการด าเนินงานโครงการ uVilleCare ร่วมกับ สคร. ในพื้นที่ ร่วมขับเคลื่อนการด าเนินงาน สนับสนุนวิชาการ ส่งเสริมสนับสนุนการด าเนินงาน ส่งเสริมสนับสนุนการด าเนินงาน นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร/คอนโดมิเนียม 1. เข้าร่วมโครงการ 2. น ารูปแบบการด าเนินงาน uVilleCare ไปด าเนินการในหมู่บ้าน/คอนโด

648มาตรการ / Service Provider สปคม. สคร. สสจ./สสอ.เมือง อปท. ส านัก/ส่วนกลางกรม ภาคีภาคสาธารณสุขอื่น ภาคเอกชน อื่นๆ 2. ชี้แจงแนวทางการส ารวจข้อมูลสุขภาพประชาชนรายบุคคล ภายใต้โครงการ uVilleCare 3. เชื่อมโยงข้อมูลที่อยู่ของประชาชนจากระบบทะเบียนราษฎร์ ที่อยู่ตามนิติบุคคล และระบบพิกัดจาก Google map 4. เชื่อมโยงข้อมูลกับข้อมูล ePHR platform 5. พัฒนาระบบการจัดการข้อมูล Big data น าร่องในพื้นที่ ชุมชนแออัด การเคหะและสถานประกอบการ 3. ส ารวจข้อมูลประชากรที่เข้าร่วมโครงการ uVilleCare โดยใช้ uVilleCare Apllication 4. ส ารวจข้อมูลสถานบริการและระบบฉุกเฉินที่อยู่ใกล้เคียงกับหมู่บ้าน/ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการฯ 5. ด าเนินการวิเคราะห์และประมวลผลสุขภาพรายบุคคล 6. น าเสนอแพคเกจสุขภาพที่เหมาะสมส าหรับผู้ป่วย/3. น าข้อมูลด้านสุขภาพของประชาชนในหมู่บ้าน/คอนโดไปใช้ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพคนในชุมชน

649มาตรการ / Service Provider สปคม. สคร. สสจ./สสอ.เมือง อปท. ส านัก/ส่วนกลางกรม ภาคีภาคสาธารณสุขอื่น ภาคเอกชน อื่นๆ 6. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การด าเนินการเพื่อการพัฒนาระบบการจัดการสุขภาพ และศูนย์ข้อมูล i-Vigilance 7.ติดตามและประเมินผลการด าเนินงานของโครงการ และการน าข้อมูลจาก i-Vigilance ไปใช้ประโยชน์ ญาติ/นิติบุคคล/ประธานชุมชน 7. ติดตามประเมินผลข้อมูลสุขภาพของประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ uVilleCare 8. ติดตาม ประเมินผล และสรุปผลการด าเนินงานโครงการ มาตรการที่ 3 : การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่เขตเมือง 4. โครงการพัฒนาหลักสูตรผู้เชี่ยวชาญในการจัดการป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง1.ศึกษาความต้องการ การฝึกอบรม ของภาคี เครือข่าย 2.วิเคราะห์ ส ารวจ หลักสูตรที่เกี่ยวข้อง ร่วมด าเนินการ ร่วมด าเนินการ ร่วมด าเนินการ สนับสนุนด้านวิชาการ ส่งเสริมสนับสนุนการด าเนินงาน ส่งเสริมสนับสนุนการด าเนินงาน

650มาตรการ / Service Provider สปคม. สคร. สสจ./สสอ.เมือง อปท. ส านัก/ส่วนกลางกรม ภาคีภาคสาธารณสุขอื่น ภาคเอกชน อื่นๆ 3.พัฒนาความร่วมมือกับเครือข่ายมหาวิทยาลัย ในการพัฒนาหลักสูตร 4.พัฒนาหลักสูตร ออกแบบกาหนดเนื้อหา 5.พัฒนาเครื่องมือ เีก6ปรับปรุง หลักสูตร 7.อบรมตามรูปแบบที่ก าหนด(ทั้งภาคทฤษฎี และฝึกปฏิบัติในภาคสนาม) 8.ประเมินผล และปรับปรุงหลักสูตร

6515. มาตรการ / แผนงาน / โครงการ / กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ / แผนงาน / โครงการ / กิจกรรมหลักกรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก / ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 61 62 63 64 65 61 62 63 64 65 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 1 : การพัฒนารูปแบบ แนวทางการจัดการโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่เขตเมือง 3.2 44 12 59.2 1. จ านวนรูปแบบ แนวทาง การจัดการระบบป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่เขตเมือง ที่ด าเนินการแล้วเสร็จ(Development) ตัวชี้วัดที่ 4 จ านวนรูปแบบ แนวทางการจัภัยสุขภาพในพื้นที่เขตเมือง แผนงาน/โครงการที่ 1: โครงการลดความเหลื่อมล้ าด้านการป้องกันควบคุมโรคในลักษณะประชากรเฉพาะเขตเมือง พื้นที่สุขภาพมุ่งเป้า (uVilleCare) (สปคม./กทม./สคร.1-12/สสจ./อปท.)  สปคม./กทม./สคร.1-12/สสจ./อปท./ 3.2 6615.2 กิจกรรมหลัก : 1. ขยายผลการด าเนินงานโครงการ uVilleCare ร่วมกับ สสจ. ในพื้นที่

652มาตรการ / แผนงาน / โครงการ / กิจกรรมหลักกรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก / ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 61 62 63 64 65 61 62 63 64 65 รวม แหล่งเงิน 2. น ารูปแบบการด าเนินงาน uVilleCare ไปขยายผลในคอนโดมิเนียม ชุมชนแออัด การเคหะและสถานประกอบการ 3. ส ารวจข้อมูลประชากรที่เข้าร่วมโครงการ uVilleCare โดยใช้ uVilleCare Apllication 4. ส ารวจข้อมูลสถานบริการและระบบฉุกเฉินที่อยู่ใกล้เคียงกับหมู่บ้าน/ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการฯ5.ด าเนินการวิเคราะห์และประมวลผลสุขภาพรายบุคคล6. น าเสนอแพคเกจสุขภาพที่เหมาะสมส าหรับผู้ป่วย/ญาติ/นิติบุคคล/ประธานชุมชน7.ติดตามประเมินผลข้อมูลสุขภาพของประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ uVilleCare 8. ติดตาม ประเมินผล และสรุปผลการด าเนินงานโครงการแผนงาน/โครงการที่ 2 : พัฒนาศูนย์ต้นแบบ Medical Fitness to Drive  สปคม./กรมขนส่งทางบก 38 644 กองทุน กปถ. ศูนย์ต้นแบบ Medical Fitness to Drive 1 ศูนย์ ศูนย์ต้นแบบ Medical Fitness to Drive 1 ศูนย์ กิจกรรมหลัก : 1. จัดให้มีคณะท างานร่วมระหว่างกรมควบคุมโรค และกรมการขนส่งทางบก

653มาตรการ / แผนงาน / โครงการ / กิจกรรมหลักกรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก / ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 61 62 63 64 65 61 62 63 64 65 รวม แหล่งเงิน 2. ออกแบบระบบบริการ Medical Fitness to drive การคัดกรองสุขภาพและสมรรถนะทางร่างกาย 3. ลงนาม MOU ระหว่างกระทรวงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง4. เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และทดสอบเครื่องมือ ทดสอบระบบบริการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากร (Capacity Building) ด้านเวชศาสตร์การจราจรของหน่วยงาน 5. จัดตั้งและเปิดศูนย์ต้นแบบ Medical Fitness to Drive 6. บริการตรวจสมรรถนะทางกายและคัดกรองสุขภาพ ผู้ขับรถยนต์โดยสารสาธารณะ 7. พัฒนาความตระหนักรู้ด้านสุขภาพที่มีผลต่อการขับขี่ของผู้ขับขี่ และรณรงค์ส่งเสริมสมรรถนะการขับขี่ที่ดีแก่ผู้ขับขี่ 8. พัฒนาฐานข้อมูลสุขภาพผู้ขับขี่เชื่อมโยงกับระบบข้อมูลของกรมการขนส่ง 9. ติดตามประเมินผลโครงการ 10. พัฒนาแนวทางการตรวจประเมินความพร้อม 11. จัดท ารายงานผลงานและคู่มือแนวทาง Medical Fitness to Drive

654มาตรการ / แผนงาน / โครงการ / กิจกรรมหลักกรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก / ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 61 62 63 64 65 61 62 63 64 65 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 2 : การพัฒนาระบบกลไก การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่เขตเมือง1.7 23.7 1. ร้อยละความส าเร็จของเครือข่ายที่มีการพัฒนาระบบ กลไกการป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพในพื้นที่เขตเมือง แบบสุขภาพมุ่งเป้า 2. ร้อยละของเครือข่ายที่มีการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพแบบมุ่งเป้า ในหมู่บ้านจัดสรร คอนโด ชุมชนแออด การเคหะ ัแประกอบการ 3.ร้อยละของประชากรกลุ่มเป้าหมายเข้าสู่ระบบการ

655มาตรการ / แผนงาน / โครงการ / กิจกรรมหลักกรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก / ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 61 62 63 64 65 61 62 63 64 65 รวม แหล่งเงิน เฝ้าระวงโรคและัภัยสุขภาพด้วยระบบ iแผนงาน/โครงการ : 3. โครงการพัฒนาศูนย์ข้อมูลโรคและภัยสุขภาพที่ส าคัญในพื้นที่เขตเมืองของประเทศ (i-Vigilance) (สปคม./สคร./กทม./อปท.)  1.7 23.7 เงินงบประมาณ 1 ระบบ ร้อยละของเครือข่ายที่มีการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพแบบมุ่งเป้า ในหมู่บ้านจัดสรร คอนโด ชุมชนแออด การเคหะ ัแประกอบการ กิจกรรมหลัก : 1. พัฒนาความร่วมมือในการเชื่อมโยงระบบข้อมูลสุขภาพ จาก สปสช./หน่วยบริการใกล้บ้าน และ HDC กระทรวงสาธารณสุข 2. ชี้แจงแนวทางการส ารวจข้อมูลสุขภาพประชาชนรายบุคคล ภายใต้โครงการ uVilleCare 3. เชื่อมโยงข้อมูลที่อยู่ของประชาชนจากระบบทะเบียนราษฎร์ ที่อยู่ตามนิติบุคคล และระบบพิกัดจาก Google map  สปคม./กทม./สคร.1-12/สสจ./อเงินงบประมาณ

656มาตรการ / แผนงาน / โครงการ / กิจกรรมหลักกรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก / ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 61 62 63 64 65 61 62 63 64 65 รวม แหล่งเงิน 4. เชื่อมโยงข้อมูลกับข้อมูล ePHR platform 5. พัฒนาระบบการจัดการข้อมูล Big data น าร่องในพื้นที่ 6. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การด าเนินการเพื่อการพัฒนาระบบการจัดการสุขภาพ และศูนย์ข้อมูล i-Vigilance 7. ติดตามและประเมินผลการด าเนินงานของโครงการ และการน าข้อมูลจาก i-Vigilance ไปใช้ประโยชน์ มาตรการที่ 3 : การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่เขตเมือง1. ร้อยละของหน่วยงานภาคีเครือข่ายพื้นที่เขตเมือง ร่วมสนับสนุนให้บุคลากรเข้ารับ การอบรมหลักสูตรผู้บริหารจัดการระบบป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง 2.ร้อยละของบุคลากรและภาคีเครือข่ายใน

657มาตรการ / แผนงาน / โครงการ / กิจกรรมหลักกรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก / ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 61 62 63 64 65 61 62 63 64 65 รวม แหล่งเงิน พื้นที่เขตเมืองได้รับการพัฒนาศักยภาพ 3.จ านวนงิัเพื่อการสนับสนุนการด าเนินงาน และการพัฒนานโยบายดานการ้ป้องกันควบคุมโรคเขตเมอง ืแผนงาน/โครงการที่ 4 : โครงการพัฒนาหลักสูตรผู้เชี่ยวชาญในการจัดการป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง   สปคม./สคร.1-12/สสจ./อปท./ส านักส่วนกลาง 0012.2 เงินงบประมาณ 1 หลักสูตร มีหลักสูตรการป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง (ระยะสั้น) กิจกรรมหลัก :1.ศึกษาความต้องการ การฝึกอบรม ของภาคี เครือข่าย 2.วิเคราะห์ ส ารวจ หลักสูตรที่เกี่ยวข้อง 3.พัฒนาความร่วมมือกับเครือข่ายมหาวิทยาลัย ในการพัฒนาหลักสูตร 4.พัฒนาหลักสูตร ออกแบบก าหนดเนื้อหา 5.พัฒนาเครื่องมือ เอกสาร การเรียน การสอน

658มาตรการ / แผนงาน / โครงการ / กิจกรรมหลักกรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิดชอบหลัก / ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 61 62 63 64 65 61 62 63 64 65 รวม แหล่งเงิน 6.ทดลอง และ ปรับปรุง หลักสูตร 7.อบรมตามรูปแบบที่ก าหนด(ทั้งภาคทฤษฎี และฝึกปฏิบัติในภาคสนาม) 8.ประเมินผล และปรับปรุงหลักสูตร

6596. แผนการติดตามประเมินผลระยะ 5 ปี มาตรการ / แผนงาน / โครงการหลักเป้าหมายวิธีการติดตามประเมินผลกรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ.6162636465มาตรการที่ 1 : การพัฒนารูปแบบ แนวทางการจัดการโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่เขตเมือง1. โครงการลดความเหลื่อมล้ าด้านการป้องกันควบคุมโรคในลักษณะประชากรเฉพาะเขตเมือง (หมู่บ้านจัดสรร คอน นิเทศติดตาม / การพื้นที่สุขภาพมุ่งเป้า (uVilleCare) 1 ระบบ มิเนียม เคหะ ชุมชนแออัด สถานประกอบการ) - ติดตามจากการเยี่ยมเสริมพลัง ติดตามในพื้นท ี่- เอกสารรายงานความก้าวหน้าการด าเนินงาน - รายงานผลรายไตรมาสในระบบ ESM 2.โครงการพัฒนาศูนย์ต้นแบบ Medical Fitness to Drive1 ศูนย์ - เอกสารรายงานความก้าวหน้าการด าเนินงาน - รายงานผลรายไตรมาสในระบบ ESMมาตรการที่ 2 : การพัฒนาระบบกลไก การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่เขตเมือง3. โครงการพัฒนาศูนย์ข้อมูลโรคและภัยสุขภาพที่ส าคัญในพื้นที่เขตเมืองของประเทศ (i-Vigilance) 1 ระบบ - ติดตามจากเวทีสานเสวนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น- เอกสารรายงานความก้าวหน้าการด าเนินงาน - รายงานผลรายไตรมาสในระบบ ESM มาตรการที่ 3 : การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่เขตเมือง 4. โครงการพัฒนาหลักสูตรผู้เชี่ยวชาญในการจัดการป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง1 หลักสูตร - ติดตามจากการนิเทศติดตาม / การเยี่ยมเสริมพลัง ติดตามในพื้นที่- เอกสารรายงานความก้าวหน้าการด าเนินงาน - รายงานผลรายไตรมาสในระบบ ESM

6607. ผู้รับผิดชอบแผนงาน 1. นายไพโรจน์ พรหมพันใจผู้อ านวยการส านักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค2. นางจันทร์ทิพย์ จุนทการเบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3180นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการพิเศษ 3. PM แผนงานโรคต่างๆ ของกรมควบคุมโรคที่เกี่ยวข้องกับประเด็นขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ าเภอ

6617. สิ่งสนับสนุนการด าเนินงาน 1. สนับสนุนโครงการลดความเหลื่อมล้ าด้านการป้องกันควบคุมโรคในลักษณะประชากรเขตเมือง งบประมาณจากส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ส าหรับส านักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) ด าเนินงานในพื้นที่หมู่บ้าน Platform uVilleCare สามารถดาวน์โหลด Application uVilleCare ได้ที่ Playstore และ ios สื่อประชาสัมพันธ์ 2. สนับสนุนด้านการพฒนาศักยภาพบุคลากรได้แก่ อบรมบุคลากรหน่วยงาน สคร. / สสจ. / อปท. ในพื้นที่ัเขต 1 - 13 ในการจัดการป้องกันควบคุมโรคในเขตเมือง 8. ผู้รับผิดชอบแผนงาน 1. นายแพทย์เอนก มุ่งออมกลาง้เบอร์โทรศัพท์ 0 2521 0943-45 ต่อ 611ผู้อ านวยการสถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมอง ืกรมควบคุมโรคE-mail: [email protected]. นางสุพินทอง แสงสุวรรณ เบอร์โทรศัพท์ 0 2521 0943-45 ต่อ 410นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการพิเศษ E-mail: [email protected]. นางหนึ่งหทัย บุญลือ เบอร์โทรศัพท์ 0 2521 0943-45 ต่อ 413นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการE-mail: [email protected]

6621. สถานการณ์ ปัจจุบันจ ำนวนข้อมูลด้ำนสำธำรณสุขได้เติบโตอย่ำงรวดเร็วเรียกได้ว่ำ เพมขึ้นทุก ๆ วินำที จนเรียกว่ำเป็นิ่ข้อมูลขนำดใหญ่หรือ Big Data ซ่งกำรนำขอมลขนำดใหญ่มำใช้ประโยชนไดโดยเฉพำะอย่ำงยงกำรพยำกรณโรค ึู้์้ิ ่์ไดอยำงแมนยำ จะสำมำรถลดคำใช้จ่ำยในกำรรกษำไดอยำงมหำศำล ดงนันกำรพฒนำคณภำพระบบขอมลดำนโรค ้่่่ั้่ั้ัุู้้และภัยสุขภำพ และสำมำรถน ำข้อมูลดังกล่ำวมำใช้ประโยชน์ได้อย่ำงมีประสิทธิผล จะส่งผลให้กำรเฝ้ำระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภำพมีประสิทธิภำพยิ่งขึ้น อกทั้งสำมำรถเป็นข้อมูลที่ถูกต้องและแม่นย ำ จะส่งผลให้ประชำชนีสำมำรถดูแลสุขภำพของตนเองได้ดียิ่งขึ้น ทั้งประชำชนพนที่ห่ำงไกลและพนที่เขตเมือง เช่น ระบบกำรแจ้ง/ให้ข่ำวสำรื้ื้สุขภำพในพนที่หรือพนที่เขตเมือง กำรรักษำวัณโรคของผู้ป่วยรำยใหม่และกลับเป็นซ้ ำที่ถูกรำยงำน ข้อมูลโรคติดต่อทำงื้ื้เพศสมพนธ์ ขอมลกำรรับวัคซน เป็นตน กรมควบคุมโรค จ ำเป็นต้องมีกำรเตรียมควำมพร้อมขององค์กำร ััู้ี้กำรน ำเทคโนโลยและนวัตกรรมมำใช้ปฏิรูปกำรทำงำน รวมไปถงกำรพฒนำปญญำประดิษฐในกำรให้ค ำปรึกษำ วินิจฉัย ีึัั์และพยำกรณกำรเกดโรคลวงหนำ กำรพัฒนำระบบกำรดูแลสขภำพทำงไกลใหมควำมหลำกหลำย เขำถงงำย ์ิุ่้้ี้ึ่เกดกำรบรณำกำรของระบบขอมลจำกหลำยภำคสวน นอกจำกนกำรพฒนำบคลำกรทำงกำรแพทยและสำธำรณสข ิูู้่ี ้ัุ์ุในกำรวิเครำะห์ข้อมูลขั้นสูงเพื่อน ำข้อมูลขนำดใหญ่ไปใช้ประโยชน์ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและประสิทธิผล แผนงานระบบเฝ้าระวังและระบบข้อมูลสารสนเทศ

663จำกระบบข้อมูลสำรสนเทศด้ำนโรคและภัยสุขภำพที่มีศักยภำพจะส่งเสริมให้มีกำรใช้ประโยชน์จำกข้อมูลข่ำวสำร และผลผลิตจำกกำรเฝ้ำระวังโรคและภัยสุขภำพ ( 5 กลุ่มโรค ประกอบด้วย 1) ระบบกำรเฝ้ำระวังโรคติดต่อ 2) ระบบเฝ้ำระวังโรคเอดสวัณโรคและโรคติดต่อทำงเพศสมพันธ์ 3) ระบบเฝำระวังโรคไมตดต่อ 4) ระบบเฝำระวังกำรบำดเจบ ์ั้่ิ้็และ 5) ระบบเฝำระวังโรคจำกกำรประกอบอำชีพและสงแวดลอม) ในภำพระดบประเทศ ระดับเขตสขภำพ และระดับ้ิ ่้ัุจังหวัดให้เป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพและยั่งยืนต่อไป 2. พื้นที่เป้าหมาย หน่วยงำนภำยใต้สังกัด กรมควบคุมโรค / เขตบริกำรสุขภำพ / หน่วยงำนภำยใต้สังกัดส ำนักงำนปลัดกระทรวงสำธำรณสุข 3. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพระยะ 5 ป (2561-2565)ีเป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เป้ำหมำย 1 กำรน ำเทคโนโลยีดิจิทัลมำใช้ในระบบกำรเฝ้ำระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภำพ ตัวชี้วัด 1 จ ำนวนกำรวิเครำะห์ข้อมูลขั้นสูง main dashboard ครบทุก 5 กลุ่มโรค (เป้ำหมำย 21 กลุ่มย่อย) - - 12 (กลุ่มย่อย) 16 (กลุ่มย่อย) 21 (กลุ่มย่อย) ตัวชี้วัด 2 จ ำนวนสถำนที่บริกำรสุขภำพ ที่ปรับเป็นระบบบริกำรอัจฉริยะ (Smart Hospital) - - - 2 (แห่ง) 4 (แห่ง) ตัวชี้วัด 3 จ ำนวนโรคที่ใช้ปัญญำประดิษฐ์เพื่อค้นหำและวินิจฉัยโรค อย่ำงน้อย 3 โรค (เป้ำหมำย 1.เรื้อน 2.วัณโรค 3.มำลำเรีย) - - - 1 (โรค) 2 (โรค) ตัวชี้วัด 4 จ ำนวนระบบบันทึกสุขภำพของประชำชน (เป้ำหมำย 1. วัคซีนผู้ใหญ่ 2. ข้อมูลโรคควำมดันสูง) - - 1 (ระบบ) 1 (ระบบ) -

6644.มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปีและหน่วยงานผู้ด าเนินการมาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. เขต สสจ. รพ. PCC ชุมชน/ต าบล มำตรกำรที่ 1 พัฒนำระบบข้อมูลสำรสนเทศ พัฒนำระบบข้อมูลตำมแนวทำง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ - พัฒนำระบบข้อมูลตำมกรอบ 5 กลุ่มโรค 5 มิติ - น ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ น ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ น ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ - น ำเข้ำข้อมูลอย่ำงครบถ้วน ตรงเวลำ - น ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ น ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ น ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ มำตรกำรที่ 2 พัฒนำระบบเฝ้ำระวัง สร้ำงระบบส ำหรับกำรน ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ - พัฒนำระบบข้อมูลตำมกรอบ 5 กลุ่มโรค 5 มิติ - น ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ น ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์น ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์- น ำเข้ำข้อมูลอย่ำงครบถ้วน ตรงเวลำ - น ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์น ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์น ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์

6655.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน รวมทั้งสิ้น 51.9079 53.887 41.03 146.8249 มาตรการที่ 1 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ --5.716 28.457 16.38 50.553 กรมควบคุมโรค โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการควบคุมโรค 0.395 11.40 11.0 22.795 2.1 กำรวิเครำะห์ข้อมูลขั้นสูงเพื่อกำรควบคุมโรคและภัยสุขภำพ ///ศูนย์สำรสนเทศและหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง --0.395 1.40 1.00 2.7950 2.2 กำรพัฒนำปัญญำประดิษฐ์เพื่อกำรเฝ้ำระวัง คัดกรองและวินิจฉัย //สถำบันรำชประชำสมำสัย/กองนวัตกรรมและวิจัย/กองโรคติดต่อน ำโดยแมลง/กองวัณโรค -10.00 10.00 20.00 โครงการพัฒนาระบบบันทึกข้อมูลสุขภาพ --4.221 15.057 3.98 22.898 3.1 พัฒนำระบบบริกำรอัจฉริยะ (Smart Hospital) ///สถำบันรำชประชำสมำสัย/สถำบันบ ำรำศนรำดูร/สอวพ./กอบวัณโรค/สป.คม./สคร.6 จังหวัดชลบุรี--2.0011.00 0.20 13.20 3.2 H4U สู่กำรป้องกัน ควบคุม โรคควำมดันโลหิตสูง /กองโรคไม่ติดต่อ --0.90 --0.90 3.3 กำรพัฒนำกำรเข้ำถึงข้อมูลวัคซีนในผู้ใหญ่ ///กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน--1.2213.857 3.58 8.658 3.4 พัฒนำเทคโนโลยีอัจฉริยะส ำหรับผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ (NCD Rehabilitation) ///กองโรคไม่ติดต่อ --0.100.20 0.20 0.50

666มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศการประเมินผลเพื่อการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ --1.10 2.00 1.40 4.50 4.1 ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรติดตำมก ำกับและสนับสนุนกำรตัดสินใจ (Smart Monitoring &Decision Support System: DSS) ///กองระบำดวิทยำ และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง--0.601.00 0.90 2.50 4.2 โครงสร้ำงพื้นฐำนเพื่อรองรับระบบข้อมูลสำรสนเทศ สนับสนุน พชอ. ///ศูนย์สำรสนเทศ / กองยุทธศำสตร์และแผนงำน--0.501.00 0.50 2.00 มาตรการที่ 2 พัฒนาระบบเฝ้าร--49.1919 28.43 27.65 105.2719 กรมควบคุมโรค โครงการระบบเฝ้าระวังและสอบสวนโรคอัจฉริยะ Smart Surveillance & Investigation --45.9151 22.50 4.60 73.0151 1.1 พัฒนำระบบสำรสนเทศด่ำนควบคุมโรคติดต่อระหว่ำงประเทศ ///ศูนย์สำรสนเทศ 8.00 16.00 -24.00 1.2 พัฒนำระบบฐำนข้อมูลเพื่อรองรับระบบเฝ้ำระวัง อิเล็คทรอนิค แบบบูรณำกำร (EIDSS) และระบบภูมิสำรสนเทศ (GIS) /กองระบำดวิทยำ --16.0396 --16.0396 1.3 พัฒนำระบบข้อมูลสำรสนเทศโรคไม่ติดต่อและกำรบำดเจ็บตำมกรอบ 5 มิติ /กองโรคไม่ติดต่อ --2.4255 --2.4255

667มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน 1.4 พัฒนำระบบฐำนข้อมูลดิจิทัลเพื่อกำรเฝ้ำระวังด้ำนโรคจำกกำรประกอบอำชีพและสิ่งแวดล้อม /กองโรคจำกกำรประกอบอำชีพและสิ่งแวดล้อม 1.54 --1.54 1.5 กำรพัฒนำระบบเฝ้ำระวัง (Smart city) เพื่อกำรเฝ้ำระวัง ป้องกันควบคุมโรค /ศูนย์สำรสนเทศ --15.00 --15.00 1.6 พัฒนำศูนย์ข้อมูลโรคและภัยสุขภำพในพื้นที่เขตเมืองของ ประเทศ /สถำบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง --1--1.00 1.7 พัฒนำฐำนข้อมูลโรคเรื้อนระดับประเทศ//สถำบันรำชประชำสมำสัย -2131.8 ระบบติดตำมสถำนกำรณ์โรคติดต่อระหว่ำงสัตว์และคน(Application) ///กองโรคติดต่อทั่วไป --14310.01 โครงการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ --0.2768 2.93 20.05 23.2568 2.1 กำรพัฒนำเทคโนโลยี Internet of Thing เพื่อกำรติดตำมและควบคุมโรค ///ศูนย์สำรสนเทศ --0.20 0.58 0.50 1.28 2.2 พัฒนำระบบพยำกรณ์โรคติดต่อส ำคัญแบบอัตโนมัติด้วยเทคโนโลยีปัญญำประดิษฐ์ ///กองระบำดวิทยำ --0.0768 2.35 19.55 21.9768 โครงการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของบุคลากรกรมควบคุมโรคส าหรับการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ///ศูนย์สำรสนเทศ --3339

668มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน กำรพัฒนำก ำลังคนด้ำนสำรสนเทศและกำรวิเครำะห์ระดับสูงเพื่อกำรควบคุมโรค ///ศูนย์สำรสนเทศ / กองบริหำรทรัพยำกรบุคคล --2226พัฒนำบุคลำกรด้ำนดิจิทัล กรมควบคุมโรค ศูนย์สำรสนเทศ 1113

6696. แผนการติดตามประเมินผลระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผลปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 มำตรกำรที่ 1 พัฒนำระบบข้อมูลสำรสนเทศกำรน ำเทคโนโลยีดิจิทัลมำใช้ในระบบกำรเฝ้ำระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภำพ กำรนิเทศงำน และระบบ estimate / / / มำตรกำรที่ 2 พัฒนำระบบเฝ้ำระวัง/ / / 7. ผู้รับผิดชอบแผนงาน ศูนย์สำรสนเทศ กรมควบคุมโรค เบอร์โทรศัพท์ 02 590 3093 1. นำยแพทย์ยงเจือ เหล่ำศิริถำวรผู้อ ำนวยกำรศูนย์สำรสนเทศ กรมควบคุมโรค2. นำยวรวิทย์ พยุงเกียรติบวร นักวิชำกำรคอมพิวเตอร์ปฏิบัติกำร 3. นำยชัยรัตน์ ปรีชำกร 4. นำยปรีชำ ภูมิพื้นผล นักวิชำกำรคอมพิวเตอร์ปฏิบัติกำร นักวิเครำะห์นโยบำยและแผนปฏิบัติกำร

6701. สถานการณ์ภายใต้วาระการพฒนาที่ยั่งยืน 2030 (Sustainable Development Goals 2030 หรือ SDGs 2030) ซึ่งส่วนัหนึ่งภายใต้แผนฉบับนี้ ผลักดันให้รัฐบาลแต่ละประเทศเข้ามามีส่วนส าคัญในการปรับเปลี่ยนการด าเนินงาน และการให้บริการภาครัฐที่มีอยู่เดิม โดยให้ความส าคัญกับการน าเอาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาปรับใช้ อย่างเหมาะสม เพอให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการด าเนินงาน บริหารจัดการทรัพยากรของรัฐ ตลอดจนให้การให้บริการ ื่แกผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ดังนั้นรัฐบาลจึงได้ก าหนดแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยภายใต้ แผนพฒนารัฐบาลดิจิทัล่ัเพอเศรษฐกิจและสังคม และแผนพฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ซึ่งมีวิสัยทัศน์เพอการยกระดับภาครัฐื่ัื่ไทยสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลที่มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน มีการท างานแบบอจฉริยะ ให้บริการโดยมีประชาชน ัเป็นศูนย์กลาง และขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้อย่างแท้จริง ซึ่งต้องอยู่บนพนฐานการด าเนินการ 4 ประการ ื้ได้แก่ การบูรณาการภาครัฐ (Government Integration) การด าเนนงานแบบอจฉริยะ (Smart Operation) ิัการใหบริการโดยมประชาชนเป็นศนยกลาง (Citizen-centric Service) และการสนับสนุนให้เกิดการขับเคลื่อนไปสู่ ้ีู์การเปลยนแปลง (Driven Transformation) ตามแผนยุทธศาสตร์ดังกล่าว การด าเนินงานขององค์กรจ าเป็นต้องพงพอี ่ึ่เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีประสิทธิภาพ แต่ปัญหาที่พบคือการขาดความเชื่อมโยงระหว่างเทคโนโลยีสารสนเทศ กับภารกิจขององค์กร ซึ่งสถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture : EA) คือการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเขากบภารกจอย่างเป็นระบบ ดังนนการปรบเปลยนกรมควบคุมโรคสู่หน่วยงานภาครัฐดิจิทัล ้ัิั ้ัี ่(Digital Transformation) อย่างแท้จริง มีระบบและพฒนาการปฏิบัติงานควบคู่กัน จึงมีแนวทางหลักคือ (1) การจัดท าัสถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture : EA) ของกรมควบคุมโรค โดยเนน ยุทธศาสตร์หลัก/back office/ั์้ระบบบริการสุขภาพ เพอลดการท างานแบบ Silo, วิเคราะห์และปรับปรุงกระบวนการท างาน และน าเทคโนโลยีดิจิทัลมาื่สนับสนุนการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและมีความมั่นคงปลอดภัย (security) โดยด าเนินการควบคู่กันกับแนวทาง ที่ (2) การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลแบบบูรณาการ หรือต่อยอดที่มีอยู่แล้วให้สามารถใช้ร่วมกันทั้งกรมฯ แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Digital Transformation)

6712. พื้นที่ด าเนินการ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 3. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพระยะ 5 ป (2561-2565)ีเป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เป้าหมาย 1 บูรณาการขอมูล แลกเปลี่ยนและ้เชื่อมโยงข้อมูลแบบศูนย์รวมกรมควบคุมโรค ตัวชี้วัด 1 ระบบบูรณาการขอมูล แลกเปลี่ยน้และเชื่อมโยงข้อมูลแบบศูนย์รวมกรมควบคุมโรค 1 1 1 1 เป้าหมาย 2 พัฒนาและปรับปรุงสถาปัตยกรรมองค์กรกรมควบคุมโรค ตัวชี้วัด 1 ร้อยละของกระบวนการที่ปรับปรุงจาก EA - - 50 80 100 เป้าหมาย 3 พัฒนาบุคลากรด้านทักษะดิจิทัล (Digital Literacy) ตัวชี้วัด 1 ร้อยละของบุคลากรกรมควบคุมโรคมีทักษะดิจิทัลตามเกณฑ์ที่ก าหนด - - 80 90 100

6724.มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปีและหน่วยงานผู้ด าเนินการมาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. มาตรการที่ 1 บูรณาการข้อมูล แลกเปลี่ยนและเชื่อมโยงข้อมูลแบบศูนย์รวมกรมควบคุมโรค- ทรัพยากรแบบรวมศูนย์/ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์ - สร้างมาตรฐานข้อมูล / platform กลาง - หน่วยงานสามารถเข้าถึงข้อมูลและน าไปใช้ประโยชน์ - ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์ - สร้างมาตรฐานข้อมูล / platform กลาง - หน่วยงานสามารถเข้าถึงข้อมูลและน าไปใช้ประโยชน์ มาตรการที่ 2 พัฒนาและปรับปรุงสถาปัตยกรรมองค์กรกรมควบคุมโรค- EA กรมควบคุมโรคได้รับการยอมรับ - EA ใช้ในการวางแผนและน าไปปฏิบัติได้จริง - ต่อยอดเป็นนวัตกรรม - เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน - EA กรมควบคุมโรคได้รับการยอมรับ - EA ใช้ในการวางแผนและน าไปปฏิบัติได้จริง - ต่อยอดเป็นนวัตกรรม - เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน มาตรการที่ 3 พัฒนาบุคลากรด้านทักษะดิจิทัล (Digital Literacy)- ก าหนดเกณฑ์มาตรฐานทักษะดิจิทัล - เรียนรู้/ทดสอบ/ติดตาม/ประเมินผล - มีผลต่อการประเมินการปฏิบัติราชการ - ก าหนดเกณฑ์มาตรฐานทักษะดิจิทัล - เรียนรู้/ทดสอบ/ติดตาม/ประเมินผล - มีผลต่อการประเมินการปฏิบัติราชการ

6735.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 1 บูรณาการข้อมูล แลกเปลี่ยนและเชื่อมโยงข้อมูลแบบศูนย์รวมกรมควบคุมโรค/////ศูนย์สารสนเทศ 1.019.023.015กรมควบคุมโรค บูรณาการข้อมูล แลกเปลี่ยนและเชื่อมโยงข้อมูลแบบศูนย์รวมกรมควบคุมโรค ระบบบูรณาการข้อมูล แลกเปลี่ยนและเชื่อมโยงข้อมูลแบบศูนย์รวมกรมควบคุมโรค จ านวน 1 ระบบ1. โครงการพัฒนาระบบแลกเปลี่ยนและเชื่อมโยงข้อมูล พร้อมประมวลผล เพื่อสนับสนุนการป้องกันและควบคุมโรคและภัยสุขภาพ /////1.01.01.01.0 4.0 กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาระบบข้อมูลแบบศูนย์รวมกลางกรมควบคุมโรค /////กิจกรรมหลักที่ 2 จัดท ามาตรฐานข้อมูลกลาง และ platform กรมควบคุมโรค ////2. โครงการพัฒนาระบบจดการัข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการแบบรวมศูนย์ส าหรับการพัฒนาสู่ DDC 4.0 ///18.0 22.0 10.0 50.0

674มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 2 พัฒนาและปรับปรุงสถาปัตยกรรมองค์กรกรมควบคุมโรค////ศูนย์สารสนเทศ และหน่วยงานภายใต้สังกัดกรมควบคุมโรค 431.0 1.0 9กรมควบคุมโรค พัฒนาและปรับปรุงสถาปัตยกรรมองค์กรกรมควบคุมโรค 1. EA ของกรมควบคุมโรค 2. ร้อยละของกระบวนการที่ปรับปรุงจาก EA 1. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดท าสถาปัตยกรรมองค์กร กรมควบคุมโรค ////2.0 1.0 1.0 1.0 5.0 กิจกรรมหลักที่ 1 การพัฒนาและปรับปรุง EA กรมควบคุมโรค ////กิจกรรมหลักที่ 2 วิเคราะห์กระบวนการจาก EA เพื่อพัฒนาการกระบวนการด้วยดิจิทัล ////กิจกรรมหลักที่ 3 การน ากระบวนการที่สามารถปรับปรุงมาพัฒนาด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ////กิจกรรมหลักที่ 4 ผลักดัน การติดตามประเมินผล จากการน าไปใช้ประโยชน์ ///2. โครงการพัฒนาการจัดท ากระบวนการ รูปแบบการท างานด้านบริหาร (DDC Smart Workflow) //2.0 2.0 4.0

675มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 3 พัฒนาบุคลากรด้านทักษะดิจิทัล (Digital Literacy) ////ศูนย์สารสนเทศ /กองการเจ้าหน้าที่ 0.2 0.2 0.2 0.6 กรมควบคุมโรค ร้อยละของบุคลากรกรมควบคุมโรคมีทักษะดิจิทัลตามเกณฑ์ที่ก าหนด กิจกรรมหลักที่ 1 ก าหนดมาตรฐานทักษะดิจิทัล และทดสอบบุคลากรกรมควบคุมโรค ////

6766. แผนการติดตามประเมินผลระยะ 5 ปีมาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตาม กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผลปี พ.ศ. ประเมินผล 2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการที่ 1 บูรณาการข้อมูล แลกเปลี่ยนและเชื่อมโยงข้อมูลแบบ เชื่อมโยงข้อมูลแบบศูนย์รวมกรมควบคุมโรค ศูนย์รวมกรมควบคุมบูรณาการข้อมูล แลกเปลี่ยนและโรค การนิเทศงาน / การรายงานระบบ estimate / / / มาตรการที่ 2 พัฒนาและปรับปรุงสถาปัตยกรรมองค์กรกรมควบคุมโรคพัฒนาและปรับปรุงสถาปัตยกรรมองค์กรกรมควบคุมโรค การนิเทศงาน / การรายงานระบบ estimate / / / มาตรการที่ 3 พัฒนาบุคลากรด้านทักษะดิจิทัล (Digital Literacy)พัฒนาบุคลากรด้านทักษะดิจิทัล (Digital Literacy) ติดตามจากระบบ DPIS / / / 7. ผู้รับผิดชอบแผนงาน ศูนย์สารสนเทศ กรมควบคุมโรค เบอร์โทรศัพท์ 02 590 3093 1. นายแพทย์ยงเจือ เหล่าศิริถาวรผู้อ านวยการศูนย์สารสนเทศ กรมควบคุมโรค2. นายวรวิทย์ พยุงเกียรติบวร นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ 3. นายชัยรัตน์ ปรีชากร 4. นายปรีชา ภูมิพื้นผล นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

6771. สถานการณ์/ปัญหา: จากนโยบายประเทศไทย 4.0 ของรัฐบาล ที่ต้องการขับเคลื่อนไปสู่การเป็นประเทศที่มั่นคงมั่งคั่ง และยั่งยืนอย่างเป็นรูปธรรม โดยการผลักดันการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ การปฏิรูปการวิจัยและการพัฒนา การปฏิรูปการศึกษา โดยเนนขบเคลอนการสรางนวัตกรรม และการทางานรวมกบเครอขาย ซงแผนพฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 ้ัื ่้่ัื่ึ ่ั(พ.ศ.2560-2564) ได้สนองต่อนโยบายดังกล่าว โดยให้ความส าคัญกับการใช้องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ผลงานวิจัยและพฒนา ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งการพฒนาสภาวะแวดล้อม ััหรือปัจจัยพนฐานที่เอออานวยทั้งการลงทุนด้านการวิจัยและพฒนา การพฒนาบุคลากรวิจัย โครงสร้างพนฐาน ื้ื้ััื้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการบริหารจัดการ ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ัวิจัยและนวัตกรรม โดยมีเป้าหมายและตัวชี้วัดที่ส าคัญได้แก่ จ านวนบคลากรด้านการวิจยและพัฒนาเพ่มขนเปาหมายุัิึ ้้ภายในป 2580 60 คนตอประชากร 10,000 คน (เป้าหมายปี 2564 จะมีนักวิจัย 25 คนตอประชากร 10,000 คน) (1) ี่่ซึ่ง ยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรม 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ได้ก าหนดเป้าหมายที่สอดคล้องกับแผนพฒนาเศรษฐกิจัและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) โดยเน้นให้มีโครงการวิจัย/จานวนหน่วยงานทไดน าผลงานไปใช้ี ่้ประโยชน์ มูลค่าผลกระทบเชิงเศรษฐกิจ/สังคม และมีการน าข้อมูลวิจัย ความรู้ ไปใช้ในการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง (2) กระทรวงสาธารณสข ไดกาหนดยุทธศาสตร์ดานสาธารณสข ระยะ 20 ปี ประกอบดวย 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ุุ้้้การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ การบริการเป็นเลิศ บุคลากรเป็นเลิศ และบริหารเป็นเลิศด้วย ธรรมาภิบาล ซงการพฒนางานวิจยและองคความรดานสขภาพเปน 1 ในโครงการตามแผนระบบธรรมาภิบาลและ ึ ่ัั์ู ุ้้็มีตัวชี้วัดที่ส าคัญ ได้แก่ งบประมาณวิจัยที่เพมขึ้น และผลงานวิจัย/R2R ที่มีการเผยแพร่ให้หน่วยงานต่างๆ น าไปใช้ิ่ประโยชน์ (3) ผลการด าเนินงานพฒนานวัตกรรมและวิจัยของกรมฯ ที่ผ่านมากรมควบคุมโรคมการค้นหาวิธีการท างานที่เป็นัีเลิศของหน่วยงานภายในมาโดยตลอดจึงน ามาสู่วัฒนธรรมในการใช้เครื่องมือการจัดการความรู้ส าหรับการขับเคลื่อนระบบและวิธีการด าเงนงานภายใน ซงสงผลดีต่อการพัฒนาผลงาน และผลิตภัณฑ์วิชาการที่กรมควบคุมโรคจัดท าและิึ ่่พฒนาผลงานขนมาเป็นอย่างยิ่ง หากแต่พบว่าการสรางนวัตกรรมและงานวิจยทสามารถนาผลการศกษาไปตอยอด ัึ ้้ัี ่ึ่เป็นนวัตกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ในการป้องกันควบคุมโรคในวงกว้างจ านวนไม่มาก เนื่องจากงานด้านนวัตกรรมเป็นงานใหม่ และที่ผ่านมายังไม่เคยมีการรวบรวมและแยกผลิตภัณฑ์ที่เป็นงานนวัตกรรมอย่างจริงจัง จนกระทั่งในปีงบประมาณ 2561 เริ่มมีการรวบรวมข้อมูลที่มีอยู่ในระบบการพฒนาบริหารการปฏิบัติราชการ (PMQA) และฐานข้อมูลงานวิจัยที่เป็นันวัตกรรมการวิจัย จานวน 5 ปีย้อนหลัง ซึ่งสามารถรวบรวมผลงานนวัตกรรมได้จ านวนทั้งสิ้น 16 เรื่อง นอกจากนี้ ในปี 2561 กรมควบคุมโรคเริ่มมีการก าหนดให้งานนวัตกรรมเป็นตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติราชการ มีผลงานนวัตกรรมแลวเสร็จ จ านวน 7 เรื่อง และในปี 2562 กรมควบคุมโรคไดประกาศนโยบาย และขับเคลอนงานนวัตกรรมอยาง ้้ื ่่เต็มรูปแบบ โดยก าหนดให้ทุกหน่วยงานมีการด าเนินงานนวัตกรรมอย่างน้อยหน่วยงานละ 1 เรื่อง พบว่ามีผลงานเพมขึ้นิ่เป็น 47 เรื่อง ดังตารางที่ 1 ส่วนผลงานวิจัยที่ด าเนินการผ่านระบบของส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และผานความเหนชอบของคณะกรรมการยทธศาสตรการวิจยการควบคุมโรคและภัยสขภาพ กรมฯ พบว่าป พ.ศ. 2552 ่็ุ์ัุี- 2562 โครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณมีประมาณครึ่งหนึ่งของโครงการที่เสนอ และมีแนวโนมลดลง แผนงานส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมและวิจัย กรมควบคุมโรค ปี 2561-2565

678อย่างต่อเนื่อง ดังภาพที่ 2 อาจเนื่องจากโครงการส่วนใหญ่เป็นการวิจัยพนฐานเพอสร้าง/สะสมองค์ความรู้ด้านวิชาการื้ื่เปนโครงการขนาดเลก และเป็นการแก้ไขปัญหาในพนที่ยังไม่ตรงกับนโยบายของแหล่งทุนที่เน้นการวิจัยและพฒนา็็ื้ันวัตกรรมเพอแก้ปัญหาหรือสร้างความเข้มแขงด้านสุขภาพ สังคมชุมชน และความมั่นคงและคุณภาพชีวิตของประชาชน ื่็สวนการพฒนาศักยภาพบคลากรกรมควบคุมโรคดานการพฒนานวัตกรรมและวิจัยจ าเป็นต้องมีการด าเนินการต่อ ่ัุ้ัและปรับปรุงให้เหมาะสมกับภารกิจของกรมควบคุมโรค (4) ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 1 ผลการด าเนินงานพัฒนานวัตกรรมและวิจัย กรมควบคุมโรค ผลงานการพัฒนานวัตกรรมหน่วยนับ ปี 56-60 ปี 61 ปี 62 1. จ านวนนวัตกรรมของกรมควบคุมโรค เรื่อง 16 7 47 2. จ านวนบุคลากรที่ได้รับพัฒนาศักยภาพด้านการพัฒนานวัตกรรม คน - 139 1,375 ภาพที่ 1 ผลงานวิจัยกรมควบคุมโรค ปี 2552-2562 ภาพที่ 2 งบประมาณวิจัยกรมควบคุมโรค (หมวดรายจ่ายอื่น) ปี 2552-2562 74.8 76.7 72.256.971.875.840.156.850.9122.7426.4234.3069.1559.051.045.928.926.827.6 23.824.425.010.0517.1628.7717.4537.939.545.428.326.827.6 23.821.1 239.316.910.020.040.060.080.0100.02552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564โครงการขอสนับสนุนกรมอนุมัติใช้จริงเรื่อง ปีงบประมาณภาพที่ 3 บุคลากรที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัย ปี 2558-2562คนปีงบประมาณล้านบาท

679ส่วนการน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ พบว่า มีแนวโน้มลดลง ดังภาพที่ 3 และส่วนใหญ่เป็นการน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ เชิงวิชาการ (การตพมพในวารสารหรอการน าเสนอในการประชุมวิชาการ) เชิงนโยบายมเพยงเลกนอย ีิ์ืีี็้และไม่มีการน าไปใช้ประโยชน์เชิงสังคม/ชุมชนและเชิงพาณิชย์ ซึ่งจะมีการติดตามโครงการวิจัยอย่างน้อย 3 ปี (4) หมายเหตุ ผลงานวิจัยที่น าไปใช้ประโยชน์เป็นผลงานวิจัยที่แล้วเสร็จมีรายงานฉบับสมบูรณ์ในปีนั้นๆ เช่น ผลงานวิจัยที่แล้วเสร็จในปี 2559 จ านวน 100 เรื่อง มีการใช้ประโยชน์ 70 เรื่อง เป็นต้น โดยรวบรวมข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี ข้อมูล ปี 2555-2558 รวบรวมโดยการสารวจของกองนวัตกรรมและวิจัย ส่วนปี 2559-2562 รวบรวมข้อมูลจาก การรายงานตวชีวัดสานักงบประมาณของหนวยงานตางๆ (SDA13: ร้อยละของผลงานวิจัยดานการป้องกนควบคมโรคั้่่้ัุและภัยสุขภาพที่เผยแพร่ให้หน่วยงานต่าง ๆ น าไปใช้ประโยชน์) ผลงานเมื่อแล้วเสร็จจะมีการน าไปใช้ประโยชน์ หลังจากนั้น 1-3 ปี ดังนั้นในปี 2562 ผลงานจึงมีน้อยกว่าปีอื่นๆ ปัญหาโรคและภัยสุขภาพที่ส าคัญ พบว่า กลุ่มโรคติดต่อทั่วไปยังขาดการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ขาดข้อมูลสถานการณ์โรคอบัติใหม่ในประเทศ ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนตามแผนงานสร้างเสริมุภูมิคุ้มกันโรคขาดความครบถ้วน ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน โดยเฉพาะในพนที่ 4 จังหวัดชายแดนใต้ กลุ่มชุมชนแออด ื้ักลุ่มแรงงานเคลื่อนย้าย ถิ่นทุรกันดารหรือชายขอบ และกลุ่มประชากรในผู้ใหญ่ ส่วนการติดเชื้อเอชไอวีพบในกลุ่มประชากรหลักสูง ได้แก่ MSM MSW SW TG PWID และประชากรทมภาวะเปราะบาง การเขาถงกลมเปาหมายี ่ี้ึุ ่้ประชากรหลักยังด าเนินการได้ไม่ครอบคลุม ระบบรายงานผู้ป่วยวัณโรคมีข้อมูลไม่ครอบคลุมจ านวนผู้ป่วยทั้งหมด การคัดกรอง การรักษา ติดตามผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง และผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานยังด าเนินการไม่ครอบคลุม 3050127106146020406080100120140160ปี 2558ปี 2559ปี 2560ปี 2561ปี 2562ปีงบประมาณ

680ส่วนโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พบว่าประชาชนยังขาดความตระหนัก ขาดการรับรู้ในการจัดการปัจจัยเสี่ยง ชุมชนขาดการระวังภัยจากปัจจัยก าหนด อกทั้งยังขาดการเข้าถึงบริการ การควบคุมความเสี่ยง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ยังไม่ประสบีความส าเร็จ เนื่องจากผู้ให้บริการในระบบบริการมีภาระงานมาก ประสิทธิภาพของระบบราชการยังไม่ดีพอ ส่วนโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมพบว่าข้อมูลยังไม่สมบูรณ์และมีหลายแหล่งที่ไม่เชื่อมโยงเป็นระบบเดียว ขาดรูปแบบการดแลตนเองทเหมาะสมในกลมวัยทางานและผประกอบการ และขาดขอมลการพฒนาเทคโนโลยีการตรวจวิเคราะหูี ุ่ ู่ ู้้ั์สารพษชนิดใหม่ นอกจากนี้การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนท าให้เกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี การลักลอบ ิเข้าเมืองผิดกฎหมายตามแนวชายแดน การเดินทางท่องเที่ยว การเคลื่อนย้ายสัตว์และซากสัตว์เพมขึ้น กลุ่มประชากร ิ่ต่างด้าวยังขาดการวิเคราะห์รูปแบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่เหมาะสม รวมทั้งการเข้าถึงบริการต่ ากว่าที่ควร จะเป็น ปัญหาส าคัญอกอย่าง นั่นคือการเติบโตของเมืองใหญ่ในประเทศไทยที่มีความซับซ้อนท าให้ยากต่อการแก้ไขปัญหา ีโดยเฉพาะข้อมูลด้านสุขภาพของประชาชน ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ รวมทั้งรูปแบบการบริหารการเมืองท้องถิ่น(5) จากปัญหาดังกล่าว กรมควบคุมโรคได้จัดท าแผนงานวิจัยด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ พ.ศ. 2562-2564 ขึ้น โดยจัดล าดับความส าคัญและก าหนดเป็นประเด็นวิจัยเร่งด่วนเพอแก้ไขปัญหาโรคและภัยสุขภาพ เพอให้นักวิจัยทุกภาคื่ื่ส่วนด าเนินงานวิจัย (6) (ดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ เว็บไซต์กองนวัตกรรมและวิจัย) ภายใต้แผนกลยุทธ์การพฒนาบคลากรวิจยและนวัตกรรม ระยะ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพฒนาโครงสร้างัุััพนฐาน บคลากร และระบบวิจยและนวัตกรรมของประเทศ ได้ก าหนดเปาหมายยทธศาสตรจ านวนบุคลากรวิจัยและื ุ้ัุ้์พัฒนาไม่น้อยกว่า ๖๐ คน ต่อประชากร ๑๐,๐๐๐ คน ในปัจจุบันกรมควบคุมโรคก าลังประสบปัญหาขาดแคลนทรัพยากรในการท าวิจัย ทั้งในแง่จ านวนนักวิจัย ระบบบริหารจัดการงานวิจัยที่มีศักยภาพ และคุณภาพการวิจัย จากการเก็บข้อมูลสถิติของส านักจัดการความรู้ ในปี 2556-58 มีบุคลากรที่มีศักยภาพในการท าวิจัยเพยงร้อยละ 16 ของบุคลากรทั้งหมด ีนอกจากนี้ยังพบปัญหาขาดความต่อเนื่องในการพฒนางานวิจัยโดยมีสาเหตุจากบุคลากรใกล้ก าหนดเกษียณอายุ ั(generation gap) โดยข้อมูลจากกองการเจ้าหน้าที่ กรมควบคุมโรค คาดการณ์ในระยะเวลา 10 ปีต่อจากนี้ (2559-2568) จะมบุคลากรที่ถึงก าหนดเกษียณอายุรวมทั้งสิ้น 2,100 คน หรือคิดเป็น 1 ใน 3 ของบุคลากรในปัจจุบัน ดังนั้นกรมีควบคุมโรคในฐานะเป็นหน่วยงานหลักที่ก ากับดูแลระบบการป้องกันและควบคุมโรคของประเทศ จึงจ าเป็นต้องวางแผนในการพฒนาศักยภาพนักวิจัย และจ านวนนักวิจัย ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพือพฒนาขดความสามารถด้านการทาั่ัีวิจัยให้กับบุคลากร และเพมจ านวนนักวิจัยให้สามารถรับมือกับสภาพปัญหาความท้าทายใหม่ ๆ ทางดานสาธารณสข ิุ่้รวมทั้งเตรียมความพร้อมในการรับมือกับปัญหาการเกษียณอายุของบุคลากรที่มีศกยภาพ ัความรู้จากงานวิจัยและนวัตกรรมสามารถน ามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนา ปรับปรุงและแก้ไขปัญหาเชิงนโยบาย วิชาการ สังคม ชุมชน หรือพาณิชย์ โดยวิธีใช้ประโยชน์จากงานวิจัยอย่างเป็นรูปธรรมได้แก การจัดท าแนวทาง มาตรฐาน ่หลักสูตร ที่มีผลงานวิจัยสนับสนุน ส่งผลให้กลุ่มเป้าหมายมีวิธีการท างานที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ น าไปสู่การป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพได้ โดยกรมควบคุมโรคมีกลไกการประเมินและรับรองมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ เช่น คู่มอ แนวทาง ืหลักสูตร เป็นต้น เพอให้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ มีคุณภาพ มีเนื้อหาสอดคล้องกับหลักฐานเชิงประจักษ์อย่างแท้จริง ื่ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการประเมินและรับรองมาตรฐานโดยกรมควบคุมโรคมีแนวโน้มเพมขึ้นอย่างต่อเนื่อง ิ่เช่น ปีงบประมาณ 2562 มีจ านวน 25 เล่ม และ 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2563 มีจ านวน 21 เล่ม เป็นต้น

6812. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ: ตารางที่ 2 เป้าหมาย ตัวชี้วัดนวัตกรรมและวิจัยปี 2561 - 2565ตัวชี้วัดเป้าหมาย เป้า/ผลงาน ข้อมูลพนฐาน ื้ปีงบประมาณ* 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 ร้อยละของนวัตกรรมด้านงาน เป้าหมายป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพทเพิ่มขึ้น ี่- - 20 % 25 % 30 % 35 % 40 % ผลงาน ยังไม่ได้เริ่มด าเนินการเก็บข้อมูล 7 เรื่อง 24/41 (58.5%) -/73 ร้อยละของผลงานวิจัยด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่น าไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น* เป้าหมาย 70% 75% 86% 25 % 30 % 35 % 40 % 45 % ผลงาน 25/36 28/37 29/34 (80.7%) (63.9%) .......... เรื่อง เรื่อง เรื่อง 46/57 46/72 เรื่อง -/89 เรื่อง เรื่อง หมายเหตุ * ตั้งค่าเป้าหมายสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน บุคลากร และระบบวิจัยและนวัตกรรมของยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรมชาติ 20 ปี (2560-2579) ในปีถัดไปจะมีการก าหนดตัวชี้วัดผลงานนวัตกรรมและวิจัยที่เป็น high impactให้สอดคล้องกับจุดเน้น และก าหนดตัวชี้วัดจ านวนนักนวัตกรและนักวิจัยแยกตามประเภทเพื่อเป็นเป้าหมายการพัฒนา - ฐานการค านวณ ผลงานนวัตกรรมนับปี 2561 ส่วนผลงานวิจัยนับปี 2559 : - วิธีการรวบรวมข้อมูล ใช้การส ารวจในปี 2558 และรวบรวมจาก รง.ตัวชี้วัดส านักงบประมาณ (: SDA13) ในปี 2559-2562 นิยาม: 1) ผลงานวจย ิัหมายถึง 1) Regular Research ได้แก่ วิจัยพนฐาน (Basic research หรือ Pure research ื้หรือ Theoretical research) วิจยประยุกต (Applied research) การพัฒนาทดลอง (Experimental development) ั์2) Routine to research (R2R) และ 3) การวิจัยประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข (Health Technology Assessment) 2) ผลงานวจัยที่น าไปใช้ประโยชน์ ิหมายถึง โครงการวิจัยที่มีความครบถ้วนสมบูรณ์ของเนื้อหารายงานวิจัย และมีคุณสมบัติ ดังนี้ 2.1 มการระบุการน าไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม (อ้างอิงจาก ส านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)) ได้แก่ ี●มิตินโยบาย หมายถึง การน าข้อมูลผลงานวิจัย มาใช้ประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบาย หรือ เป็นแนวทางในการแก้ไขประเด็นพฒนาส าคัญและปัญหาเร่งด่วน ในเชิงนโยบายระดับประเทศ ระดับภูมิภาค ัระดับจังหวัดระดับท้องถิ่นหรือระดับหน่วยงาน ●มตวิชาการ หมายถง การถกอางอง (citation) บทความวิจัยซึ่งได้รับการตีพมพ ิิึู้ิิ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ซึ่งมี peer review ●มิติเชิงสังคม/ชุมชน หมายถึง การถ่ายทอดความรู้ให้ชุมชน ท้องถิ่น องค์กร (ซึ่งมิใช่หน่วยงานต้นสังกัดของนักวิจัย/หน่วยงานให้ทุน) หรือการจัดกิจกรรม ที่แสดงให้เห็นถึงการใช้ประโยชนและสามารถแสดงผล ์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นต่อชุมชน ท้องถิ่นหรือองค์กร ●มิติพาณิชย์ หมายถึง การน าผลงานวิจัยไปพฒนาหรือปรับปรุงกระบวนการ หรือผลิต ัและจ าหน่าย ในภาคการผลิตและอุตสาหกรรม และ

6822.2 ผลงานวิจัยที่น าไปสู่การจัดท าผลิตภัณฑ์วิชาการตามมาตรฐานของกรมควบคุมโรค (เช่น คู่มือ แนวทาง หลักสูตร มาตรฐาน เป็นต้น) เพอลดปัจจัยเสี่ยง ลดความเจ็บป่วย ลดการเสียชีวิตหรือท าให้การจัดการแผนงานื่ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุ้มค่า เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน หมายเหตุ: การค านวณค่าเป้าหมายคิดจากผลงานวิจัยที่ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ในปีงบประมาณนั้น ๆ 3) นวัตกรรม (Innovation) (อ้างอิงจากสานกนวัตกรรมแหงชาต) หมายถง แนวคด กระบวนการ หรือั่ิึิผลิตภัณฑ์ที่เป็นสิ่งใหม่ เกิดจากการใช้ความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ สิ่งใหม่ในที่นี้คือไม่เคยมีผู้ใดท ามาก่อน หรือเคยท ามาแล้วในอดีต แต่น ามาพฒนาจากของเก่าที่มีอยู่เดิม ช่วยให้การท างานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงักว่าเดิม แต่ต้องไม่ใช่เกิดจากการลอกเลียนแบบหรือการท าซ้ า 4) ผลงานนวัตกรรมที่น าไปใช้ประโยชน์ หมายถึง 4.1 ประโยชน์ด้านการพัฒนางาน ได้แก่ แก้ปัญหาและข้อติดขัดในการปฏิบัติงานปรับปรุงงานให้ดีขึ้นกว่าเดม สามารถจดทาผลตภัณฑวิชาการ (เช่น คู่มือ แนวทาง หลักสูตร มาตรฐาน เป็นต้น) เพอเป็นแหล่งอางองที่ใช้ในิัิ์ื่้ิการปฏิบัตงานใช้ในการตัดสนใจเพ่อประกอบการก าหนดนโยบาย กาหนดวิธีการทางานและมาตรการตางๆ ด้านการิิื่ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพฯลฯ 4.2 ประโยชน์ด้านการพฒนาบุคลากร ได้แก่ น าองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ในการท างานและเกิดเป็น ัองค์ความรู้ใหม่ น าไปถ่ายทอดหรือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการท างานของบุคลากรหรือขององค์กร 4.3 ประโยชน์ด้านสังคม/ชุมชน/ ได้แก การถ่ายทอดความรู้ให้ชุมชน ท้องถิ่น องคกร (ซึ่งมิใช่หน่วยงาน่์ต้นสังกัดของนักวิจัย/หน่วยงานให้ทุน) หรือการจัดกิจกรรม ที่แสดงให้เห็นถึงการใช้ประโยชน์และสามารถแสดงผล การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นต่อชุมชน ท้องถิ่นหรือองค์กร 4.4 ประโยชน์ด้านวิชาการ ได้แก่ การถูกอ้างอิงบทความ หรือการตีพิมพ์ในวารสาร 4.5ประโยชน์เชิงพาณิชย์ หมายถึง การน าผลงานนวัตกรรมมาส่งต่อหรือขยายได้ในเชิงพาณิชย์ (Commercial) ได้จนผลงานนวัตกรรมบางอย่างอาจสามารถต่อยอดเป็นการพัฒนานวัตกรรมรูปแบบธุรกิจใหม่ๆ (Business Model Innovation) ได้ในที่สุด5)นักวิจัย กรมควบคุมโรค หมายถึง บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรคที่ด าเนินการค้นคว้าหาความรู้อย่าง เป็นระบบ โดยแบ่งออกเป็น 4 ระดับดังนี้ 6)ตารางที่ 3 ระดับศักยภาพนักวิจัยของกรมควบคุมโรค ระดับ ชื่อเรียก ค าอธิบาย และเกณฑ ์บทบาทที่คาดหวง ั1 นักวิจัยฝึกหัด อยู่ระหว่างฝึกฝน พัฒนาทักษะด้านวิจัย 1. มีความรู้ความเข้าใจในการท าวิจัยได้เป็นและเก็บเกี่ยวประสบการณ์ในการท าวิจัยร่วมกับนักวิจัยในระดับต่าง ๆ เกณฑ์ปริมาณ 1. เป็นผู้ร่วมวิจัยอย่างน้อย 1 เรื่อง แต่ยังไม่เคยเป็นผู้วิจัยหลัก (PI) หรือผู้วิจัยหลักร่วม (CoPI) อย่างดี 2. ผลิตผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง และมีโอกาสพัฒนาไปเป็นนักวิจัยรุ่นใหม่และ นักวิจัยรุ่นกลาง ต่อไปได้ 2 นักวิจัยรุ่นใหม่ เป็นนักวิจัยที่ยังมีประสบการณ์น้อย เกณฑ์ปริมาณ 1. เป็นผู้วิจัยหลัก (PI) หรือผู้วิจัยหลักร่วม 1. ผลิตผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง และมีโอกาสพัฒนาไปเป็นนักวิจัยรุ่นกลางและ นักวิจัยอาวุโสต่อไป

683ระดับ ชื่อเรียก ค าอธิบาย และเกณฑ ์บทบาทที่คาดหวง ั(coPI) ในโครงการวิจัยขนาดเล็ก ที่ไม 2. เป็นพี่เลี้ยงนักวิจัยฝึกหัดได้ ่มีความซับซ้อนมากนัก อย่างน้อย 1 เรื่อง และ 2. มีผลงานวิจัยตีพิมพในวารสารที่มีผู้์ทบทวนโดย เป็นชื่อแรกหรือ corresponding author อย่างน้อย 1 ฉบับ 3. มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย 3 นักวิจัยรุ่นกลาง เป็นนักวิจัยที่มีองค์ความรู้พื้นฐานด้านวิจัยเป็นอย่างดี และมีผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์แล้ว โดยเป็นงานวิจัยเพื่อหาองค์ความรู้ใหม่อย่างแท้จริง เกิดผลกระทบในสังคมวงกว้าง เกณฑ์ปริมาณ 1. เป็นผู้วิจัยหลัก (PI) หรือผู้วิจัยหลักร่วม 4. มีการสร้างเครือข่ายนักวิจัยกับหน่วยงานอื่น (coPI) ในโครงการวิจัยอย่างน้อย 5 เรื่อง และ2. มีผลวิจัยตีพิมพ์ในวารสารที่มีผู้ทบทวน โดย เป็นชื่อแรกหรือ corresponding author อย่างน้อย 5 บทความ เกณฑ์คุณภาพ 3. ผลงานในข้อ 2 มีอย่างน้อย 3 บทความที่เผยแพร่ในวารสารระดับชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI ระดับ 1 ในปีที่ตีพมพ์ ิหรือ4. ผลงานในข้อ 2 มีอย่างน้อย 1 บทความที่เผยแพร่ในวารสารนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com) อันดับควอไทล์ที่ 1-3 (Q1-Q3) หรือฐานข้อมูล ISI Web of Science หรือฐานข้อมูล Scopus ในปีที่ตีพมพ ิ์1. ผลิตผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง และมีโอกาสพัฒนาไปเป็นนักวิจัยอาวุโส 2. สร้างทีมนักวิจัย เป็นพี่เลี้ยงนักวิจัยหรือที่ปรึกษาให้กับนักวิจัยฝึกหัด และนักวิจัยรุ่นใหม่ได้ 3. มีการเผยแพร่ผลงานวิจัยระดับนานาชาติ

684ระดับ ชื่อเรียก ค าอธิบาย และเกณฑ ์บทบาทที่คาดหวง ั4 นักวิจัยอาวุโส เป็นนักวิจัยชั้นน าที่มีผลงานโดดเด่นเป็นที่ 1. เป็นผู้วิจัยในโครงการวิจัยขนาดใหญ่ ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ มีจริยธรรมที่ดี มีคุณสมบัติเหมาะสมที่ 2. สร้างทีมนักวิจัย เป็นพี่เลี้ยงนักวิจัยหรือที่จะเป็นหัวหน้าทีมวิจัย สามารถพัฒนาทีมงาน พัฒนาผลงานและพฒนานักวิจัยัรุ่นใหม่ เกณฑ์ปริมาณ 1. เป็นผู้วิจัยหลัก (PI) หรือผู้วิจัยหลักร่วม 4. สามารถแกไขปัญหาและ/หรือเพมขีด(coPI) ในโครงการวิจัย อย่างน้อย 10 เรื่อง และ2. มีผลงานวิจัยตีพิมพในวารสารที่มีผู้์ทบทวนโดย เป็นชื่อแรกหรือ corresponding author อย่างน้อย 10 บทความ เกณฑ์คุณภาพ 3. ผลงานในข้อ 2 มีอย่างน้อย 3 บทความที่เผยแพร่ในวารสารนานาชาติที่ปรากฎในฐานข้อมูล การจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank : www.scimagojr.com) อันดับควอไทล์ที่ 1-3 (Q1-Q3) หรือฐานข้อมูล ISI Web of Science หรือฐานข้อมูล Scopus ในปีที่ตีพมพ์ ิและ4. ผลงานในข้อ 2 มี อย่างน้อย 1 เรื่อง ที่มีการใช้ประโยชน์ตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการยุทธศาสตร์การวิจัย การควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ก าหนด ที่มี high impact ปรึกษาให้กับนักวิจัยฝึกหัด, นักวิจัยรุ่นใหม่ และนักวิจัยรุ่นกลางได้ 3. มีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ หรือจดสิทธิบัตร ้ิ่ความสามารถในการวิจัยให้กับกรมควบคุมโรคได ้5. ผลักดันให้เกิดงานวิจัยแบบมุ่งเป้า (target - based research) ที่น าไปสู่การแก้โจทย์ ที่เป็นปัญหาเร่งด่วนได้ 6. ขยายเครือข่ายนักวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ 7) นวัตกร (innovator) หมายถึง ผู้ริเริ่มประดิษฐ์คิดค้น สร้างสรรค์ หรือสนับสนุนให้เกิดเทคนิควิธีการ รูปแบบ เครื่องมือ กระบวนการ หรือผลงาน ให้เกิดเป็นนวัตกรรมส าหรับใช้ประโยชน์กับตนเอง หน่วยงาน หรือองค์การ เพอช่วยื่ให้การท างานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ประเภทนวัตกร ตามแนวทางของกรมควบคุมโรค สามารถแบ่งได้ดังนี้

6851.1นวตกรกระบวนการั (Basic Process Innovator) หมายถึง ผู้ที่ผ่านการอบรมและอยู่ในฐานข้อมูลนวัตกรของกองนวัตกรรมและวิจยในหลักสูตรการพฒนา ที่ท าให้เกิดทัศนคติและทักษะที่เหมาะสมกับการสร้างสรรค์ผลงานัันวัตกรรม ที่จัดขึ้นจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ส านักงานคณะกรรมการพฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ัสานักงานนวัตกรรมแห่งชาต หลกสตรนวัตกรกระบวนการกรมควบคมโรค องคกร หรือหน่วยงานทดแลดานการพฒนาิัูุ์ี ู่้ัผลงานนวัตกรรมของสถาบันอุดมศึกษา หรือ ศูนย์พัฒนานวัตกรรมอื่น ๆ โดยตัวอย่างเนื้อหาของหลักสูตร อาทิ -แนวคิดกระบวนการสร้างพัฒนาระบบงานนวัตกรรม -แนวคิดเชิงออกแบบ หรือ แนวคิดสร้างสรรค์ต้นแบบนวัตกรรม เช่น Design Thinking, Sprint, Scamper model เป็นต้น -การสร้างวัฒนธรรมองค์กรสู่องค์กรนวัตกรรม -การใช้เทคโนโลยีเพอการพัฒนานวัตกรรม ื่-การพัฒนานวัตกรรมเชิงพาณิชย์ และการจดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร หรือหลกสตรอนตามทผานการพจารณาจากคณะกรรมการหรือคณะทางานทกรมควบคมโรคมอบหมาย ัูื ่ี ่่ิี ุ่โดยผู้ผ่านการอบรมจากหลักสูตรต่างๆ หากประสงค์ขนทะเบียนนวัตกรของกรมฯ สามารถแนบใบประกาศฯ หรือหนังสือึ้รับรองการผ่านการอบรมเสนอผ่านกองนวัตกรรมและวิจัยฯ 1.2นวตกรผู้สอน/สนับสนุนั (innovator coacher) หมายถึง นวัตกรที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการพฒนาทักษะที่สามารถถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ และสามารถสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรมให้เป็นที่ยอมรับ โดยัหลักสูตรของการอบรมมีความเข้มข้นหรือมีความหลากหลายกว่าหลักสูตรของนวัตกรกระบวนการ และนวัตกรผู้สอนนี้ต้องเคยพัฒนาผลงานนวัตกรรม หรือร่วมในการพัฒนาผลงานนวัตกรรมจนเป็นที่ยอมรับ รวมทั้งเป็นผู้ผลักดันให้มีการน าความคิดใหม่มาประยุกต์ใช้ โดยนวัตกรผู้สอนนี้จะบันทึกไว้ในฐานขอมลนวัตกรของกรมควบคมโรค โดยสามารถเสนอูุ้รายชือ ประกอบกับแนบใบประกาศฯ หรือหนงสอรับรองการผานการอบรมในหลกสตรตางๆผานการพจารณาจาก่ัื่ัู่่ิคณะกรรมการ หรือคณะท างานที่กรมควบคุมโรคมอบหมาย บุคลากรกลุ่มนี้อาจเป็นผู้บริหาร บุคลากร หรือ ผู้ฝึกสอนด้านเทคนิคส าหรับการจัดท า หรือพฒนาผลงานนวัตกรรม มีการถ่ายทอดองค์ความรู้นี้กับทีมงาน หรือบุคลากรอน จนัื่เกิดการขยายตัวของการสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรมได้ 1.3นวตกรสร้างสรรค์ผลงาน ั(idea generator)/ เป็นผู้ที่มีความคิดใหม่ ๆ มักจะเป็นผู้ที่สามารถวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ สามารถพฒนาผลิตภัณฑ์ บริการ หรือ กระบวนงานที่เป็นแนวคิดของตัวเอง ให้เป็นแนวคิดใหม่ได้ มีความัเชี่ยวชาญเทคโนโลยีใหม่ หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ จนสามารถพฒนาเกิดเป็นนวัตกรรมตามความหมายที่กรมควบคุมโรคัก าหนดโดยมีผู้น าไปใช้หรือต่อยอดอย่างแพร่หลาย มีผลงานนวัตกรรมซึ่งเป็นที่ยอมรับในเวทีวิชาการทั้งในระดับองค์การ นวัตกรรมในระดับเขต ระดับประเทศ หรือ ระดับนานาชาติ หรือเกณฑ์ผลงานนวัตกรรมตามเกณฑ์ที่พจารณาผ่านิคณะกรรมการหรือคณะท างานที่กรมควบคุมโรคก าหนด/หรือนวัตกร ที่เป็นผู้ประกอบการ สร้างประโยชน์เชิงพาณิชย์ (Startup) โดยอาจสามารถพฒนาผลงานนวัตกรรมจนสามารถจดทรพยสนทางปญญา เช่น สทธิบตร หรอเครองหมายัั์ิัิัืื ่ทางการค้าให้กับผลิตภัณฑ์ได้

6863. มาตรการ เป้าหมาย พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย (Setting) ตารางที่ 4 มาตรการ เป้าหมาย ตัวชี้วัดนวัตกรรมและวิจัยปี 2561 - 2565 มาตรการ/ตัวชี้วัด ผลการด าเนินงานเป้าหมายตัวชี้วัดมาตรการปี 2561ปี 2562ปี 2563ปี 2564ปี 2565เป้าหมายผลงานเป้าหมายผลงานส่วนกลางระดับเขตส่วนกลางระดับเขตส่วนกลางระดับเขตมาตรการที่ 1: ขับเคลื่อน และด าเนินการเพื่อเพิ่มการพัฒนานวัตกรรมและวิจัยในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพตัวชี้วัดที่ 1:จ านวนนวัตกรรมที่ด าเนินการแล้วเสร็จตามแผน 41 เรื่อง 41 เรื่อง 29 เรื่อง 12 เรื่อง 29 เรื่อง 12 เรื่อง 29 เรื่อง 12 เรื่อง ตัวชี้วัดที่ 2: จ านวนนวัตกรรมต่อยอดระดับกรมขึ้นไปด าเนินการได้ตามแผน------เป็นตัวชี้วัดใหม่ เริ่มปี 2564-- 4 เรื่อง 4 เรื่อง ตัวชี้วัดที่ 3: จ านวนโครงการวิจัยทุกประเภทที่ด าเนินการแล้วเสร็จตามแผน 27 เรื่อง 30 เรื่อง 27 เรื่อง 30 เรื่อง ภาพรวม 27 เรื่อง ภาพรวม 27 เรื่อง ภาพรวม 27 เรื่อง ตัวชี้วัดที่ 4: จ านวนโครงการวิจัยที่ตอบโจทย์ความต้องการเร่งด่วนของกรมฯ1----เป็นตัวชี้วัดใหม่ เริ่มปี 2564-- 3 เรื่อง 3 เรื่อง ตัวชี้วัดที่ 5 : จานวนโครงการวิจัย พัฒนานวัตกรรมใหม่ หรือ ข้อตกลงความร่วมมือใหม่ที่ท าร่วมกับเครือข่ายนอกกรมคุื่210 13 10 10 10 โครงการ/ข้อตกลงความร่วมมือ 10 โครงการ/ข้อตกลงความร่วมมือ 10 โครงการ/ข้อตกลงความร่วมมือ มาตรการที่ 2 ผลักดัน และส่งเสริมการน าผลงานนวัตกรรมและวิจัยที่มีมาตรฐาน ไปใช้ประโยชน์ในการป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพอยตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของนวัตกรรมที่ได้น าไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม ในการร้อยละ 20 ร้อยละ 58.5 ร้อยละ 25 ร้อยละ 82.9 ภาพรวม ร้อยละ 30 ภาพรวม ร้อยละ 35 *นวัตกรรมระดับกรมภาพรวม ร้อยละ 40 *นวัตกรรมระดับกรม1 นับจ านวนโครงการที่ด าเนินการตามโจทย์วิจัยมุ่งเป้าที่กรมควบคุมโรคประกาศในแต่ละปี รายงานตามปีที่เริ่มด าเนินงาน 2 ปี 2564-2565 เปลี่ยนชื่อตัวชี้วัดจาก “จ านวนเครือข่ายใหม่ภายในประเทศและต่างประเทศ ที่มีกิจกรรมหรือโครงการร่วมหรือข้อตกลงความร่วมมือในการสนับสนุนงานพัฒนานวัตกรรมและเป็น “จ านวนโครงการวิจัย พัฒนานวัตกรรมใหม่ หรือ ข้อตกลงความร่วมมือใหม่ที่ท าร่วมกับเครือข่ายนอกกรมควบคุมโรค ภายในประเทศหรือต่างประเทศ”

687มาตรการ/ตัวชี้วัด ผลการด าเนินงานเป้าหมายตัวชี้วัดมาตรการปี 2561ปี 2562ปี 2563ปี 2564ปี 2565เป้าหมายผลงานเป้าหมายผลงานส่วนกลางระดับเขตส่วนกลางระดับเขตส่วนกลางระดับเขตป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพฯ 2 เรื่อง ฯ 3 เรื่อง ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของผลงานวิจัยที่ได้น าไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม ในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพร้อยละ 25 ร้อยละ 80.7 ร้อยละ 30 ร้อยละ 63.9 ภาพรวม ร้อยละ 35 ภาพรวม ร้อยละ 40 ภาพรวม ร้อยละ 45 มาตรการที่ 3 เร่งรัดพัฒนาศักยภาพด้านบุคลากร และระบบสนับสนุนของกรมควบคุมโรค ส าหรับการพัฒนานวัตกรรมและวิจัยตัวชี้วัดที่ 1 : จ านวนบุคลากรที่มีศักยภาพด้านการพัฒนานวัตกรรม3ยังไม่มีการจัดเก็บ 68 ราย 138 ราย ▪ส านัก/สถาบัน/สคร. หน่วยงานล▪หน่วยสนับสนุนหน่วยงานละ 1 คน รวมนวัตกรกระบวนการ 120 คน (สะสม 258 คน) ▪ส านัก/สถาบัน/สคร หน่วยงานละ 2 คน ▪หน่วยสนับสนุนหน่วยงานละ 1 คน -นวัตกรกระบวนการ 100 คน(สะสม 373 คน )-นวัตกรผู้สอน/สนับสนุน 15 คน -นวัตกรสร้างสรรค์ผลงาน ร้อยละ 5 ของบุคลากรทั้งหมด ▪ส านัก/สถาบัน/สคร หน่วยงานละ 2 คน ▪หน่วยสนับสนุนหน่วยงานละ 1 คน -นวัตกรกระบวนการ 100 คน (สะสม 468 คน) -นวัตกรผู้สอน/สนับสนุน อย่างน้อยหน่วยงานละ 1 คน -นวัตกรสร้างสรรค์ผลงาน 5 ร้อยละ 5 ของบุคลากรทั้งหมด ตัวชี้วัดที่ 2 : จ านวนบุคลากรที่มีศักยภาพด้านการวิจัย482 คน 106 คน 82 คน 146 คน -ส านัก/สถาบัน/สคร ภาพรวมกรม -นักวิจัยอาวุโส 15 คน ภาพรวมกรม -นักวิจัยอาวุโส 20 คน 3 มาตรการที่ 3 ตัวชี้วัดที่ 1 ปี 2564 – 2565 ผลงานการพัฒนาศักยภาพบุคลากร นับ 1 คน ต่อ 1 ประเภท (ไม่นับซ้ า) ปี 2564-2565 ตั้งค่าเป้าหมายตามประเภทนวัตกร

688มาตรการ/ตัวชี้วัด ผลการด าเนินงานเป้าหมายตัวชี้วัดมาตรการปี 2561ปี 2562ปี 2563ปี 2564ปี 2565เป้าหมายผลงานเป้าหมายผลงานส่วนกลางระดับเขตส่วนกลางระดับเขตส่วนกลางระดับเขตหน่วยงานละ 3 คน -หน่วยสนับสนุนหน่วยงานละ 2 คน -นักวิจัยรุ่นกลาง ร้อยละ 10 ของบุคลากรทั้งหมด -นักวิจัยฝึกหัด ร้อยละ 20 ของบุคลากรทั้งหมด ส านัก/สถาบัน/สคร. -นักวิจัยรุ่นกลาง ร้อยละ 10 ของบุคลากรทั้งหมด -นักวิจัยฝึกหัด ร้อยละ 20 ของบุคลากรทั้งหมด หน่วยสนับสนุน -นักวิจัยรุ่นกลาง ร้อยละ 5 ของบุคลากรทั้งหมด -นักวิจัยฝึกหัด ร้อยละ 10 ของบุคลากรทั้งหมด-นักวิจัยรุ่นกลาง ร้อยละ 12 ของบุคลากรทั้งหมด -นักวิจัยฝึกหัด ร้อยละ 25 ของบุคลากรทั้งหมด ส านัก/สถาบัน/สคร. -นักวิจัยรุ่นกลาง ร้อยละ 12 ของบุคลากรทั้งหมด -นักวิจัยฝึกหัด ร้อยละ 25 ของบุคลากรทั้งหมด หน่วยสนับสนุน -นักวิจัยรุ่นกลาง ร้อยละ 5 ของบุคลากรทั้งหมด -นักวิจัยฝึกหัด ร้อยละ 10 ของบุคลากรทั้งหมด4 มาตรการที่ 3 ตัวชี้วัดที่ 2 ในปี 2561 - 2563 ใช้ชื่อว่า “จ านวนบุคลากรที่มีศักยภาพด้านการวิจัยและบริหารจัดการงานวิจัย” วัดผลลัพธ์จากจ านวนผู้ส าเร็จการอบรมทุกหลักสูตรด้านการส าเร็จการอบรมหลายหลักสูตรนับเป็น 1 ราย ตัวชี้วัดนี้เปลี่ยนชื่อเป็น “จ านวนบุคลากรที่มีศักยภาพด้านการวิจัย” และปรับเปลี่ยนเป้าหมายในปี 2564 - 2565 เป็นจ านวนบุคลากรที่มีศักยภาพด้านการวิจัยโดยวัดจากหลักฐานทางวิชาการท ยังไม่ได้ก าหนดเป้าหมายที่ชัดเจน กนว.มีแผนการส ารวจข้อมูลในปี 2563 เพื่อเป็นฐานในการก าหนดเป้าหมายต่อไป

6894. มาตรการและชุดกิจกรรม มาตรการ/ตัวชี้วัด พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย ชุดกิจกรรม ระยะเวลาด าเนินการ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต มาตรการที่ 1: ขับเคลื่อน และด าเนินการเพื่อเพิ่มการพัฒนานวัตกรรมและวิจัยในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพตัวชี้วัดที่ 1:จ านวนนวัตกรรมที่ด าเนินการแล้วเสร็จตามแผน ตัวชี้วัดที่ 2: จ านวนนวัตกรรมต่อยอดระดับกรมขึ้นไปด าเนินการได้ตามแผน ส านัก/สถาบัน/กระดับกรมฯ 1.ประกาศนโยบายการพัฒนาระบบงานนวัตกรรมของกรมควบคุมโรคให้กับทุกหน่วยงานด าเนินการ 2.จัดท า ถ่ายทอด ก ากับ ติดตาม และรายงานตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติราชการ และตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง3.สนับสนุนการด าเนินงานของศูนย์นวัตกรรมด้านการป้องกันควบคุมโรคของกรมควบคุมโรค4.จัดท าระบบและแนวทางการพัฒนาระบบงานนวัตกรรมกรมควบคุมโรค5.สร้างและสนับสนุนให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการด าเนินงานพัฒนานวัตกรรม (Environment Ecosystem)6.สนับสนุนการพัฒนาโครงการสร้างนวัตกรรม ระดับกรมฯ√√√√√√√√√√ระดับหน่วยงาน 1.จัดท าฐานข้อมูลนวัตกรรม ให้เป็น√√√√√√√√√√

690มาตรการ/ตัวชี้วัด พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย ชุดกิจกรรม ระยะเวลาด าเนินการ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ปัจจุบัน อย่างน้อย 5 ปี 2. จัดท าโครงการสร้างหรือพัฒนานวัตกรรมสนับสนุนการป้องกันควบคุมโรค 3. ด าเนินการตามตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติราชการ 4. ก าหนดผู้รับผิดชอบงานนวัตกรรม 5. ก าหนดแผนการด าเนินงานนวัตกรรมของหน่วยงาน และด าเนินงานตามแผน พร้อมรง.ผลการด าเนินงานทุกไตรมาส 6. ประเมินผลการใช้ประโยชน์จากนวัตกรรม (หากแล้วเสร็จ หรือที่ด าเนินการภายใน 1 ปี ) 7. สรุปบทเรียนในภาพรวมของการพัฒนานวัตกรรมประจ าปีงบประมาณ ตัวชี้วัดที่ 3:จ านวนโครงการวิจัยทุกประเภทที่ด าเนินการแล้วเสร็จตามแผน ส านัก/สถาบัน/กอง/ระดับกรมฯ 1.จัดท ายุทธศาสตร์และแผนงานวิจัยด้านการป้องกันควบคุมโรคโดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกกรมฯ2.จัดท า ถ่ายทอด และรายงานตัวชี้วัดค ารับรองการปฎิบัติราชการ ตัวชี้วัดส านักงบประมาณและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง3.รับรองจริยธรรมการวิจัย4.จัดให้มีคลินิกจริยธรรม√√√√√√√√√√

691มาตรการ/ตัวชี้วัด พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย ชุดกิจกรรม ระยะเวลาด าเนินการ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต 5.จัดตั้ง Co Unit ส าหรับประสานงาน วิจัย6.ให้ค าปรึกษาการบริหารงานวิจัย7.จัดให้มีกลไกการทบทวนวิชาการส าหรับโครงการวิจัย 8.สนับสนุน และให้บริการวิชาการ เช่น โปรแกรมวิเคราะห์สถิติ บริการสืบค้นวารสารต่างประเทศ9.นิเทศการบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงานโดยคณะกรรมการยุทธ์ฯ10.ตรวจเยี่ยมโครงการในประเด็นจริยธรรมการวิจัยระดับหน่วยงาน 1.ก าหนดงานวิจัยเป็นนโยบายและตัวชี้วัดของหน่วยงาน2.ก าหนดกลไกเชื่อมโยงการขับเคลื่อนระดับกรมและหน่วยงานในสังกัด เช่น ก าหนดผู้รับผิดชอบ หรือคณะท างานด้านการวิจัยหรือจัดตั้งคลินิกวิจัยของหน่วยงาน เพื่อให้ค าปรึกษาทางวิชาการ บริหารจัดการโครงการ3. ก ากับติดตามการด าเนินงาน และรายงานผลการด าเนินงานให้แก่ผู้บริหาร√√√√√√√√√√

692มาตรการ/ตัวชี้วัด พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย ชุดกิจกรรม ระยะเวลาด าเนินการ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต และแหล่งทุนอย่างสม่ าเสมอ 4.เลือกโจทย์วิจัยจากแผนงานวิจัย กรมควบคุมโรค หรือวิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหา ช่องว่างจากการท างานประจ า เพื่อตั้งโจทย์วิจัยในการพัฒนางาน 5.จัดท าโครงร่างการวิจัยให้มีคุณภาพ6.ส่งโครงร่างวิจัยเสนอรับรองจริยธรรมการวิจัยฯให้ได้รับการรับรองฯ7.ด าเนินการวิจัยตามแผน8.รับการนิเทศ/ตรวจเยี่ยม (ถ้ามี)9.รายงานผลการด าเนินงานในระบบ Estimate SM รายไตรมาส10.จัดท ารายงานความก้าวหน้ากรณีก าหนดแผนการด าเนินงานเกินปีงบประมาณหรือรายงานฉบับสมบูรณ์ กรณีก าหนดแผนการด าเนินงานแล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ 11.น าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมตามแผนที่วางไว้ เช่น จัดท าสรุป ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย นาเสนอผูบริหาร้้หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การตีพิมพ์ในวารสารหรือการน าเสนอในการประชุมวิชาการ เป็นต้น

693มาตรการ/ตัวชี้วัด พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย ชุดกิจกรรม ระยะเวลาด าเนินการ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ตัวชี้วัดที่ 4:จ านวนโครงการวิจัยที่ตอบโจทย์ความต้องการเร่งด่วนของกรมฯทุกหน่วยงานระดับกรมฯ 1.ก าหนดโจทย์วิจัยมุ่งเป้าประจ าปี2.ก าหนดและประสานหาทีมวิจัย โดย บูรณาการเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกกรมควบคุมโรค 3.ก ากับ ติดตามความก้าวหน้า และรายงานผลการด าเนินงานแก่ผู้บริหารและแหล่งทุน 4.จัดท า ถ่ายทอด และรายงานตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติราชการ 5.ประสานหาแหล่งทุนวิจัย 6.รับรองจริยธรรมการวิจัย 7.บริหารจัดการโครงการวิจัยร่วมกับหน่วยงาน 8.สนับสนุน และให้บริการวิชาการ เช่น จัดหาที่ปรึกษางานวิจัย หรือพี่เลี้ยงโปรแกรมวิเคราะห์สถิติ บริการสืบค้นบทความวิชาการฉบับเต็ม 9.นิเทศการบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงานโดยคณะกรรมการยุทธ์ฯ 10.ตรวจเยี่ยมโครงการในประเด็นจริยธรรมการวิจัย 11.สนับสนุนการจัดท าข้อเสนอเชิงนโยบาย √√√√√√√√√√

694มาตรการ/ตัวชี้วัด พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย ชุดกิจกรรม ระยะเวลาด าเนินการ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต และเวทีเผยแพร่ผลงานระดับหน่วยงาน 1.ก าหนดงานวิจัยเป็นนโยบายและตัวชี้วัดของหน่วยงาน2.สนับสนุนกลไกขับเคลื่อนงานวิจัยระดับกรมและหน่วยงาน เช่น ก าหนดทีมวิจัย อ านวยความสะดวกด้านเวลาท างาน เครื่องมืออุปกรณ์สนับสนุนการท าวิจัย3.มีส่วนร่วมในการจัดท าโครงร่างการวิจัยให้มีคุณภาพ ตลอดจนผ่านการรับรอง EC4.ด าเนินการวิจัยตามแผน5.รับการนิเทศ/ตรวจเยี่ยม (ถ้ามี)6.รายงานผลการด าเนินงานในระบบ Estimate SM รายไตรมาส7.จัดท ารายงานความก้าวหน้ากรณีก าหนดแผนการด าเนินงานเกินปีงบประมาณ หรือรายงานฉบับสมบูรณ์ กรณีก าหนดแผนการด าเนินงานแล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ --√√√√

695มาตรการ/ตัวชี้วัด พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย ชุดกิจกรรม ระยะเวลาด าเนินการ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ตัวชี้วัดที่ 5 :จ านวนโครงการวิจัย พัฒนานวัตกรรมใหม่ หรือ ข้อตกลงความร่วมมือใหม่(ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม)ที่ด าเนินการร่วมกับเครือข่ายภายนอก ทั้งภายในประเทศหรือต่างประเทศระดับกรม1. รวบรวมข้อมูลโครงการวิจัย พัฒนานวัตกรรมใหม่ หรือ ข้อตกลงความร่วมมือใหม่(ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม)ที่ด าเนินการร่วมกับเครือข่ายภายนอก ทั้งภายในประเทศหรือต่างประเทศ 2. จัดท าฐานข้อมูล 3. จัดระบบ หรือวางแนวทางการด าเนินงานกระบวนการจัดท าข้อตกลงความร่วมมือ 4. จัดท าท าเนียบเครือข่ายความร่วมมือ 5. ด าเนินการจัดท าข้อตกลงความร่วมมือด้านวิจัยหรือนวัตกรรมระดับกรม √√√√√√√√√√ระดับหน่วยงาน 1. รวบรวมข้อมูลโครงการวิจัย พัฒนานวัตกรรมใหม่ หรือ ข้อตกลงความร่วมมือใหม่(ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม)ที่ด าเนินการร่วมกับเครือข่ายภายนอก ทั้งภายในประเทศหรือต่างประเทศ 2. จัดท าฐานข้อมูลและท าท าเนียบเครือข่าย 3. รายงานข้อมูลให้กองนวัตกรรมและวิจัยรวบรวมเป็นภาพรวมกรม√√√√√√√√√√

696มาตรการ/ตัวชี้วัด พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย ชุดกิจกรรม ระยะเวลาด าเนินการ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต มาตรการที่ 2 ผลักดัน และส่งเสริมการน าผลงานนวัตกรรมและวิจัยที่มีมาตรฐาน ไปใช้ประโยชน์ในการป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของนวัตกรรมที่ได้น าไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมในการป้องกันควบคุมโรคและภัยฯส านัก/สถาบัน/กระดับกรมฯ 1.ก าหนดและประเมินและรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์กรม2.รวบรวมผลการน านวัตกรรมที่น าไปใช้ประโยชน์เป็นภาพรวม3.จัดท าฐานข้อมูลนวัตกรรมกรมควบคุมโรค4.เผยแพร่บนคลังความรู้กรมฯ5.สนับสนุนการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาของผลงานกรมควบคุมโรค 4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 6.สนับสนุนการต่อยอดผลงานนวัตกรรม เช่น ขับเคลื่อนนโยบาย เชิงพาณิชย์ ประสิทธิภาพการท างาน เป็นต้น√√√√√√√√√√ระดับหน่วยงาน 1.ประเมินมาตรฐานผลิตภัณฑ์กรม2.รวบรวมผลการน านวัตกรรมที่น าไปใช้ประโยชน์ของหน่วยงาน3.จัดท าฐานข้อมูลนวัตกรรมของหน่วยงาน4.เผยแพร่บนคลังความรู้ของหน่วยงาน5.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือสนับสนุนการต่อยอดผลงานนวัตกรรมของหน่วยงาน √√√√√√√√√√

697มาตรการ/ตัวชี้วัด พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย ชุดกิจกรรม ระยะเวลาด าเนินการ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของผลงานวิจัยที่ได้น าไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม ในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพส านัก/สถาบันฯ,ระดับกรมฯ 1.สนับสนุนการจัดท าข้อเสนอเชิงนโยบาย และเผยแพร่ผลงานวิจัยแก่กลุ่มเป้าหมาย2.สร้างความเข้มแข็งแนวทางการส่งเสริมและก ากับคุณภาพผลงานวิจัยหรือวิชาการก่อนการเผยแพร่ (DDC Clearance) 3.จัดให้มีระบบตรวจสอบการลอกเลียนผลงานวิชาการ4.จัดท าวารสารควบคุมโรค5.ส่งเสริมวารสารวิชาการกรมควบคุมโรคเพื่อยกระดับผลงานวิชาการให้อยู่ในกลุ่ม 1 ตามศูนย์ดัชนีอ้างอิงภาษาไทย (Thailand Citation Index: TCI) 6.พัฒนาคลังความรู้ด้านการป้องกันควบคุมโรค 7.จัดเวทีวิชาการ สนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยในวงกว้าง 8.มีกลไกยกย่องเชิดชูผู้สร้างผลงานวิชาการดีเด่น (DDC Awards) สาขาวิจัย สาขานวัตกรรม สาขาผลิตภัณฑ์หลัก สาขาจัดการความรู้ สาขาประสานงานวิชาการ √√√√√√√√√√

698มาตรการ/ตัวชี้วัด พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย ชุดกิจกรรม ระยะเวลาด าเนินการ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ระดับหน่วยงาน 1.ทบทวนสถานการณ์การน า ผลงานวิจัยของหน่วยงานไปใช้ประโยชน์ โดยศึกษาจากผลงานวิจัยย้อนหลัง 3 ปี โดยวิเคราะห์ว่า ●มีผลงานวิจัยเรื่องใดบ้างที่น าไปใช้ประโยชน์ น าไปใช้ในด้านใดบ้าง และผลเป็นอย่างไร ●เรื่องใดบ้างที่ยังไม่ได้น าไปใช้ประโยชน์ พร้อมทั้งระบุเหตุผลว่าเพราะอะไรจึงยังไม่ได้น าไปใช้ประโยชน์ มีปัญหาอุปสรรคอะไร 2.วางแผนส่งเสริมการน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ 3.รายงานผลการด าเนินงาน 4.จัดให้มีแนวทางการส่งเสริมและก ากับคุณภาพผลงานวิจัยหรือวิชาการก่อนการเย แ พ ร่ (DDC Clearance) ภา ยในหน่วยงาน (1) 5.จัดให้มีระบบตรวจสอบการลอกเลียนผลงานวิชาการ 6. เข้าร่วมเครือข่ายวารสารวิชาการภายในหน่วยงานกรมควบคุมโรค เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ใช้ทรัพยากรร่วมกัน และให้√√√√√√√√√√

699มาตรการ/ตัวชี้วัด พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย ชุดกิจกรรม ระยะเวลาด าเนินการ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต การสนับสนุนวิชาการซึ่งกันและกัน เพื่อให้วารสารในหน่วยงานของตนเอง (ถ้ามี) อยู่ในกลุ่ม 1 ตามศูนย์ดัชนีอ้างอิงภาษาไทย (Thailand Citation Index: TCI)7. น าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมตามแผนที่วางไว้ เช่น จัดท าบทสรุปผู้บริหารหรือข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย น าเสนอผู้บริหารหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การตีพิมพ์ในวารสารหรือการน าเสนอในการประชุมวิชาการ เป็นต้น มาตรการที่ 3 เร่งรัดพัฒนาศักยภาพด้านบุคลากร และระบบสนับสนุนของกรมควบคุมโรค ส าหรับการพัฒนานวัตกรรมและวิจัยตัวชี้วัดที่ 1 : จ านวนบุคลากรที่มีศักยภาพด้านนวัตกรรม ส านัก/สถาบัน หน่วยงานละ 2 คน หน่วยสนับสนุน หน่วยงานละ 1 คน ระดับกรมฯ 1.ประกาศนโยบายการพัฒนาระบบงานนวัตกรรมของกรมควบคุมโรคให้กับทุกหน่วยงานด าเนินการ 2.จัดท า ถ่ายทอด ก ากับ ติดตาม และรายงานตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดส านักงบประมาณ และตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง3.จัดตั้งศูนย์นวัตกรรมด้านการป้องกันควบคุมโรคของกรม4.จัดท าระบบและแนวทางการพัฒนาระบบงานนวัตกรรมกรม√√√√√√√√√√

700มาตรการ/ตัวชี้วัด พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย ชุดกิจกรรม ระยะเวลาด าเนินการ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต 5.สร้างและสนับสนุนให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการด าเนินงานพัฒนานวัตกรรม (Environment Ecosystem)6.สนับสนุนการพัฒนาโครงการสร้างนวัตกรรม ระดับกรมระดับหน่วยงาน 1.จัดท าฐานข้อมูลนวัตกรรม ให้เป็นปัจจุบัน อย่างน้อย 5 ปี 2. จัดท าโครงการสร้างหรือพัฒนานวัตกรรมสนับสนุนการป้องกันควบคุมโรค 3. ด าเนินการตามตัวชี้วัดค ารับรองการปฏิบัติราชการ 4. ก าหนดผู้รับผิดชอบงานนวัตกรรม 5. ก าหนดแผนการด าเนินงานนวัตกรรมของหน่วยงาน และด าเนินงานตามแผน พร้อมรายงานผลการด าเนินงานทุกไตรมาส 6. ประเมินผลการใช้ประโยชน์จากนวัตกรรม (หากแล้วเสร็จหรือที่ด าเนินการภายใน 1 ปี) 7. สรุปบทเรียนในภาพรวมของการพัฒนานวัตกรรมประจ าปี √√√√√√√√√√ตัวชี้วัดที่ 2 : จ านวนบุคลากรที่มีศักยภาพด้านภาพรวมกรมฯ ▪นักวิจัยอาวุโส ระดับกรมฯ 1.จัดท าระบบการขึ้นทะเบียน และท าเนียบนักวิจัยที่มีศักยภาพด้านการวิจัย 4 ระดับ√√√√√√√√√√

701มาตรการ/ตัวชี้วัด พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย ชุดกิจกรรม ระยะเวลาด าเนินการ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต ส่วนกลาง เขต การวิจัย 15 คน ▪นักวิจัยรุ่นกลาง ร้อยละ 10 ของบุคลากรทั้งหมด ▪นักวิจัยฝึกหัด ร้อยละ 20 ของบุคลากรทั้งหมด 2.จัดท าหลักสูตรพัฒนาทักษะการวิจัยที่เหมาะสมกับนักวิจัยฝึกหัดและนักวิจัยรุ่นใหม่3.จัดท าหลักสูตรบริหารจัดการงานวิจัย4.ส่งเสริม ประสานงาน การศึกษาต่อหลังปริญญา เช่น ทุน คปก. เป็นต้น5.จัดให้มีระบบพี่เลี้ยงนักวิจัยระดับหน่วยงาน 1. พัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยและบริหารจัดการงานวิจัยโดยหน่วยงานจัดเองหรือเข้ารวมการพฒนาจากกนว.หรือหน่วยงานอื่น เช่น ่ั●ด้านการวิจัย เช่น การเขียนโครงร่างวิจัย การทบทวนวรรณกรรม ระเบียบวิธีวิจัย การวิเคราะห์และการแปลผล หลักจริยธรรมการวิจัยในคน เป็นต้น ด้านการบริหารจัดการงานวิจัย เช่น หลักเกณฑ์และแนวทางการเบิกจ่ายงบประมาณการวิจัย เป็นต้น 2. ผลักดันบุคลากรให้เพิ่มพูนประสบการณ์และศักยภาพวิจัยมุ่งเป้า โดยให้มีส่วนร่วมในงานวิจัย ตลอดจนมีการน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ 3.จัดท าท าเนียบนักวิจัยของหน่วยงาน ที่แบ่งตามศักยภาพการวิจัย √√√√√√√√√√

7025. แผนการติดตามประเมินผล 5.1 ระดับความส าเร็จของเป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ วิธีการประเมินผล ความถี่ของการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 1. ร้อยละของนวัตกรรมด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เพิ่มขึ้น เปรียบเทียบผลการด าเนินงานกับเป้าหมาย √√√√√กองนวัตกรรมและวิจัย2. ร้อยละของผลงานวิจัยด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น เปรียบเทียบผลการด าเนินงานกับเป้าหมาย √√√√√ประเมินองค์ความรู้ฯที่น าไปใช้ประโยชน์ √√5.2 ระดับความส าเร็จของมาตรการ เป้าหมายตัวชี้วัดมาตรการ วิธีการประเมินผล ความถี่ของการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ปี 2560 ป2561 ป2562 ป2563 ปี 2564 มาตรการที่ 1: ขับเคลื่อน และด าเนินการเพื่อเพิ่มการพัฒนานวัตกรรมและวิจัย ▪ตัวชี้วัดที่ 1: จ านวนนวัตกรรมที่ด าเนินการแล้วเสร็จตามแผน ▪ตัวชี้วัดที่ 2: จ านวนนวัตกรรมต่อยอดระดับกรมขึ้นไปด าเนินการได้ตามแผน ▪ตัวชี้วัดที่ 3: จ านวนโครงการวิจัยทุกประเภทที่ด าเนินการแล้วเสร็จตามแผน ▪ตัวชี้วัดที่ 4: จ านวนโครงการวิจัยมุ่งเป้าที่ด าเนินการแล้วเสร็จตามแผน -เปรียบเทียบผลการด าเนินงานตามแผนตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องจากรายงานผลการด าเนินงานรายไตรมาส รอบ 3 6 9 และ 12 เดือนในระบบ EstimatesSMและการส ารวจประเมินผลการด าเนินงาน √√√√√กองนวัตกรรมและวิจัย รวบรวมในภาพรวม หน่วยงานในสังกัดกรมฯ

703เป้าหมายตัวชี้วัดมาตรการ วิธีการประเมินผล ความถี่ของการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ปี 2560 ป2561 ป2562 ป2563 ปี 2564 มาตรการที่ 2 ผลักดัน และส่งเสริมการน าผลงานนวัตกรรมและวิจัยที่มีมาตรฐาน ไปใช้ประโยชน์ในการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพอย่างเต็มที่ ▪ตัวชี้วัดที่ 1: ร้อยละของนวัตกรรมที่ได้น าไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมในการป้องกันควบคุมโรคและภัย ▪ตัวชี้วัดที่ 2: ร้อยละของผลงานวิจัยที่ได้น าไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ -เปรียบเทียบผลการด าเนินงานตามแผนตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องจากรายงานผลการด าเนินงานรายปีและการส ารวจประเมินผลการด าเนินงาน √√√√√กองนวัตกรรมและวิจัย รวบรวมในภาพรวม หน่วยงานในสังกัดกรมฯมาตรการที่ 3 เร่งรัดพัฒนาศักยภาพด้านบุคลากร และระบบสนับสนุนของกรมควบคุมโรค ส าหรับการพัฒนานวัตกรรมและวิจัย ▪ตัวชี้วัดที่ 1: จ านวนบุคลากรที่มีศักยภาพด้านการพัฒนานวัตกรรม ▪ตัวชี้วัดที่ 2: จ านวนบุคลากรที่มีศักยภาพด้านการวิจัยและบริหารจัดการงานวิจัย รวบรวมผลการด าเนินงานโดยกองนวัตกรรมและวิจัย และการส ารวจประเมินผลการด าเนินงานพัฒนาบุคลากร √√√√√กองนวัตกรรมและวิจัย รวบรวมในภาพรวม หน่วยงานในสังกัดกรมฯ6. หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: กองนวัตกรรมและวิจัย (กนว.) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 7.ผู้จัดการแผนงาน นายแพทย์ปณิธี ธัมมวิจยะ: ผู้อ านวยการกองนวัตกรรมและวิจัยโทร.02 590 3252 E-mail : [email protected]. ที่ปรึกษา: แพทย์หญิงเพชรวรรณ พึ่งรัศมี, นายแพทย์สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์

704อ้างอิง 1. คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. 2016;224. Available from: //www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=6422 2. คณะอนุกรรมการด้านนโยบายและยุทธศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม. (ร่าง) ยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรม 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) 1 [Internet]. สภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ, editor. กรุงเทพมหานคร: บริษัท โคคูน แอนด์ โค จ ากัด; 2560. 152 p. Available from: //www.nrct.go.th/portals/0/downloads/ร่าง-ยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรม20ปี60-79.pdf 3. ส านักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข). 2559;27–43. Available from: //waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/2017/20171117-MinistryofPublicHealth.pdf 4. กองนวัตกรรมและวิจัย. รายงานประจ าปี 2562. Nonthaburi; 316AD. 5. กองแผนงาน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการด าเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพส าหรับพื้นที่ ประจ าปีงบประมาณ 2562 ภายใต้แผนพัฒนาด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580 [Internet]. นนทบุรี; 2561. 400 p. Available from: //waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/2017/20171117-MinistryofPublicHealth.pdf 6. กองนวัตกรรมและวิจัย กรมควบคุมโรค. แผนงานวิจัยด้านการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ พ.ศ. 2562-2564. Nonthaburi; 2562.

7051. สาระส าคัญและประเด็นที่เชื่อมโยงกับแผนงาน/โครงการ ระบบสาธารณสุขของประเทศที่มีศักยภาพและความพร้อมมีความส าคัญ เพอส่งเสริมให้เกิดระบบการเฝ้าระวัง ื่ป้องกน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งจ าเป็นต้องมีการพัฒนาระบบเครือข่ายห้องปฏิบัติการสาธารณสุข ั(Public Health Laboratory) เพอสนับสนุนทงดานบริการ ดานวิจัยพฒนา ดานเฝาระวัง ดานปองกนและสอบสวนโรค ื ่ั ้้้ั้้้้ันอกจากการสร้างความเขมแขงในระบบสาธารณสขของประเทศแลว ยงเปนการจดการทรพยากรให้เกดการบริหาร้็ุ้ั็ััิจัดการอย่างทั่วถึงและคุ้มค่า สอดคล้องกับสถานการณ์ ทางระบาด การรักษาโรคและภัยสุขภาพ รวมทั้งสอดคล้องกับบริบทของประเทศ ลดความซ้ าซ้อนของการจัดหาทรัพยากรและพฒนาเทคโนโลยีทางห้องปฏิบัติการของประเทศอย่าง ัมีทิศทางตามแนวทางมาตรฐานสากล ในประเทศที่มีระบบบริการสาธารณสุขที่ดี มีการจัดบริการห้องปฏิบัติการสาธารณสุข (Public Health Laboratory) โดยภาครฐอยางเปนระบบ ด้วยเปาหมายเพ่อการเฝาระวังโรคในประชากร คนหาสาเหตของการเกดโรคั่็้ืุ้้ิและสนับสนุนการสอบสวนโรค ส่งผลให้การป้องกันควบคุมโรคทมีประสิทธิผลเพอลดผลกระทบที่ของการระบาดของโรคี่ื่ตดเชือและโรคไมตดเชือและโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ซึ่งบริการห้องปฏิบัติการสาธารณสุขส่วนใหญ่ิ้่ิ้ไดรับการอดหนนจากภาครัฐมากกว่าการหารายไดจากการเกบคาตรวจจากผรับบริการ ถอเปนการลงทนเพอสาธารณะุุ้้็ู่ ้ื็ุื ่และความมั่นคงด้านสุขภาพ โดยไม่ได้หวังผลก าไร เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องน่าเชื่อถือและรวดเร็ว กรมควบคุมโรคได้พัฒนาแนวคิดระบบการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพให้ครอบคลุม 5 กลุ่มโรค ได้แก่ โรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ โรคติดต่อทางเพศสัมพนธ์ วัณโรค และโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ในมุมมอง 5 มิติ ได้แก่ ัปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยง อตราป่วย/อตราตาย การตรวจจับเหตุการณ์ผิดปกติ และมาตรการป้องกันควบคุมโรค ััเพอใหสามารถจัดการระบบเฝาระวังและการตดตามประเมนผลไดอย่างมประสทธิภาพครบวงจร จากการดาเนนงานื ่้้ิิ้ีิิระบบเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 เป็นต้นมา พบว่า ในแต่ละกลุ่มโรคและในแต่ละ มิตินั้น มีจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอปสรรคที่แตกต่างกัน เช่น การเฝ้าระวังโรคติดต่อที่เป็นลักษณะของกลุ่มอาการ ุ่มีการเก็บตัวอย่างเชื้อเพอยืนยันการวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการไม่เกินร้อยละ 10 ของจ านวนตัวอย่าง อาทิเช่น ื่โรคไข้สมองอักเสบ โรคมือ เท้า ปาก และโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจมีแนวโน้มจ านวนผู้ป่วยสูงเพิ่มขึ้น โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่ทราบสาเหตุการป่วยเกิดจากเชื้ออะไร นับเป็นข้อจ ากัดในการวางแผนการรักษาที่ถูกต้องแม่นย า การจัดการ กับเชื้อที่เป็นสาเหตุการเกิดโรคนั้นมีความล่าช้าได้หากเป็นโรคระบาดส าคัญ นอกจากนั้น กรมควบคุมโรค ก็ไม่สามารถวางแผนหรือก าหนดนโยบายในการป้องกันควบคุมโรคได้อย่างแน่ชัด เนื่องจากไม่มีข้อมูลเพยงพอที่จะยืนยันได้ว่าจ านวนีผู้ป่วยที่เพมสูงขึ้นนั้น เกิดจากเชื้อโรคทสามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนหรือมาตรการควบคุมโรคอน ๆ หรือไม่ มีปัจจัยอะไริ่ี่ื่หรือการเปลี่ยนแปลงของเชื้อที่ท าให้ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต รวมทั้งโรคติดเชื้ออบัติใหม่ที่อาจสร้างความ ุ(ร่าง) ฟอร์ม แผนปฏิบัติราชการเชิงยุทธศาสตร์ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) กรมควบคุมโรค ภายใต้แผนพัฒนาด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) แผนงานพัฒนาเครือข่ายห้องปฏิบัติการสาธารณสุขด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

706ตื่นตระหนกให้กับประชาชนเป็นจ านวนมาก เช่น ความหวาดกลัวของประชาชนเกี่ยวกับการระบาดของโรคเมอร์ส ที่มีรายงานผู้ป่วยในประเทศไทย โดยเหตุผลที่ไม่มการตรวจยืนยันเชื้อก่อโรค หรือมีการตรวจยืนยันเชื้อก่อโรคแต่ไม่เข้าในระบบการรายงานโรคีหรือระบบเฝ้าระวัง อาจเนื่องมาจาก 1. ภาระคาใช้จายสงในการสงตรวจ > ค่าใช้จ่ายนั้นเก็บจากใคร เช่น โรงพยาบาล ผู้ป่วย หรือส านักงานู่่่ป้องกันควบคุมโรค แต่ถ้าโรคนั้นไม่เข้าเกณฑ์การสอบสวนโรคกไม่สามารถเบิกจ่ายได้ ็2. รกษาได้เลยโดยไมต้องรอผลการตรวจทางหองปฏิบติการหรอถงรผลการตรวจแต่ไมมผลต่อแนวทางการั่้ัืึู ้่ีรักษา > มีบางโรคที่แพทย์ในพนที่มีความช านาญก็สามารถรักษาให้หายขาดได้ หรือบางโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส ื้การทราบชนิดของเชื้อไวรัสที่จ าเพาะก็ไม่ส่งผลต่อการรักษาแบบประคับประคอง 3. ความยุ่งยากในการขนส่งตัวอย่างตรวจที่ห้องปฏิบัติการ > ในพนที่ที่เกิดโรค อาจไม่มีห้องปฏิบัติการ ื้ที่สามารถตรวจเชื้อก่อโรคนั้นๆ ได้ ซึ่งหน่วยรักษาพยาบาลหรือหน่วยเฝ้าระวังไม่ทราบว่ามีทใดตรวจได้บ้าง จึงมุ่งเน้นมาที่ี่ห้องปฏิบัติการส่วนกลางและอาจประสบปัญหาในการขนส่งตัวอย่าง ตลอดจนการควบคุมอณหภูมิที่เหมาะสม ุในการรักษาสภาพชิ้นตัวอย่าง 4. ศักยภาพของห้องปฏิบัติการที่อยู่ในพนที่ไม่สามารถตรวจเชื้อก่อโรคบางชนิดได้ > เมื่อตรวจไม่ได้ ื้ทางหน่วยรักษาพยาบาลกไมอยากย่งยากในการหาหองปฏิบัตการเพอตรวจรักษา หรือไมอยากขนสงตวอย่างไปตรวจ็ุ่้ิื ่่่ันอกพนที่เพราะต้องรับผิดชอบเรื่องค่าใช้จ่ายที่ตามมา และถ้าโรคที่สงสัยนั้น ไม่ใช่โรคที่อยู่ในความสนใจ แรงจูงใจ ื้ในการส่งตัวอย่างไปยังห้องปฏิบัติการนอกพื้นที่ก็ลดน้อยลงด้วยเช่นกัน 5. มีการตรวจหาเชื้อก่อโรคโดยห้องปฏิบัติการในสถานรักษาพยาบาลแต่ข้อมูลผลการตรวจไม่ถูกส่งต่อมา ที่ระบบรายงานโรคหรือระบบเฝ้าระวัง 506 อาจเกิดจาก--> 5.1. เชื้อกอโรคบางชนดต้องใช้เวลานานในการทราบผลตรวจ อาจเป็นด้วยเหตุผลทางเทคนค ่ิิการตรวจ หรือคุณลักษณะของเชื้อ ดังนั้น เมื่อมีผลการตรวจออกมาแต่ผู้ป่วยหายเป็นปกติแล้ว หรือถูกส่งต่อไปโรงพยาบาลอื่นแล้ว หรือเสียชีวิตแล้ว ดังนั้นผลการตรวจก็ไม่จ าเป็นต้องใช้จึงไม่ได้ถูกแก้ไขในระบบรายงาน 5.2. ผลการตรวจโดยเฉพาะผลตรวจจากหองปฏิบติการจลชีววิทยามกรายงานผลเปน PDF file หรือ ้ัุั็JPEG file เช่นเดียวกบผลการตรวจจากหองปฏิบติการเอกชนหรอจากหองปฏิบติการเครอขายสาธารณสขภายใตั้ัื้ัืุ่้กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือจากหองปฏิบัตการของมหาวิทยาลย ทมการรายงานผลในรูปของโทรสารทาใหขอมล ้ิัี ่ีู้้ในรูปแบบดังกล่าวไม่ได้ถูกน าเข้าในระบบฐานข้อมูลของโรงพยาบาลแบบอตโนมัติ ต้องอาศัยแพทย์ในการแก้ไขรหัส ัICD - 10 เปลี่ยนแปลงการวินิจฉัยให้ถูกต้องตามผลการตรวจ ต้องอาศัยบุคลากรในหน่วยสถานพยาบาลส่งรายงานแก้ไขรหสโรคทเคยรายงานไปแลว ใหเป็นไปตามผลการตรวจตามความเป็นจริง ซงเร่องการปรับแกรายงานโดยใช้บุคลากรัี ่้้ึ ่ื้เปลี่ยนแปลงแก้ไขนั้น ย่อมมีข้อผิดพลาด และการเน้นย้ าให้เห็นถึงความส าคัญในการปรับแก้รายงานที่เป็นจริง ให้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ต้องมีการอบรมอยู่อย่างสม่ าเสมอ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการมีส่วนส าคัญที่จะช่วยให้แพทย์สามารถวางแผนการให้รักษาเพอช่วยชีวิตผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องและทันท่วงที นอกจากนั้นแล้ว กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ยังใช้เป็นข้อมูลื่ประกอบการพจารณาในการวางแผนและกาหนดนโยบายปองกันควบคมโรคไดอยางมประสทธิภาพและ ิุ้้่ีิตรงกลุ่มเป้าหมายอย่างแท้จริง

7072. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง ห้องปฏิบัติการสังกัดกรมควบคุมโรค 19 หน่วยงาน ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค 1. สถาบันบ าราศนราดูร ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 2. สถาบันราชประชาสมาสัย 3. สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง 4. กองวัณโรค 5. กองโรคติดต่อน าโดยแมลง 6. กองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 7. กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 3. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ปี (2561-2565) เป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2563 2564 2565 2566 2567 หน่วยงานที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการสาธารณสุขด้านป้องกันควบคุมโรค (บุคลากร เครื่องมือ ระบบ) เริ่มด าเนินการ ร้อยละ 50 ร้อยละ 75 ร้อยละ 85 ร้อยละ 100 4. มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผู้ด าเนินการ มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง ห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรค 1.พัฒนาศักยภาพเครือข่ายห้องปฏิบัติการภายในกรมควบคุมโรค เพอการเฝ้าระวัง และก าหนดแผนการปิดช่องว่าง ของื่ป้องกันควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพ - วิเคราะห์ข้อมูลภาพรวมช่องวางของห้องปฏิบัติการ จัดล าดับความส าคัญ กรมควบคุมโรค - จัดกลไกการสนับสนุนการพัฒนา - วิเคราะห์ข้อมูลช่องวาง ของห้องปฏิบัติการ จัดล าดับความส าคัญ และก าหนดแผนการ ปิดช่องว่าง ของหน่วยงาน - จัดท าแนวทางการวิเคราะห์อัตราก าลัง - วิเคราะห์อัตราก าลังตามภาระงาน ตามภาระงาน (FTE) (FTE) ของหน่วยงาน - พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ - พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติ ด้านการป้องกันควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพ - รวบรวมแผนความต้องการเครื่องมือและอุปกรณ์ ที่จ าเป็นในการพัฒนาห้องปฏิบัติการสาธารณสุขด้านป้องกันควบคุมโรค - จัดท าแผนความต้องการเครื่องมือและอุปกรณ์ ที่จ าเป็นในการพัฒนาห้องปฏิบัติการสาธารณสุขด้านป้องกันควบคุมโรค

708มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง ห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรค 2.พัฒนาความร่วมมือเครือข่ายห้องปฏิบัติการภายนอกกรมควบคุมโรค ครอบคลุมภาครัฐและเอกชน เอกชน และนานาชาติ ในระดับประเทศ เอกชน และนานาชาติ ในพื้นที่และนานาชาติ เพื่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ - จัดประชุมเพอพัฒนาความร่วมมือื่เครือข่ายห้องปฏิบัติการภายนอกกรมควบคุมโรค ครอบคลุมภาครัฐและ- จัดประชุมเพอพัฒนาความร่วมมือื่เครือข่ายห้องปฏิบัติการภายนอกกรมควบคุมโรค ครอบคลุมภาครัฐและรับผิดชอบ 3.พัฒนาห้องปฏิบัติการเพื่อให้ได้รับการรับรองมาตรฐานระดับสากล - จัดกลไกการสนับสนุนการรับรองมาตรฐานระดับสากลของห้องปฏิบัติติการ - ด าเนินการขอรับรองมาตรฐานระดับสากล 4.พัฒนาระบบการบริหารจัดการทางห้องปฏิบัติการเพื่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ - จัดประชุมเพอพัฒนาระบบการบริหาร - ร่วมประชุมเพื่อพัฒนาระบบการื่จัดการทางห้องปฏิบัติการเพื่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและบริหารจัดการทางห้องปฏิบัติการเพอื่ภัยสุขภาพ 5.พัฒนาระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการ เพื่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ - ส ารวจและรวบรวมข้อมูลระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการ (LIS) - ให้ข้อมูลระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการ (LIS) และความต้องการในการพัฒนา - จัดท าข้อเสนอเพอการพัฒนาระบบื่สารสนเทศทางห้องปฏิบัติการ (LIS) และระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศทางห้องปฏิบัติการ (Platform LIMS) เพื่อการจัดการข้อมูลการส่งตรวจและการรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการด้านการป้องกนควบคุมัโรคและภัยสุขภาพส าหรับการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ - ร่วมจัดท าข้อเสนอเพอการพฒนาื่ัระบบสารสนเทศทางห้องปฏิบัติการ (LIS) และระบบการจัดการขอมูล้สารสนเทศทางห้องปฏิบัติการ (Platform LIMS) เพอการจัดการื่ข้อมูลการส่งตรวจและการรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพส าหรับการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ

7095.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2563 2564 2565 2566 2567 2563 2564 2565 2566 2567 รวม แหล่งเงิน แผนงาน/โครงการแผนงานพัฒนาเครือข่ายห้องปฏิบัติการสาธารณสุขด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ1.พัฒนาศักยภาพเครือข่ายห้องปฏิบัติการภายในกรมควบคุมโรค เพื่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรค -31.3 15.5 11 5.5 63.3 งบประมาณกรมควบคุมโรค 1.1 วิเคราะห์ข้อมูลภาพรวมช่องวางของห้องปฏิบัติการ จัดล าดับความส าคัญ และก าหนดแผนการปิดช่องว่าง ของกรมควบคุมโรค -0.3 ---0.3 1) เครือข่ายห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรคมีอัตราก าลังเพียงพอตามภาระงาน (FTE) - ร้อยละของห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรคมีอัตราก าลังเพียงพอตามภาระงาน (FTE) 1.2 พัฒนาศักยภาพ ห้องปฏิบัติด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ-10.5 10.5 32) บุคลากรของเครือข่ายห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรคมีสมรรถนะตามภาระงานและมาตรฐานที่ก าหนด - ร้อยละของบุคลากรทางห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรคมีสมรรถนะตามมาตรฐาน ที่ก าหนด 1.3 จัดท าแผนความต้องการเครื่องมือและอุปกรณ์ ที่จ าเป็นในการพัฒนาห้องปฏิบัติการสาธารณสุขด้านป้องกันควบคุมโรค -30 110 560 3) เครือข่ายห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรคมีเครื่องมือ อุปกรณ์และสถานที่ตามภาระงานและมาตรฐานที่ก าหนด - จ านวนของห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรคมีเครื่องมือ อุปกรณ์และสถานที่ตามภาระงานและมาตรฐานที่ก าหนด

710มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2563 2564 2565 2566 2567 2563 2564 2565 2566 2567 รวม แหล่งเงิน 2.พัฒนาความร่วมมือเครือข่ายห้องปฏิบัติการภายนอกกรมควบคุมโรค ครอบคลุมภาครัฐและเอกชน และนานาชาติ เพื่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรคและเครือข่าย -0.3 0.3 0.3 0.3 1.2 งบประมาณกรมควบคุมโรค 2.1 จัดประชุมเพื่อพัฒนาความร่วมมือเครือข่ายห้องปฏิบัติการภายนอกกรมควบคุมโรค ครอบคลุมภาครัฐและเอกชน และนานาชาติ ในระดับประเทศ -0.3 0.3 0.3 0.3 1.2 1) มีความร่วมมือระหว่างเครือข่ายห้องปฏิบัติการภายนอกกรมควบคุมโรค ด้านการบริการ วิชาการและเทคโนโลยี - ระดับความส าเร็จของความร่วมมือระหว่างเครือข่ายห้องปฏิบัติการภายนอกกรมควบคุมโรค ด้านการบริการ วิชาการและเทคโนโลยี 3.พัฒนาห้องปฏิบัติการเพื่อให้ได้รับการรับรองมาตรฐานระดับสากล ห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรค -11.5 12.5 13 13 50 งบประมาณกรมควบคุมโรค 3.1 การพัฒนาห้องปฏิบัติการด้านการป้องกันควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพได้รับการรับรองระดับมาตรฐานสากล -11.5 12.5 13 13 50 1) ห้องปฏิบัติการภายในกรมควบคุมโรคได้รับการรับรองมาตรฐานระดับสากล - จ านวนการรับรองห้องปฏิบัติการภายในกรมควบคุมโรคที่ได้รับการรับรองมาตรฐานระดับสากล - ระดับความส าเร็จห้องปฏิบัติการภายในกรมควบคุมโรคที่ได้รับการรับรองมาตรฐานระดับสากล

711มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2563 2564 2565 2566 2567 2563 2564 2565 2566 2567 รวม แหล่งเงิน 4.พัฒนาระบบการบริหารจัดการทางห้องปฏิบัติการเพื่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรค -0.3 --0.3 0.6 งบประมาณกรมควบคุมโรค 4.1 จัดประชุมเพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการทางห้องปฏิบัติการเพื่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ -0.3 --0.3 0.6 1) เครือข่ายห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรค มีระบบการบริหารจัดการทางห้องปฏิบัติการตามแนวทางการด าเนินงานที่ก าหนด - จ านวนเครือข่ายห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรค มีระบบการบริหารจัดการทางห้องปฏิบัติการตามแนวทางการด าเนินงานที่ก าหนด - ระดับความส าเร็จของการพัฒนาระบบการบริหารจัดการทางห้องปฏิบัติการตามแนวทางการด าเนินงานที่ก าหนด - การ Sharing ทรัพยากร บุคลากร งบประมาณ 5.พัฒนาระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการ เพื่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรค และศูนย์ ITC กรมฯ 87.8 76.5 32.3 งบประมาณลงทุน กรมควบคุมโรค 5.1 จัดหาเทคโนโลยีสนับสนุนการด าเนินงานพัฒนาระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการ เพื่อการ 87.5 76.5 32 1) เครือข่ายห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรคมีระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศ- จ านวนของห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรคที่มีระบบสารสนเทศทางห้องปฏิบัติการ (

712มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2563 2564 2565 2566 2567 2563 2564 2565 2566 2567 รวม แหล่งเงิน เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ทางห้องปฏิบัติการ (Platform LIMS) - ระดับความส าเร็จการพัฒนาระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศทางห้องปฏิบัติการ (Platform LIMS) 5.2 จัดประชุม เชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศทางห้องปฏิบัติการ (Platform LIMS) ของเครือข่ายห้องปฏิบัติการ 0.3 0.3

7136. แผนการติดตามประเมินผล ระยะ 5 ปี (ระดับมาตรการ/แผนงาน/โครงการหลัก) มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย/ตัวชี้วัด วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2563 2564 2565 2566 2567 มาตรการที่ 1 พัฒนาศักยภาพเครือข่ายห้องปฏิบัติการภายในกรม ควบคุมโรคมีอัตราก าลังควบคุมโรค เพื่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 1) เครือข่ายห้องปฏิบัติการกรมเพียงพอตามภาระงาน (FTE) รายงานการวิเคราะห์อัตราก าลังตามภาระงาน N/A 2) บุคลากรของเครือข่าย จ านวนบุคลากรทางห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรคมีสมรรถนะตามภาระงานและมาตรฐานที่ก าหนด ห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรคมีสมรรถนะตามมาตรฐานที่ก าหนด N/A 3) เครือข่ายห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรคมีเครื่องมือ อุปกรณ์และสถานทตามี่ภาระงานและมาตรฐานท กรมควบคุมโรค ี่ก าหนด รายงานการจัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์และสถานทตามี่ภาระงานและมาตรฐานที่ก าหนดของห้องปฏิบัติการN/A มาตรการที่ 2 พัฒนาความร่วมมือเครือข่ายห้องปฏิบัติการภายนอกกรมควบคุมโรค ครอบคลุมภาครัฐและเอกชน และนานาชาติ เพื่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ มีความร่วมมือระหว่างเครือข่ายห้องปฏิบัติการภายนอกกรมควบคุมโรค ด้านการบริการ วิชาการและเทคโนโลยี รายงานการประชุม N/A มาตรการที่ 3 พัฒนาห้องปฏิบัติการเพื่อให้ได้รับการรับรองมาตรฐาน รับรองมาตรฐานระดับระดับสากล ห้องปฏิบัติการภายในกรม รายงานจ านวนควบคุมโรคได้รับการสากล ห้องปฏิบัติการที่ได้รับการรับรองมาตรฐานระดับสากล N/A มาตรการที่ 4 พัฒนาระบบการบริหารจัดการทางห้องปฏิบัติการเพื่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ทางการด าเนินงานทเครือข่ายห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรค มีระบบการบริหารจัดการทางห้องปฏิบัติการตามแนวี่ก าหนด แนวทางการบริหารจัดการทางห้องปฏิบัติการตามแนวทางการด าเนินงานที่ก าหนด N/A 

714มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย/ตัวชี้วัด วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2563 2564 2565 2566 2567 มาตรการที่ 5 พัฒนาระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการ เพื่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เครือข่ายห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรคมีระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศทางห้องปฏิบัติการ (Platform LIMS) รายงานจ านวนของห้องปฏิบัติการกรมควบคุมโรคที่มีระบบสารสนเทศทางห้องปฏิบัติการ (LIS) N/A 7. ผู้รับผิดชอบแผนงาน PM แผนงานโรค ได้แก่ หน่วยงานสังกัดกรมควบคุมโรคที่เกี่ยวข้อง 1. ผู้อ านวยการส านักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 2. นางสาวปริศนา บัวสกุล ต าแหน่งนักเทคนิคการแพทย์ช านาญการ

7151. สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ/ปัญหา/พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง (ระบุสถานการณ์/ปัญหา/รูปภาพเป็นกราฟ/ แผนที่ พร้อมระบุแหล่งอ้างอิง โดยย่อสาระส าคัญประเด็น/Gap ที่เชื่อมโยงกับแผนงาน/โครงการที่จะต้องพัฒนา) ปัจจุบันโลกเทคโนโลยีมีความก้าวหน้าอย่างมาก มีการน าเทคโนโลยีมาชช้มากึ้นนเพอความสะดวกสบาย ื่ชนการด าเนินชีวิต โครงสร้างึองสิ่งต่างๆ รอบตัวเกิดการเปลี่ยนแปลงึ้นนอย่างรวดเร็วชนึณะเดียวกัน ก็มภัยคุกคามชหม่ีเพมเึ้ามา ซ้่งส่วนหน้่งเนื่องมาจากกระแสโลกาภิวัตน ตันงแต่สภาพแวดล้อมและภูมิอากาศึองโลกที่เปลี่ยนแปลงไป ิ่์ความสะดวกชนการเดินทางและความเชือมโยงึองระบบเศรษฐกิจท าชห้มีการเคลื่อนย้ายคนมากึ้นน ตันงแต่นักท่องเที่ยว ่แรงงานึ้ามชาติ ผู้ป่วยและผู้ชห้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุึ เป็นต้น อกทันง การเปลี่ยนแปลงึองโครงสร้างีประชากรไทยที่ก าลังจะก้าวเึ้าสู่การเป็นสังคมสูงอายุ (Aged Society) ซ้่งเป็นสถานการณ์ที่โลกและหลายประเทศก าลังเผชิญ และคาดว่าประเทศไทยจะเปน “สังคมสูงวัยโดยสมบูรณ์” (Complete Aged Society) ชนปี พ.ศ. 2564 และ ็เป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” (Super Aged Society) ภายชน ปีพ.ศ. 2578 ถือว่าเป็นการเปลี่ยนระดับที่รวดเร็วมากเมื่อเทียบกับประเทศอนๆ และด้วยพฤติกรรมการบริโภคและวิถีการด าเนินชีวิตึองคนไทยที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ื่รวมถ้งเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีการึยายตัวึองเมืองที่ส่งผลชห้พฤติกรรมและวิถีการด ารงชีวิต ึองประชาชนเปลยนและเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ จ้งท าชห้การระบาดึองโรคและภัยสุึภาพมีแนวโน้มเพมมากึ้นนี ่ิ่เรื่อยๆ และทวีความรุนแรงเพิ่มึ้นนจนเสี่ยงต่อการเกิดภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุึ ท าชห้ประเทศไทยจ าเป็นต้องมีก าลังคนด้านสาธารณสึทสามารถประยกต์ชช้องคความรด้านระบาดวิทยาและึ้อมูลสถานการณ์โรคและภัยสุึภาพด้านต่างๆ ุี ุ่์ู ้ที่เกี่ยวึ้องชนการก าหนดมาตรการป้องกัน ควบคุมการระบาดึองโรคและภัยสุึภาพ หรือแก้ไึปัญหาสาธารณสุึ ชนพนที่ได้อย่างมีประสิทธิผล รวมทันงสามารถเฝ้าระวัง ตรวจจับเหตุการณ์ผิดปกติได้อย่างรวดเร็ว ตรวจสอบึ่าว ืนการระบาดึองโรคและภัยสึภาพ ประเมนสถานการณ ประเมนความเสยงที่จะเกิดการระบาดอย่างรุนแรงและต่อเนื่องุิ์ิี ่จนเกิดเป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุึ รวมทันงสามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ผิดปกติได้อย่างทันท่วงที สอบสวน หาสาเหตุ ประสานและด าเนินการป้องกันควบคุมการระบาดไม่ชห้ึยายไปชนวงกว้างจนเกิดภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุึ กระทรวงสาธารณสุึ ชห้ความส าคัญกับก าลังคนด้านสุึภาพ (Human Resources for Health) ซ้่งถือเป็นทรัพยากรที่มีความส าคัญชนระบบสุึภาพและเป็นปัจจัยแห่งความส าเร็จ ได้มการวางแผนและพฒนากาลงคนีััมาอย่างต่อเนื่อง แต่จากสถานการณ์แนวโน้มก าลังคนด้านสาธารณสุึที่ยังคงพบปัญหาตันงแต่ การึาดแคลนก าลังคน การกระจายก าลังคนทไม่เป็นธรรม ความไม่เหมาะสมึองสิ่งแวดล้อมชนการท างานและระบบการสนับสนุน การึาดกลไกี่การผลักดันเชิงนโยบายการพัฒนาระบบก าลังคนที่ผ่านมา ึาดความต่อเนื่อง การึาดความเชื่อมโยงระหว่างการวางแผนกาลังคนและการผลิต การึาดองค์ความรู้ชนการสนับสนุนการวางแผน รวมถ้งการผลิตบัณฑิตเพอเึ้ามาท างาน ื่ชนระบบงานส่งเสริมสุึภาพและป้องกันโรคึองมหาวิทยาลัยต่างๆชนประเทศ ที่ไม่ตรงกับความต้องการึองผู้ชช้งาน โดยเฉพาะหนวยงานภาครฐ ดังนันน การพฒนาความเชี่ยวชาญึองบุคลากรอย่างต่อเนื่อง นับเป็นประเด็นที่ท้าทาย ่ััเป็นอย่างยิ่ง และจากสถานการณ์ก าลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรค พบว่า สาเหตุหน้่งชนการึาดผู้เชี่ยวชาญ ชนด้านการควบคุมโรคต่างๆ เนองมาจากการเกษยณอาย ระบบราชการทยอึนาดลงโดยลดจานวนึาราชการโดยไมพจารณา ื ่ีุี ่่้่ิความต้องการจ าเป็น ซ้่งส่งต่อระบบป้องกันควบคุมโรคที่ต้องมีการปรับตัวอย่างมากเพอชห้ทันการเปลี่ยนแปลง และ ื่แผนบริหารและพัฒนาก าลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรค

716จากึ้อมูลการคาดการณ์ความต้องการและก าลังคนที่จะมีชนปี 2569 กลุ่มควบคุมโรค (Disease Control) พบว่า ยังต้องจัดหาก าลังคนชห้เพยงพอ จ้งควรมีการวางแผนจัดสรรส่วนต่างที่ยังึาดแคลน และเพอชห้มีความสอดคล้องกบบริบทต่างๆ ีื่ัที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รวมถ้งความต้องการทางด้านสุึภาพึองประเทศ ควรมีมาตรการชนการบริหารจัดการส่วนต่างึองอปสงค์และอปทานก าลังคนด้านสุึภาพชนวิชาชีพต่าง ๆ ควรผลตกาลงคนด้านสุึภาพชนอนาคตที่สอดคล้องกบบริบทุุิััต่างๆที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและความตองการทางด้านสึภาพึองประเทศ ควรด าเนินการวางแผนก าลังคนด้านสุึภาพุ้อย่างต่อเนื่องชนทุกระดับ ทันงระดับประเทศและระดับพืนนที่ กรมควบคุมโรคชห้ความส าคัญกับทุนมนุษย์มาอย่างต่อเนื่อง และจากผลการทบทวนและวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อระบบป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุึภาพ จ าเป็นจะต้องมีก าลังคนทันงประเภท จ านวน และทักษะ ที่เหมาะสม เพอที่จะสามารถพฒนาระบบบริการชห้ประชาชนสามารถเึ้าถ้งได้อย่างมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และสอดคลองกบ ื่ั้ัความต้องการึองประชาชนได้ ซ้่งจากการด าเนินงานที่ผ่านมา พบว่า ผู้เชี่ยวชาญชนการึับเคลื่อนงานด้านการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุึภาพ ยังไม่เพยงพอเหมาะสมกับการดาเนินงานชนปัจจุบัน ซ้่งปัญหาการึาดแคลนผู้เชี่ยวชาญ ีเกดจากสาเหตุตางๆ ได้แก ความตองการทกษะการทางานชหมที่เพมึ้นน การโยกย้ายหรือลาออกึองบุคลากร ดังนันน ิ่่้ั่ิ่การเตรียมความพร้อมด้านก าลังคนส าหรับระบบป้องกนควบคุมโรคและภัยสุึภาพ เพอชห้มีความเพยงพอ และสอดรับกับัื่ีนโยบายภาครฐ จ าเป็นที่จะต้องคาดการณ์ความต้องการก าลังคนชนแต่ละแผนงานโรค โดยกรมควบคุมโรคได้จัดท าัแผนพัฒนาด้านการป้องกนควบคุมโรคและภัยสุึภาพึองประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) เพอชช้เป็นแนวทาง ัื่ชนการพัฒนางานด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคึองประเทศ การพฒนากาลงคนดานระบาดวิทยา เป็นส่วนหน้่งึองแผนพฒนาก าลังคนด้านระบาดวิทยาภาคสนามึองัั้ัประเทศไทย โดยมีเป้าหมายผลิตนักระบาดวิทยาภาคสนามึองประเทศชห้ได้ตามมาตรฐานสากล คือ มีนักระบาดวิทยาภาคสนามระดับเชี่ยวชาญ อย่างน้อย 1 คน ต่อจ านวนประชากร 200,000 คน เพอชห้มีก าลังคนด้านระบาดวิทยาภาคสนาม ื่ที่เพยงพอและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถ้งสามารถรับมือกับโรคระบาดหรือสถานการณ์ฉุกเฉินทาง ีด้านสาธารณสุึได้อย่างทันท่วงที ซ้่งตามเป้าหมายที่ก าหนดไว้ ประเทศไทยยังคงจ าเป็นต้องผลิตนักระบาดวิทยาภาคระดับเชี่ยวชาญอกไม่น้อยกว่า 252 คน ชน 20 ปีึ้างหน้า และนอกจากนกระบาดวิทยาภาคสนามระดบเชียวชาญแลว ประเทศไทยีัั่้ยังจ าเป็นต้องมีนักระบาดวิทยาชนระดับกลางและระดับพืนนฐานอีกเป็นจ านวนมากเช่นกัน นอกจากนีน กรมควบคุมโรคยังชห้ความส าคัญและมุ่งเน้นการพฒนาก าลังคนทันงระบบชห้มีประสิทธิภาพ ัมีการด าเนินการพฒนา ปรับปรุง ยกระดับคุณภาพการบริหารก าลังคนที่ยืดหยุ่นพร้อมปฏิบัติภารกิจทันงภาวะปกติและภาวะัฉุกเฉิน โดยการพฒนาบุคลากรด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย อกทันงความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ที่ส าคัญ ัีด้านบุคลากร ตันงแต่ การด้งดูดบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุึ การผลิตนักควบคุมโรครองรับระบบสาธารณสึ ุการส่งเสริมความกาวหน้าชนสายอาชีพึองบุคลากร และการเตรียมคนเพอรองรับการปรับเปลี่ยนภารกิจและโครงสร้างอายุ ้ื่และการเปลี่ยนแปลงไปสู่ยุคโลกาภิวัตน์ ส่งผลชห้กรมควบคุมโรคต้องตระหนักและชห้ความส าคัญชนการเตรียมความพร้อมชห้กับบุคลากรอย่างต่อเนื่อง มีการพฒนาระบบการบรหารทรพยากรบคคลเพอรองรบการเึ้าสู่ยุคดิจิทัล เสริมสร้างัิัุื ่ัประสิทธิภาพชนการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกนและควบคุมโรคและภัยสุึภาพชห้ประสบความส าเร็จ ที่จะส่งผลชห้โรค ัและภัยสุึภาพลดลง ตลอดจนได้รับการยอมรับจากเครือึ่ายการท างานทันงชนระดับชาตและนานาชาต ิิชนการด าเนินงานด้านการป้องกันควบคุมโรคมีหลายหน่วยงานร่วมด าเนินการ การสร้างความเชี่ยวชาญ อย่างต่อเนื่อง จ าเป็นต้องมี competency mapping ที่ชัดเจน และต้องอาศัยการประสานความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงาน การพฒนาความเชี่ยวชาญต่อเนื่องที่ส่วนชหญ่จะเป็นการพฒนาความเชี่ยวชาญจากการปฏิบัติงาน/การสอนงาน/ััการเรียนรู้งานจากผู้เชี่ยวชาญเป็นมาตรการหลัก การบริหารการกระจายบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านระบาดวิทยา การ

717ส่งเสริมสุึภาพและป้องกันโรคชห้เหมาะสมกับปริมาณและความเสี่ยงเป็นประเด็นที่ต้องทบทวนและจัดท าแผนชห้ชัดเจน ซ้่งระบบสาธารณสุึที่ยั่งยืน จ าเป็นต้องมีบุคลากรด้านระบาดวิทยาที่มีความช านาญชนสาึาวิชาชีพ มีจ านวนที่เพียงพอและครอบคลุมทุกพนที่ มีการสร้างผู้เชี่ยวชาญเพอเสริมชนพนที่ที่ึาดเพมเติมชนส่วนที่เกษียณอายุราชการหรือที่ย้ายออกไปืนื่ืนิ่ท างานด้านอน ๆ รวมทันงต้องธ ารงรักษาบุคลากรเหล่านีนชห้อยู่ชนระบบ เพอสร้างความมั่นคงชห้กับระบบสาธารณสุึไทย ื่ื่ชนการส่งเสริมและดูแลสุึภาพึองประชาชน ซ้่งปัจจุบันมีหน่วยงานที่เกี่ยวึ้องกับการพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันควบคมโรคหลายหนวยงานทงภาครฐ (กระทรวงสาธารณสึ และมหาวิทยาลยตางๆ) และ ภาคเอกชน ท าชห้มีบุคลากรท างานุ่ั นัุั่ด้านการป้องกันและควบคุมโรคชนระดับเริ่มต้น เพียงพอ อย่างไรก็ดี ชนการป้องกันควบคุมโรคจ าเป็นต้องชช้ความรู้ ทกษะ ัความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ที่นอกเหนือจากที่เคยมีชนการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ การพฒนาบุคลากรด้านการป้องกันัควบคุมโรคจ าเป็นต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ แต่ชนปัจจุบันการพฒนาบุคลากรระดับบัณฑิตศ้กษายังมีปัญหา ัทันงทางด้านคุณภาพและปริมาณ อกทงระบบการถ่ายทอดความเชี่ยวชาญชนระบบป้องกันควบคุมโรคยังไม่มีประสิทธิภาพ ีันท าชห้บุคลากรชนระบบไม่ได้รับการพฒนาอย่างต่อเนื่อง และยังไม่มีระบบการพฒนาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถชนระดับ ััที่ปร้กษา บุคลากรยังึาดทักษะ สมรรถนะ และความเชี่ยวชาญหลายด้าน โดยเฉพาะบุคลากร ชนระดับพืนนที่ ยังึาดทักษะ ชนการดาเนนงานอยมาก ชนึณะที่บุคลากรส่วนกลางและระดับเึตยังึาดทักษะชนเรองการด าเนนงานชนฐานะผอภิบาลระบบ ิู ่ื ่ิู ้และผู้ควบคุมก ากับดูแล เพื่อชห้ประชาชนมีสุึภาพที่ดีจากการป้องกันควบคุมโรคและภัยคุกคามสุึภาพ 2. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง ............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. 3. เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ป (2561-2565) ี3.1 เป้าหมายการลดโรคและภัยสุึภาพ ระดับประเทศ ชนระยะ 10 ปี, 15 ปี และ 20 ปี (ถ้ามี) ชห้ระบุเพิ่มด้วย 3.2 เป้าหมายการลดโรคและภัยสุึภาพ ระดับประเทศ ชนระยะ 5 ปี เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เป้าหมาย 1 ก าลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรค มีสมรรถนะเพียงพอต่อการป้องกันควบคุมโรค ตัวชีนวัด 1 ร้อยละึองก าลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคมีสมรรถนะเพียงพอต่อการป้องกันควบคุมโรค - - ร้อยละ ร้อยละ 80 85 ร้อยละ 90 ตัวชีนวัด 2 ร้อยละึองบุคลากรกรมควบคุมโรค มีสมรรถนะที่จ าเป็นตามภารกิจกรมควบคุมโรค(functional Competency) - ร้อยละ ร้อยละ 75 80 ร้อยละ 85 ร้อยละ 90

718นิยาม 1. ก ำลังคนด้ำนกำรป้องกันควบคุมโรค หมำยถึง บุคลำกรด้ำนกำรป้องกันควบคุมโรคที่ปฏิบัติงำนในระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภำพในทุกระดับ และผู้เชี่ยวชำญด้ำนกำรป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภำพที่เป็นหลักในกำรด ำเนินงำนป้องกันควบคุมโรค 2. บุคลำกรด้ำนกำรป้องกันควบคุมโรคที่ปฏิบัติงำนในระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภำพในทุกระดับ หมำยถึง 3. ผู้เชี่ยวชำญด้ำนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภำพเป็นหลักในกำรด ำเนินงำนป้องกันควบคุมโรค หมำยถึง 4. บุคลำกรกรมควบคุมโรค หมำยถึง ข้ำรำชกำร ลูกจ้ำงประจ ำ พนักงำนรำชกำร พนักงำนกระทรวงสำธำรณสุข และผู้ที่ปฏิบัติงำนในหน่วยงำนสังกัดกรมควบคุมโรค

7194.มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผู้ด าเนินการ (ปรับตารางได้ตามจริง) มาตรการ/Service Provider หน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค เขต สสจ. รพ. PCC ชุมชน/ต าบล หน่วยงานหลัก ชนการด าเนินการ หน่วยงานสนับสนุน ชนการด าเนินการ มาตรการที่ 1 พัฒนาระบบและกลไกการขับเคลื่อนงานก าลังคนให้มีประสิทธิภาพ1. พัฒนา/ขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล : ด าเนินการพัฒนา/ึับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรบุคคล กองยุทธศาสตร์และแผนงาน : สนับสนุนการึับเคลื่อนนโยบายด้านทรัพยากรบุคคล เึตสุึภาพที่ 1-12 : ร่วมด าเนินการพัฒนาส่งเสริมโอกาสชนการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการป้องกันควบคุมโรค ชห้มีศักยภาพสูง โดยการหมุนเวียนงาน (job rotation) 2. พัฒนาฐานข้อมูลก าลังคนและระบบ SMART HR DDC กองบริหารทรัพยากรบุคคล: ด าเนินการ 1) พัฒนาฐานึ้อมูลก าลังคน 2) พัฒนาระบบ SMART HDDC 3) การพัฒนาระบบ E – Learning 1. ทุกหน่วยงานชนสังกัด กรมควบคุมโรค : ร่วมชห้ึ้อมูลเพื่อจัดท าฐานึ้อมูลก าลังคน และสนับสนุนการพัฒนาระบบ SMART HR DDC 2. ศูนย์สารสนเทศ : สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ-3. พัฒนาศักยภาพเครือข่าย HR กองบริหารทรัพยากรบุคคล : ด าเนินการพัฒนาศักยภาพเครือึ่าย HR/สร้างนัก HR Analytic --

720มาตรการ/Service Provider หน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค เขต สสจ. รพ. PCC ชุมชน/ต าบล หน่วยงานหลัก ชนการด าเนินการ หน่วยงานสนับสนุน ชนการด าเนินการ มาตรการที่ 2 พัฒนาก าลังคนด้านป้องกันควบคุมโรคให้เพียงพอและมีคุณภาพ 1. พัฒนาสมรรถนะด้านระบาดวิทยา และ Strategic Information 1. กองระบาดวิทยา : ด าเนินการ 1) พัฒนาก าลังคนด้านระบาดวิทยาภาคสนาม 2) CDCU โรคอันตราย 2. กองควบคุมโรคและ ภัยสุึภาพชนภาวะฉุกเฉิน : ด าเนินการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อรองรับระบบการจัดการภาวะฉุกเฉิน ทางสาธารณสุึระบบบัญชาการเหตุการณ์ และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน 3. ศูนย์สารสนเทศ : ด าเนินการพัฒนาก าลังคนด้านสารสนเทศและการวิเคราะห์ระดับสูง เพื่อการควบคุมโรค 1. กองบริหารทรัพยากรบุคคล : ด าเนินการ 1) ก ากับ ติดตามผลการด าเนินงาน/ผลลัพธ์ตามเป้าหมายึองโครงการ ทุกไตรมาส 2) จัดเก็บึ้อมูลการพัฒนาก าลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรค 2. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน : สนับสนุนและ ชห้ค าปร้กษาชนการจัดหางบประมาณ (เพิ่มเติม) 3. ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1,9 และ12 (ศูนย์ฝึกอบรม) : สนับสนุนการด าเนินงานพัฒนาก าลังคนด้านป้องกันควบคุมโรค 2. P & P Program / Program manager 1. สถาบันบ าราศนราดูร : ด าเนินการพัฒนาศักยภาพเครือึ่ายโรงพยาบาลชุมชน เพื่อการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ/ 1. กองบริหารทรัพยากรบุคคล : ก ากับ ติดตามผลการด าเนินงาน/ผลลัพธ์ตามเป้าหมายึองโครงการ ทุกไตรมาส สคร.พัฒนาศักยภาพบุคลากรเครือึ่าย สสจ./สสอ./รพช. เพื่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ / สสจ.พัฒนาศักยภาพบุคลากรเครือึ่าย PCC/ รพ.สต.เพื่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุม

721มาตรการ/Service Provider หน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค เขต สสจ. รพ. PCC ชุมชน/ต าบล หน่วยงานหลัก ชนการด าเนินการ หน่วยงานสนับสนุน ชนการด าเนินการ โรคติดเชืนอ 2. กองโรคไม่ติดต่อ : ด าเนินการพัฒนาศักยภาพส าหรับบุคลากรและเครือึ่าย ด้านการป้องกัน ควบคุมโรค NCDs และการบาดเจ็บ 3. กองโรคติดต่อทั่วไป : ด าเนินการพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ณ ช่องทางเึ้าออกระหว่างประเทศตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 และ พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 4. กองโรคประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม พัฒนาศักยภาพส าหรับบุคลากรและเครือึ่าย ด้านการป้องกัน ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ภายชต้ พ.ร.บ. ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและ 2. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน : สนับสนุนและ ชห้ค าปร้กษาชนการจัดหางบประมาณ (เพิ่มเติม) โรคไม่ติดต่อ/โรคจาการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม โรคติดต่อ /โรคไม่ติดต่อ/โรคจาการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

722มาตรการ/Service Provider หน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค เขต สสจ. รพ. PCC ชุมชน/ต าบล หน่วยงานหลัก ชนการด าเนินการ หน่วยงานสนับสนุน ชนการด าเนินการ โรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 3. พัฒนาสมรรถนะทางการบริหารงานป้องกันควบคุมโรค กองบริหารทรัพยากรบุคคล : ด าเนินการพัฒนาสมรรถนะทางการบริหารงานป้องกันควบคุมโรค (EDC/MDC/LDC) ส านักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ : สนับสนุนการด าเนินงานตามแผนการพัฒนาสมรรถนะทางการบริหารงานป้องกันควบคุม -4. พัฒนาสมรรถนะที่จ าเป็นตามภารกิจการป้องกันควบคุมโรค (Functional Competency) 1. กองระบาดวิทยา / กองนวัตกรรมและวิจัย / กองยุทธศาสตร์และแผนงาน : ด าเนินการจัดท าคลังความรู้ด้านระบาดวิทยา, การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม, การติดตามและประเมินผล ชนรูปแบบบทเรียน Online (E-Learning) 1. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน : สนับสนุนและ ชห้ค าปร้กษาชนการจัดหางบประมาณ -5. พัฒนาทักษะและสมรรถนะทางการบริหารจัดการ 1. ศูนย์สารสนเทศ: ด าเนินการพัฒนา Digital Literacy บุคลากรกรมควบคุมโรค 2. กองบริหารทรัพยากรบุคคล: ด าเนินการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัล (Digital 1. กองบริหารทรัพยากรบุคคล: ด าเนินการ 1) ก ากับ ติดตามผลการด าเนินงาน/ผลลัพธ์ตามเป้าหมายึองโครงการ ทุกไตรมาส -

723มาตรการ/Service Provider หน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค เขต สสจ. รพ. PCC ชุมชน/ต าบล หน่วยงานหลัก ชนการด าเนินการ หน่วยงานสนับสนุน ชนการด าเนินการ Skills) ึองบุคลากรกรมควบคุมโรค 3. ส านักงานความร่วมมือระหว่างประเทศ: ด าเนินการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ 2) จัดท าฐานึ้อมูลการพัฒนาฯ 2. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน : สนับสนุนและ ชห้ค าปร้กษาชนการจัดหางบประมาณ (เพิ่มเติม) มาตรการที่ 3 บริหารก าลังคนให้เกิดประโยชน์สูงสุด ดึงดูดและธ ารงรักษาก าลังคนคุณภาพด้านการป้องกันควบคุมโรค 1. การสรรหาเชิงรุก สายงานขาดแคลน กองบริหารทรัพยากรบุคคล: ด าเนินการพัฒนาระบบการสรรหาเชิงรุก สายงานึาดแคลน ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 และกอง สถาบัน ส านักวิชาการ: ร่วมด าเนินการพัฒนาระบบการสรรหาเชิงรุก สายงานึาดแคลน -2. พัฒนาระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System : PMS) กองบริหารทรัพยากรบุคคล: ด าเนินการพัฒนาระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System : PMS) กลุ่มพัฒนาระบบบริหารและกองยุทธศาสตร์และแผนงาน: ร่วมด าเนินการสนับสนุนการพัฒนาระบบเพื่อเชื่อมโยงผลการด าเนินงานกับผลการประเมินบุคคล -3. เสริมสร้างความสุขและความผูกพันของบุคลากรกรมควบคุมโรค 1. กองบริหารทรัพยากรบุคคล: ด าเนินการเสริมสร้างความสุึและความผูกพันึองบุคลากรกรมควบคุมโรค 1. ส านักงานเลึานุการกรม: ร่วมด าเนินการเสริมสร้าง ด้านบรรยากาศ สภาพแวดล้อมชนองค์กร และสวัสดิการ -

724มาตรการ/Service Provider หน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค เขต สสจ. รพ. PCC ชุมชน/ต าบล หน่วยงานหลัก ชนการด าเนินการ หน่วยงานสนับสนุน ชนการด าเนินการ 2. กลุ่มคุ้มครองจริยธรรม: ร่วมด าเนินการเสริมสร้าง ด้านคุณธรรมจริยธรรม ชนองค์กร 3. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน : สนับสนุนและ ชห้ค าปร้กษาชนการจัดหางบประมาณ (เพิ่มเติม) 4. สถาบันบ าราศนราดูรและ กองวิชาการ (ด้านโรคและภัย): ร่วมด าเนินการเสริมสร้างสุึภาพบุคลากร

7255.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มาตรการที่ 1 พัฒนาระบบและกลไกการขับเคลื่อนงานก าลังคนให้มีประสิทธิภาพกุและฐานข้อมูล เพือการบริหารจัดการ่ก าลังคนฯ และสนับสนุนการด าเนินงานป้องกันควบคมโรคุจ านวนระบบและฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการก าลังคนฯ และสนับสนุนการด าเนินงานป้องกันควบคมโรคุโครงการที่ 1.1 พัฒนา/ขับเคลื่อนนโยบายและกลยุทธ์ กองบริหารทรัพยากรบุคคล --0.690 1.740 3.790 6.220 กรมควบคุมโรค / เขตสุขภาพ กิจกรรมที่ 1.1.1 การพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ด้าน HR กองบริหารทรัพยากรบุคคล --0.100 0.100 0.100 0.300 กรมควบคุมโรค กรมควบคุมโรคมียุทธศาสตร์ด้าน HR ที่สอดรับกับบริบทึองกรม ร้อยละความส าเร็จึองการึับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ด้าน HR กิจกรรมที่ 1.1.2 การก าหนดสมรรถนะตามสายงาน (Job Competency Mapping) ึองก าลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคกองบริหารทรัพยากรบุคคล--0.5001.0001.0002.500กรมควบคุมโรคบุคลากรกรมควบคุมโรคมีรายละเอียดเกณฑ์ประเมินสมรรถนะตามสายงาน (Job Competency mapping) ทุกสายงาน ร้อยละึองสายงานมีรายละเอียดเกณฑ์ประเมินสมรรถนะตามสายงาน (Job Competency mapping)

726มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน กิจกรรมที่ 1.1.3 การพัฒนาระบบการสืบทอดต าแหน่งทางการบริหารและวิชาการที่ส าคัญ (Succession plan) กองบริหารทรัพยากรบุคคล -0.050 0.100 0.150 กรมควบคุมโรค กรมควบคุมโรค มีบุคลากรที่มีความพร้อมต่อการเึ้าสู่ต าแหน่งทางการบริหารและวิชาการที่ส าคัญ 1. ร้อยละึองผู้มีคุณสมบัติฯ ได้รับการพัฒนาตามแผนการพัฒนาผู้ได้รับการคัดเลือกเป็นผู้สืบทอดต าแหน่ง 2. จ านวนบุคลากรที่มีความพร้อมสู่ต าแหน่งทางการบริหารและวิชาการที่ส าคัญ กิจกรรมที่ 1.1.4 การพัฒนาส่งเสริมโอกาสชนการพัฒนาศักยภาพบุคลากรชห้มีศักยภาพสูง โดยการหมุนเวียนงาน (job rotation) ระดับเึตสุึภาพ (ระดับจังหวัด/ อ าเภอ/ ต าบล)กองบริหารทรัพยากรบุคคล--002.0902.270กรมควบคุมโรค / เึตสุึภาพก าลังคนด้านป้องกันควบคุมโรคระดับเึต มีการหมุนเวียนงาน อย่างน้อย 3 คน / เึต จ านวนเึตสุึภาพที่มีพัฒนาศักยภาพฯ ก าลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรค โดยการหมุนเวียนงาน (ทุกเึตสุึภาพ)กิจกรรมที่ 1.1.5 การพัฒนาศักยภาพบุคลากร สคร. ชห้มีศักยภาพสูงด้านการป้องกันควบคุมโรค โดยชช้ Mentoring Program กองบริหารทรัพยากรบุคคล -0.500 0.500 1.000 กรมควบคุมโรค ผู้จัดการแผนงานควบคุมโรค(PM) ึอง สคร. อย่างน้อย 19 คน/สคร. ร้อยละึองผู้จัดการแผนงานควบคุมโรค(PM) ที่ได้รับการพัฒนาตามแผนการพัฒนาผู้สืบทอดต าแหน่ง

727มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน โครงการที่ 1.2 การพัฒนาฐานข้อมูลก าลังคนและระบบ SMART HR DDCกองบริหารทรัพยากรบุคคล / ศูนย์สารสนเทศ /กองยุทธศาสตร์และแผนงาน--0.600 4.050 4.050 8.700 กรมควบคุมโรค กิจกรรมที่ 1.2.1 การจัดท าฐานึ้อมูลก าลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรค กองบริหารทรัพยากรบุคคล --0.050 2.000 2.000 4กรมควบคุมโรค ฐานึ้อมูลก าลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคที่สามารถน าไปชช้ประโยชน์ชนการบริหารจัดการก าลังคนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จ านวนฐานึ้อมูลก าลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรค กิจกรรมที่ 1.2.2 การพัฒนาระบบ SMART HR DDC กองบริหารทรัพยากรบุคคล --0.500 1.000 1.000 2กรมควบคุม ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและตอบสนองได้ทันสถานการณ์ จ านวนระบบ SMART HR DDC ที่พัฒนาและชช้ประโยชน์ได้ กิจกรรมที่ 1.2.3 การพัฒนาระบบ E – Learning - กองบริหารทรัพยากรบุคคล - ศูนย์สารสนเทศ - กองยุทธศาสตร์แลแผนงาน --0.050 0.050 0.050 0.150 กรมควบคุม บุคลากรกรมควบคุมโรคมีช่องทางการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ชนรูปแบบบทเรียน Online ร้อยละึองบุคลากรกรมควบคุมโรคมีการเรียนรู้และพัฒนาตนเองผ่านระบบ E – Learning กรมควบคุมโรค

728มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน โครงการที่ 1.3 การสร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการขับเคลื่อนงาน HR กองบริหารทรัพยากรบุคคล 0.500 1.000 1.000 2.500 กรมควบคุมโรค กิจกรรมที่ 1.3.1 การพัฒนาศักยภาพเครือึ่าย HR กองบริหารทรัพยากรบุคคล --0.500 0.500 0.500 1.500 กรมควบคุมโรค กรมควบคุมโรคมีเครือึ่าย HR ที่เึ้มแึ็งและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละความพ้งพอชจต่อการพัฒนาฯเครือึ่ายHR กิจกรรมที่ 1.3.2 การสร้างนัก HR Analytic กองบริหารทรัพยากรบุคคล -0.500 0.500 1.000 กรมควบคุมโรค บุคลากรกรมควบคุมโรค สามารถชช้ึ้อมูลด้าน HR ชนการวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนการตัดสินชจส าหรับผู้บริหารได้ ร้อยละึองบุคลากรกรมควบคุมโรคได้รับการพัฒนาชห้เป็นนัก HR Analytic มาตรการที่ 2 พัฒนาก าลังคนด้านป้องกันควบคุมโรคให้เพียงพอและมีคุณภาพ บุคลากรมีขีดความสามารถ (ด าเนินงานเพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคได้ตามมาตรฐานสากล 1. ร้อยละของก าลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคมีสมรรถนะเพียงพอต่อการป้องกันควบคุมโรค 2. ร้อยละของบุคลากรกุีสมรรถนะที่จ าเป็นตามภารกิจกรมควบคุมโรค (Competency)

729มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน โครงการที่ 2.1 การพัฒนาสมรรถนะด้านระบาดวิทยา และ Strategic Information กองระบาดวิทยา/ศูนย์สารสนเทศ/ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1,9 และ12 --49.850 57.000 62.300 1กรมควบคุมโรค กิจกรรมที่ 2.1.1 การพัฒนาก าลังคนด้านระบาดวิทยาภาคสนาม กองระบาดวิทยา --40.450 47.600 49.900 137.950 กรมควบคุมโรค 1. ระดับประเทศ มีผู้เชี่ยวชาญ ด้านระบาดวิทยาภาคสนามชนอัตรา 1 ต่อประชากร 200,000 คน ชนปี พ.ศ. 2570 2. ระดับจังหวัด ทุกจังหวัดมีผู้ผ่านการอบรมหลักสูตร FETP FETH หรือ FEMT รวมกันแล้วต้องไม่น้อยกว่าจ านวนอ าเภอ ชนปี พ.ศ. 2570 1. จ านวนผู้เชี่ยวชาญด้านระบาดวิทยาภาคสนามที่ยังปฏิบัติงานด้าน การเฝ้าระวัง สอบสวน และประสานการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุึภาพ 1 คนต่อจ านวนประชากรประเทศไทย 2. ร้อยละึองจังหวัดที่มีบุคลากรที่ผ่านการอบรมหลักสูตร FETP FETH หรือ FEMT รวมกันแล้วต้องไม่น้อยกว่าจ านวนอ าเภอ กิจกรรมที่ 2.1.2 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อรองรับระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินกองควบคุมโรคและภัยสุึภาพชนภาวะฉุกเฉิน --7.400 7.400 7.400 22.200 กรมควบคุมโรค บุคลากรกรมควบคุมโรค และระดับเึต ระดับจังหวัด ระดับร้อยละึองผู้ผ่านการอบรมหลักสูตรการจัดการภาวะฉุกเฉิน

730มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน ทางสาธารณสุึระบบบัญชาการเหตุการณ์ และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน อ าเภอผ่านการอบรมหลักสูตรการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุึ ระบบบัญชาการเหตุการณ์ และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน ทุกคน ภายชน ปี 2565 ทางสาธารณสุึ ระบบบัญชาการเหตุการณ์ และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กิจกรรมที่ 2.1.3 การพัฒนาก าลังคนด้านสารสนเทศและการวิเคราะห์ระดับสูงเพื่อการควบคุมโรค ศูนย์สารสนเทศ --2.000 2.000 2.000 6.000 กรมควบคุมโรค การสร้างบุคลากรวิเคราะห์ระดับสูงเพื่อการควบคุมโรค จ านวน 5 ด้าน คือ 1) Informatics and Data Engineering 2) Data Science and Artificial Intelligence 3) Data Visualization and GIS 4) Mathematical Modelling 5) Economic Evaluation and Optimization จ านวนผู้ส าเร็จหลักสูตรการวิเคราะห์ระดับสูงเพื่อการควบคุมโรค อย่างน้อย 30 คน

731มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน กิจกรรมที่ 2.1.4 CDCU โรคติดต่ออันตราย กองระบาดวิทยา ----3.000 3.000 กรมควบคุมโรค ทุกจังหวัดมีทีมสอบสวนโรคติดต่ออันตราย จ านวน 2 ทีม/จังหวัด จ านวนทีมสอบสวนโรคติดต่ออันตราย ทีมที่ 2 ึองแต่ละจังหวัด ครบ 77 จังหวัด (ปี2565-2566) โครงการที่ 2.2 P & P Program / Program managerกอง/สถาบันวิชาการในสังกัดกรมควบคุมโรค 5.290 6.132 17.074 24.966 27.824 81.286 กรมควบคุมโรค กิจกรรมที่ 2.2.1 การพัฒนาศักยภาพเครือึ่ายโรงพยาบาลชุมชน เพื่อการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ/ โรคติดเชืนอ สถาบันบ าราศนราดูร --5.176 5.176 5.176 15.528 กรมควบคุมโรค 1) ผู้บริหาร แพทย์ พยาบาล และนักวิชาการ ผู้รับผิดชอบงาน IPC ึองหน่วยงานชนส่วนภูมิภาคชนพืนนที่เป้าหมาย 2) โรงพยาบาล และส านักงานสาธารณสุึจังหวัดเป้าหมายชนพืนนที่ความรับผิดชอบึอง ส านักงานป้องกันควบคุมโรคทันง 12 แห่ง ผู้บริหารและบุคลากรผู้รับผิดชอบงาน IPC ได้รับการสื่อสาร ถ่ายทาอดนโยบายการด าเนินงาน ด้าน IPC ≥ 80% ึองเป้าหมายที่ก าหนดไว้ กิจกรรมที่ 2.2.2 การพัฒนาศักยภาพส าหรับบุคลากรและเครือึ่าย ด้านการป้องกัน กองโรคไม่ติดต่อ 5.290 6.132 9.120 9.270 9.570 39.382 กรมควบคุมโรค บุคลากรและเครือึ่ายด้านโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บได้รับการร้อยละบุคลากรและเครือึ่ายด้านโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ

732มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน ควบคุมโรค NCDs และ การบาดเจ็บ พัฒนาชห้ครบ 76 จังหวัดภายชน 4 ปี ได้รับการพัฒนาชห้ครบ 76 จังหวัด ภายชน 4 ปี กิจกรรมที่ 2.2.3 การพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ณ ช่องทางเึ้าออกระหว่างประเทศตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 และ พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 กองด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ --2.728 1.000 2.728 6.456 กรมควบคุมโรค พัฒนารูปแบบการอบรม พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 ส าหรับจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ แบบ online (E-learning) หลักสูตรอบรมพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 ส าหรับเจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ 1 หลักสูตร กิจกรรมที่ 2.2.4 การพัฒนาศักยภาพส าหรับบุคลากรและเครือึ่าย ด้านการป้องกัน ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ภายชต้ พ.ร.บ. ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 -การประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม - ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 – 12 และสถาบันป้องกันควบคุมโรคเึตเมือง --0.050 9.520 10.350 19.920 กรมควบคุมโรค บุคลากรส่วนกลางและเครือึ่ายที่ปฏิบัติงานด้านการป้องกันควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม ร้อยละึองบุคลากรที่ผ่านการอบรมหลักสูตร/ทักษะด้านการป้องกันควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม (ร้อยละ 80)

733มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน โครงการที่ 2.3 การพัฒนาสมรรถนะทางการบริหารงานป้องกันควบคุมโรค - กองบริหารทรัพยากรบุคคล - ส านักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 3.162 5.800 5.800 14.762 กรมควบคุมโรค บุคลากรกรมฯ มีสมรรถนะและทักษะที่สนับสนุนให้สามารถปฏิบัติงานตามภารกิจบรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละของบุคลากรกลุ่มเป้าหมายผ่านหลักสูตรตามที่ก าหนด (ร้อยละ 80) กิจกรรมที่ 2.3.1 การพัฒนานักบริหารงานระดับสูง (Executive in Disease Control : EDC) กองบริหารทรัพยากรบุคคล -1.200 1.200 2.400 กรมควบคุมโรค มีผู้น าด้านการควบคุมโรค ทันงบุคลากรที่เป็นแพทย์และนักวิชาการ เพื่อึับเคลื่อนการด าเนินงานตามภารกิจชห้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 1. จ านวนบุคลากร ที่ผ่านหลักสูตร (ร้อยละ 90) 2. ร้อยละความคิดเห็นึองผู้บังคับบัญชาที่มีต่อประสิทธิผลึองการพัฒนาด้านการบริหาร กิจกรรมที่ 2.3.2 การพัฒนานักบริหารงานระดับกลาง (Manager in Disease Control : MDC) กองบริหารทรัพยากรบุคคล --0.579 1.100 1.100 2.779 กรมควบคุมโรค ผู้บริหารระดับกลางยุคชหม่ ที่สามารถผลักดันชห้การปฏิบัติงานตามพันธกิจบรรลุเป้าประสงค์ได้ส าเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ 1. จ านวนบุคลากร ที่ผ่านหลักสูตร (ร้อยละ 90) 2. ร้อยละึองนักบริหารระดับกลาง กรมควบคุมโรค ได้รับการพัฒนาด้านการบริหารงานด้านการป้องกันควบคุมโรค

734มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน กิจกรรมที่ 2.3.3 การสร้างภาวะผู้น าด้านการควบคุมโรค (Leadership in Disease Control : LDC) กองบริหารทรัพยากรบุคคล 2.583 3.500 3.500 9.583 กรมควบคุมโรค ผู้น าด้านการบริหารงานป้องกันควบคุมโรคที่มีความพร้อมชนการเป็นผู้น าส าหรับอนาคต 1. จ านวนบุคลากรที่ผ่านหลักสูตร (ร้อยละ 90) 2. ร้อยละความคิดเห็นึองผู้บังคับบัญชาที่มีต่อประสิทธิผลึองการพัฒนาด้านการบริหาร โครงการที่ 2.4 การส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะที่จ าเป็นตามภารกิจกรมควบคุมโรค(Functional Competency) กองระบาดวิทยา/กองนวัตกรรมและวิจัย/กองยุทธศาสตร์และแผนงาน -0.050 0.050 0.100 กรมควบคุมโรค กิจกรรมที่ 2.4.1 จัดท าคลังความรู้ด้านระบาดวิทยา, การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม, การติดตามและประเมินผล ชนรูปแบบบทเรียน Online (E-Learning) กองระบาดวิทยา/กองนวัตกรรมและวิจัย/กองยุทธศาสตร์และแผนงาน 0.050 0.050 0.100 กรมควบคุมโรค กรมควบคุมโรคมีคลังความรู้ชนรูปแบบบทเรียน Online (E-Learning) ด้านระบาดวิทยา, การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม, การติดตามและประเมินผล ชห้บุคลากรได้ชช้ประโยชน์ 1. ร้อยละความส าเร็จึองการจัดท าคลังความรู้ชนรูปแบบบทเรียน Online (E-Learning) (ด้านระบาดวิทยา, การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม, การติดตามและประเมินผล)

735มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน 2. ร้อยละึองบุคลากรที่ชช้ประโยชน์จากคลังความรู้ึองกรมควบคุมโรค โครงการที่ 2.5 การพัฒนาทักษะและสมรรถนะทางการบริหารจัดการ กองบริหารทรัพยากรบุคคล --1.200 2.500 2.500 6.200 กรมควบคุมโรค กิจกรรมที่ 2.5.1 การพัฒนา Digital Literacy บุคลากรกรมควบคุมโรค - ศูนย์สารสนเทศ - กองบริหารทรัพยากรบุคคล --0.500 0.500 0.500 1.500 กรมควบคุมโรค บุคลากรกรมควบคุมโรคผ่านตามเกณฑ์ ระดับ Digital Literacy ที่เหมาะสมกับระดับและต าแหน่ง บุคลากรกรมควบคุมโรคผ่านตามเกณฑ์ ระดับ Digital Literacy ที่เหมาะสมกับระดับและต าแหน่ง ร้อยละ 100 กิจกรรมที่ 2.5.2 การพัฒนาทักษะด้านดิจิทัล(Digital Skills) ึองบุคลากรกรมควบคุมโรค กองบริหารทรัพยากรบุคคล --0.500 1.000 1.000 2.500 กรมควบคุมโรค บุคลากรกรมควบคุมโรค มีทักษะที่เหมาะสมกับการปรับเปลี่ยนเป็นองค์กรดิจิทัลตามเป้าหมายการพัฒนาองค์กรดิจิทัลึองกรมชนแต่ละระยะ ร้อยละ 60 ึองบุคลากรกรมควบคุมโรคมีสมรรถนะทักษะด้านดิจิทัล ชนระยะ Developing

736มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน กิจกรรมที่ 2.5.3 การพัฒนาพัฒนาสมรรถนะบุคลากรส าหรับด าเนินงานระหว่างประเทศ - ส านักงานความร่วมมือระหว่างประเทศ - กองบริหารทรัพยากรบุคคล 0.200 1.000 1.000 2.200 กรมควบคุมโรค บุคลากรกรมควบคุมโรคมีทักษะและสามารถชช้ภาษาอังกฤษชนการด าเนินงานระหว่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 50 ึองบุคลากรกรมควบคุมโรค ผ่านสมรรถนะทักษะภาษาอังกฤษ ตามเกณฑ์ที่กรมควบคุมโรคก าหนด ภายชนปี 2565 มาตรการที่ 3 บริหารก าลังคนให้เกิดประโยชน์สูงสุด ดึงดูดและธ ารงรักษาก าลังคนคุณภาพด้านการป้องกันควบคุมโรคกรมควบคุมโรค มีกลไกและระบบ ในการเสริมสร้างความสุขและธ ารงรักษาบุคลากรคุณภาพ 1. ค่าเฉลี่ยดัชนีความสุขของบุคลากรกรมควบคุมโรค(happinometer) เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา 2. อัตราการคงอยู่ของบุคลากรกรมควบคุมโรค (Retention rate) โครงการที่ 3.1 การสรรหาเชิงรุก สายงานขาดแคลน กองบริหารทรัพยากรบุคคล -กิจกรรมที่ 3.1.1 การสรรหาเชิงรุกก าลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคบุคลากร สายงานึาดแคลน กองบริหารทรัพยากรบุคคล ---มีก าลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคบุคลากร ชนสายงานที่ึาดแคลน จ านวนมากึ้นน จ านวนก าลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคบุคลากร ชนสายงานึาดแคลนที่ได้จากการสรรหาเชิงรุก

737มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน โครงการที่ 3.2การพัฒนาระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System : P)กองบริหารทรัพยากรบุคคล 0.100 0.060 0.060 0.220 กรมควบคุมโรค กิจกรรมที่ 3.2.1 การจัดท าตัวชีนวัดส าคัญ (KPI Mapping) ก าลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรค กองบริหารทรัพยากรบุคคล 0.100 0.060 0.060 0.220 กรมควบคุมโรค มีตัวชีนวัดส าคัญ (KPI Mapping) ก าลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรค ร้อยละึองก าลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคมีตัวชีนวัดส าคัญ (KPI Mapping) โครงการที่ 3.3 การเสริมสร้างความสุขและความผูกพันของบุคลากรกรมควบคุมโรคกองบริหารทรัพยากรบุคคล --0.050 0.050 0.050 0.150 กรมควบคุมโรค กิจกรรมที่ 3.3.1 การส่งเสริมหน่วยงานสู่การเป็นองค์กรสร้างสกองบริหารทรัพยากรบุคคล --0.050 0.050 0.050 0.150 กรมควบคุมโรค กรมควบคุมโรคเป็นองค์กรสร้างสุึ ร้อยละ 100 ึองหน่วยงานชนสังกัด กรมควบคุมโรคเป็นองค์กรสร้างสุึ กิจกรรมที่ 3.3.2 การพัฒนา/ปรับปรุงระบบธ ารงรักษาบุคลากรคุณภาพ กองบริหารทรัพยากรบุคคล ---กรมควบคุมโรคมีบุคลากรคุณภาพ อัตราการคงอยู่ึองบุคลากรเพิ่มึ้นน

7386. แผนการติดตามประเมินผล ระยะ 5 ปี (ระดับมาตรการ/แผนงาน/โครงการหลัก) มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ.2561 2562 2563 2564 2565 มาตรการที่ 1 พัฒนาระบบและกลไกการขับเคลื่อนงาน ก าลังคนให้มีประสิทธิภาพกรมควบคุมโรคมีระบบและฐานึ้อมูลเพื่อการ โครงการ ชนระบบ Estimates บริหารจัดการก าลังคนฯ และสนับสนุนการด าเนินงานป้องกันควบคุมโรค 1. ติดตามการด าเนินงานรายงานผลความก้าวหน้าการด าเนินSM ทุกไตรมาส 2. ประเมินผลจากรายงานผลการด าเนินงานโครงการเทียบเป้าหมายที่ก าหนดไว้ (ประสิทธิภาพ/ประสิทธผล) ิมาตรการที่ 2 พัฒนาก าลังคนด้านป้องกันควบคุมโรค ใหเพียงพอและมี้คุณภาพ บุคลากรมีึีดความสามารถ (สมรรถนะ) ชนการด าเนินงานเพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคได้ตามมาตรฐานสากล 1. ติดตามการด าเนินงานรายงานผลความก้าวหน้าการด าเนินโครงการ ชนระบบ Estimates SM ทุกไตรมาส 2. ประเมินผลจากรายงานผลการด าเนินงานโครงการเทียบเป้าหมายที่ก าหนดไว้ (ประสิทธิภาพ/ประสิทธผล) ิมาตรการที่ 3 บริหารก าลังคนให้เกิดประโยชน์สูงสุด ดึงดูดและธ ารงรักษากรมควบคุมโรค 1. ติดตามการด าเนินงานรายงานมีกลไกและระบบ ผลความก้าวหน้าการด าเนินชนการเสริมสร้างความสุึและธ ารง SM ทุกไตรมาส รักษาบุคลากรคุณภาพ โครงการ ชนระบบ Estimates 2. ประเมินผลจากรายงานผลการด าเนินงานโครงการเทียบเป้าหมายที่ก าหนดไว้ (ประสิทธิภาพ/ประสิทธผล) ิ7. ผู้รับผิดชอบแผนงาน PM แผนงาน ได้แก่ กองบริหารทรัพยากรบุคคลชื่อ-สกุล : นายยุทธพงษ์ เกียรติยุทธชาติ เบอร์โทรศัพท์ : 0 2590 3041 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ : [email protected]

7391. สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ/ปัญหา/พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยงเน่องจากสภาวะสงคมในปัจจุบันมีการเปลยนแปลงไปจากเดิมเป็นอย่างมาก ทงความเป็นอย่ของประชาชน ืัี ่ั ู้สภาวะเศรษฐกิจ สังคม ระบบการศึกษา ระบบโทรคมนาคม ระบบการขนส่ง ท าให้เกิดการเคลื่อนพลวัตไปในที่ต่างๆ ในทั่วทุกมุมโลกได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีความสะดวกมากขึ้น จึงท าให้เกิดการเดินทางมากขึ้นตามไปด้วย จากข้อมูลการเดินทางเข้า – ออกประเทศของกรมการทองเท่ยว กระทรวงการท่องเท่ยวและกีฬา พบว่าในแต่ละปีจะมีจานวน ่ีีผ้เดินทางและท่องเท่ยวเข้ามายังประเทศเพ่มมากข้น โดยในปี 2562 มีจานวนนักเดินทางและท่องเท่ยวต่างชาติ ูีิึีเดินทางเขามาประเทศไทย จานวน 39,797,406 คน เพ่มมากกว่าป 2561 ประมาณ 3.8 เปอร์เซ็นต์ ้ิีที่มา: กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา การเดินทางแต่ละครั้งอาจจะมีความเสี่ยงต่ออบัติเหตุ จากข้อมูลการศึกษาปริมาณยานพาหนะที่วิ่งบนทางุหลวงในความรบผดชอบของกรมทางหลวงกว่า 52,000 กโลเมตร ในป 2560 รวมทงสน 269,866 ลานคนตอกโลเมตร ัิิีั ้ิ ้้ั่ิและ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีประชากรในประเทศไทยรวมประมาณ 66 ล้านคน รถยนต์ที่จดทะเบียน 38 ล้านคัน เป็นรถจักรยานยนต์ประมาณ 20 ล้านคัน และมีถนน รวมทั้งสิ้นประมาณ 452,500 กิโลเมตร มีอบัติเหตุบนทางุหลวง เกดขน 15,936 ครง (ท้งประเทศ 85,915 ครง) จ านวนผเสยชีวิต 2,409 คน (ทงประเทศ 8,733 คน) จานวนิึ ้ั ้ัั ู้ ้ีั ้ผู้บาดเจ็บ 14,692 คน (ทั้งประเทศ 3,796 คน) รถที่เกิดอุบัติเหตุจ านวน 23,855 คัน ส่งผลทั้งในเรื่องเศรษฐกิจ สุขภาพของนักท่องเท่ยว การบริโภคอาหาร และการอย่อาศัยในแต่ละสถานท่ของนักท่องเท่ยว โดยเฉพาะด้านสุขภาพีูีีร่างกาย ซ่งระบบสาธารณสุขมีบทบาทสาคัญ ท้งเร่องของการป้องกันควบคุมโรค การรักษาพยาบาลในแต่ละระดับ ึัืการสุขาภิบาล และอนามัยส่งแวดล้อม โดยเฉพาะเม่อมีการเคล่อนย้ายจากพ้นท่หน่งไปยังพ้นท่หน่ง อาจทาให้เกิดิืืืีึืีึการแพร่กระจายของโรคและภัยสุขภาพท่รวดเร็วข้นได้ จากการทประเทศไทยมการขยายตวของการทองเที่ยว ีึี ่ีั่เชิงการแพทยหรอเชิงสขภาพ(Medical Tourism) ซึ่งเกิดขึ้นในหลายประเทศ โดยมีการจัดให้ผู้ป่วยไปรับบริการ ์ืุด้านการแพทย์หรือด้านสุขภาพในประเทศอื่นที่มีบริการที่มีคุณภาพสูงกว่า หรือมีคาใช้จ่ายต่ ากว่าหรือเสียเวลารอคิวน้อยกว่า ่และในบางกรณีก็มีการผสมผสานบริการด้านการรักษาพยาบาลและการพกฟนกับการท่องเที่ยวด้วยการที่ประเทศไทยัื้24,809,68329,923,18532,529,58835,591,97838,277,30039,797,406010,000,00020,000,00030,000,00040,000,00050,000,000255725582559256025612562จพ.ศ.จ ำนวนนกเดินทำงท่องเทยวต่ำงชำติทเดินทำงเข้ำมำในประเทศไทย ปพ.ศ.2557-2562ัี ่ี ่ีการพัฒนาก าลังคนด้านเวชศาสตร์ป้องกันและควบคุมโรค

740เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมของชาวต่างชาติและเป็นประเทศที่เปิดโอกาสให้ชาวต่างชาติเข้ามาลงทุนและทางานอย่างกว้างขวางทาใหสถานพยาบาลในประเทศไทยหลายแหงมประสบการณกบการรกษาชาวต่างชาติอยแลว ประกอบกบ้่ี์ััู ่้ัประเทศไทยมีแพทย์ที่ไปศึกษาต่อในต่างประเทศจ านวนมาก แพทย์ไทยจ านวนไม่น้อยจึงมีศักยภาพในการรักษาพยาบาล ชาวต่างประเทศและนักท่องเที่ยว ในขณะปัจจุบันประเทศไทยยังมีบุคลากรทางการแพทย์ท่มีความเชี่ยวชาญด้านการให้คาปรึกษา คาแนะนา ีแก่นักเดินทางและท่องเท่ยวท้งชาวไทยและชาวต่างชาติยังไม่เพียงพอกับความจาเป็นของประเทศ ตามท่รัฐบาล ีัีได้จัดทาแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี พ.ศ. 2560 – 2579 ซ่งเป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะยาว ึทาให้การพัฒนาประเทศขาดความต่อเน่อง ดังน้นยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว 20 ปี จึงเป็นทางออกสาคัญท่จะทาใหืัี้ประเทศไทยพฒนาอย่างตอเน่องและย่งยืนโดยมประเดนสาคญในการขบเคลอนคอการพฒนา “ประเทศไทย 4.0” ใหั่ืัี็ััื ่ืั้เป็นประเทศท่มีความม่นคง ม่งค่ง ย่งยืน พัฒนาแล้วตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และจากการท่ประเทศไทยีััััีตั้งอย่บนภูมิประเทศท่เป็นเหมือนศูนย์กลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยมีประเทศเพื่อนบ้านโดยรอบ ูีได้แก่ พม่า ลาว กัมพูชา และมาเลเซีย ประกอบกับประเทศไทยเข้าส่ประชาคมอาเซียนอย่างสมบูรณ์ จึงหันมา ูให้ความสาคญกบการค้าชายแดนกับประเทศเพ่อนบ้าน และกล่มประเทศภายใต้กรอบความรวมมือต่างๆ ในภูมภาค ััืุ่ิรัฐบาลจึงมีนโยบายท่จะม่งม่นพัฒนาพ้นท่บริเวณชายแดนท่เชื่อมต่อกับประเทศเพ่อนบ้านในภูมิภาคอาเซียน ีุัืีีืเพ่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการท่องเท่ยวเชื่อมโยงกับประเทศในกล่มอาเซียน ส่งเสริมการค้าและืีุการลงทน เป็นตน จากนโยบายดงกลาวจึงทาใหเกดการเดนทางเขามาในประเทศไทยมากข้นและหลากหลายรูปแบบุ้ั่้ิิ้ึท้งการเดินทางเข้ามาใช้แรงงาน การเดินทางมาท่องเท่ยว ส่งผลให้เกิดปัญหาโรคและสุขภาพตามมาท้งโรคติดต่อ ัีัอบัติใหม่ อบัติซ้ า และอบัติเหตุ เป็นต้น ุุุดังน้นกรมควบคุมโรคในฐานะท่เป็นองค์กรหลักในการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ัีของประเทศ มีแนวทางการดาเนินงานม่งเน้นให้ประชาชนคนไทยมีสุขภาพดี ปลอดโรค ปลอดภัย จึงได้มีนโยบายุเปิดการฝึกอบรมแพทย์ประจ าบ้าน สาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยวในปี 2559 และเปิดแขนงเวชศาสตร์การจราจรร่นแรกขนในปี พ.ศ.2563 ซงมสถาบนเวชศาสตร์ป้องกนศกษาเป็นสถาบันหลกในการุึ ้ึ ่ีััึัฝึกอบรม โดยมีพนธกิจในการฝึกอบรมที่สอดคล้องกับพนธกิจหลักของสถาบัน คือ ผลิตแพทย์ผู้มีความรู้ความช านาญ ััด้านเวชศาสตร์ป้องกันแขนงต่างๆ เพอเป็นแกนหลักในการพฒนานโยบาย พฒนาวิชาการ องค์ความรู้ และน าสู่ ื่ััการปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยแพทย์ผู้จบหลักสูตรด้านเวชศาสตร์ป้องกัน ทั้ง 2 แขนง คือ แขนงเวชศาสตร์ การเดินทางและท่องเที่ยว จ าเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการให้ค าปรึกษาแนะน า ดูแล รักษาได้อย่างถูกต้อง และในปัจจุบันกรมควบคุมโรคได้เปิดคลินิกเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเท่ยวข้น เพ่อพัฒนางาน ีึืด้านเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเท่ยว ท้งหมด 14 แห่ง จาเป็นอย่างย่งท่ต้องมี แพทย์ พยาบาล และบุคลากรท่ ีัิีีทสามารถปฏิบัติหน้าท่ดังกล่าวได้ สถาบันเวชศาสตร์ป้องกนศึกษา ซ่งเป็นสถาบันหลัก จึงมีความม่งหวังให้บุคลากรี ่ีัึุทางการแพทย์และทางการสาธารณสุขท่ปฏิบัติงานในคลินิกฯ มีความร้ความเข้าใจเก่ยวกับโรคและภัยสุขภาพ ีูีท่เกิดข้นในท้งก่อน ระหว่าง และหลังการเดินทางและท่องเท่ยว เพ่อนาไปใช้เป็นข้อมูลในการเฝ้าระวัง คัดกรอง ีึัีืวินิจฉัย และให้ค าปรึกษาในนักเดินทางท่องเที่ยวและผู้ที่เข้ามาใช้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

741ส่วนผ้ท่จบหลักสูตรแขนงเวชศาสตร์การจราจร ต้องมีความร้ความสามารถครอบคลุมตั้งแต่การประเมินูีูความเส่ยง ให้คาปรึกษา ให้ความร้ท่เก่ยวเน่องกับการป้องกันและดูแลรักษาผ้โดยสารในระบบจราจรอย่างถูกต้องีูีีืูเหมาะสม รวมถึงการเฝ้าระวัง สอบสวนโรคท่เกิดจากการจราจร จัดการแก้ไขปัญหาภัยสุขภาพต่างๆ อันเก่ยวเน่องีีืกบการจราจรไดอย่างถกต้องเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงเวชศาสตร์ัู้การจราจร เป็นเวชศาสตร์ป้องกนแขนงใหมทเน้นการบูรณาการของศาสตร์ตางๆ ทางด้านสาธารณสขและการแพทย ั่ี ุ่่์และวิศวกรรมความปลอดภัย จึงเป็นอกศาสตร์หนึ่งที่มุ่งเน้นดูแลและบริบาลประชาชนทั่วไปทุกเพศทุกวัยทั้งชาวไทย ีและต่างชาติ เพื่อลดความรุนแรงจากการบาดเจ็บ ภาวะแทรกซอนจนเกิดภาวะพิการ รวมถึงการเสียชีวิตที่เป็นผลมาจาก้ทงทางตรงและทางอ้อม จากการเกดอุบตเหตุจราจร ทงทางบก ทางน า และทางอากาศ ซ่งขอบเขตของเนืองาน ั ้ิัิั ้้ึ้ยงครอบคลมถงการสอบสวนสาเหตุการเกดอุบัติเหตุรวมกบสหสาขาวิชาชีพอนๆ เพอป้องกันหรือลดความเสี่ยง ัุึิ่ัื ่ื่ความรุนแรงจากการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินลง การศึกษาวิจัยเพอก าหนดมาตรการทงในระดับบุคคล ครอบครัว ื่ั ้และชุมชน ใหมีความตระหนกรถงความปลอดภัย การใช้มาตรการทางสงคมในรปแบบตางๆ ในการพฒนาสงคมส้ัู ้ึัู่ััู ่วัฒนธรรมแห่งความปลอดภัย (Safety Culture )ดังนั้น การมองถึงการผลิตและพฒนาก าลังคนด้านเวชศาสตร์ป้องกันและควบคุมโรคทั้งสองสาขา ัจึงมีความส าคัญที่จะผลิตและพฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขให้มีความรู้และความเชี่ยวชาญ ที่สามารถัให้บริการค าปรึกษาได้ทั้งประชากรไทยที่ต้องการเดินทางออกไปยังต่างประเทศและประชากรชาวต่างประเทศ ที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวยังประเทศไทย ซึ่งคาดว่าจะช่วยลดการเจ็บป่วย ลดความเสี่ยง ความรุนแรงจากการบาดเจ็บ การสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินลง ในกลุ่มเดินทางและท่องเที่ยว และมุ่งเน้นดูแลและบริบาลประชาชนทั่วไปทุกเพศ ทุกวัยทั้งชาวไทยและต่างชาติ เบื้องต้นได้มากยิ่งขึ้น 2. เป้าหมายการพัฒนาก าลังคนด้านเวชศาสตร์ป้องกันและควบคุมโรคระยะ 5 ป(2561-2565)ี2.1 เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระดับประเทศ ในระยะ 10 ปี, 15 ปี และ 20 ปี (ถ้ามี) ให้ระบุเพิ่มด้วย 2.2 เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ระดับประเทศ ในระยะ 5 ปีเป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เป้าหมาย 1 แพทย์ประจ าบ้านจบหลักสูตรด้านเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว - 2233ตัวชี้วัด 1 จ านวนแพทย์ประจ าบ้านที่จบหลักสูตร ด้านเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว อย่างน้อย ปีละ 2 คนเป้าหมาย 2 บุคลากรทางการแพทย์และ การสาธารณสุขได้รับการพัฒนาด้านเวชศาสตร์ป้องกัน 4040404 0ตัวชี้วัด 2 บุคลากรทางการแพทย์และการสาธารณสุขได้รับการพัฒนาด้านเวชศาสตร์ป้องกัน จ านวน 40 คน ต่อปี

742เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เป้าหมาย 3 ภาคีเครือข่ายได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านเวชศาสตร์ป้องกัน 50 50 50 50 ตัวชี้วัดที่ 3 จ านวนภาคีเครือข่ายได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านเวชศาสตร์ป้องกัน จ านวน 50 คน ต่อปี

7433.มาตรการการพัฒนาก าลังคนด้านเวชศาสตร์ป้องกันและควบคุมโรค ที่ส าคัญ ในระยะ 5 ปี และหน่วยงานผู้ด าเนินการ(ปรับตารางได้ตามจริง) มาตรการ/Service Provider ส่วนกลาง สคร. สสจ. รพ. กรมการขนส่งทางบก/ต ารวจทางหลวง/ผู้ประกอบการรถโดยสาร ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยว/มัคคุเทศก์ มี ่ การสร้างและพัฒนาก าลังคนด้านเวชศาสตร์ป้องกันและควบคุมโรค มาตรการที่ 1.1 พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านเวชศาสตร์ป้องกันและควบคุมโรคสร้างและพัฒนาแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ด้านเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว/เวชศาสตร์การจราจร-มาตรการ 1.2 พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายด้านเวชศาสตร์ป้องกันและควบคุมโรคภาคีเครือข่ายด้านเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว/เวชศาสตร์การจราจร-มาตรการที่ 2 การพัฒนางานวิชาการด้านเวชศาสตร์ป้องกันและควบคุมโรค สร้างและพัฒนาทีมเพื่อพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมกรมควบคุมโรค ภายใต้ชื่อทีม Think Tank DDCสร้างและพัฒนาทีม เพื่อพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมกรมควบคุมโรค ภายใต้ชื่อทีม Think Tank DDC----

7444.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน มี ่ การสร้างและพัฒนาก าลังคนด้านเวชศาสตร์ป้องกัน และควบคุมโรคจ านวนแพทย์ประจ าบ้านบุการแพทยและ์การสาธารณสุขได้รับการพัฒนาศักยภาพด้์ป้องกันและควบคมโรค ุโครงการพัฒนาศักยภาพแพทย์ประจ าบ้านและบุคลากรด้านเวชศาสตร์ป้องกัน     สถาบันเวชศาสตร์ป้องกันศึกษา 3 ,008 ,9001 ,840 ,0002,479,700 2,600,000 2 ,730 ,00012,658,600 เงินงบประมาณแผ่นดิน (กรมควบคุมโรคแพทย์ประจ าบ้าน/ บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ร้อยละ 80 ของแพทย์ประจ าบ้านและบุคลากรทางการแพทย์และการสาธารณสุขมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะด้านเวชศาสตร์ป้องกันและควบคุมโรค

745มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน โครงการการพัฒนาระบบกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาและประเมินผล ประจ าปีงบประมาณ 2563     สถาบันเวชศาสตร์ป้องกันศึกษา 1 ,800 ,000 1 ,008 ,000 1 ,019 ,000 1 ,070 ,000 1,123,5006,020,500 เงินงบประมาณแผ่นดิน (กรมควบคุมโรคได้การรับรองมเบัณฑิตศึกษาสหพันธ์แพทยศาสตร์โลก (WFME) ที่แพทยสภาก(ระยะเวลาทุก 5 ปี/ ครั้ง)ใบรับรองหลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจ าบ้าน สาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงเวชศาสตร์การจราจร และแขนงเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยวจากแพทยสภามาตรการที่ 2 การพัฒนางานวิชาการด้าน เวชศาสตร์ป้องกันและควบคุมโรค จวิชาการหรืองานวิจัยด้านเวชศาสตร์ป้องกันและควบคุมโรค

746มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน โครงการพัฒนานวัตกรรมและวิชาการด้านเวชศาสตร์ป้องกันและควบคุมโรค (Think Tank DDC)     สถาบันเวชศาสตร์ป้องกันศึกษา5,000,0004,147,2001 ,721 ,000 1 ,80 001,800,00014,468,200เงินงบประมาณแผ่นดิน (กรมควบคุมโรคบุคลากรกรมควบคุมโรค/สสจ./รพ./หน่วยงานเครือข่าย1.มีวิจัย/นวัตกรรม/บทความทางวิชาการหรือข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ที่สามารถน าไปใช้ประโยชน์ทางการสาธารณสุขจ านวน 10 เรื่อง ในปี 2565 โครงการพัฒนาระบบบริการวิชาการงานวิจัยและเครือข่ายประชาสัมพันธ์--  สถาบันเวชศาสตร์ป้องกันศึกษา--1 ,233 ,880 1 ,823 ,140 1 ,823 ,140 5 ,849 ,160เงินงบประมาณแผ่นดิน (กรมควบคุมโรคแพทย์ประจ าบ้าน/ บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข- ผลงานวิจัยที่ได้รับการการเผยแพร่ตีพิมพ์ ปีละ 2เรื่อง - รายงานประเมินการควบคุมป้องกันโรคช่องทางเข้าออก

747มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลา ปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ร่วม วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน ระหว่างประเทศ ปีละ 1 เรื่อง - รายงานบทความวิชาการระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพนักเดินทางท่องเที่ยว ปีละ 1 เรื่อง

7485. แผนการติดตามประเมินผลระยะ 5 ปี(ระดับมาตรการ/แผนงาน/โครงการหลัก) มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผล ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 โครงการส ารวจความพึงพอใจแพทย์ที่จบหลักสูตร เวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว มีความพึงพอใจในระดับมาก- แบบส ารวจความพึงพอใจของผู้มารับบริการ- แบบติดตามการปฏิบัติงาน - แบบสัมภาษณ์ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงาน- - โครงการส ารวจความคิดเห็นและความต้องการต่อการฝึกอบรม สาธารณสุข ด้านเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว (Travel Medicine)แพทย์ พยาบาล นักวิชาการระดับ สคร. สสจ. โรงพยาบาลทุกจังหวัดแบบส ารวจความคิดเห็นและความต้องการต่อการฝึกอบรมด้านเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว (Travel Medicine)- - --6. ผู้รับผิดชอบแผนงาน 1. PM แผนงานโรค ได้แก่ หน่วยงานสังกัดกรมควบคุมโรคที่เกี่ยวข้อง ชื่อ-สกุล นางสาวเตือนใจ นุชเทียน นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการเบอร์โทรศัพท์ 02 5903726 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ [email protected] 2. PM แผนงานโรค ได้แก่ หน่วยงานสังกัดกรมควบคุมโรคที่เกี่ยวข้อง ชื่อ-สกุล นางสาวจันจิรา ชินศรี นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการเบอร์โทรศัพท์ 02 5903726 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ [email protected]

7491. สถานการณ์การติดตามและประเมินผลกรมควบคุมโรคได้ก ำหนดแนวทำงกำรติดตำมและประเมินผลกำรด ำเนินงำนภำยใต้ยุทธศำสตร์ที่ 4 กำรปรับปรุงระบบบริหำรจัดกำรและกำรพฒนำควำมร่วมมือต่อเนื่องมำตั้งแต่ปี 2561 ที่เริ่มประกำศใช้ยุทธศำสตร์ชำติัเปนเปำหมำยกำรพัฒนำประเทศอยำงยงยนตำมหลกธรรมำภิบำล โดยติดตำมผลกำรด ำเนนงำนแบบ Real Time ็้่ั ่ืัิรำยเดือน และรำยไตรมำสผำนระบบบรหำรจดกำรเชิงยทธศำสตร (Estimates SM) และประเมนผลตำมตวชีวัดและ ่ิัุ์ิั้ค่ำเป้ำหมำยที่ก ำหนดไว้ใน แผนปฏิบัติรำชกำรประจ ำปี แผนปฏิบัติรำชกำรระยะ 5 ปี และแผนปฏิบัติกำรด้ำนกำรป้องกน ัควบคุมโรค และภัยสุขภำพของประเทศ 1) การติดตามการด าเนินงาน กำรติดตำมกำรด ำเนนงำนของกรมควบคมโรค เปนกำรตดตำมกำรด ำเนนงำนทงเชิงปรมำณและ ิุ็ิิั ้ิเชิงคุณภำพ โดยเน้นใหหน่วยงำนในสงกดกรมฯ มีกำรรำยงำนผลกำรดำเนินงำนตำมแผนงำน/มำตรกำร/กจกรรม/้ััิโครงกำรส ำคัญ เพอส่งผลต่อกำรลดโรคและภัยสุขภำพที่เป็นปัญหำส ำคัญของประเทศเป็นหลัก และกำรจัดท ำื่ขอเสนอแนะเชิงนโยบำยจำกผลกำรกำกบ ตดตำมเพอน ำเสนอผบริหำรพจำรณำใช้ประกอบกำรตดสนใจเพอด ำเนินกำร้ัิื ู่ ้ิัิื ่ป้องกันและควบคุมโรค โดยมีแนวปฏิบัติเพื่อให้กำรก ำกับติดตำมมีมำตรฐำน แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1: ตดตามกอนดาเนินการตามแผนปฏิบตงาน/มาตรการ/โครงการิ่ัิ เปนกำรวำงแผน ็กำรติดตำมกำรด ำเนนกำรตำมแผนปฏิบติงำน/มำตรกำร/โครงกำร เพอให้เกิดควำมมั่นใจว่ำจะมีกระบวนกำรด ำเนินงำน ิัื่ที่ส่งให้เกิดผลที่มีคุณภำพ โดยเริ่มต้นจำกกำรวิเครำะห์ว่ำมีกิจกรรมอะไรเป็นชุดกิจกรรมส ำคัญที่จะท ำให้แผนงำน/มำตรกำร/โครงกำรน้นๆ บรรลวัตถประสงค กำรพจำรณำปัจจัยส ำคัญที่จะท ำให้กิจกรรมนั้นเกิดขึ้นอย่ำงมีคุณภำพและัุุ์ิทันเวลำ และกำรก ำหนดวิธีกำรและเวลำที่จะติดตำมประเด็นส ำคัญ รวมทั้งมีกำรจัดท ำแผนบริหำรควำมเสี่ยงเพอให้ ื่กำรด ำเนินงำนบรรลุวัตถุประสงค์ ระยะท่ 2: ตดตามระหวางดาเนินการตามแผนปฏิบต/มาตรการ/โครงการีิ่ัิ เป็นกำรดำเนินตำมแผนกำรติดตำมกำรด ำเนินกำรที่ได้วำงไว้ในระยะที่ 1 เพอให้ทรำบควำมก้ำวหน้ำกำรด ำเนินงำนของหน่วยงำนว่ำลุล่วงไปื่แลวเพียงใด เป็นไปตำมแผนหรอไม มปัญหำ/อุปสรรคอย่ำงไร เพ่อใหสำมำรถแกไขปรบปรงกำรด ำเนนงำนใหได้ผลตำม้ื่ีื้้ัุิ้เป้ำหมำยที่ก ำหนดไว้ ระยะที่ 3: สรุปผลการดาเนินการแผนงาน/มาตรการ/โครงการเมอสนปงบประมาณื่ิ ้ี โดยกำรวิเครำะห์ สงเครำะห รวบรวมผลกำรด ำเนนงำนแผนงำน/มำตรกำร/โครงกำรสำคญ โดยเฉพำะแผนงำน/มำตรกำร/ั์ิัโครงกำรทกรมฯ ใหควำมสำคญ หรือจุดเน้น และสถำนกำรณกำรดำเนินงำนของหน่วยงำนในสงกดกรมฯ รวมทงี ่้ั์ััั ้มำตรกำรส ำคัญที่มีประสิทธิผลต่อกำรลดโรคและภัยสุขภำพ ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำอปสรรค ข้อเสนอแนะ กำรแก้ไข ุและแนวทำงกำรด ำเนินงำนในปีต่อไป เพอจัดท ำเป็นส่วนส ำคัญของรำยงำนประจ ำปีของหน่วยงำน/กรมควบคุมโรค ื่ แผนงานพัฒนาระบบการติดตามและประเมินผล

750และผลักดันให้ข้อเสนอแนะจำกกำรติดตำมก ำกับงำนกรมควบคุมโรคถูกน ำสู่กำรปฏิบัติและ/หรือน ำไปใช้ประโยชน์ประกอบกำรจัดท ำแผนงำน/โครงกำรของกรมควบคุมโรคปีต่อๆ ไป 2) การประเมินผล กรมควบคุมโรค กำรประเมินผล กรมควบคุมโรค มีกำรประเมินผลในระดับยทธศำสตร กลยทธ์ แผนงำน โครงกำร/ุ์ุมำตรกำรลดโรคและภัยสขภำพทเปนปญหำสำธำรณสขทสำคญ ตำมตัวชี้วัด และคำเปำหมำยของแผนปฏิบติรำชกำรุี ่็ัุี ่ั่้ัประจ ำปี แผนปฏิบัติรำชกำรระยะ 5 ปี และแผนปฏิบัติกำรด้ำนกำรป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภำพ รวมทั้งโครงกำรสำคญทสงผลต่อกำรลดโรคและภัยสขภำพ เพ่อนำผลกำรประเมนไปใช้ประกอบกำรพจำรณำปรับเปลยนแนวทำงกำรัี ุ่่ืิิี ่ด ำเนินงำน กำรก ำหนดมำตรกำรใหม่ กำรวำงแผนงำน/โครงกำรใหม่ กำรทบทวนและปรับปรุงนโยบำยเดิม หรือพฒนำันโยบำยใหม่ในกำรเฝ้ำระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภำพ รวมทั้งใช้เป็นข้อมูลส ำหรับกำรทบทวน และก ำหนดทิศทำงหน่วยงำนใหม่ กำรทบทวนและปรับปรุงแผนปฏิบัติรำชกำรประจ ำปี แผนปฏิบัติรำชกำรระยะ 5 ปี และแผนปฏิบัติกำรด้ำนกำรป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภำพ และกำรจัดสรรทรัพยำกรให้มีประสิทธิภำพ และประสิทธิผลมำกยิ่งขึ้น สอดรับกับกำรบริหำรงบประมำณแบบมุ่งเน้นผลงำนตำมยุทธศำสตร์ซึ่งกองยุทธศำสตร์และแผนงำน โดยกลุ่มติดตำมและประเมินผล จะด ำเนินกำรเก็บ รวบรวมและวิเครำะห์ข้อมูลจำกระบบบริหำรจัดกำรเชิงยุทธศำสตร์ (Estimates SM) นำเสนอผบรหำรกรมฯ ในภำพรวมกรมควบคมโรค และ ู้ิุจะมีกำรแจ้งให้หน่วยงำนในสังกัดรับทรำบแผนกำรติดตำมและประเมินผลประจ ำปี 2. พื้นที่เสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง ทุกหน่วยงำนในสังกัดกรมควบคุมโรค 3. เป้าหมายการด าเนินงานระยะ 5 ปี(2561-2565)เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเป้าหมาย baseline ค่าเป้าหมาย ปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 เป้ำหมำย 1 ระบบติดตำมและประเมินผลที่มีประสิทธิภำพ ประสิทธิผล ตัวชี้วัด 1 จ ำนวนรำยงำนกำรประเมินผลกำรด ำเนินงำนตำมแผนพัฒนำด้ำนกำรป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภำพของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561–2580) ระยะปฏิรูป (2561–2565) ในส่วนที่เกี่ยวข้อง (ปีละ 1 เรื่อง) 00111

7514.มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ระยะ 5 ปี มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/หลัก กรอบระยะเวลาปี พ.ศ. ผู้รับผิด ชอบหลัก/ผูร่วมด าเนินการ ้วงเงิน (ล้านบาท) เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 2561 2562 2563 2564 2565 รวม แหล่งเงิน โครงการพัฒนาระบบและกลไกการติดตามและประเมินผล กรมควบคุมโรคกิจกรรมที่ 1 กำรพัฒนำระบบและกลไกกำรติดตำมและประเมินผล กรมควบคุมโรค///กลุ่มติดตำมและประเมินผล กองยุทธศำสตร์และแผนงำน/ ทุกหน่วยงำนในสังกัดกรมควบคุมโรค 3.00 2.5 2.5 2.5 2.5 13.00 งมำณแผ่นดินระบบกำรติดตำมและประเมินผลที่มีประสิทธิภำพ ประสิทธิผล จ ำนวนรำยงำนกำรประเมินผลกำรด ำเนินงำนตำมแผนพัฒนำด้ำนกำรป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภำพ ของประเทศระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561–2580) ระยะปฏิรูป (2561–2565) ในส่วนที่เกี่ยวข้อง ปีละ 1 เรื่อง

7525. แผนการติดตามประเมินผลระยะ 5 ปี (ระดับมำตรกำร/แผนงำน/โครงกำรหลัก) มาตรการ/แผนงานโครงการหลัก เป้าหมาย วิธีการติดตามประเมินผล กรอบระยะเวลาของการติดตามประเมินผลปี พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 โครงกำรติดตำมและประเมินผลโครงกำรพัฒนำระบบและกลไกกำรติดตำม และประเมินผล กรมควบคุมโรค ระบบและกลไกกำรติดตำมและประเมินผลเข้มแขง และ ็มีประสิทธิผล ก ำกับ ติดตำม และประเมนผลิกำรด ำเนินโครงกำรโดยก ำหนดผู้รับผิดชอบ และใหติดตำม ก ำกับ้และรำยงำนผลกำรด ำเนินงำน ในระบบบริหำรจดกำรเชิงัยุทธศำสตร์ (Estimates SM) รวมทั้งน ำเสนอผลกำรตดตำมตอิ่ผู้บริหำร / / / / / 6. ผู้รับผิดชอบแผนงาน ชื่อ-สกุล นำงวรินทร บัวแช่ม กลุ่มติดตำมและประเมินผล กองยุทธศำสตร์และแผนงำน เบอร์โทรศัพท์ 02-590-3897 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ [email protected], [email protected]

753ภาคผนวก แผนการติดตามประเมินผลระยะ 5 ปี ของแผนงานโรคล าดับ ชื่อแผนงาน การติดตามประเมินผล ผู้รับผิดชอบ กลุ่มโรคติดต่อ (CD) 1แผนงำนควบคุมโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน 1. ติดตำมผลกำรเฝ้ำระวังผู้ป่วย AFP และผู้ป่วยไข้ออกผื่น ในกำรประชุมประจ ำสัปดำห์ระหว่ำงกองโรคป้องกันด้วยวัคซีน กองระบำดวิทยำและกรมวิทยำศำสตร์กำรแพทย์ 2. ฐำนข้อมูลก ำจัดโรคหัด กองระบำดวิทยำ 3. ผลกำรรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ โรคหัด และโรคหัดเยอรมัน 4. ประเมินอัตรำป่วยจำกรำยงำนเฝ้ำระวังโรค 506 และโปรแกรมตรวจสอบข่ำวกำรระบำด กองระบำดวิทยำ 5.กำรประมวลผล/รำยงำนผลควำมครอบคลุมกำรได้รับวัคซีนจำกรำยงำน 43 แฟ้มมำตรฐำน (HDC) รำยเดือนและรำยไตรมำส กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน 2แผนงำนโรคติดต่อทำงอำหำรและน้ ำ 1.ตดตำมผลกำรขบเคลือนงำนฯจำกรำยงำน Estimate SM ิั่2. วิเครำะห์กำรด ำเนินงำน 3. สรปผลรำยไตรมำส ุ4.ผลิตภัณฑ์ที่จัดท ำขึ้น เช่น สื่อ คู่มือ แนวทำง ระบบ กองโรคติดต่อทั่วไป 3แผนงำนโรคพิษสุนัขบ้ำ 1 รำยงำนกำรรับวัคซีนแบบป้องกันโรคล่วงหน้ำ (PrEP) 2 รำยงำนตัวชี้วัดผลผลิตตำมแบบฟอร์ม Rabies 3 ปี 2564ในระบบรำยงำน Estimate กรมควบคุม 3 รำยงำน Rabies 3 4 รำยงำนผลกำรประเมินรับรองมำตรฐำนระบบลูกโซ่ควำมเย็น 5 รำยงำนผลกำรรับรองพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้ำ กองโรคติดต่อทั่วไป

754ล าดับ ชื่อแผนงาน การติดตามประเมินผล ผู้รับผิดชอบ 4แผนงำนโรคเลปโตสไปโรสิส - รำยงำนกำรวิเครำะห์สถำนกำรณ์และประเมินควำมเสี่ยงของ สคร. - รำยงำนกำรจัดกิจกรรมรณรงค์สื่อสำรควำมเสี่ยงฯ - รำยงำนกำรประเมินตลำดสดที่มีกำรพัฒนำดีเด่น - รำยงำนกำรถ่ำยทอดแนวทำงกำรตรวจคัดกรองฯ แต่ละระดับ (สรต./สคร./สสจ.) - กำรจัดท ำแผนระดับอ ำเภอจำก สสจ. กองโรคติดต่อทั่วไป 5แผนงำนควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ ติดตำมจำกผู้ปฏิบัติในหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง และเอกสำร กองโรคติดต่อทั่วไป 6แผนงำนโรคไข้หวัดใหญ่ ติดตำมจำกผู้ปฏิบัติในหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง และเอกสำร กองโรคติดต่อทั่วไป 7แผนงำนป้องกันควบคุมโรคในเด็ก 1.ความครอบคลุมของเครือข่ายที่สามารถด าเนินงานตามนโยบาย มาตรการด้านการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในกลุ่มเด็กปฐมวัย2..ผลงานวิชาการ/เทคโนโลยี/สื่อ/นวัตกรรมการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย3.จังหวัดที่มีอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในกลุ่มเด็กปฐมวัย ลดลง เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปีกองโรคติดต่อทั่วไป 8แผนงำนเร่งรัดก้ำจัดโรคไข้มำลำเรีย ประเมินผลจำกระบบข้อมูลก ำจัดโรคไข้มำลำเรีย กองโรคติดต่อน ำโดยแมลง 9แผนงำนเฝ้ำระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อน้ำโดยยุงลำย 1.รำยงำนกำรวิเครำะห์ ประเมินสถำนกำรณ์ก่อน และระหว่ำงฤดูกำลระบำดของโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลำย ระดับจังหวัด 2.แผนปฏิบัติกำรหรือแนวทำงควบคุมโรคและตอบโต้ภำวะฉุกเฉินเพื่อรองรับสถำนกำรณ์กำรระบำดโรคไข้เลือดออกของอ ำเภอเสี่ยง 3.รำยงำนผลกำรด ำเนินงำนขับเคลื่อนกำรมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อจัดกำรสิ่งแวดล้อม และท ำลำยแหล่งเพำะพันธุ์ยุงลำย ระดับอ ำเภอ 4.รำยงำนผลประเมินควำมรอบรู้ของประชำชนกลุ่มเป้ำหมำยในกำรป้องกันโรคติดต่อ น ำโดยยุงลำย 5.ข้อมูลจำกรำยงำน 506 6.รำยงำนจ ำนวนผลงำนวิชำกำรที่สำมำรถน ำไปประยุกต์ใช้ในกำรป้องกันควบคุมโรคได้ กองโรคติดต่อน ำโดยแมลง 1แผนงำนป้องกันควบคุมโรคติดต่อน้ำโดยแมลงอื่นๆ (สครับไทฟัสและลิชมำเนีย) 1.รำยงำน 5062.ติดตำมประเมินผลตำมตัวชี้วัดกองโรคติดต่อน ำโดยแมลง

755ล าดับ ชื่อแผนงาน การติดตามประเมินผล ผู้รับผิดชอบ 1แผนงำนป้องกันควบคุมโรคเท้ำช้ำง 1.ผลกำรส ำรวจกำรเฝ้ำระวังในคน อัตรำกำรแพร่เชื้อในยุง โรคในสัตว์ 2.ติดตำมประเมินผลตำมตัวชี้วัดกองโรคติดต่อน ำโดยแมลง 1แผนงำนควบคุมโรคหนอนพยำธิตำมโครงกำรพระรำชด้ำริฯ ติดตำมประเมินผลตำมตัวชี้วัด กองโรคติดต่อทั่วไป 1แผนงำนควบคุมโรคพยำธิใบไม้ในตับและมะเร็งท่อน้ ำดี ติดตำมประเมินผลตำมตัวชี้วัดกองโรคติดต่อทั่วไป 1กำรบริหำรจัดกำรกำรดือยำต้ำนจุลชีพ (AMR) ติดตำมประเมินผลตำมตัวชี้วัดสถำบันบ ำรำศฯ 15 แผนงำนป้องกันและแก้ปัญหำเอดส์ 1. ฐำนข้อมูล 43 แฟ้ม Health Data Center (HDC) 2. รำยงำนผลกำรด ำเนินงำนรำยไตรมำส กองโรคเอดส์ 16 แผนงำนด้ำนกำรป้องกัน ควบคุมโรคไวรัสตับอักเสบบีและซี 1.รำยชื่อจังหวัดที่เข้ำร่วมสัปดำห์ไวรัสตับอักเสบ 2.รำยงำนผลกำรรณรงค์สัปดำห์ไวรัสตับอักเสบ กองโรคเอดส์ 17 แผนงำนป้องกันและควบคุมโรคติดต่อทำงเพศสัมพันธ์ 1. ฐำนข้อมูล 43 แฟ้ม Health Data Center (HDC) 2. รำยงำนผลกำรด ำเนินงำนรำยไตรมำส กองโรคเอดส์ 18 แผนงำนป้องกันควบคุมโรคเรื้อน 1. รวบรวมข้อมูลจำกระบบรำยงำนผู้ป่วยโรคเรื้อนที่พบใหม่ 2. นิเทศ ก ำกับ ติดตำม ประเมินผลกำรด ำเนินงำนควบคุมโรคเรื้อนของ สคร./สปคม. สถำบันรำชประชำฯ 19 แผนงำนควบคุมโรควัณโรค 1. ผ่ำนระบบโปรแกรม NTIP 2. นิเทศ ติดตำมประเมินผลในพื้นที่ กองวัณโรค 20 กำรขับเคลื่อนกำรด ำเนินงำนตำม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ผ่ำนระบบติดตำมประเมินผลกำรด ำเนินงำนตำมพระรำชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 //ims.ddc.moph.go.th/main.php กองโรคติดต่อทั่วไปกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (NCD) และปัจจัยเสี่ยง 21 แผนงำนโรคไม่ติดต่อ (DM HT) 1.ติดตำมผลกำรประเมินคุณภำพ NCD Clinic Plus ผ่ำน สคร.2.รำยงำนสรุปผลกำรป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้องรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐำน (CBI NCDs)3.ติดตำมประเมินผลตำมตัวชี้วัด กองโรคไม่ติดต่อ

756ล าดับ ชื่อแผนงาน การติดตามประเมินผล ผู้รับผิดชอบ 22 แผนงำนควบคุมกำรบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ - ระบบ Estimates SM- กำรนิเทศ ติดตำม - ระบบ 43 แฟ้ม (PP Special) - ระบบ TAS ส ำนักงำนควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ฯ 23 แผนงำนควบคุมกำรบริโภคยำสูบ ติดตำมประเมินผลตำมตัวชี้วัด กองงำนยำสูบฯ กลุ่มโรคจำกกำรบำดเจ็บ (Injury) 24 แผนงำนกำรป้องกันกำรบำดเจ็บจำกกำรจรำจรทำงถนน พ.ศ. 2561 -2565 1. ข้อมูลอัตรำตำยจำกกำรบำดเจ็บทำงถนน (ข้อมูลมรณบัตร จำก สนย.หรือ ข้อมูลบูรณำกำร) 2. ประเมินเชิงปริมำณผ่ำนระบบรำยงำนออนไลน์ผ่ำนเว็บไซด์ Quick win 3. ประเมินเชิงคุณภำพจำกกำรสุ่มศึกษำบำงพื้นที่ 4. ประเมินเชิงคุณภำพ จำกกำรลงพื้นที่ประเมินระดับ สสจ, สคร. และส่วนกลำง 5. ประเมินกำรด ำเนินงำน รพ.ระดับ A, S, M1 6. จ ำนวนผู้ตรวจแอลกอฮอล์ในเลือดและผลกำรตรวจ กองป้องกันกำรบำดเจ็บ 19 แผนงำนกำรป้องกันกำรจมน้ ำ 1. กำรรำยงำนผลจำกจังหวัด, ส ำนักงำนป้องกันควบคุมโรคเขต และติดตำมประเมินผล เชิงคุณภำพโดยทีมส่วนกลำง 2. แบบสอบสวนโรค กองป้องกันกำรบำดเจ็บ 20 แผนงำนป้องกันบำดเจ็บจำกกำรพลัดตกหกล้มในผู้สูงอำยุ 1. สัมภำษณ์ 2. ข้อมูลกำรมำรับบริกำรด้วยสำเหตุพลัดตกหกล้ม กองป้องกันกำรบำดเจ็บ กลุ่มโรคจำกกำรประกอบอำชีพและสิ่งแวดล้อม (Env-Occ) 2แผนงำนกำรขับเคลื่อนมำตรกำรเฝ้ำระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค จำกกำรประกอบอำชีพและโรคจำกสิ่งแวดล้อม ภำยใต้พระรำชบัญญัติควบคุมโรคจำกกำรประกอบอำชีพและ โรคจำกสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2562 1.แบบฟอร์มกำรรำยงำนควำมก้ำวหน้ำกำรด ำเนินงำน 2.กำรประเมินคุณภำพผลิตภัณฑ์หลักตำมมำตรกำรจัดท ำผลิตภัณฑ์กรมควบคุมโรค 3.กำรประเมินคุณภำพข้อมูล โดยกสรประเมินระบบเฝ้ำระวัง กองโรคจำกกำรประกอบ อำชีพและสิ่งแวดล้อม

757ล าดับ ชื่อแผนงาน การติดตามประเมินผล ผู้รับผิดชอบ 28 แผนงำนพัฒนำระบบเฝ้ำระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคจำกกำรประกอบอำชีพ 1. ระบบติดตำมประเมินผลแบบ Online 2. กำรประชุมรำชกำรภำยใต้คณะกรรมกำร/คณะท ำงำน 3. เอกสำรรำยงำนควำมก้ำวหน้ำรำยไตรมำส 4. เอกสำรสรุปผลกำรด ำเนินงำนสิ้นปีงบประมำณ 5. เอกสำรข้อเสนอนโยบำยฯ กองโรคจำกกำรประกอบ อำชีพและสิ่งแวดล้อม 29 แผนงำนพัฒนำระบบเฝ้ำระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคจำกสิ่งแวดล้อม 1.กำรประชุมรำชกำรภำยใต้คณะกรรมกำร/คณะท ำงำน 2.เอกสำรรำยงำนควำมก้ำวหน้ำรำยไตรมำส 3.เอกสำรสรุปผลกำรด ำเนินงำนสิ้นปีงบประมำณ กองโรคจำกกำรประกอบ อำชีพและสิ่งแวดล้อม กลุ่มแผนงำนพัฒนำเชิงระบบ (System) 30 แผนงำนป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อในรพ. (IC) ติดตำมประเมินผลตำมตัวชี้วัดสถำบันบ ำรำศฯ 31 กำรพัฒนำระบบกำรจัดกำรภำวะฉุกเฉินทำงสำธำรณสุขอย่ำง ครบวงจรและบูรณำกำร 1. ประเมิน กรมคร./สคร. /สสจ. โดยใช้ EOC Assessment Tool ทุกปี 2. ประเมินหน่วยงำน ที่เกี่ยวข้องตำม WHO’s JEEทุก 5 ปี(พ.ศ. 2565) กองควบคุมโรคและ ภัยสุขภำพในภำวะฉุกเฉิน 32 แผนงำนพัฒนำกำรสื่อสำรควำมเสี่ยง (Risk Communication) 1. จังหวัด/สคร. :พื้นที่ด ำเนินกำรประเมินตนเองและพัฒนำกำรสื่อสำรฯ โดยเก็บเป็นเอกสำรหลักฐำนตำมเกณฑ์กำรประเมิน 2. ส ำนักสื่อสำรควำมเสี่ยงฯ กรมควบคุมโรค : ด ำเนินกำรสุ่มเยี่ยมเสริมพลัง ให้ค ำแนะน ำ และช่วยแก้ปัญหำ (ตำมเขตพื้นที่ สคร.) ส ำนักสื่อสำรฯ 33 แผนพัฒนำสมรรถนะช่องทำงเข้ำออกประเทศตำมกฎอนำมัย ระหว่ำงประเทศ พ.ศ. 2548 (POE) 1. ระบบ Estimates SM 2. ลงพื้นที่ติดตำมกำรพัฒนำสมรรถนะหลักช่องทำงฯ ที่รับผิดชอบ (Internal audit) โดยใช้คู่มือ Core Capacity Requirements Assessment Tools : CCAT กองโรคติดต่อทั่วไป 34 แผนงำนระบบเฝ้ำระวังและระบบข้อมูลสำรสนเทศ ศูนย์สำรสนเทศ 3แผนงำนส่งเสริมกำรพัฒนำนวัตกรรมและวิจัย กรมควบคุมโรค 1. ระบบ Estimates SMและในระบบรำยงำนผลเฉพำะ 2. รำยงำนฉบับสมบูรณ์ (กรณีก ำหนดแผนกำรด ำเนินงำนแล้วเสร็จภำยในปีงบประมำณ)หรือ ส่งรำยงำนควำมก้ำวหน้ำ (กรณีก ำหนดแผนกำรด ำเนินงำนเกินปีงบประมำณ) พร้อมอิเล็กทรอนิกส์ไฟล์มำยัง กองนวัตกรรมและวิจัย ภำยในวันที่ 25 กันยำยน กองนวัตกรรมฯ

758ล าดับ ชื่อแผนงาน การติดตามประเมินผล ผู้รับผิดชอบ 3แผนพัฒนำศักยภำพ ระบบ เครือข่ำยทำงห้องปฏิบัติกำรทำง สำธำรณสุข 1. รำยงำนวิเครำะห์อัตรำก ำลังตำมภำระงำน 2. รำยงำนกำรจัดหำเครื่องมือ อุปกรณ์ และสถำนที่ 3. รำยงำนจ ำนวนห้องปฏิบัติกำรที่ได้รับกำรรับรอง 4. รำยงำนจ ำนวนห้องปฏิบัติกำรที่มีระบบสำรสนเทศทำงห้องปฏิบัติกำร ส.ผู้ทรงฯ 3แผนพัฒนำระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ (Digital Transformation) ศูนย์สำรสนเทศ 3แผนพัฒนำศักยภำพและประสำนควำมร่วมมือด้ำนกำรเฝ้ำระวังป้องกัน ควบคุมโรค กับภำคีเครือข่ำยระดับพื้นที่ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) กรมควบคุมโรค 1. ลงพื้นที่เพื่อติดตำมควำมก้ำวหน้ำของโครงกำร 2. ติดตำมประเมินผลตำมตัวชี้วัด กองยุทธศำสตร์และแผนงำน 3แผนพัฒนำศักยภำพและประสำนควำมร่วมมือด้ำนกำรเฝ้ำระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภำพ ตำมกรอบควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศเพื่อควำมมั่นคงทำงสุขภำพ ติดตำมประเมินผลตำมตัวชี้วัด ส ำนักงำนควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศ 4แผนงำนยกระดับระบบงำนระบำดวิทยำให้ได้มำตรฐำนตำมกรอบ ของกฎอนำมัยระหว่ำงประเทศ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561 – 2565) 1. ลงพื้นที่เพื่อติดตำมควำมก้ำวหน้ำของโครงกำร ร่วมแก้ไขปัญหำ อุปสรรคและประเมินผล 2. เก็บรวบรวมผลผลิตของโครงกำร กองระบำดวิทยำ 41 แผนงำนขับเคลื่อนกำรป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภำพด้วยกลไกกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตระดับพื้นที่ 1.รำยงำนกำรประชุม ค ำสั่งแต่งตั้งคณะท ำงำนทีมพี่เลี้ยง 2.รำยงำนจ ำนวนบุคลำกรที่ได้รับกำรพัมนำศักยภำพ 3.รำยงำนควำมก้ำวหน้ำของอ ำเภอที่ได้รับกำรพัมนำกระบวนกำรจัดกำรปัญหำโรคและ ภัยสุขภำพอย่ำงมีคุณภำพ ส.ผู้ทรงฯ 4แผนพัฒนำระบบกลไก กำรป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง 1. ติดตำมจำกกำรนิเทศติดตำม / กำรเยี่ยมเสริมพลัง ติดตำมในพื้นที่ 2. รำยงำนผลรำยไตรมำสในระบบ ESM สถำบันป้องกันควบคุมโรค เขตเมือง 43 แผนบริหำรและพัฒนำก ำลังคนด้ำนกำรป้องกันควบคุมโรค 1. ระบบ Estimates SM 2. รำยงำนผลกำรด ำเนินงำนโครงกำรเทียบเป้ำหมำยที่ก ำหนดไว้ (ประสิทธิภำพ/ประสิทธิผล) กองบริหำรทรัพยำกรบุคคล

759ล าดับ ชื่อแผนงาน การติดตามประเมินผล ผู้รับผิดชอบ 44 แผนพัฒนำก ำลังคนด้ำนเวชศำสตร์ป้องกันและควบคุมโรค 1.แบบส ำรวจควำมพึงพอใจของผู้รับบริกำร 2..แบบติดตำมกำรปฏิบัติงำน 3.แบบสัมภำษณ์ 4.แบบส ำรวจควำมคิดเห็นต่อกำรฝึกอบรม สถำบันเวชศำสตร์ป้องกัน 45 แผนงำนพัฒนำระบบกำรติดตำมและประเมินผล ระบบบริหำรจัดกำรเชิงยุทธศำสตร์ (Estimates SM)กองยุทธศำสตร์และแผนงำน

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf