2024 ทำไม ตำแหน งโทรศ พท ย งเป นท ต างประเทศ

ปัญหาโลกแตกระหว่างนายจ้าง กับ ลูกจ้าง ที่เกิดขึ้นทุกหน่วยงาน มีข่าวออกมาให้ได้ยินอยู่บ่อยๆ ซึ่งส่วนมากก็จะได้ยินข่าวว่านายจ้างเอาเปรียบ หรือ กดค่าแรงลูกจ้าง ให้ทำงานเกินเวลา จนทำให้ลูกจ้างต้องลาออกจากงานเพราะทนถูกเอาเปรียบไม่ไหว ซึ่งจริงๆแล้ว หากลูกจ้างคนไหนที่คิดจะลาออกและได้อ่านบทความนี้ อยากบอกว่า ไม่ว่าหน่วยงานไหน บริษัทไหน ก็มีโอกาสเกิดเหตุการณ์แบบนี้ขึ้นได้เสมอ การลาออกจึงไม่ได้การันตีว่า หน่วยงานหรือบริษัทใหม่จะดีกว่าเดิมเสมอไป หรืออาจจะเป็นการหนีเสือปะจระเข้ซะมากกว่า

ดังนั้น ทางที่ดีควรหันมาศึกษาหาความรู้เกี่ยว กฎหมายแรงงาน ที่จำเป็นในการทำงานจะดีกว่า เพื่อให้การทำงานอยู่ในกฎระเบียบ ไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบ และมีข้อโต้แย้งเจ้านาย โดยถือกฎหมายเป็นหลักจะปลอดภัย และน่าจะเป็นทางเลือกที่ดีกว่าการลาออกนะคะ การคุยด้วยเหตุผลและกฎหมายจะทำให้นายจ้างไม่กล้าเอาเปรียบเรา เพราะรู้ว่าลูกจ้างมีความรู้เรื่องกฎหมายแรงงาน ซึ่งบทความนี้จะสรุปกฎหมายแรงงานที่จำเป็น ที่ลูกจ้างจะต้องรู้ เพื่อให้ทำงานได้อย่างสบายใจมากขึ้น

ทำไมต้องรู้กฎหมายแรงงาน

เพราะ กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่ระบุถึงสิทธิของลูกจ้าง และ นายจ้าง ไว้อย่างชัดเจน เพื่อที่ไม่เกิดการเอาเปรียบไม่ว่าฝ่ายไหนก็ตาม ซึ่งใน กฎหมายแรงงาน จะระบุถึงสิทธิต่างๆ สวัสดิการ วันหยุด ค่าแรง และความปลอดภัยในการทำงาน ทำให้ลูกจ้างสบายใจ หากรู้กฎหมายแรงงาน ก็จะลดการถูกเอาเปรียบ หรือได้รับค่าแรงไม่เป็นธรรม และทำงานได้อย่างมีคามสุขทั้งฝ่ายนายจ้างและลูกจ้างเอง

ลูกจ้างได้ประโยชน์อะไรจากกฎหมายแรงงานบ้าง

1 ได้ค่าแรงที่เป็นธรรม ไม่ถูกกดค่าแรง ได้ค่าแรงที่เหมาะกับคุณวุฒิและตำแหน่งในการทำงาน

2 ได้รับสวัสดิการที่ลูกจ้างทุกคนพึงจะได้รับตามกฎหมายระบุ ทำให้ลูกจ้างมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

3 มีเวลาทำงานและพักระหว่างทำงานตามกฎหมาย กฎหมายกำหนดให้ทำงานทั่วไปทำงานไม่เกิน 8 ชั่วโมงต่อวัน และไม่เกิน 48 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ส่วนงานที่เป็นอันตราย กำหนดให้ทำงานไม่เกิน 7 ชั่วโมงต่อวัน และไม่เกิน 42 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ทำให้ลูกจ้างไม่ถูกใช้แรงงานหนักจนเกินไป หรือหากทำงานในวันหยุดก็ได้รับเงินเพิ่มตามที่กฎหมายกำหนด

ส่วนเวลาพัก กฎหมายแรงงาน ก็กำหนดให้มีเวลาพักอย่างน้อย 1 ชั่วโมงต่อวัน หากลูกจ้างต้องทำงานล่วงเวลาเกิน 2ชั่วโมง ก็ต้องจัดเวลาให้พักก่อนที่จะเริ่มงานอย่างน้อย 20 นาที

4 มีวันหยุดพักผ่อน กฎหมายแรงงานกำหนดให้มีวันหยุดอย่างน้อย 1 วันต่อสัปดาห์ หรือจะรวมเป็นวันหยุดสะสมก็ได้ตามลักษณะของงาน และต้องมีวันหยุดตามประเพณีไม่น้อยกว่า 13 วัน และวันหยุดพักผ่อนประจำปีไม่ต่ำกว่า 6 วันต่อปี

5 มีระบบการทำงานที่ปลอดภัย ได้มาตรฐาน ทำให้การทำงานเกิดความปลอดภัย ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และไม่เสียงเกิดอุบัติจากความไม่ปลอดภัยของการทำงาน ส่งผลต่อสวัสดิภาพของลูกจ้าง

6 การทำงานวันหยุด สำหรับลูกจ้าง กฎหมายแรงงาน กำหนดลูกจ้างทำงานล่วงเวลาได้ แต่ต้องไม่เกิน 36 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ซึ่งการทำงานล่วงเวลาในวันหยุดนี้ นายจ้างไม่มีความผิด หากลูกจ้างยินยอม และสภาพงานมีความจำเป็นที่ต้องทำต่อเนื่อง จนต้องทำงานล่วงเวลา

7 การลางานของลูกจ้าง ลูกจ้างมีสิทธิ์ลาป่วยได้ แต่ถ้าหากลาติดต่อกันเกิน 3 วัน ต้องมีใบรับรองแพทย์ และยังมีสิทธิ์ลาเพื่ออบรม ลากิจ ลารับราชการทหาร ลาคลอดบุตร

8 ค่าตอบแทนหรือค่าจ้างในการทำงาน ตามกฎหมายแรงงานมีการกำหนดค่าแรงขั้นต่ำไว้ ซึ่งนายจ้างห้ามจ่ายค่าแรงต่ำกว่าที่กฎหมายกำหนด และหากลูกจ้างมีการทำงานล่วงเวลา นายจ้างจะต้องจ่ายค่าจ้าง 1.5 เท่าของค่าจ้างปกติ โดยคิดเป็นรายชั่วโมง และเกณฑ์ยังนำไปคิดค่าจ้างในกรณีทำงานวันหยุด

9 ค่าชดเชยการเลิกจ้าง หากมีการเลิกจ้างลูกจ้าง กรณีที่ลูกจ้างไม่การกระทำความผิดใดๆ นายจ้างจะต้องจ่ายค่าชดเชยตามอายุการทำงานและเงินเดือนของลูกจ้าง

เห็นไหมว่า หากเรารู้ ” กฎหมายแรงงาน ” ที่จำเป็น ก็ทำให้ลูกจ้างและนายจ้างทำงานร่วมกันได้ โดยไม่มีฝ่ายไหนเอารัดเอาเปรียบกัน เพราะมีกฎหมายแรงงานกำหนดข้อปฏิบัติต่างๆไว้ เพื่อเป็นแนวทาง และลดปัญหาต่างๆในการทำงานได้เป็นอย่างดี แต่ที่เกิดปัญหาระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างปัจจุบัน เพราะไม่รู้กฎหมายแรงงาน เสียสละเวลาสักนิด เรียนรู้และศึกษากฎหมายแรงงาน เพื่อคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ดีขึ้น

ตัวอักษรคันจิของชื่อประเทศญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงมีชื่อเรียกว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นประกอบด้วย 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ภูมิประเทศกว่าสามในสี่มีลักษณะเป็นภูเขา ญี่ปุ่นเป็นหนึ่งในประเทศที่มีลักษณะเป็นสังคมเมืองมากที่สุด ด้วยประชากร 125 ล้านคน จึงถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 11 ของโลก และเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงที่สุดในโลก กว่า 14 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว และหากนับรวมเขตอภิมหานครโตเกียวทั้งหมดจะมีประชากรกว่า 40 ล้านคน และด้วยมูลค่าจีดีพีที่สูงถึง 2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ จึงทำให้กรุงโตเกียวเป็นมหานครที่ใหญ่ที่สุดในโลกทั้งแง่ของจำนวนประชากรและขนาดเศรษฐกิจ

การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในดินแดนปัจจุบันของญี่ปุ่นตั้งแต่ยุคหินเก่า หรือประมาณ 30,000 ปีก่อนคริสตกาล การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 (บันทึกทางประวัติศาสตร์ของราชวงศ์ฮั่น) ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่น ภาษา การปกครอง และ วัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดชาติหนึ่งในโลก

ในช่วงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 4 ถึงศตวรรษที่ 9 อาณาจักรทั้งหมดรวมกันเป็นปึกแผ่นภายใต้การปกครองของจักรพรรดิและราชวงศ์ โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เฮอังเกียว ต่อมา ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถึง พ.ศ. 2411 ญี่ปุ่นถูกปกครองด้วยระบบทหารเจ้าขุนมูลนายโชกุนซึ่งปกครองในพระปรมาภิไธยจักรพรรดิ และการครอบงำของนักรบซามูไร ประเทศเข้าสู่ระยะแยกอยู่โดดเดี่ยวอันยาวนานในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ซึ่งยุติใน พ.ศ. 2396 เมื่อกองเรือสหรัฐบังคับให้ประเทศญี่ปุ่นเปิดต่อโลกตะวันตก หลังความขัดแย้งและการก่อการกำเริบภายในเกือบสองทศวรรษ จักรพรรดิได้อำนาจทางการเมืองคืนใน พ.ศ. 2411 ผ่านการช่วยเหลือของหลายตระกูลจากโชชูและซัตสึมะ และมีการสถาปนาจักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของยุคเมจิและรัฐธรรมนูญเมจิ และเริ่มมีการพัฒนาอุตสาหกรรมในช่วงเวลานี้ ชัยชนะในสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง, สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น และสงครามโลกครั้งที่หนึ่งทำให้ญี่ปุ่นขยายจักรวรรดิระหว่างสมัยแสนยานิยมเพิ่มขึ้น สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง พ.ศ. 2480 ขยายเป็นบางส่วนของสงครามโลกครั้งที่สองใน พ.ศ. 2484 ซึ่งญี่ปุ่นมีบทบาทสำคัญในฝ่ายอักษะ ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นเป็นชาติมหาอำนาจหนึ่งเดียวในเอเชียก่อนจะยุติลงใน พ.ศ. 2488 ด้วยความพ่ายแพ้ในสงครามแปซิฟิกและการทิ้งระเบิดปรมาณูของฝ่ายสัมพันธมิตรนำไปสู่การยอมจำนนของญี่ปุ่น และตกอยู่ภายใต้การยึดครองของสัมพันธมิตรเป็นเวลา 7 ปี และมีการตรารัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 ซึ่งนำไปสู่เงื่อนไขการธำรงระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาและราชาธิปไตยภายใต้รัฐรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระจักรพรรดิเป็นประมุขแห่งรัฐและสภานิติบัญญัติจากการเลือกตั้ง เรียกว่า สภานิติบัญญัติแห่งชาตินับแต่นั้นเป็นต้นมา

ประเทศญี่ปุ่นเป็นสมาชิกสหประชาชาติ, องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ, กลุ่ม 7, กลุ่ม 8, กลุ่ม 20, ควอด, พันธมิตรหลักนอกเนโทและถือเป็นชาติมหาอำนาจของโลก เป็นหนึ่งในชาติที่ประชากรมีการศึกษาสูงที่สุดของโลก แม้ญี่ปุ่นสละสิทธิประกาศสงคราม แต่ยังมีกองทหารสมัยใหม่ซึ่งใช้สำหรับป้องกันตนเองและรักษาสันติภาพ และได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในกองกำลังที่แข็งแกร่งที่สุดของโลก ญี่ปุ่นเป็นประเทศพัฒนาแล้วที่มีมาตรฐานการครองชีพและดัชนีการพัฒนามนุษย์สูง และเป็นประเทศที่ประชากรมีการคาดหมายคงชีพสูงที่สุดในโลก ทว่ากำลังประสบปัญหาอัตราการเจริญพันธุ์ต่ำและวิกฤติประชากรสูงวัยในปัจจุบัน ญี่ปุ่นยังเป็นผู้นำระดับโลกในด้านอุตสาหกรรมยานยนต์และอิเล็กทรอนิกส์ มีส่วนสำคัญในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วัฒนธรรมญี่ปุ่นยังเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก เช่น อาหาร, ศิลปะ, ดนตรี, วัฒนธรรมประชานิยม รวมถึงอุตสาหกรรมบันเทิง เช่น ภาพยนตร์, มังงะ, อนิเมะ, เพลง และวิดีโอเกม

ชื่อประเทศ[แก้]

cite web}}: CS1 maint: numeric names: authors list (ลิงก์)

  • จนเป็นต้นเหตุสำคัญของอุบัติเหตุรถไฟตกรางที่จังหวัดเฮียวโงะใน พ.ศ. 2548 Japan's train crash: Your reaction BBC News 2005-05-02
  • "Year to date Passenger Traffic". Airports Council International. August 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-01-11. สืบค้นเมื่อ 2008-12-07.
  • "Japan's Road to Deep Deficit Is Paved With Public Works". The New York Times. 1997-03-01. สืบค้นเมื่อ 2008-11-23.
  • "Outlook Bleak for Saga Airport Profitability". Fukuoka Now. 2008-07-31. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-01-13. สืบค้นเมื่อ 2008-11-23.
  • The European Parliament's Greens-EFA Group – The World Nuclear Industry Status Report 2007 เก็บถาวร 2008-06-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน p. 23.
  • "Japan nuclear power-free as last reactor shuts". Reuters (ภาษาอังกฤษ). 2012-05-05. สืบค้นเมื่อ 2022-01-05.
  • "Nuclear power restarted in Japan". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 2022-01-05.
  • Kucharski, Jeffrey B.; Unesaki, Hironobu (2017-06-12). "Japan's 2014 Strategic Energy Plan: A Planned Energy System Transition". Journal of Energy (ภาษาอังกฤษ). 2017: e4107614. doi:10.1155/2017/4107614. ISSN 2356-735X.
  • //www.jwwa.or.jp/jigyou/kaigai_file/2017WaterSupplyInJapan.pdf
  • //www.stat.go.jp/english/data/jinsui/tsuki/index.html
  • "Population Census: Foreigners". Statistics Bureau, Ministry of Internal Affairs and Communications.
  • "Sue Sumii". The Economist. 1997-07-03. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-02-02. สืบค้นเมื่อ 2008-11-06.
  • //www.un.org/en/development/desa/population/publications/pdf/urbanization/the_worlds_cities_in_2016_data_booklet.pdf
  • "Life expectancy at birth, total (years) - Japan | Data". data.worldbank.org.
  • "The World Factbook: Rank order—Life expectancy at birth". CIA. 2008-10-23. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-26. สืบค้นเมื่อ 2008-11-05.
  • ↑ "Statistical Handbook of Japan: Chapter 2 Population". Statistics Bureau, Ministry of Internal Affairs and Communications. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-06-30.
  • Semuels, Alana (2017-07-20). "The Mystery of Why Japanese People Are Having So Few Babies". The Atlantic (ภาษาอังกฤษ).
  • Walia, Simran (2019-11-19). "The economic challenge of Japan's aging crisis". The Japan Times (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
  • "Population Census: Population by Age". Statistics Bureau, Ministry of Internal Affairs and Communications.
  • Tetsushi Kajimoto, บ.ก. (2002-09-24). "Cloud of population decline may have silver lining". The Japan Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-12-24. สืบค้นเมื่อ 2008-11-05.
  • "New immigration rules to stir up Japan's regional rentals scene — if they work | REthink Tokyo". web.archive.org. 2019-07-02. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-02. สืบค้นเมื่อ 2021-11-16.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  • Inoue, Kyoko; Inoue, oko (Feb 1991). (ภาษาอังกฤษ). University of Chicago Press. ISBN 978-0-226-38391-0.
  • 世界各国の宗教 (2000年) อ้างอิงจาก電通総研日本リサーチセンター、世界主要国価値観データブック
  • //www.christianitytoday.com/news/2018/may/japan-unesco-hidden-christian-persecution-world-heritage.html
  • Kato, Mariko (February 24, 2009). "Christianity's long history in the margins". The Japan Times.
  • //www.japantimes.co.jp/community/2016/07/13/issues/shadow-surveillance-looms-japans-muslims/
  • 2018-12-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน CIA (2008)
  • Lucien Ellington (2005-09-01). "Japan Digest: Japanese Education". Indiana University. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-04-27. สืบค้นเมื่อ 2006-04-27.
  • "The Japanese Language". web.mit.edu.
  • Sawa, Takamitsu (2020-01-21). "Japan going the wrong way in English-education reform". The Japan Times (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
  • Self-determinable Development of Small Islands. Masahide Ishihara, Eiichi Hoshino, Yōko Fujita. Singapore. 2016. ISBN 978-981-10-0132-1. OCLC 952246912.{{cite book}}: CS1 maint: others (ลิงก์)
  • The Oxford handbook of the archaeology and anthropology of hunter-gatherers. Vicki Cummings, Peter Jordan, Marek Zvelebil (1st ed.). Oxford. 2014. ISBN 978-0-19-955122-4. OCLC 871305374.{{cite book}}: CS1 maint: others (ลิงก์)
  • Lucien Ellington (2003-12-01). "Beyond the Rhetoric: Essential Questions About Japanese Education". Foreign Policy Research Institute. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-01-29. สืบค้นเมื่อ 2007-04-01.
  • "School Education" (PDF). MEXT. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2010-12-06. สืบค้นเมื่อ 2007-03-10.
  • Kate Rossmanith (2007-02-05). "Rethinking Japanese education". The University of Sydney. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-12-28. สืบค้นเมื่อ 2007-04-01.
  • "Gakureki Shakai". Encyclopedia of Modern Asia. Macmillan Reference. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-02-24 – โดยทาง bookrags.com.
  • "OECD's PISA survey shows some countries making significant gains in learning outcomes". OECD. 2007-12-04. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-19. "Range of rank on the PISA 2006 science scale" (PDF). OECD. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-05-23.
  • Britnell, Mark (2015). In Search of the Perfect Health System. London: Palgrave. p. 5. ISBN 978-1-137-49661-4.
  • "Overview of the Social Insurance Systems". Social Insurance Agency. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-12-24. สืบค้นเมื่อ 2008-11-23.
  • "Health Insurance: General Characteristics". National Institute of Population and Social Security Research. สืบค้นเมื่อ 2007-03-28.
  • Victor Rodwin. "Health Care in Japan". New York University. สืบค้นเมื่อ 2007-03-10.
  • Mark E. Caprio; Yoneyuki Sugita, บ.ก. (2009-10-13). Democracy in Occupied Japan: The U.S. Occupation and Japanese Politics and Society. Routledge. p. 172. ISBN 978-0415415897.
  • Russell, Roxanne; Metraux, Daniel; Tohen, Mauricio (2017). "Cultural influences on suicide in Japan". Psychiatry and Clinical Neurosciences (ภาษาอังกฤษ). 71 (1): 2–5. doi:10.1111/pcn.12428. ISSN 1440-1819.
  • Akter, Shamima; Goto, Atsushi; Mizoue, Tetsuya (2017-07-14). "Smoking and the risk of type 2 diabetes in Japan: A systematic review and meta-analysis". Journal of Epidemiology. 27 (12): 553–561. doi:10.1016/j.je.2016.12.017. ISSN 0917-5040. PMC 5623034. PMID 28716381.
  • Britnell, Mark (2015). In search of the perfect health system. London. ISBN 978-1-137-49661-4. OCLC 913844346.
  • ↑ "Japanese Culture". Windows on Asia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-02-02. สืบค้นเมื่อ 2008-11-17.
  • "A History of Manga". NMP International. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-05. สืบค้นเมื่อ 2007-03-27.
  • Leonard Herman, Jer Horwitz, Steve Kent, and Skyler Miller. "The History of Video Games". Gamespot. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-29. สืบค้นเมื่อ 2007-04-01.{{cite web}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  • Centre, UNESCO World Heritage. "Japan". UNESCO World Heritage Centre (ภาษาอังกฤษ).
  • ↑ "Japan Fact Sheet: Music" (PDF). Web Japan. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2008-11-19. สืบค้นเมื่อ 2008-11-23.
  • "J-Pop's dream factory". The Observer. 2005-08-21. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-01-12. สืบค้นเมื่อ 2007-04-01.
  • "Seiji Ozawa (Conductor)". 2007-06-22. สืบค้นเมื่อ 2008-11-23.
  • "Midori Goto: From prodigy to peace ambassador". 2008-11-06. สืบค้นเมื่อ 2008-11-23.
  • "なぜか「第9」といったらベートーヴェン、そして年末。". Fuji-tv ART NET. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-24.
  • ↑ "Japanese Culture: Literature". Windows on Asia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-02-07. สืบค้นเมื่อ 2008-11-17.
  • "万葉集-奈良時代". Kyoto University Library. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-09-16. สืบค้นเมื่อ 2008-11-17.
  • The Tale of Genji
  • ↑ "Japanese Culture: Literature (Recent Past)". Windows on Asia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-02-02. สืบค้นเมื่อ 2008-11-17.
  • ↑ "สำรวจญี่ปุ่น: ปฏิทินประจำปี ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม กีฬา" (PDF). สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 2008-11-17.
  • "The Nobel Prize in Literature 1968". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2008-11-18.
  • "Kenzaburo Oe The Nobel Prize in Literature 1994". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2008-11-18.
  • Parkes, Graham (January 1, 2011). "Japanese aesthetics". In Zalta, Edward N. (ed.). Stanford Encyclopedia of Philosophy.
  • Arrowsmith, Rupert Richard (2010-11-25). Modernism and the Museum: Asian, African, and Pacific Art and the London Avant-Garde (ภาษาอังกฤษ). OUP Oxford. ISBN 978-0-19-959369-9.
  • Inagaki, Aizo (2003). "Japan". Oxford Art Online. Modern: Meiji and after. doi:10.1093/gao/9781884446054.article.T043440. ISBN 978-1-884446-05-4.
  • ↑ "Japan Fact Sheet: SPORTS" (PDF). Web Japan. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-03-04. สืบค้นเมื่อ 2008-11-19.
  • "Sumo: East and West". PBS. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-30. สืบค้นเมื่อ 2007-03-10.
  • Nagata, Yoichi; Holway, John B. (1995). "Japanese Baseball". ใน Pete Palmer (บ.ก.). Total Baseball (4th ed.). New York: Viking Press. p. 547.
  • "Soccer as a Popular Sport: Putting Down Roots in Japan" (PDF). The Japan Forum. สืบค้นเมื่อ 2007-04-01.
  • Press, Associated. "Japan, Saudi Arabia Claim Asia's Last Automatic World Cup Berths". Sports Illustrated (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
  • "FIFA.com - FIFA Women's World Cup: Japan - USA". web.archive.org. 2011-07-18. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-18. สืบค้นเมื่อ 2021-11-14.
  • Sports, Dorna. "Japanese industry in MotoGP™". www.motogp.com (ภาษาอังกฤษ).
  • "WRC - World Rally Championship". WRC - World Rally Championship (ภาษาอังกฤษ).
  • "Engine Honda • STATS F1". www.statsf1.com.
  • "History of Japan's Bids for the Olympic | JOC - Japanese Olympic Committee". Japanese Olympic Committee(JOC) (ภาษาญี่ปุ่น).
  • //www.fiba.basketball/pages/eng/fe/06_wcm/
  • "FIBA Basketball World Cup 2023". FIBA.basketball (ภาษาอังกฤษ).
  • //www.fivb.org/TheGame/TheGame_WorldChampionships.htm
  • "Rugby in Asia | History of the Game in Asia". Asia Rugby (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
  • Andrew Clarke (2021-07-30). "10 Most Popular Sports in Japan". Unique Japan Tours (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
  • "What Are The Most Popular Sports In Japan | Top 10". Link Japan Careers (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2021-06-10.
  • "In Japan, golf booms as go-to leisure activity during pandemic". The Japan Times (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2021-03-02.
  • "Traditional Dishes of Japan". Japan National Tourist Organization. สืบค้นเมื่อ 2008-11-27.
  • ↑ "Japanese Food Culture" (PDF). Web Japan. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-02-06. สืบค้นเมื่อ 2008-11-27.
  • "Japanese Delicacies". Japan National Tourist Organization. สืบค้นเมื่อ 2008-11-27.
  • "Seasonal Foods" (PDF). The Japan Forum. สืบค้นเมื่อ 2008-11-27.
  • Japanese Food Japan Reference
  • . Japan National Tourist Organization. สืบค้นเมื่อ 2008-11-27.
  • "茶ができるまで". 全国茶生産団体連合会・全国茶主産府県農協連連絡協議会. สืบค้นเมื่อ 2008-11-27.
  • "The Sake Brewing Process". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-17. สืบค้นเมื่อ 2008-11-27.
  • "Shochu". The Japan Times. 2004-05-30. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-09-06. สืบค้นเมื่อ 2008-11-27.
  • //www.japan-guide.com/e/e3003.html
  • //www.nhk.or.jp/bunken/english/reports/pdf/report_16042101.pdf
  • Iwabuchi, Koichi, ed. (2004). Feeling Asian Modernities: Transnational Consumption of Japanese TV Dramas. Hong Kong University Press. ISBN 9789622096318. JSTOR j.ctt2jc5b9.
  • "What are the most popular Japanese TV shows?". Japan Today (ภาษาอังกฤษ).
  • Kalat, David (2017). "Introduction". A Critical History and Filmography of Toho's Godzilla Series (2nd ed.). McFarland.
  • "Godzilla: Monster, Metaphor, Pop Icon". The New York Public Library. Araiso, Yoshiyuki (1988). Currents: 100 essential expressions for understanding changing Japan. Japan Echo Inc. in cooperation with the Foreign Press Center. p. 150. ISBN 978-4-915226-03-8.
  • ค้นหาตำแหน่งจากเบอร์โทรศัพท์ได้ไหม

    Google maps เป็นแอปที่ใหญ่ที่สุดและมีชื่อเสียงที่สุดอันหนึ่งในโลก ตัวแอปมาพร้อมตัวเลือกในการ ค้นหา gps จาก เบอร์ โทรศัพท์ แต่อย่าลืมว่าผู้ใช้บริการอีกคนต้องยินยอมก่อนที่คุณจะติดตามตำแหน่งได้อย่างง่ายดาย

    วิธีเช็คว่าโทรศัพท์อยู่ที่ไหน

    1. เข้าไปที่ android.com/find จากคอมพิวเตอร์ หรือมือถือเครื่องอื่น (iPhone ก็เข้าได้) ผ่าน Browser หรือดาวน์โหลดแอป Google Find My Device. 2. ลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google หากผู้ใช้งานมีโทรศัพท์มากกว่า 1 เครื่อง ให้กดโทรศัพท์ที่สูญหายที่ด้านบนของหน้าจอ 3. จะมีการแจ้งเตือนบนหน้าจอโทรศัพท์เครื่องที่สูญหาย

    ทำไมแชร์ตำแหน่งแบบเรียลไทม์ไม่ได้

    คุณอาจได้รับคําเตือนเมื่อเปิดการแชร์ตําแหน่ง โดยสาเหตุที่พบบ่อย ได้แก่ คุณอยู่ในประเทศหรือภูมิภาคที่แชร์ตําแหน่งของตนเองไม่ได้ คุณไม่สามารถใช้การแชร์ตําแหน่งในโดเมน Google Workspace ของคุณ หากต้องการเปิดการแชร์ตําแหน่ง ให้สอบถามผู้ดูแลระบบ คุณอายุน้อยเกินไปที่จะแชร์ตำแหน่ง

    วิธีเช็คว่าแฟนอยู่ไหน ด้วยเบอร์มือถือ

    Step 1.เปิดเว็บไซต์ CellTrack และสมัครสมาชิกต่าง ๆ ให้เรียบร้อย Step 2.ในช่อง “Phone number” ให้คุณกรอกเบอร์มือถือที่คุณอยากตามหาลงไป Step 3.หลังจากกรอกหมายเลขโทรศัพท์เรียบร้อยแล้ว ระบบจะแสดงสถานะของโทรศัพท์เครื่องนั้นว่า เปิดหรือปิดเครื่องอยู่ Step 4.เลือกเมนูค้นหาตำแหน่งของโทรศัพท์ โดยข้อมูลที่ได้อาจไม่แม่นยำมากนัก

    กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

    Toplist

    โพสต์ล่าสุด

    แท็ก

    ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv Terjemahan แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip lmyour แปลภาษา ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาอาหรับ-ไทย Bahasa Thailand app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม พจนานุกรมศัพท์ทหาร ยศทหารบก ภาษาอังกฤษ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีทั้งหมดกี่ภาค มัจจุราชไร้เงา 1 mono29 มัจจุราชไร้เงา 1 pantip มัจจุราชไร้เงา 3 pantip รายชื่อวิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ 2563 ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาอิสลามเป็นไทย ่้แปลภาษา Google Drive กรมการปกครอง กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ที่อยู่สมุทรปราการ ภาษาอังกฤษ ประปาไม่ไหล วันนี้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปิดรับสมัคร 2566 มัจจุราชไร้เงา 2 facebook ราคาปาเจโร่มือสอง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น หนังสือราชการ ส ถ หยน ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ อาจารย์ ตจต Google Form Info arifureta shokugyou de sekai saikyou manga online legendary moonlight sculptor www.niets.or.th ประกาศผลสอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf